Arb Summary

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 4

การอนุญาโตตุลาการ

(Arbitration)

1. ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับอนุญาโตตุลาการ
(1) อนุญาโตตุลาการคืออะไร?
อนุญาโตตุลาการ คือ วิธกี ารระงับข้อพิพาททีค่ กู่ รณีตกลงกันเสนอข้อพิพาททีเ่ กิดขึน้ แล้วหรือทีจ่ ะเกิดขึน้ ใน
อนาคตให้บุคคลภายนอกซึง่ เรียกว่า อนุญาโตตุลาการ ทำการพิจารณาชีข้ าด โดยคูก่ รณีผกู พันทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามคำชีข้ าด
ของอนุญาโตตุลาการ
(2) อนุญาโตตุลาการมีป่ ระเภท?
อนุญาโตตุลาการ แบ่งได้หลายประเภท ดังนี้
1) อนุ ญาโตตุลาการในศาลกับอนุ ญาโตตุลาการนอกศาล
1.1) อนุ ญาโตตุลาการในศาล คือ กรณีทค่ี กู่ รณีซง่ึ มีคดีอยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของศาลตกลงกันให้มี
อนุญาโตตุลาการชีข้ าดได้ โดยความเห็นชอบของศาล (มาตรา 210-220 และ 222 ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพ่ง)
แต่วธิ นี ้ไี ม่เป็ นทีน่ ิยมเพราะเมือ่ มีคดีขน้ึ ไปสูศ่ าลแล้ว คูค่ วามมักไม่ตอ้ งการให้บุคคลอื่นมาช่วยชีข้ าดให้ แต่ตอ้ งการให้ศาล
ตัดสินคดีนนั ้ มากกว่า
1.2) อนุ ญาโตตุลาการนอกศาล คือ กรณีทค่ี กู่ รณีตกลงกันเสนอข้อพิพาทให้อนุ ญาโตตุลาการพิจารณาชีข้ าด
โดยไม่ได้ฟ้องคดีต่อศาล ซึง่ อาจตกลงกันไว้ล่วงหน้าก่อนมีขอ้ พิพาทหรืออาจตกลงกันภายหลังจากทีม่ ขี อ้ พิพาทแล้วก็ได้
การอนุญาโตตุลาการส่วนใหญ่ในนานาประเทศรวมทัง้ ประเทศไทยนัน้ เป็ นการอนุญาโตตุลาการนอกศาล ซึง่ จะ
อยูภ่ ายใต้บงั คับของ พระราชบัญญัตอิ นุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545
2) อนุญาโตตุลาการเฉพาะกิจกับอนุญาโตตุลาการโดยสถาบัน
2.1) อนุญาโตตุลาการเฉพาะกิจ (Ad Hoc Arbitration) เป็ นกรณีทค่ี พู่ พิ าทดำเนินการระงับข้อพิพาทตามวิธี
อนุญาโตตุลาการด้วยตนเอง กล่าวคือ โดยตัง้ อนุญาโตตุลาการและกำหนดวิธพี จิ ารณาต่างๆเอง และให้อนุญาโตตุลาการ
ชีข้ าดข้อพิพาทของตน
2.2) อนุญาโตตุลาการโดยสถาบัน (Institutional Arbitration) เป็ นกรณีทค่ี พู่ พิ าทตกลงระงับข้อพิพาทกันโดย
ใช้บริการของสถาบันอนุญาโตตุลาการ ซึง่ สถาบันดังกล่าวนี้อาจเป็ นสถาบันทีต่ งั ้ ขึน้ มาเพือ่ ให้บริการด้าน
อนุญาโตตุลาการโดยเฉพาะ สำหรับประเทศไทย เช่น สถาบันอนุญาโตตุลาการของสำนักงานศาลยุตธิ รรม สภา
อนุญาโตตุลาการของหอการค้าแห่งประเทศไทย ส่วนในต่างประเทศ เช่น สถาบันอนุญาโตตุลาการของสภาหอการค้า
ระหว่างประเทศ (International Chamber of Commerce - ICC) สมาคมอนุญาโตตุลาการของสหรัฐอเมริกา
(American Arbitration Association - AAA) หรืออาจเป็ นส่วนหนึ่งขององค์กรเฉพาะด้านทีใ่ ห้บริการกับสมาชิก
และ/หรือผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง สำหรับประเทศไทย เช่น อนุญาโตตุลาการของสำนักงาน ก.ล.ต. อนุญาโตตุลาการของสมาคม
ตลาดตราสารหนี้ไทย ส่วนในต่างประเทศ เช่น อนุญาโตตุลาการของ NASD
3) อนุ ญาโตตุลาการในประเทศกับอนุ ญาโตตุลาการต่างประเทศ
3.1) อนุ ญาโตตุลาการในประเทศ เป็ นกระบวนการระงับข้อพิพาทโดยอนุ ญาโตตุลาการในประเทศใดประเทศ
หนึ่ง ไม่วา่ คูก่ รณีจะมีสญ ั ชาติใด
3.2) อนุ ญาโตตุลาการต่างประเทศ เป็ นกระบวนการระงับข้อพิพาทโดยอนุ ญาโตตุลาการทีด่ ำเนินการภายนอก
ประเทศ ไม่วา่ คูก่ รณีจะมีสญ ั ชาติใด

