BB 2 TSOWOo N

You might also like

Download as xls, pdf, or txt
Download as xls, pdf, or txt
You are on page 1of 17

การทดสอบระบบการควบคุมภายใน (Test of control)-การผลิต และการรับ/จ่ ายวัตถุดบิ

การผลิต

ประเมินความเสี ยงจากการแสดงข้ อมูลทีขัดต่ อข้ อเท็จ


สิ่ งที่ผ้ บู ริหารได้ ให้ การรับรองในงบการเงิน
จริงอันเป็ นสาระสํ าคัญในงบการเงิน
(Assertions)
(Risk Assessment)

ความครบถ้ วน
- การรับวัตถุดิบเกิดขึ้นโดยอาจไม่มีการบันทึกรายการ
-- การจ่ ายวัตถุดิบเกิดขึ้นโดยอาจไม่
ชัว่ โมงแรงงานทางตรงอาจไม่ มีกางานตามการผลิ
คิดเข้ ารบันทึกรายการต
จริ ง
- ค่าใช้จ่ายทางตรงอาจไม่คิดเข้างานตามการผลิตจริ ง
- ค่าใช้จ่ายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการผลิตอาจไม่ถูกคิดเข้างาน
ตามการผลิตจริ ง
- ผลพลอยได้จากการผลิตอาจไม่ถูกบันทึกรายการ
- สิ นค้าสำเร็ จรู ปที่ผลิตได้อาจไม่ถูกบันทึกรายการ

ความมีอยู่จริง/เกิดขึน้ จริง
- การรับวัตถุดิบอาจถูกบันทึกรายการโดยไม่เกิดขึ้นจริ ง
- การจ่ายวัตถุดิบอาจถูกบันทึกรายการโดยไม่เกิดขึ้นจริ ง
- วัตถุดิบอาจถูกขโมยจากคลังสิ นค้า
- งานระหว่างทำอาจถูกขโมยหรื อส่ งไปผิดแผนกงานใน
ระหว่างการผลิต
- ต้นทุนการผลิตอาจถูกบันทึกโดยไม่ได้เกิดขึ้นจริ ง
- การโอนสิ นค้าสำเร็ จที่ผลิตเสร็ จเข้าคลังสิ นค้าอาจไม่เกิด
ขึ้นจริ ง
- สิ นค้าสำเร็ จรู ปอาจถูกขโมยจากคลังสิ นค้า

กรรมสิ ทธิ์และข้ อผูกพัน

- วัตถุดิบที่ถูกบันทึกรายการอาจยังไม่โอนกรรมสิ ทธิ์ จาก


บริ ษทั ผูข้ าย เช่น บริ ษทั ผูข้ ายมาขอเช่าคลังในโรงงาน
ของบริ ษทั เพื่อเก็บสิ นค้า แต่บริ ษทั บันทึกเป็ นวัตถุดิบของ
บริ ษทั ทั้งที่ยงั ไม่มีการโอนกรรมสิ ทธิ

- สิ นค้าสำเร็ จรู ปที่ออกใบกำกับภาษีขายแล้วอาจยังไม่ถูก


โอนสิ ทธิที่เจ้าของพึงมีให้กบั ผูซ้ ้ื อ เช่น การออกใบแจ้ง
หนี้ให้กบั สิ นค้าฝากขาย ทั้งที่ยงั ไม่มีการขายจริ ง

ความถูกต้ อง
- การรับวัตถุดิบที่เกิดขึ้นอาจถูกบันทึกรายการในจำนวน
ที่ไม่ถูกต้อง
- การจ่ายวัตถุดิบที่เกิดขึ้นอาจถูกบันทึกรายการในจำนวน
ที่ไม่ถูกต้อง

