27 ParticlePhysics

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 22

บทที่ 27

ฟิสิกส์อนุภาค และ ปรั บ ปรุ ง ล่ า สุ ด 5 พ.ค. 65

จักรวาลวิทยา
• ฟิสิกส์อนุภาค (Particle physics)
• จักรวาลวิทยา (Cosmology)

หากพบจุดที่สงสัยว่าจะพิมพ์ผิด โปรดแจ้งมาที่เพจ Tonsonphysics


เพื่อให้ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร

จัดทำเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้งานต่อในเชิงพาณิชย์
หากพบการซื้อขายเอกสารชุดนี้ โปรดแจ้งที่ Facebook page: Tonsonphysics
รวมข้อสอบ ม.ปลาย
ฟิสิกส์อนุภาค และจักรวาลวิทยา

ฟิสิกส์อนุภาค
แนวที่ ๑ : ถามสมบัติของอนุภาคมูลฐาน

1. (O-Net 2560) อนุภาคใดประกอบขึ้นจากอนุภาคชนิดอื่น


ก. ควาร์ก ข. โปรตอน
ค. นิวตริโน ง. อิเล็กตรอน
จ. โพสิตรอน

2. (O-Net 2560) อนุภาคใดไม่ได้ประกอบขึ้นจากอนุภาคอื่น


ก. โปรตอน ข. ทริเทียม
ค. นิวตริโน ง. ดิวทิรอน
จ. อิเล็กตรอน ฉ. ไพออน (  mesons, pions)

3. (O-Net 2559) ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงอนุภาคมูลฐานได้ถูกต้อง (มี 2 คำตอบ)


ก. อนุภาคและปฏิอนุภาคที่เป็นคู่กันจะมีมวลเท่ากันแต่มีประจุไฟฟ้าแตกต่างกัน
ข. อิเล็กตรอนเป็นปฏิอนุภาคของโปรตอน
ค. การรวมกันของอนุภาคและปฏิอนุภาคที่เป็นคู่กันทำให้เกิดเป็นสสารขึ้น
ง. เอกภพมีปริมาณอนุภาคมากกว่าปฏิอนุภาค
จ. โปรตอนและนิวตรอนประกอบขึ้นจากควาร์กชนิดเดียวกัน
ฉ. อนุภาคมูลฐานได้แก่ ควาร์ก, อิเล็กตรอน, โปรตอน และนิวตรอน

1
4. (EJU-1 2019) The quark model states that constituent particles of matter, such as protons
and neutrons, are themselves made up of elementary particles called quarks. For
examples, a proton is composed of two up quarks ( u ) and one down quark ( d ) , while
a neutron is composed of one up quark ( u ) and two down quarks ( d ) . Each type of
quark carries a specific quantity of electric charge, and the charge of a proton or neutron
is the sum of the charges carried by their constituent quarks. Let us denote as e the
elementary charge.

What is the charge of a down quark ( d ) ? From (a)-(f) below choose the correct answer.
2 1
(a) −e (b) − e (c) − e
3 3
1 2
(d) e (e) e (f) e
3 3

2
(PAT2 ต.ค. 55) ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ในการตอบคำถามข้อที่ 5-7
ในปี พ.ศ. 2550 นักวิทยาศาสตร์ที่เฟอร์มีแล็บ ประเทศสหรัฐอเมริกาประกาศการค้นพบอนุภาใหม่
ที่มีชื่อว่า แคสเคด ซึ่งเป็นหนึ่งในแบริออนที่มีมวลมากที่ประกอบด้วยควาร์กชนิก d s และ b แบริออน คือ
กลุ่มอนุภาคที่ประกอบด้วยควาร์ก 3 ตัวที่ยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม โดยควาร์กคืออนุภาคมูล
ฐานที่มีมวลและประจุไฟฟ้าดังตารางต่อไปนี้

ชนิดควาร์ก มวล ประจุไฟฟ้า


.u. . 2.4 MeV/c2 . . +2e / 3 .
.d . . 4.8 MeV/c2 . . −e / 3 .
.s . . 104 MeV/c2 . . −e / 3 .
.c . . 1.27 MeV/c2 . . +2e / 3 .
.b. . 4.2 MeV/c2 . . −e / 3 .
.t. . 171.2 MeV/c2 . . +2e / 3 .