(3) ทำไมจึงต้องใช้หรือต้องมีกระบวนการอนุญาโตตุลาการ?
สาเหตุทต่ี อ้ งมีหรือใช้กระบวนการอนุญาโตตุลาการก็เนื่องมาจากเหตุผล ดังต่อไปนี้
1) ความรวดเร็ว
เนื่องจากการฟ้องคดีต่อศาลนัน้ มีขนั ้ ตอนมากและคูค่ วามยังสามารถอุทธรณ์ ฎีกาต่อไปได้ท ำให้เสียเวลามาก
แต่กระบวนการอนุญาโตตุลาการจะสิน้ สุดรวดเร็วและไม่มขี นั ้ ตอนยุง่ ยาก
2) ความยุง่ ยากและสลับซับซ้อนของคดี
เนื่องจากโดยปกติผทู้ เ่ี ป็ นอนุญาโตตุลาการ โดยเฉพาะอย่างยิง่ อนุญาโตตุลาการทีค่ กู่ รณีเลือกมักจะเป็ นผูท้ ม่ี ี
ความรูม้ คี วามเชีย่ วชาญในเรือ่ งทีพ่ พิ าทเป็ นอย่างดี ทำให้เข้าใจเรือ่ งทีพ่ พิ าทและพยานหลักฐานต่างๆได้รวดเร็ว ซึง่ ส่งผล
ให้การชีข้ าดข้อพิพาททำได้รวดเร็วและยุตธิ รรม ในขณะทีถ่ า้ เป็ นการดำเนินคดีในศาลคูค่ วามไม่สามารถเลือกผูพ้ พิ ากษา
ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในเรือ่ งนัน้ ๆมาพิจารณาคดีให้ตนได้ ซึง่ ก็ตอ้ งมีการใช้พยานผูเ้ ชีย่ วชาญมาเบิกความ ทำให้การ
พิจารณาคดีเป็ นไปอย่างยากลำบากและล่าช้า และอาจมีปญั หาในการรับฟงั พยานหลักฐาน เพราะต้องขึน้ อยูก่ บั ว่าพยาน
ผูเ้ ชีย่ วชาญเบิกความอธิบายได้ชดั เจนถูกต้องมากน้อยเพียงใด
3) การรักษาชือ่ เสียงและความลับ
เนื่องจากหลักการพิจารณาคดีของศาลต้องทำโดยเปิดเผย ประชาชนทัวไปสามารถเข้ ่ าฟงั การพิจารณาของศาล
ได้ สือ่ มวลชนก็อาจรับฟงั และนำเสนอข่าวได้งา่ ย ซึง่ อาจส่งผลเสียต่อภาพพจน์ทางธุรกิจและการรักษาความลับของคู่
กรณี เว้นแต่วา่ จะมีการพิจารณาคดีเป็ นการลับ ซึง่ ก็จะมีเป็ นบางคดีเท่านัน้ แต่หลักการดำเนินกระบวนพิจารณาของการ
อนุญาโตตุลาการนัน้ กระทำเป็ นความลับ เฉพาะคูก่ รณีและผูท้ เ่ี กีย่ วข้องเท่านัน้ ทีม่ สี ทิ ธิเข้าร่วมการพิจารณา บุคคล
ภายนอกไม่มโี อกาสรูข้ อ้ เท็จจริงโดยตรง จึงไม่รวู้ า่ คูก่ รณีมขี อ้ พิพาทกันหรือไม่ หรือมีกนั อย่างไร จึงเป็ นการรักษาชือ่ เสียง
ของคูพ่ พิ าทและความลับทางธุรกิจของคูก่ รณีได้เป็ นอย่างดี
4) การรักษาความสัมพันธ์ระหว่างคูพ ่ พิ าท