- บริ ษทั คำนวณอัตราค่าใช้จ่ายในการผลิตอาจไม่เหมาะ


สมหรื อต้นทุนมาตรฐานไม่สอดคล้องกับการผลิตจริ ง
- ต้นทุนของงานที่เสร็ จอาจไม่ได้โอนไปสิ นค้าสำเร็ จรู ป
หรื อโอนไปด้วยจำนวนเงินที่ไม่ถูกต้อง
- มูลค่าตามบัญชีของสิ นค้าในบัญชียอ่ ยหรื อแฟ้ มข้อมูล
หลักอาจไม่ตรงกับบัญชีคุมยอด

- ต้นทุนการผลิตอาจบันทึกในบัญชีที่ไม่สอดคล้องกับ
นโยบายบัญชีของบริ ษทั เช่น นโยบายระบุวา่ ใช้เกณฑ์เข้า
ก่อน-ออกก่อน แต่บริ ษทั คำนวณโดยใช้วิธีถวั เฉลี่ย
- การปรับปรุ งราคาและปริ มาณสิ นค้าอาจไม่สอดคล้อง
ตามสิ นค้าที่นบั ได้จริ ง

การตัดยอด
- การรับวัตถุดิบอาจถูกบันทึกรายการไม่ตรงรอบบัญชีที่เกิดขึ้น
-- การจ่
สิ นค้าาระหว่
ยวัตถุาดงทางอาจถู
ิบอาจถูกบักนบัทึนกทึรายการไม่ ตรงรอบบั
กไม่ตรงรอบบั ญชีทญี่เกิชีดที่เกิดขึ้น
ขึ้น
- การรับสิ นค้าสำเร็ จรู ปอาจถูกบันทึกรายการไม่ตรงรอบ
บัญชีที่เกิด
- การขายสิ นค้าสำเร็ จรู ปอาจถูกบันทึกรายการไม่ตรงรอบ
บัญชีที่เกิด

การจัดประเภทรายการ
- สิ นค้าคงเหลือที่ใช้ในการผลิตอาจถูกบันทึกเป็ นค่าใช้
จ่ายตั้งแต่เมื่อซื้ อและรับเข้าคลัง
- บริ ษทั อาจจัดประเภทสิ นค้าที่น ำมาใช้ภายในบริ ษทั และ
มีอายุเกิน 1 ปี เป็ นสิ นค้าแทนที่จะเป็ นสิ นทรัพย์ถาวร

การแสดงมูลค่ า
- วัตถุดิบที่ยกเลิกในการนำมาใช้ในการผลิตอาจมีมูลค่า
ตามบัญชีสูงกว่ามูลค่าสุ ทธิที่จะได้รับ
- สิ นค้าสำเร็ จรู ปอาจมีมูลค่าตามบัญชีสูงกว่ามูลค่าสุ ทธิที่
จะได้รับ

หมายเหตุ
[ก] รายละเอียดกระบวน การวางแผนการออกแบบ เพื่อทำการประเมินการออกแบบและการดำเนินงานการควบคุมภายใน ทำได้ดงั นี้
(Understanding of internal controls)
1. สอบถามเพื่อให้ได้มาซึ่ งหลักฐานการตรวจสอบเกี่ยวกับการประเมินการออกแบบและการดำเนินงานการควบคุมภายใน ผูส้ อบบัญชีควรสอบถามผูท้ ี่รับผิดชอ
- อธิบายขั้นตอนในการทำการควบคุมภายในนั้นๆ
- รายงานหรื อข้อมูลต่างๆ ที่ใช้ใน รวมถึงการได้มาซึ่ งรายงานและข้มูลดังกล่าวและนำมาใช้อย่างไรในขั้นตอนการปฏิบตั ิการควบคุมภายใน
- หากในระหว่างที่ปฏิบตั ิงานผูท้ ี่รับผิดชอบลาออก หรื อลางาน มีกระบวนการอย่างไรต่อไป
- หากในระหว่างที่ปฏิบตั ิงานเจอข้อผิดพลาดหรื อข้อยกเว้น มีกระบวนการอย่างไรต่อไป
- หากในระหว่างที่ปฏิบตั ิงานเจอเหตุการณ์ผดิ ปกติที่ไม่เป็ นไปตามปกติของธุรกิจ มีกระบวนการอย่างไรต่อไป
- มีการเปลี่ยนแปลงในกิจกรรมการควบคุมระหว่างปี หรื อไม่ รวมถึงมีการเปลี่ยนบุคลากรที่รับผิดชอบหรื อไม่
2. พิจารณาว่ากิจกรรมการควบคุมภายในสามารถที่จะป้ องกัน, ค้นพบและแก้ไขความเสี่ ยงที่เกิดขึ้นได้หรื อไม่
3. ผูท้ ี่ปฏิบตั ิกิจกรรมการควบคุมมีความรู้ความสามารถในการปฏบัติกิจกรรมการควบคุมหรื อไม่