โปรตอนและนิวตรอนเป็นแบริออนที่ประกอบด้วยควาร์กชนิด u และ d ซึ่งจัดอยู่ในครอบครัวที่หนึ่ง s และ c


จัดเป็นครอบครัวที่สอง ส่วน b และ t จัดเป็นครอบครัวที่สาม

5. อนุภาคแคสเคดที่ค้นพบนี้มีประจุไฟฟ้าเท่าใด
ก. −e ข. −e / 3 ค. 0 ง. +e

6. นิวตรอนประกอบด้วยควาร์กในข้อใด
ก. uud ข. udd ค. uuu ง. ddd

7. ถ้ามีควาร์กอยู่ 3 ชนิด คือ u d และ s จะสามารถสร้างแบบริออนได้ทั้งหมดกี่แบบ


ก. 1 ข. 8 ค. 18 ง. 27

3
8. (กสพท. 2564) ข้อมูลของอนุภาคมูลฐานในกลุ่มอนุภาคสสารเป็นดังนี้

ชนิดของ ชนิดของ
มวล ประจุ มวล ประจุ
ควาร์ก เลปตอน
อัพ .  2.2 MeV/c2 . 2
+ e อิเล็กตรอน .  0.51 MeV/c2 . . −e .
3
อิเล็กตรอน
ดาวน์ .  4.7 MeV/c2 . 1
− e .  2.2 eV/c2 . .0 .
3 นิวทริโน
ชาร์ม .  1.28 GeV/c2 . 2
+ e มิวออน .  105.66 MeV/c2 . . −e .
3
มิวออน
สเตรนจ์ .  96 MeV/c2 . 1
− e .  0.17 MeV/c2 . .0 .
3 นิวทริโน
2 ทาว .  1.78 GeV/c2 . . −e .
ทอป .  173.1 GeV/c2 . + e
3
1 ทาวนิวทริโน .  18.2 MeV/c2 . .0 .
บอททอม .  4.18 GeV/c2 . − e
3

ข้อมูลของอนุภาคมูลฐานในกลุ่มอนุภาคสื่อแรงเป็นดังนี้

ชนิด มวล ประจุ


กลูออน .0 . .0 .
โฟตอน .0 . .0 .
Z-โบซอน .  91.19 GeV/c2 . .0 .
W-โบซอน .  80.93 GeV/c2 . . e .

ถ้าอนุภาคชนิดหนึ่งมีองค์ประกอบเป็นควาร์กอัพ 1 อนุภาค และแอนติควาร์กสเตรนจ์ 1 อนุภาค


พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(๑) อนุภาคดังกล่าวมีประจุไฟฟ้าเท่ากับประจุไฟฟ้าของ Z-โบซอน
(๒) ปฏิยานุภาคของอนุภาคดังกล่าว มีมวลมากกว่ามวลของทาวนิวทริโน
(๓) อนุภาคดังกล่าวมีโฟตอนเป็นอนุภาคสื่อแรงของแรงที่ยึดเหนี่ยวควาร์กและแอนติควาร์กให้อยู่
รวมกัน
ข้อความใดถูกต้อง
ก. (๑) เท่านั้น ข. (๒) เท่านั้น
ค. (๓) เท่านั้น ง. (๑) และ (๒)
จ. (๒) และ (๓)

4
9. (PAT2 มี.ค. 65) ห้องฟอง (bubble chamber) เป็นเครื่องตรวจวัดอนุภาคประเภทหนึ่งด้วยการ
ถ่ายภาพเส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่าน
ของเหลวในห้องฟอง ของเหลวจะเปลี่ยนสถานะไปเป็นฟองแก๊สตามเส้นทางที่อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า
เคลื่อนที่ ภาพถ่ายของรอยเส้นทางที่สังเกตได้จากการทดลองหนึ่งในห้องฟองที่มีสนามแม่เหล็กสม่ำเสมอ
ในทิศทางตั้งฉากกับระนาบกระดาษ เป็นดังนี้

จากการวิเคราะห์พบว่ามีอนุภาคซึ่งประกอบด้วยควาร์กเป็น dss เคลื่อนที่ตามเส้นทางที่ ① และเกิด