เนื่องจากแนวทางการพิจารณาคดีของศาลนัน้ เป็ นการต่อสูค้ ดีกนั ทำให้คกู่ รณีมคี วามรูส้ กึ เป็ นศัตรูกนั อีกทัง้ ยัง
ใช้เวลาต่อสูก้ นั ยาวนาน เพราะคดีสามารถอุทธรณ์ ฎีกาต่อไปได้ ซึง่ ส่งผลเสียต่อความสัมพันธ์ทางธุรกิจ แต่กระบวนการ
อนุญาโตตุลาการนัน้ เป็ นการระงับข้อพิพาททีเ่ ปิดโอกาสให้คกู่ รณีพบปะเจรจาปญั หาทีพ่ พิ าทกันโดยตรง บรรยากาศใน
การพิจารณามีลกั ษณะเป็ นกันเอง ไม่เคร่งเครียด อีกทัง้ ไม่มรี ะบบทีใ่ ห้คกู่ รณีโต้แย้งเอาแพ้ชนะกัน จึงสามารถรักษาความ
สัมพันธ์ระหว่างคูพ่ พิ าทซึง่ อยูใ่ นวงการธุรกิจ ทีส่ ว่ นใหญ่จะต้องคบค้าและประกอบธุรกิจกันต่อไปอีกในอนาคต
(4) กฎหมายอนุญาโตตุลาการกับกระบวนการอนุญาโตตุลาการของสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย
ในการดำเนินกระบวนการอนุญาโตตุลาการของสมาคมนัน้ จะต้องนำกฎหมายว่าด้วยอนุญาโตตุลาการ ซึง่ ได้แก่
พระราชบัญญัตอิ นุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 มาใช้ดว้ ย ทัง้ นี้ เป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการสมาคมตลาดตราสารหนี้
ไทย เรือ่ ง การอนุญาโตตุลาการ ข้อ 2
2. ขัน้ ตอนการดำเนิ นกระบวนพิ จารณาโดยวิ ธีอนุญาโตตุลาการของสมาคม
(1) ผูม้ สี ทิ ธิเสนอคำร้อง
ได้แก่ สมาชิกสมาคมและคูพ่ พิ าทกับสมาชิก
(2) ข้อพิพาททีส่ ามารถเข้าสูก่ ระบวนการอนุญาโตตุลาการ
ต้องเป็ นข้อพิพาททีเ่ กิดจากหรือเกีย่ วเนื่องกับการซือ้ ขายตราสารหนี้ระหว่างสมาชิก หรือสมาชิกกับลูกค้า
(3) วิธกี ารเสนอข้อพิพาท
ให้ยน่ื คำร้องเสนอข้อพิพาท (Statement of Claim) ต่อสมาคมตามแบบทีส่ มาคมกำหนด
(3.1) ในกรณีทค่ี ำร้องไม่ครบถ้วนหรือไม่ชดั เจน สมาคมจะแจ้งให้ผรู้ อ้ งแก้ไขให้เรียบร้อยภายใน 30 วันนับแต่
วันทีไ่ ด้รบั หรือควรได้รบั การแจ้งจากสมาคม
(3.2) ในกรณีทค่ี ำร้องถูกต้องครบถ้วน สมาคมจะส่งสำเนาคำร้องพร้อมเอกสารหลักฐานต่างๆ ไปยังคูพ่ พิ าทอีก
่ฝายหนึ่ง เพือ่ ให้ยน่ื คำคัดค้าน (Statement of Defence) ภายใน 30 วันนับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั สำเนาคำร้องเสนอข้อพิพาท