[ข] รายละเอียดกระบวน การวางแผนการออกแบบ เพื่อทำการประเมินการออกแบบและการดำเนินงานการควบคุมภายใน (walk through) ทำโดยเลือกเฉพาะการคว


ทดสอบเพื่อให้เกิดความความเข้าใจได้หลายวิธี เช่นการสังเกตการณ์ ทบทวนการคำนวณ และ ตรวจสอบเอกสาร เป็ นต้น ทั้งนี้จ ำนวนตัวอย่างที่เลือกทดสอบจ

[ค] การวางแผนตรวจสอบการดำเนินงานการควบคุมภายในจากผลการดำเนินงาน(ตลอดรอบระยะเวลาบัญชีที่ตรวจสอบ) ทำการทดสอบเช่นเดียวกับ ขั้น Walkthro


ความถี่ของการเกิดจุดควบคุมที่ตอ้ งการทดสอบ เพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ในการกำหนดตัวแทนประชากร และสุ่ มเลือกเพื่อให้ได้ความเชื่อมัน่ ว่าการควบคุมภายในยังคง
ตัวอย่าง จำนวนรายการที่ทดสอบเปรี ยบเทียบกับความถี่ของการควบคุม
- การควบคุมเกิดขึ้นวันละหลายๆ ครั้ง (>250) สุ่ มทดสอบ 30 รายการ
- การควบคุมเกิดขึ้นสัปดาห์ละ 1 ครั้ง (52) สุ่ มทดสอบ 10 รายการ
- การควบคุมเกิดขึ้นเดือนละ 1 ครั้ง (12) สุ่ มทดสอบ 2-4 รายการ
- การควบคุมเกิดขึ้นไตรมาสละ 1 ครั้ง (4) สุ่ มทดสอบ 2 รายการ
- การควบคุมเกิดขึ้นปี ละ 1 ครั้ง (1) สุ่ มทดสอบ 1 รายการ
-การผลิต และการรับ/จ่ ายวัตถุดบิ

รายละเอียดกระบวน การวางแผนการออกแบบ เพือ่ ทำการประเมินการ


รายละเอียดกิจกรรมการควบคุม
ออกแบบและการดำเนินงานการควบคุมภายใน
(Control Activities)
(Understanding of internal controls)

ดูหมายเหตุ [ก]

ดูหมายเหตุ [ก]

ดูหมายเหตุ [ก]

ดูหมายเหตุ [ก]
รงรอบบัญชีที่เกิดขึ้น ดูหมายเหตุ [ก]
ตรงรอบบัญชีที่เกิดขึ้น

ดูหมายเหตุ [ก]

ดูหมายเหตุ [ก]
นินงานการควบคุมภายใน ทำได้ดงั นี้

รดำเนินงานการควบคุมภายใน ผูส้ อบบัญชีควรสอบถามผูท้ ี่รับผิดชอบในการปฏิบตั ิการควบคุมภายในที่ผสู้ อบบัญชีระบุโดยควรสอบถามในเรื่ องต่างๆ ดังต่อไปนี้

