Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 21

การบริ หารจัดการงานห้ องสมุดโรงเรี ยนแบบ

โรงเรี ยนบ้ านนาวงศ์ ตำบลเจดีย์ชัย อำเภอปัว


จังหวัดน่ าน รหัสไปรษณีย์ ๕๕๑๒๐
สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาน่ าน เขต๒

การบริ หารจัดการงานห้ องสมุดโรงเรี ยนแบบ


ผลงานนวัตกรรมด้ านบริ หารจัดการ 
ผู้เสนอผลงาน........

นางคนึงนิตย์ เขียวสมบัติ
ตำแหน่ ง ครู วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ
โทรศัพท์ เคลือ่ นที่ ๐๘๑ –๙๕๐๖๗๖๖
E-mail kawpikun@hotmail.com
โรงเรี ยนบ้ านนาวงศ์ ตำบลเจดีย์ชัย อำเภอปัว
จังหวัดน่ าน รหัสไปรษณีย์ ๕๕๑๒๐
สังกัด สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาน่ าน เขต๒
คำนำ
การบริ หารจัดการห้องสมุดโรงเรี ยนเพื่อสนองต่อพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
๒๕๔๒ และการปฏิรูปการศึกษา จำเป็ นต้องอาศัยกระบวนทัศน์ใหม่ในการบริ หารจัดการและ
การดำเนินงาน รวมทั้งการปรับเปลี่ยนบทบาทและภาพลักษณ์ของบรรณารักษ์ เพื่อสามารถนำ
ห้องสมุดโรงเรี ยนสู่ การเป็ นแหล่งวิทยาการหรื อศูนย์การเรี ยนรู ้ที่แท้จริ ง
โรงเรี ยนบ้านนาวงศ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา น่าน เขต ๒ ได้
ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้พฒั นาปรับปรุ งห้องสมุดของโรงเรี ยนให้ได้มาตรฐานและ
สนองต่อการจัดการเรี ยนการสอนตามนโยบายของรัฐ จนสามารถนำมารวบรวมเป็ นการบริ หาร
จัดการแบบ NAWONG LIBRALY MODEL ที่เป็ นรู ปแบบเข้ากับบริ บทของโรงเรี ยน จนห้อง
สมุดโรงเรี ยนประสบผลสำเร็ จ สามารถเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ที่ทนั สมัย มีสื่อสารสนเทศหลากหลาย
และมีสภาพบรรยากาศสวยงาม เป็ นที่ยอมรับของหน่วยงานองค์กรต่างๆ