(4) การไกล่เกลีย่ ข้อพิพาท (Mediation)


ในกรณีทม่ี คี พู่ พิ าทฝา่ ยใดฝา่ ยหนึ่งประสงค์จะให้มกี ารไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการคนใดคนหนึ่ง
ของสมาคม ก่อนเข้ากระบวนการอนุญาโตตุลาการ สมาคมจะมีหนังสือแจ้งให้คพู่ พิ าทอีกฝา่ ยทราบเพื่อให้ตอบรับภายใน
15 วันนับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั แจ้งจากสมาคม
- หากคูพ่ พิ าทไม่ตอบรับภายในเวลาทีก่ ำหนด สมาคมจะดำเนินกระบวนการอนุญาโตตุลาการต่อไป
- หากตอบรับกลับมาแล้วดำเนินการไกล่เกลีย่ สำเร็จให้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความและให้คพู่ พิ าทลง
ลายมือชือ่ ในสัญญาดังกล่าว แต่ถา้ ไกล่เกลีย่ ไม่ส ำเร็จก็ให้นำเรือ่ งกลับเข้าสูก่ ระบวนการอนุญาโตตุลาการต่อไป
(5) การแต่งตัง้ และคัดค้านอนุญาโตตุลาการ
(5.1) การแต่งตัง้ อนุญาโตตุลาการ (Appointment of arbitrator)
ให้มอี นุญาโตตุลาการ 3 คนเป็ นผูช้ ข้ี าด ประกอบด้วย บุคคลทีค่ ณะกรรมการสมาคมเลือกจากบัญชีรายชือ่
อนุญาโตตุลาการของสมาคมทำหน้าทีเ่ ป็ นประธาน จำนวน 1 คน และบุคคลซึง่ คูพ่ พิ าทแต่งตัง้ อีกฝา่ ยละ 1 คน ซึง่ จะมา
จากบัญชีรายชือ่ อนุญาโตตุลาการของสมาคมหรือไม่กไ็ ด้
(5.2) การคัดค้านอนุญาโตตุลาการ (Challenge of arbitrator)
คูพ่ พิ าทอาจยืน่ หนังสือคัดค้านการตัง้ อนุญาโตตุลาการได้ ในกรณีทม่ี เี หตุอนั ควรสงสัยในความเป็ นอิสระหรือ
ความเป็ นกลาง ภายใน 15 วันนับแต่รหู้ รือควรรูถ้ งึ เหตุนนั ้ แต่ตอ้ งก่อนวันทีอ่ นุญาโตตุลาการสังปิ ่ ดการพิจารณา
(6) การพิจารณา
คณะอนุญาโตตุลาการต้องทำคำชีข้ าด (Award) ให้เสร็จ ภายใน 180 วันนับแต่วนั ทีแ่ ต่งตัง้ อนุญาโตตุลาการคน
สุดท้าย เว้นแต่คพู่ พิ าทจะตกลงกันเป็ นอย่างอื่น
(7) ค่าตอบแทนและค่าใช้จา่ ย
ให้คพู่ พิ าทชำระ ดังนี้
(6.1) ค่าธรรมเนียม ในอัตรา 1% ของทุนทรัพย์ทเ่ี รียกร้อง แต่ไม่เกิน 10,000 บาท
(6.2) ค่าตอบแทนอนุญาโตตุลาการ ใช้อตั ราผันแปรตามทุนทรัพย์ทเ่ี รียกร้อง ดังนี้
ไม่เกิน 500,000 บาท อัตรา 2.5% แต่ไม่ต่ำกว่า 10,000 บาท
500,001 บาท – 1,000,000 บาท อัตรา 2.0% แต่ไม่ต่ำกว่า 12,500 บาท
1,000,001 บาท – 5,000,000 บาท อัตรา 1.5% แต่ไม่ต่ำกว่า 20,000 บาท
5,000,001 บาท – 10,000,000 บาท อัตรา 1.0% แต่ไม่ต่ำกว่า 75,000 บาท
10,000,001 บาท – 50,000,000 บาท อัตรา 0.5% แต่ไม่ต่ำกว่า 100,000 บาท
มากกว่า 50,000, 000 บาท อัตรา 250,000 บาท
อนึ่ง ในการคำนวณ ถ้าคำนวณได้เป็ นเศษให้ปดั เศษขึน้ จนเต็มจำนวน
(8) การวางเงินประกัน
ให้คพู่ พิ าทวางเงินประกันค่าธรรมเนียมและค่าตอบแทนอนุญาโตตุลาการตามจำนวนทีค่ ณะกรรมการสมาคม
กำหนด ภายใน 15 วันนับแต่สมาคมแต่งตัง้ ประธานคณะอนุญาโตตุลาการ ทัง้ นี้ คณะอนุญาโตตุลาการอาจเรียกให้คู่
พิพาทวางเงินประกันเพิม่ เติมได้ตามทีเ่ ห็นสมควร
(9) การขอยุตกิ ระบวนการอนุญาโตตุลาการ
ไม่วา่ เวลาใดๆนับแต่วนั เสนอข้อพิพาทจนถึงก่อนคณะอนุญาโตตุลาการมีค ำชีข้ าด คูพ่ พิ าทฝา่ ยใดฝา่ ยหนึ่งหรือ
ทัง้ สองฝา่ ยร่วมกัน อาจยืน่ คำร้องขอให้ยตุ กิ ระบวนการอนุญาโตตุลาการได้ โดยผูย้ น่ื คำร้องมีหน้าทีช่ ำระค่าตอบแทนและ
ค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดขึน้ หรือในกรณีทค่ี พู่ พิ าทร่วมกันคำร้องให้กำหนดผูท้ ม่ี หี น้าทีช่ ำระค่าตอบแทนและค่าใช้จา่ ยมาด้วย