อย่างไรในขั้นตอนการปฏิบตั ิการควบคุมภายใน

นการอย่างไรต่อไป
รับผิดชอบหรื อไม่
เกิดขึ้นได้หรื อไม่
อไม่

นินงานการควบคุมภายใน (walk through) ทำโดยเลือกเฉพาะการควบคุมหลัก ซึ่ งระบุได้ในขั้นตอนการทำความเข้าใจการควบคุมภายในที่มาช่วยบรรเทาความเสี่ ยงจากการแสดงข้อมูลทีขดั ต่อ


และ ตรวจสอบเอกสาร เป็ นต้น ทั้งนี้จ ำนวนตัวอย่างที่เลือกทดสอบจำกัดเพียงเพื่อให้เกิดความเข้าใจในการปฏิบตั ิตามการควบคุมเท่านั้น

ยะเวลาบัญชีที่ตรวจสอบ) ทำการทดสอบเช่นเดียวกับ ขั้น Walkthrough โดยมีจ ำนวนตัวอย่างเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ที่ก ำหนดตามมาตรฐาน IFAC เพื่อให้แน่ใจว่าผลของการทดสอบสามารถเป็ นตัว
ชากร และสุ่ มเลือกเพื่อให้ได้ความเชื่อมัน่ ว่าการควบคุมภายในยังคงมีการปฏิบตั ิอยูจ่ นถึงวันสิ้ นงวด
รายละเอียดกระบวน การวางแผนการออกแบบ เพือ่ ทำการ การวางแผนตรวจสอบการดำเนินงานการ
ประเมินการออกแบบและการดำเนินงานการควบคุมภายใน ควบคุมภายในจากผลการดำเนินงานระหว่ างการ
"Walkthrough" ถึงผลการดำเนินงานสิ้นปี
(Preliminary evaluation of internal control procedures) (Compliance Test)

ดูหมายเหตุ [ข] ดูหมายเหตุ [ค]

ดูหมายเหตุ [ข] ดูหมายเหตุ [ค]

ดูหมายเหตุ [ข] ดูหมายเหตุ [ค]

ดูหมายเหตุ [ข] ดูหมายเหตุ [ค]


ดูหมายเหตุ [ข] ดูหมายเหตุ [ค]

ดูหมายเหตุ [ข] ดูหมายเหตุ [ค]

ดูหมายเหตุ [ข] ดูหมายเหตุ [ค]


ยควรสอบถามในเรื่ องต่างๆ ดังต่อไปนี้

วบคุมภายในที่มาช่วยบรรเทาความเสี่ ยงจากการแสดงข้อมูลทีขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญในงบการเงิน โดยสามารถ


บคุมเท่านั้น

ามมาตรฐาน IFAC เพื่อให้แน่ใจว่าผลของการทดสอบสามารถเป็ นตัวแทนประชากรทั้งหมด จำนวนตัวอย่างพิจารณาจาก


ตัวอย่ างการควบคุมภายในของระบบการผลิต และการรับ/จ่ ายวัตถุดบิ
ลำดับ กิจกรรม รายละเอียดกิจกรรมการควบคุม
(No.) (Activities) (Control Activities)
ตรวจสอบคุณภาพ และปริ มาณของวัตถุดิบที่ได้รับ กับ
1 การรับวัตถุดิบ 1.1 เอกสารการสัง่ ซื้ อก่อนลงนามเพื่อเป็ นหลักฐานการตรวจ
สอบ
1.2 พนักงานฝ่ ายบัญชีตรวจสอบรายละเอียดการรับสิ นค้า ก่อน
บันทึกรายการพร้อมทั้งลงลายมือชื่อผูจ้ ดั ทำรายการ
1.3 หัวหน้างานฝ่ ายบัญชีสอบทานรายละเอียดการบันทึกรายการ
พร้อมทั้งลงลายมือชื่อผูส้ อบทานรายการ
1.4 ผูจ้ ดั การฝ่ ายบัญชีสอบทานรายละเอียดการบันทึกรายการ
พร้อมทั้งลงลายมือชื่อผูอ้ นุมตั ิรายการ
1.5
พนักงานฝ่ ายบัญชีตรวจสอบการเรี ยงเลขของใบรับวัตถุดิบ
และการบันทึกรายการบัญชีเพื่อให้มนั่ ใจว่าได้บนั ทึกรายการ
ครบถ้วนแล้ว