การสลายตัวที่จุด A โดยสมการการสลายตัวของ dss เป็นดังนี้
. dss → uds + ud .
หลังจากการสลายตัว อนุภาคที่เป็นกลางทางประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่จากจุด A ไปจุด B ตามเส้นประ ซึ่งไม่
เกิดรอยเส้นทางในห้องฟอง และเกิดการสลายตัวต่อ ณ จุด B ให้อนุภาคอีกสองตัว คือ แอนติโปรตอน
และ ud
2
กำหนดให้ 1) ประจุไฟฟ้าของควาร์กอัพ u มีค่าเท่ากับ
+ e และ u คือปฏิยานุภาคของ u
3
2) ประจุไฟฟ้าของควาร์กดาวน์ d มีค่าเท่ากับ − 1 e และ d คือปฏิยานุภาคของ d
3
3) ประจุไฟฟ้าของควาร์กเสตรนจ์ s มีค่าเท่ากับ − 1 e และ s คือปฏิยานุภาคของ s
3

จากข้อมูล ข้อใดระบุทิศทางของสนามแม่เหล็กเมื่อเทียบกับระนาบกระดาษ และให้เหตุผลได้ถูกต้อง


ก. สนามแม่เหล็กมีทิศทางพุ่งเข้า โดยสังเกตจากการเคลื่อนที่ของอนุภาค ud ตามเส้นทางที่ ②
ข. สนามแม่เหล็กมีทิศทางพุ่งเข้า โดยสังเกตจากการเคลื่อนที่ของอนุภาค uds ตามเส้นทางที่ ②
ค. สนามแม่เหล็กมีทิศทางพุ่งเข้า โดยสังเกตจากการเคลื่อนที่ของแอนติโปรตอนตามเส้นทางที่ ④
ง. สนามแม่เหล็กมีทิศทางพุ่งออก โดยสังเกตจากการเคลื่อนที่ของอนุภาค ud ตามเส้นทางที่ ②
จ. สนามแม่เหล็กมีทิศทางพุ่งออก โดยสังเกตจากการเคลื่อนที่ของแอนติโปรตอนตามเส้นทางที่ ④

5
10. (กสพท. 2565) ในปรากฏการณ์หนึ่ง อนุภาค A เคลื่อนที่มาพบอนุภาค B แล้วทำให้ได้รังสีแกมมา ดัง
สมการ
อนุภาค A + อนุภาค B → รังสีแกมมา
โดยที่อนุภาค A และ B เป็นอนุภาคที่ประกอบด้วย ควาร์กและแอนติควาร์ก

พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(๑) อนุภาค A และ อนุภาค B มีขนาดของประจุไฟฟ้าเท่ากัน
(๒) อนุภาคมูลฐานในอนุภาค B ยึดเหนี่ยวกันด้วยการแลกเปลี่ยนกลูออนระหว่างกัน
(๓) ผลรวมมวลของอนุภาค A กับอนุภาค B เท่ากับ มวลของโฟตอนของรังสีแกมมาโฟตอนเดียว
ข้อความใดถูกต้อง
ก. (๑) เท่านั้น ข. (๒) เท่านั้น
ค. (๑) และ (๒) ง. (๑) และ (๓)
จ. (๒) และ (๓)

6
11. (EJU-1 2018) Light is a wave, but it also behaves as particles referred to as photons.
Photons have a and b . Using the speed of light, c , and the Planck constant, h ,
we can express the a of a photon of wavelength  as c , and its b as d .
When an electron and its antiparticle, a positron, undergo annihilation at rest, photons
are produced. Here, at least two photons are produced, as the creation of only one
photon would not obey the law of conservation of a .

What terms fill blanks a and b in the paragraph above? Also, what expressions
fill blanks c and d ? From ① - ④ below choose the correct combination.