(10) การบังคับตามคำชีข้ าด
การบังคับให้เป็ นไปตามคำชีข้ าดของอนุญาโตตุลาการไม่วา่ จะโดยอนุญาโตตุลาการขององค์กรใด ก็จำเป็ นต้อง
ใช้กระบวนการทางศาล เพือ่ ขอให้ศาลดำเนินการบังคับให้เป็ นไปตามคำชีข้ าด ซึง่ โดยปกติศาลก็จะไต่สวนว่ามีการทำคำ
ชีข้ าดกันจริงและถูกต้องหรือไม่ และเปิดโอกาสให้คดั ค้านได้เฉพาะเหตุตามทีก่ ฎหมายกำหนดเท่านัน้ หากศาลเห็นว่าคำ
คัดค้านฟงั ไม่ขน้ึ และมีการทำคำชีข้ าดกันจริง ศาลก็จะพิพากษาบังคับตามคำชีข้ าดนัน้ โดยไม่ได้เข้าไปวินิจฉัยในเนื้อหา
ของเรือ่ งทีช่ ข้ี าด
3. แผนผังกระบวนการอนุญาโตตุลาการ
4. ทะเบียนรายชื่ออนุญาโตตุลาการ
5. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
- พ.ร.บ. อนุ ญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545
- ประมวลกฎหมายวิธพ ี จิ ารณาความแพ่ง
- ประกาศคณะกรรมการสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย เรือ่ ง การอนุ ญาโตตุลาการ
6. แบบฟอร์ม
- คำร้องเสนอข้อพิพาท (ข้อ 4)
- หนังสือแต่งตัง้ ตัวแทนเพือ่ ดำเนินกระบวนพิจารณา (ข้อ 4 วรรค 2)
- หนังสือตัง้ อนุ ญาโตตุลาการ (ข้อ 6)
- คำคัดค้านข้อพิพาท (ข้อ 6)
- หนังสือคัดค้านการตัง้ อนุ ญาโตตุลาการ (ข้อ 10)
- สัญญาหรือข้อตกลงให้ระงับข้อพิพาทด้วยวิธกี ารอนุ ญาโตตุลาการ (ข้อ 12)

You might also like