2 การจ่ายวัตถุดิบ 2.1 ฝ่ ายผลิตจัดทำเอกสารการขอเบิกวัตถุดิบ พร้อมอ้างอิง


แผนการผลิต ส่ งให้ฝ่ายคลังเพื่อเป็ นหลักฐานการเบิกวัตถุดิบ
2.2 พนักงานฝ่ ายบัญชีตรวจสอบรายละเอียดการจ่ายสิ นค้า ก่อน
บันทึกรายการพร้อมทั้งลงลายมือชื่อผูจ้ ดั ทำรายการ
2.3 หัวหน้างานฝ่ ายบัญชีสอบทานรายละเอียดการบันทึกรายการ
พร้อมทั้งลงลายมือชื่อผูส้ อบทานรายการ
2.4 ผูจ้ ดั การฝ่ ายบัญชีสอบทานรายละเอียดการบันทึกรายการ
พร้อมทั้งลงลายมือชื่อผูอ้ นุมตั ิรายการ
2.5
พนักงานฝ่ ายบัญชีตรวจสอบการเรี ยงเลขของใบเบิกวัตถุดิบ
จากคลัง และการบันทึกรายการบัญชีเพื่อให้มนั่ ใจว่าได้
บันทึกรายการครบถ้วนแล้ว

3 การเก็บรักษาวัตถุดิบ 3.1
ตรวจนับสิ นค้าอย่างสม่ำเสมอโดยผูร้ ับผิดชอบในการดูแล
พร้อมทั้งปรับปรุ งรายการให้สอดคล้องกับสิ นค้าที่นบั ได้
และระบุสาเหตุของผลแตกต่าง รวมทั้งจัดทำรายละเอียด
สิ นค้าที่เสื่ อมสภาพ
3.2
ตรวจนับสิ นค้าอย่างสม่ำเสมอโดยบุคคลที่มีความเป็ นอิสระ
จากการดูแล พร้อมทั้งปรับปรุ งรายการให้สอดคล้องกับ
สิ นค้าที่นบั ได้ และระบุสาเหตุของผลแตกต่าง รวมทั้งจัดทำ
รายละเอียดสิ นค้าที่เสื่ อมสภาพ
3.3 ฝ่ ายบริ หารอนุมตั ิรายการปรับปรุ ง หลังสอบทานสาเหตุของ
ผลแตกต่างที่พบจากการตรวจนับสิ นค้าคงเหลือ
3.4 คลังเก็บสิ นค้ามีระบบรักษาความปลอดภัยที่ป้องกันการเข้า
ถึงของผูท้ ี่ไม่เกี่ยวข้อง

4 การคำนวณต้นทุนวัตถุดิบ 4.1 หัวหน้างานฝ่ ายบัญชีสอบทานการคำนวณต้นทุนสิ นค้าคง


เหลือ พร้อมทั้งลงลายมือชื่อผูส้ อบทานรายการ
4.2 ผูจ้ ดั การฝ่ ายบัญชีสอบทานรายละเอียดการคำนวณต้นทุน
สิ นค้า พร้อมทั้งลงลายมือชื่อผูอ้ นุมตั ิรายการ