① ② ③ ④

a momentum momentum energy energy


b energy energy momentum momentum
hc h hc h
c
   
h hc h hc
d
   

7
แนวที่ ๒ : ถามเกี่ยวกับข่าวการค้นพบอนุภาค

12. (PAT2 มี.ค. 59) ศาสตราจารย์ Takaaki และ ศาสตราจารย์ McDonald ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์
ปี 2558 ในเรื่องอะไร
ก. ค้นพบนิวตริโน ข. ยืนยันว่านิวตริโนมี 3 ชนิด
ค. ตรวจวัด นิวตริโน จากดวงอาทิตย์ ง. ยืนยันว่า นิวตริโน เปลี่ยนชีวิตได้
จ. ค้นพบว่า นิวตริโน มีมวลน้อยมาก

13. (PAT2 เม.ย. 57) ในปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2556) มีการมอบรางวัลโนเบลแก่นักฟิสิกส์ 2 ท่านที่มีงานวิจัยที่


เกี่ยวข้องกับอนุภาคชนิดหนึ่ง อนุภาคนั้นคืออะไร
ก. นิวตริโน ข. WIMP ค. ทาคิออน ง. ฮิกส์

8
อนุภาคสื่อแรงและแรงพื้นฐานในธรรมชาติ
14. (O-Net 2552) แรงในข้อใดต่อไปนี้เป็นแรงประเภทเดียวกันกับแรงที่ทำให้ลูกแอปเปิลตกลงสู่พื้นโลก
ก. แรงที่ทำให้ดวงจันทร์อยู่ในวงโคจรรอบโลก
ข. แรงที่ทำให้อิเล็กตรอนอยู่ในอะตอมได้
ค. แรงที่ทำให้โปรตอนหลายอนุภาคอยู่รวมกันในนิวเคลียสได้
ง. แรงที่ทำให้ป้ายแม่เหล็กติดอยู่บนฝาตู้เย็น

15. (O-Net 2557) แรงในข้อใดต่อไปนี้เป็นแรงประเภทเดียวกับแรงที่ทำให้เกิดการหมุนของพัดลมไฟฟ้า (มี 2


คำตอบ)
ก. แรงที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์น้ำขึ้นน้ำลง
ข. แรงที่ทำให้ดาวเทียมสื่อสารโคจรรอบโลก
ค. แรงที่เบนลำอิเล็กตรอนในจอโทรทัศน์รุ่นเก่า
ง. แรงที่ทำให้โปรตอนหลายตัวรวมกันอยู่ในนิวเคลียส
จ. แรงที่ใช้จับอนุภาคควันในเครื่องกำจัดฝุ่นในโรงงานอุตสาหกรรม
ฉ. แรงที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงออโรรา (แสงเหนือแสงใต้)

16. (O-Net 2553) โปรตอนและนิวตรอนสามารถอยู่รวมกันเป็นนิวเคลียสได้ ด้วยแรงใด


ก. แรงดึงดูดระหว่างมวล ข. แรงไฟฟ้า
ค. แรงแม่เหล็ก ง. แรงนิวเคลียร์

17. (O-Net 2554) แรงระหว่างอนุภาคซึ่งอยู่ภายในนิวเคลียสประกอบด้วยแรงใดบ้าง


ก. แรงนิวเคลียร์เท่านั้น
ข. แรงนิวเคลียร์และแรงไฟฟ้า
ค. แรงนิวเคลียร์และแรงดึงดูดระหว่างมวล
ง. แรงนิวเคลียร์ แรงไฟฟ้า และแรงดึงดูดระหว่างมวล

9
18. (O-Net 2562) พิจารณาข้อความเกี่ยวกับแรงภายในอะตอมต่อไปนี้
(๑) โปรตอนและนิวตรอนต่างประกอบขึ้นจากอนุภาคมูลฐานที่เรียกว่า ควาร์ก ซึ่งควาร์กแต่ละ
อนุภาคจะมีแรงนิวเคลียร์แบบเข้มกระทำต่อกันเพื่อยึดเหนี่ยวกัน
(๒) แรงยึดเหนี่ยวระหว่างควาร์กทำให้นิวคลีออนรวมกันอยู่ภายในนิวเคลียส และดึงดูดอิเล็กตรอนให้
เคลื่อนทีร่ อบ ๆ นิวเคลียส
(๓) แรงยึดเหนี่ยวระหว่างควาร์กมีค่าสูงมาก แต่มีระยะการส่งแรงสั้นมาก ซึ่งอยู่ที่ประมาณระยะห่าง
ระหว่างอะตอมที่อยู่ติดกัน
ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก. (๑) เท่านั้น ข. (๓) เท่านั้น
ค. (๑) และ (๒) ง. (๑) และ (๓)
จ. (๒) และ (๓)