คณะผูจ้ ดั ทำ
สารบัญ

หน้า
กรอบนำเสนอนวัตกรรม ก
บทสุ รป ข
ความเป็ นมาและความสำคัญ ๑
วัตถุประสงค์ ๒
กระบวนการพัฒนานวัตกรรม ๒
ขั้นตอนการดำเนินงานพัฒนา ๕
แผนผังการบริ หารงานห้องสมุด ๑๐
ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงาน ๑๑
สิ่ งที่ตอ้ งเรี ยนรู้และปรับปรุ งให้ดีข้ึน ๑๒
ข้อเสนอแนะและแนวทางพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
๑๔บรรณานุกรม ๑๕
บทสรุ ป
จากรายงานผลการทดสอบระดับชาติข้นั พื้นฐาน (O-NET) ปี การศึกษา ๒๕๕๓ พบว่า มี
ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนอยูใ่ นเกณฑ์ต ่ำมาก ผูเ้ รี ยนขาดการใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน ครู ขาดความรู ้ ความเข้าใจ
การดำเนินงานห้องสมุดโรงเรี ยน ขาดทักษะการจัดกิจกรรม ที่ส่งเสริ มสนับสนุนการเรี ยนการสอน
ที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา และหลักสู ตรแกนกลาง ดังนั้น ผูศ้ ึกษาค้นคว้าในฐานะผู ้
บริ หารสถานศึกษา จึงมีความสนใจที่จะพัฒนางานด้านบริ หารจัดการห้องสมุดโรงเรี ยนให้มี
ประสิ ทธิภาพ และได้มาตรฐานยิง่ ขึ้น ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการบริ หารงานการจัดการศึกษา
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเป็ นข้อสนเทศกับโรงเรี ยนอื่นๆ สามารถนำไปปรับปรุ งและพัฒนาการ
ดำเนินงานห้องสมุดโรงเรี ยน เพื่อนำไปสู่ การจัดการศึกษาให้มีคุณภาพสู งสุ ด โดยการปรับเปลี่ยน
รู ปแบบความคิดของการบริ หารห้องสมุดแบบใหม่ ทั้งการวางแผนเชิงปฏิบตั ิการ การควบคุมการ
บริ การสารนิเทศในลักษณะเชิงรุ กที่ตอ้ งตามให้ทนั กับความต้องการของผูใ้ ช้บริ การในสังคมยุค
ใหม่ รวมถึงการหาแนวทางพัฒนา สร้างสรรค์คุณค่าบริ การ การสื่ อสาร และที่สำคัญที่สุดคือ “ต้ อง
สร้ างความเป็ นตัวตน เอกลักษณ์ ความน่ าเชื่อถือให้ กบั ห้ องสมุด” เพื่อที่ผใู ้ ช้บริ การจะไม่ได้เข้ามา
เพราะความจำเป็ นเพียงอย่างเดียว แต่มาเพราะเกิดความประทับใจและผูกผันกับห้องสมุด กับ
บรรณารักษ์ และบุคลากรอย่างยัง่ ยืนตลอดไป
ขั้นตอนการดำเนินงานพัฒนา
๑. สำรวจสภาพปัจจุบนั ปัญหา โอกาส และความต้องการของนักเรี ยนและผูม้ าใช้
บริ การ มีการประชุมคณะครู กรรมการสถานศึกษาเพื่อการวางแผนการพัฒนาห้องสมุดแนวใหม่
๒. แต่งตั้งคณะทำงานในการพัฒนาห้องสมุดโรงเรี ยน โดยแบ่งสัดส่ วนของคณะ
กรรมการให้มีท้ งั ครู นักเรี ยน ผูป้ กครอง ชุมชน ร่ วมมือพัฒนาห้องสมุดโรงเรี ยนที่เน้นการตอบ
สนองความต้องของผูใ้ ช้บริ การ
๓ การนำเสนอนวัตกรรมนี้ในการประชุมครู และกรรมการสถานศึกษา และสรุ ปเป็ น
แนวทางในการพัฒนาห้องสมุดโรงเรี ยนบ้านนาวงศ์ NAWONG LIBRALY MODAL
๓.๑ บริ หารงานแบบกระจายอำนาจ เพื่อให้สามารถนำเนินงานได้สะดวกรวดเร็ ว
และสามารถตอบสนองต่อความต้องการของผูใ้ ช้บริ การได้
๓.๒. นำโปรแกรม OBACE LIBRALY มาพัฒนางานห้องสมุดจะต้องมีการ
จัดการฐานข้อมูลที่ดี มีการจัดการ และปรับปรุ งฐานข้อมูลอยูเ่ สมอ
๓.๓. การจัดระบบการค้นคืนสารสนเทศ สร้างเครื่ องมือช่วยค้นที่มีคุณภาพที่