5 การคำนวณต้นทุนทางผลิต 5.1 หัวหน้างานฝ่ ายบัญชีสอบทานการคำนวณต้นทุนการผลิต


พร้อมทั้งลงลายมือชื่อผูส้ อบทานรายการ
5.2 ผูจ้ ดั การฝ่ ายบัญชีสอบทานรายละเอียดการคำนวณต้นทุน
การผลิต พร้อมทั้งลงลายมือชื่อผูอ้ นุมตั ิรายการ
5.3
หัวหน้างานฝ่ ายบัญชีสอบทานสู ตรการผลิตกับค่าใช้จ่ายที่
เกิดขึ้นจริ ง เพื่อพิจารณาปรับปรุ งอัตราในการคำนวณต้นทุน
สิ นค้าอย่างสม่ำเสมอ พร้อมทั้งลงลายมือชื่อผูจ้ ดั ทำ
5.4 ผูจ้ ดั การฝ่ ายบัญชีสอบทานรายงานอัตราในการคำนวณ
ต้นทุนสิ นค้า พร้อมทั้งลงลายมือชื่อผูอ้ นุมตั ิ
5.5
หัวหน้างานฝ่ ายบัญชีเปรี ยบเทียบค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริ ง กับ
แผนการผลิตเพื่อให้มนั่ ใจว่า ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องถูกนำมา
รวมในการคำนวณต้นทุนแล้ว
5.6 ฝ่ ายบุคคลตรวจสอบหลักฐานการตอกบัตร กับค่าล่วงเวลาที่
หัวหน้าฝ่ ายผลิตอนุมตั ิ

6 การโอนสิ นค้าที่ผลิตเสร็ จเข้าคลัง 6.1


ฝ่ ายผลิตจัดทำเอกสารการโอนสิ นค้าสำเร็ จรู ปเข้าคลัง พร้อม
อ้างอิงแผนการผลิต ส่ งให้ฝ่ายคลังเพื่อเป็ นหลักฐานการโอน
สิ นค้าสำเร็ จรู ป
6.2 พนักงานฝ่ ายบัญชีตรวจสอบรายละเอียดการโอนสิ นค้า ก่อน
บันทึกรายการพร้อมทั้งลงลายมือชื่อผูจ้ ดั ทำรายการ
6.3 หัวหน้างานฝ่ ายบัญชีสอบทานรายละเอียดการบันทึกรายการ
พร้อมทั้งลงลายมือชื่อผูส้ อบทานรายการ
6.4 ผูจ้ ดั การฝ่ ายบัญชีสอบทานรายละเอียดการบันทึกรายการ
พร้อมทั้งลงลายมือชื่อผูอ้ นุมตั ิรายการ
6.5
พนักงานฝ่ ายบัญชีตรวจสอบการเรี ยงเลขของใบโอนสิ นค้า
เข้าคลัง และการบันทึกรายการบัญชีเพื่อให้มนั่ ใจว่าได้
บันทึกรายการครบถ้วนแล้ว
7 การจ่ายสิ นค้าสำเร็ จรู ปออกจากคลัง 7.1
ฝ่ ายขายจัดทำเอกสารการเบิกสิ นค้าสำเร็ จรู ปจากคลัง พร้อม
อ้างอิงคำสัง่ ซื้ อ ส่ งให้ฝ่ายคลังเพื่อเป็ นหลักฐานการเตรี ยม
และจัดส่ งสิ นค้าสำเร็ จรู ป
7.2 พนักงานฝ่ ายบัญชีตรวจสอบรายละเอียดการขายสิ นค้า ก่อน
บันทึกรายการพร้อมทั้งลงลายมือชื่อผูจ้ ดั ทำรายการ
7.3 หัวหน้างานฝ่ ายบัญชีสอบทานรายละเอียดการบันทึกรายการ
พร้อมทั้งลงลายมือชื่อผูส้ อบทานรายการ
7.4 ผูจ้ ดั การฝ่ ายบัญชีสอบทานรายละเอียดการบันทึกรายการ
พร้อมทั้งลงลายมือชื่อผูอ้ นุมตั ิรายการ
7.5
พนักงานฝ่ ายบัญชีตรวจสอบการเรี ยงเลขของใบส่ งของ ใบ
แจ้งหนี้ และการบันทึกรายการบัญชีเพื่อให้มนั่ ใจว่าได้
บันทึกรายการครบถ้วนแล้ว