10
การวิวัฒนาการของเอกภพ
19. (O-Net 2550) หลังเกิดบิกแบง ปริมาณอนุภาคกับปริมาณปฏิอนุภาคควรเป็นตามข้อใดจึงเกิดกาแล็กซี่
และดาวต่างๆ ขึ้นดังที่เป็นอยู่
ก. มีปริมาณเท่ากัน
ข. อนุภาคมีปริมาณมากกว่า
ค. ปฏิอนุภาคมีปริมาณมากกว่า
ง. เป็นไปได้ทุกข้อ

20. (B-PAT2 ต.ค. 51) อนุภาคใดไม่เป็นอนุภาคพื้นฐานเมื่อเกิดบิกแบง


ก. โฟตอน ข. อิเล็กตรอน
ค. นิวตรอน ง. ควาร์ก

21. (O-Net 2560) กาแลกซีเกิดหลังบิกแบงเป็นเวลาประมาณเท่าใด


ก. 3 นาที ข. 300, 000 ปี
ค. 1, 000 ล้านปี ง. 5, 000 ล้านปี
จ. 13, 700 ล้านปี

22. (O-Net 2560) ถ้าอุณหภูมิของเอกภพที่เวลา t ปีหลังบิกแบง สามารถคำนวณได้จากสูตร


2.7 106
T= เคลวิน โดย t มีหน่วยเป็นปี
t
เอกภพจะมีอุณหภูมิประมาณกี่เคลวินที่เวลา 3 แสนปีหลังบิกแบง
ก. 5 106 ข. 5 104
ค. 5, 000 ง. 900
จ. 90

11
23. (PAT2 มี.ค. 65) แผนภาพแสดงการกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพตามทฤษฎีบิกแบง เป็นดังนี้

กำหนดให้สัญลักษณ์แสดงสิ่งต่าง ๆ เป็นดังนี้

จากแผนภาพ ข้อใดถูกต้อง
ก. นิวเคลียสของไฮโดรเจนและฮีเลียมเกิดขึ้นในช่วงเวลาเดียวกัน
ข. ในช่วงเวลา 15, 000 ล้านปีหลังบิกแบง เอกภพจะมีอุณหภูมิสูงกว่า 2.73 เคลวิน
ค. สสารต่าง ๆ จะเริ่มรวมตัวเป็นเนบิวลารุ่นแรกในช่วงเวลา 1, 000 ล้านปีหลังบิกแบง
ง. ช่วงเวลาในการเกิดอนุภาคมูลฐานยาวนานกว่าการเกิดอะตอมของไฮโดรเจนและฮีเลียม
จ. อะตอมของไฮโดรเจนและฮีเลียมเกิดขึ้นในช่วงอุณหภูมิที่สูงกว่าการเกิดนิวเคลียสของไฮโดรเจนและ
ฮีเลียม

12
หลักฐานสนับสนุนทฤษฎีบิกแบง
แนวที่ ๑ : หลักฐานสนับสนุนทฤษฎีบิกแบง

24. (O-Net 2550) ปรากฏการณ์ใดที่สนับสนุน “ทฤษฎีบิกแบง”


ก. การชนกันของดาวหางกับดาวเคราะห์
ข. การขยายตัวของเอกภพ
ค. การเกิดลมสุริยะ
ง. การยุบตัวของดาวฤกษ์

25. (O-Net 2560) ข้อใดสนับสนุนทฤษฎีบิกแบงของการกำเนิดของเอกภพ


ก. การหดตัวของเอกภพ
ข. การหมุนรอบตัวเองของกาแล็กซี
ค. การขยายตัวของกาแล็กซีทางช้างเผือก
ง. อุณหภูมิ 2.73 K ของคลื่นไมโครเวฟพื้นหลัง
จ. ปรากฏการณ์ดอพเพลอร์ของแสงจาดดวงอาทิตย์

26. (PAT2 ต.ค. 53) ข้อใดผิด


ก. ในปัจจุบันเอกภพกำลังขยายตัว
ข. เอกภพประกอบด้วยกาแล็กซี่จำนวนมาก กาแล็กซี่ที่อยู่ไกลจะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วสูง
ค. การหาอุณหภูมิพื้นหลังของเอกภพหาได้จากสัญญาณที่ได้จากกล้องโทรทรรศน์วิทยุในทิศทางต่างๆ
ง. ในช่วงที่นิวตรอนและโปรตอนรวมตัวกันหลังเกิดบิกแบง ช่วงเวลานี้เอกภพขยายตัวช้ากว่าในปัจจุบัน