ทำให้ผใู้ ช้บริ การสามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดได้มากที่สุด และรวดเร็ ว ถูก
ต้อง
๔. งานบริ การห้องสมุด จัดให้มีการบริ การสารสนเทศหลายรู ปแบบ มีการกำหนดเป้ า
หมายไว้วา่ จะให้บริ การดีที่สุดเท่าที่จะทำได้
๕. จัดหาวัสดุครุ ภณั ฑ์/ อุปกรณ์และเครื่ องอำนวยความสะดวกที่ทนั สมัย
๖. มีการส่ งเสริ มสนับสนุนให้บุคลากรห้องสมุดมีการพัฒนาตนเองให้มีความรู ้ความ
สามารถที่จะปฏิบตั ิหน้าที่ในห้องสมุดให้ดีที่สุด
๗. จัดหาทรัพยากรสารสนเทศทุกชนิดทุกรู ปแบบมาไว้ให้บริ การอย่างและสนองความ
ต้องการของผูม้ าใช้บริ การ
๘. มีการสร้างระบบควบคุมคุณภาพของห้องสมุด หมายถึงการสร้างระบบตรวจสอบ
ติดตาม และประเมินผล ตลอดจนการกำหนดมาตรฐานของงานห้องสมุดและมาตรฐานนั้นจะต้อง
เป็ นที่ยอมรับ
๙. มีการสร้างเครื อข่ายและขยายความร่ วมมือระหว่างห้องสมุดกับนักเรี ยน ครู และ
บุคลากรในโรงเรี ยน ชุมชน หน่วยงาน องค์กรเอกชน
๑๐. จัดหาเงินนอกงอบประมาณ มาใช้ในการบริ หารจัดการห้องสมุดนอกเหนือจากงบ
ประมาณตามโครงการที่ได้รับจัดสรร โดยจัดตั้งกลุ่มสร้างงานสร้างอาชีพและพึ่งพาตนเอง
๑๑ โรงเรี ยนมีการทำ MOU กับองค์การบริ หารส่ วนตำบล ในการช่วยพัฒนาห้องสมุด
และการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มการอ่านแบบยัง่ ยืน
๑๒. มีการวัดผลประเมินผลในการดำเนินงาน มีระบบประกันคุณภาพและตัวชี้วดั เพื่อ
ใช้ในการประเมินคุณภาพและพัฒนาศักยภาพในการบริ หารจัดการ
ผลที่เกิดขึน้ จากการดำเนินงาน
๑ การดำเนินงานบริ หารจัดการห้องสมุดแบบ NAWONG LIBRALY MODAL
ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีข้ ึน เจ้าหน้าที่บรรณารักษ์มีความรู ้ ความเข้าใจในการปฏิบตั ิ
งาน
๒ ครู บรรณรักษ์และคณะทำงานตลอดจนผูป้ ฏิบตั ิงานมีขวัญกำลังใจในการปฏิบตั ิงานยิง่
ขึ้น ทำให้เพิ่มประสิ ทธิภาพประสิ ทธิผลของงาน
๓ ด้านการบริ การและกิจกรรม เมื่อนำเทคโนโลยีโดยเฉพาะคอมพิวเตอร์และโปรแกรม
OBACE LIBRALY มาใช้ ทำให้การบันทึกข้อมูลหนังสื อเป็ นปั จจุบนั บริ การยืมและคืนหนังสื อ
ทำได้สะดวกทำให้ขอ้ มูลถูกต้อง รวดเร็ ว เป็ นปัจจุบนั ทำให้งานห้องสมุดในทุกด้านบริ การได้ตาม
กำหนดระยะเวลา เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพเรี ยกใช้ขอ้ มูลและตรวจสอบได้รวดเร็ ว
๔ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยน พบว่าผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนมีผลการทดสอบ
ระดับชาติข้ นั พื้นฐาน (O-NET) เพิ่มขึ้นในกลุ่ม ๕ กลุ่มสาระ และได้รับเกียรติบตั ร จากสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกน่าน เขต ๒ เป็ นที่พอใจของผูป้ กครองและครู
๕ นักเรี ยนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ จากการดำเนินกิจกรรมส่ งเสริ มการอ่านเชิง
รุ กที่ทางห้องสมุดจัดขึ้น
๖ โรงเรี ยนมีหอ้ งสมุด ๓ ดี ที่ได้มาตรฐาน
๗.  เกิดความร่ วมมือระหว่างองค์กร และบุคลากร มีเครื อข่ายของห้องสมุดโรงเรี ยนเพื่อ
สร้างเสริ มประสิ ทธิภาพ และประสิ ทธิ ผลของการดำเนินงานห้องสมุดระดับเขตพื้นที่การ
ศึกษา,ระดับจังหวัด