8 การเก็บรักษาสิ นค้าสำเร็ จรู ป 8.1


ตรวจนับสิ นค้าอย่างสม่ำเสมอโดยผูร้ ับผิดชอบในการดูแล
พร้อมทั้งปรับปรุ งรายการให้สอดคล้องกับสิ นค้าที่นบั ได้
และระบุสาเหตุของผลแตกต่าง รวมทั้งจัดทำรายละเอียด
สิ นค้าที่เสื่ อมสภาพ
8.2
ตรวจนับสิ นค้าอย่างสม่ำเสมอโดยบุคคลที่มีความเป็ นอิสระ
จากการดูแล พร้อมทั้งปรับปรุ งรายการให้สอดคล้องกับ
สิ นค้าที่นบั ได้ และระบุสาเหตุของผลแตกต่าง รวมทั้งจัดทำ
รายละเอียดสิ นค้าที่เสื่ อมสภาพ
8.3 ฝ่ ายบริ หารอนุมตั ิรายการปรับปรุ ง หลังสอบทานสาเหตุของ
ผลแตกต่างที่พบจากการตรวจนับสิ นค้าคงเหลือ
8.4 คลังเก็บสิ นค้ามีระบบรักษาความปลอดภัยที่ป้องกันการเข้า
ถึงของผูท้ ี่ไม่เกี่ยวข้อง

9 อื่นๆ 9.1
นำผลจากรายงานการตรวจนับสิ นค้าคงเหลือ รายงานการ
เคลื่อนไหวของสิ นค้า ราคาขาย และแผนการผลิต มา
พิจารณาเพื่อปรับปรุ งมูลค่าสิ นค้าให้เท่ากับราคาทุนหรื อ
มูลค่าที่จะได้รับแล้วแต่ค่าใดจะต่ำกว่า
9.2 ฝ่ ายบริ หารอนุมตั ิการปรับปรุ งมูลค่าสิ นค้า หลังการสอบ
ทานรายงานการเสนอปรับมูลค่าสิ นค้าคงเหลือ
9.3
หัวหน้างานฝ่ ายบัญชีสอบทานเงื่อนไขการซื้ อวัตถุดิบ พร้อม
ทั้งรวบรวมเอกสารการรับสิ นค้าที่ได้รับจนถึงวันที่จดั ทำงบ
การเงินเพื่อให้มนั่ ใจว่าการบันทึกบัญชีจดั ทำถูกรอบบัญชี
9.4 หัวหน้างานฝ่ ายบัญชีสอบทานเงื่อนไขการขายสิ นค้า
สำเร็ จรู ป พร้อมทั้งรวบรวมเอกสารการส่ งสิ นค้าที่ได้รับ
จนถึงวันที่จดั ทำงบการเงินเพื่อให้มนั่ ใจว่าการบันทึกบัญชี
จัดทำถูกรอบบัญชี

9.5
ฝ่ ายบัญชีส่งหนังสื อยืนยัน ปริ มาณสิ นค้าฝากขาย ส่ งให้ผรู้ ับ
ฝากขาย พร้อมนำหนังสื อที่ได้รับตอบกลับสอบทานกับ
รายงานสิ นค้าฝากขายที่มี พร้อมทั้งหาสาเหตุของผลแตกต่าง
ที่เกิดขึ้น (ถ้ามี)
สิ่ งที่ผ้ บู ริหารได้ ให้ การรับรองใน
งบการเงิน (Assertions)
E,C

E,A

E,A

E,A

E,C

E,A

E,A

E,A

C,E

C,E
C,E

C, A

E,C

E,A

E,A

E,A

C
E,C

E,A

E,A

E,A

C,E

C,E

C,E

C,E,A
C,E,A

C,E

You might also like