13
แนวที่ ๒ : อัตราการขยายตัวของเอกภพ

27. (PAT2 มี.ค. 52) อัตราการขยายตัวของเอกภพเป็นอย่างไร


ก. คงตัว ข. ลดลง
ค. เพิ่มขึ้น ง. ไม่สามารถระบุได้ชัดเจน ณ ปัจจุบัน

28. (PAT2 มี.ค. 52) ในปี 1929 เอ็ดวิน ฮับเบิล นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกันได้สังเกตว่า กาแล็กซีเคลื่อนที่
ถอยห่างจากโลก ดังแสดงในกราฟแกนนอน คือ ระยะทางในหน่วยเมกะพาร์เสค และแกนตั้ง คือ
อัตราเร็วในการเคลื่อนที่ถอยห่างจากโลกในหน่วยกิโลเมตรต่อวินาที

ในปัจจุบันได้นำความรู้นี้ไปใช้หาระยะทางของกาแล็กซีที่อยู่ไกลมากๆ พบว่า กระจุกกาแล็กซีในกลุ่มดาว


ราศีกันย์เคลื่อนที่ถอยห่างจากโลกด้วยอัตราเร็ว 1, 296 กิโลเมตรต่อวินาที กระจุกกาแล็กซีนี้ควรจะมี
ระยะห่างจากโลกประมาณเท่าใด
ก. 9 เมกะพาร์เสค ข. 18 เมกะพาร์เสค
ค. 36 เมกะพาร์เสค ง. 72 เมกะพาร์เสค

14
29. (O-Net 2559) จากการศึกษาเส้นสเปกตรัมดูดกลืนของกาแลกซี M87 ซึ่งเป็นกาแล็กซีรูปวงรีขนาดยักษ์
ในกลุ่มดาวหญิงสาว (Virgo) พบว่าเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วประมาณ 1,300 กิโลเมตรต่อวินาที กาแลกซีนี้
จะห่างจากระบบสุริยะประมาณกี่พาร์เซก (กำหนดให้ค่าคงที่ฮับเบิล H 0 = 75 km  s−1  Mpc−1 )
ก. 8.5 ข. 34
ค. 8.5 106 ง. 1.7 107
จ. 3.4 107

15
30. (O-Net 2564) กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วของกาแล็กซี A B C และ D ในการเคลื่อนที่
ออกจากกาแล็กซีทางช้างเผือกกับระยะทางระหว่างกาแล็กซีทั้งสี่กับกาแล็กซีทางช้างเผือก เป็นดังภาพ

จากภาพ ข้อความใดไม่ถูกต้อง
ก. กาแล็กซี A อยู่ห่างจากกาแล็กซีทางช้างเผือกน้อยกว่ากาแล็กซี B
ข. เมื่อเวลาผ่านไป กาแล็กซี C จะอยู่ใกล้กาแล็กซี D มากขึ้น
ค. เมื่อเวลาผ่านไป กาแล็กซี C จะอยู่ห่างจากกาแล็กซีทางช้างเผือกมากกว่า 1.5 Mpc
ง. เมื่อเวลาผ่านไป กาแล็กซี B จะมีความเร็วในการเคลื่อนที่ออกจากกาแล็กซีทางช้างเผือกเพิ่มขึ้น
จ. เมื่อเวลาผ่านไป กาแล็กซี A และ D จะมีความเร็วในการเคลื่อนที่ออกจากกาแล็กซีทางช้างเผือก
เพิ่มขึ้น แต่กาแล็กซี A ยังคงมีความเร็วน้อยกว่ากาแล็กซี D

16
31. (PAT2 มี.ค. 64) นักดาราศาสตร์ใช้กล้องโทรทรรศน์ศึกษาการเคลื่อนที่ของกาแล็กซีต่างๆ ในเอกภพดัง
ตาราง

ความเร็วในการเคลื่อนที่ของ
ระยะห่างจากโลกของกาแล็กซี
กาแล็กซี กาแล็กซีออกจากผู้สังเกต
(เมกะพาร์เซก: Mpc )
(กิโลเมตรต่อวินาที: km/s )
A . 17.0 . . 1, 241.0 .
B . 8.5 . . 620.5 .
C . 9.0 . . 657.0 .
D . 24.0 . . 1, 752.0 .
E . 16.0 . . 1,168.0 .

จากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างจากโลกของกาแล็กซี และ
ความเร็วในการเคลื่อนที่ของกาแล็กซีออกจากผู้สังเกต ดังนี้

จากข้อมูล นักวิทยาศาสตร์คนหนึ่งวิเคราะห์ข้อมูลและได้ข้อสรุป ดังนี้


ข้อที่ 1 กาแล็กซี E มีความเร็วในการเคลื่อนที่ของกาแล็กซีออกจากผู้สังเกตน้อยกว่ากาแล็กซี A
ข้อที่ 2 กาแล็กซี A มีระยะห่างจากโลกน้อยกว่ากาแล็กซี B
ข้อที่ 3 ถ้านักดาราศาสตร์ตรวจวัดความเร็วในการเคลื่อนที่ของกาแล็กซี F ออกจากผู้สังเกตได้เท่ากับ
1, 000 กิโลเมตรต่อวินาที กาแล็กซี F จะอยู่ห่างจากโลก 11 เมกะพาร์เซก

17
จากข้อมูล ข้อสรุปใดถูกต้อง
ก. ข้อที่ 1 เท่านั้น ข. ข้อที่ 3 เท่านั้น
ค. ข้อที่ 1 และ 2 ง. ข้อที่ 2 และ 3
จ. ข้อที่ 1 และ 3

18
แนวที่ ๓ : สเปกตรัมที่เปลี่ยนไปจากการขยายตัวของเอกภพ

32. (PAT3 มี.ค. 57) นักดาราศาสตร์ผู้หนึ่งสังเกตสเปกตรัมของแสงจากดาวฤกษ์ที่กำลังเคลื่อนที่เข้าหาโลก


และบันทึกลงบนแผ่นฟิล์ม ผลของการเกิดปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ
สเปกตรัมอย่างไร
ก. สเปกตรัมของแสงจากดาวฤกษ์จะมีการเลื่อนไปทางด้านแสงสีน้ำเงิน (Blue Shift)
ข. สเปกตรัมของแสงจากดาวฤกษ์จะอยู่คงที่ไม่เปลี่ยนแปลง
ค. สเปกตรัมของแสงจากดาวฤกษ์จะมีการเลื่อนไปทางด้านแสงเขียว (Green Shift)
ง. สเปกตรัมของแสงจากดาวฤกษ์จะมีการเลื่อนไปทางด้านแสงสีแดง (Red Shift)
จ. สเปกตรัมของแสงจากดาวฤกษ์จะมีการเลื่อนไปทางด้านแสงสีส้ม (Orange Shift)

33. (O-Net 2552) เอ็ดวิน ฮับเบิล ได้ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องในข้อใดที่ทำให้พบว่าเอกภพมีการขยายตัว


ก. การวัดการเลื่อนตำแหน่งของสเปคตรัมจากกาแล็กซี เทียบกับระยะห่างจากโลก
ข. ศึกษาโครงสร้างของกาแล็กซี ว่าประกอบด้วยดาวฤกษ์จำนวนมาก
ค. การสร้างสมการเพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดของทฤษฎีสัมพัทธภาพ
ง. การสังเกตการเคลื่อนที่ของดาวฤกษ์ โดยใช้การวัดสเปคตรัม

34. (PAT2 มี.ค. 57) เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีผู้เสนอทฤษฎีสภาวะคงตัวทางเอกภพวิทยา


(cosmological steady state theory) ซึ่งมีใจความว่า “เมื่อมองในภาพรวม เอกภพยังคงสภาพเช่นนี้
ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปนานเพียงใด เอกภพไม่มีจุดเริ่มต้นหรือจุดสิ้นสุด และสสารกระจายตัวค่อนข้าง
สม่ำเสมอในทุกทิศทาง แม้ว่าเอกภพจะขยายตัว แต่ก็จะมีสสารใหม่เกิดขึ้นทำให้ความหนาแน่นของ
เอกภพคงที่”
การค้นพบในข้อใดต่อไปนี้ขัดแย้งกับทฤษฎีสภาวะคงตัว
ก. การค้นพบว่าอุณหภูมิการแผ่รังสีพื้นหลังของเอกภพมีค่าประมาณ 2.7 เคลวิน
ข. การค้นพบว่าอุณหภูมิการแผ่รังสีพื้นหลังของเอกภพกระจายค่อนข้างสม่ำเสมอในทุกทิศทาง
ค. การค้นพบว่าสเปกตรัมของดาราจักรที่อยู่ไหลออกไปมีการเลื่อนไปทางแดง (Redshift)
ง. การค้นพบว่าดาราจักรที่อยู่ไกลออกไปเคลื่อนที่ออกด้วยความเร็วสูงกว่าดาราจักรที่อยู่ใกล้

19
35. (BMAT 2019) Cosmologists have deduced that soon after the Universe was formed it was
filled with electromagnetic radiation in the form of intense gamma-rays. They have also
deduced that the Universe has been expanding since that time. One effect of this
expansion is that the electromagnetic radiation that fills the Universe is now in the
microwave region of the spectrum.
Here are three statements about the effects of the Universe expanding on the
electromagnetic radiation that filled the early Universe:
(1) The expansion has caused an increase in the frequency of the radiation.
(2) The expansion has caused a decrease in the wavelength of the radiation.
(3) The expansion has caused frequency to change in direct proportion to
wavelength.
Which of the statements is/are correct?
A. none of them B. 1 only
C. 2 only D. 3 only
E. 1 and 2 only F. 1 and 3 only
G. 2 and 3 only H. 1, 2 and 3

20
แนวที่ ๔ : การค้นพบคลื่นไมโครเวฟพื้นหลัง

(PAT2 มี.ค. 52) จงอ่านข้อความข้างล่างแล้วตอบคำถามข้อ 36


เมื่อปี 2508 นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน 2 คน ชื่อ อาร์โน เพนเซียส และ โรเบิร์ต วิลสัน แห่ง
ห้องปฏิบัติการเบลเทเลโฟน ค้นพบอุณหภูมิพื้นหลังของเอกภพโดยบังเอิญในขณะที่นักวิทยาศาสตร์ทั้งสองคน
กำลังทดสอบระบบเครื่องรับสัญญาณของกล้องโทรทรรศน์วิทยุ ปรากฎว่ามีสัญญาณรบกวนตลอดเวลาไม่ว่าจะ
เป็นกลางวันหรือกลางคืน หรือฤดูต่างๆ แม้เปลี่ยนทิศทางและทำความสะอาดสายอากาศแล้วก็ยังมีสัญญาณ
รบกวนอยู่เช่นเดิม ต่อมาพบว่าสัญญาณรบกวนดังกล่าว เทียบได้กับพลังงานของการแผ่รังสีของวัตถุดำที่มี
อุณหภูมิประมาณ 3 เคลวิน หรือประมาณ - 270 องศาเซลเซียส การค้นพบดังกล่าวสอดคล้องกับคำทำนาย
ของกลุ่มนักวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยปรินซ์ตัน ที่ทำนายทางทฤษฎีก่อนหน้านี้ว่า ถ้าในอดีตมีบิกแบง
เกิดขึ้นอุณหภูมิพื้นหลังของเอกภพขณะนี้ควรมีค่าประมาณ 3 เคลวิน

36. จากข้อความข้างต้น การตรวจพบสัญญาณรบกวนในทุกทิศทางโดยใช้กล้องโทรทรรศน์วิทยุของอาร์โน


เพนเซียส และ โรเบิร์ต วิลสัน เป็นการสนับสนุนทฤษฎีการเกิดบิกแบงเนื่องจากเหตุผลข้อใด เป็นสำคัญ
ก. เพราะพลังงานของสัญญาณรบกวนที่วัดได้เทียบเท่ากับพลังงานการแผ่รังสีของวัตถุดำอุณหภูมิ
ประมาณ 3 เคลวิน
ข. เพราะมีการทำนายมาก่อนแล้วว่า ถ้ามีบิกแบงเกิดขึ้นจริง อุณหภูมิพื้นหลังของอวกาศควรมี
ค่าประมาณ 3 เคลวิน
ค. เพราะมีสัญญาณรบกวนเกิดขึ้นขณะที่มีการเกิดบิกแบง
ง. เพราะสัญญาณรบกวนที่วัดได้ เกิดขึ้นในทุกทิศทางที่สังเกต

21

You might also like