๑. ชื่อผลงาน การบริหารจัดการห้ องสมุดแบบ NAWONG LIBRALY MODEL


๒. การส่ งผลงานนวัตกรรม
เป็ นผลงานที่ไม่เคยส่ งรับการคัดสรรจากคุรุสภา
เป็ นผลงานที่เคยได้รับรางวัลแต่มีการพัฒนาต่อยอด
๓. ประเภทผลงานนวัตกรรม
ด้านหลักสูตร ด้านจัดกระบวนการเรี ยนรู ้
ด้านจิตวิทยา ด้านสื่ อและเทคโนโลยีการศึกษา
ด้านวัดและประเมินผล ด้านแหล่งเรี ยนรู ้
ด้านบริ หารและจัดการศึกษา
การบริ การวิชาการ การพัฒนาบุคลากร
การบริ หารงบประมาณ การนิเทศการศึกษา
ด้านอาคารสถานที่ ด้านพัฒนาระบบกิจกรรมผูเ้ รี ยน
๔. ผู้เสนอนวัตกรรม
นายมนัส คำชัง่
ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยนบ้านนาวงศ์ ๐๘๑-๓๘๗๙๓๐๒
๕. คณะผู้ร่วมพัฒนานวัตกรรม
๑. ชื่อ นางคนึงนิตย์ นามสกุล เขียวสมบัติ
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครู ช ำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ ๐๘๑-๙๕๐๖๗๖๖
๒. ชื่อ นางอำพร นามสกุล คำแดง
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครู ช ำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ ๐๘๑-๗๔๖๕๘๓๐
๓. ชื่อ นางทักษกานต์ นามสกุล เศรษฐวุฒิพงศ์
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครู ช ำนาญการ โทรศัพท์ ๐๘๙-๘๒๕๗๖๐๐
๔. ชื่อนางรัชนี นามสกุล ลำน้อย
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครู ช ำนาญการ โทรศัพท์ ๐๘๖-๔๒๐๙๕๕๓
๕. ชื่อ นางศรี ทอน นามสกุล วรรณภพ
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครู ช ำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ ๐๘๑-๙๕๐๖๗๐๐
๖. ข้ อมูลสถานศึกษา
ชื่อสถานศึกษา โรงเรี ยนบ้านนาวงศ์ ตำบลเจดียช์ ยั อำเภอปั ว จังหวัดน่าน
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต ๒ รหัสไปรษณี ย ์ ๕๕๑๒๐
โทรศัพท์ ๐๕๔-๖๘๘๕๙๓ Email nawong _ school@hotmail.com
หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรม การบริ หารจัดการห้องสมุดโรงเรี ยน แบบ NAWONG LIBRALY MODAL
ผู้นำเสนอนวัตกรรม นายมนัส คำชั่ง โรงเรียนบ้ านนาวงศ์ สพป.น่ าน เขต ๒

๑. ความเป็ นมาและความสำคัญ
ห้องสมุดโรงเรี ยนเป็ นส่ วนหนึ่งของโรงเรี ยน และเป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาทั้งระบบที่
มีการจัดการประสบการณ์ท้ งั มวลให้แก่เด็กตามหลักสู ตรสมัยใหม่ คือ มุ่งให้นกั เรี ยนรู ้จกั หาวิธี
เรี ยนรู ้ได้ดว้ ยตนเอง ซึ่ งเป็ นองค์ประกอบสำคัญที่ท ำให้เกิดกระบวนการ พัฒนา (พิกลุ ภูมิโครักษ์.
๒๕๔๕: ๓) การค้นคว้าแสวงหาความรู ้ เพื่อนำไปสู่ การคิดเป็ น ทำเป็ น แก้ปัญหาได้ อันเป็ นหลัก
การเป้ าหมายของหลักสูตรแกนกลาง ที่สร้างขึ้นมาจาการปรับสภาพให้เข้ากับสังคมปั จจุบนั (เฉลีย
ว พันธุ์สีดา. ๒๕๔๒: ๑๔) ห้องสมุดจัดเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้สำคัญที่มีอยูใ่ นทุกสถานศึกษา ห้องสมุด
เป็ นศูนย์รวมสรรพวิทยาการทั้งมวลไว้ จนมีค ำกล่าวว่า “ห้องสมุดดุจคลังแห่งปั ญญา” หากต้องการ
มีความรู้กส็ ามารถไปศึกษาค้นคว้าในห้องสมุดได้ ดังนั้นอาจกล่าวได้วา่ สถานศึกษาใดมีหอ้ งสมุด
ที่สมบูรณ์กถ็ ือว่าสถานศึกษานั้นจัดระบบงานวิชาการสำเร็ จไปแล้วครึ่ งหนึ่ง ซึ่ งเป็ นภารกิจหลัก
ของโรงเรี ยน เพราะงานห้องสมุดเป็ นหนึ่งในงานวิชาการ ดังนั้นการส่ งเสริ มงานวิชาการใน
โรงเรี ยนก็คือการบริ หารจัดการห้องสมุด เพราะเป็ นศูนย์รวมของวิชาการที่หลากหลาย ซึ่ งผูเ้ รี ยน
สามารถเข้าไปศึกษาค้นคว้าได้ดว้ ยตนเอง (ปรี ยาพร วงศ์อนุตรโรจน์. ๒๕๕๐: ๑๙๕)
โรงเรี ยนบ้านนาวงศ์ อำเภอปั ว จังหวัดน่าน เป็ นโรงเรี ยนขนาดกลาง สังกัดสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต ๒ จากรายงานผลการทดสอบระดับชาติข้นั พื้นฐาน
(O-NET) ปี การศึกษา ๒๕๕๒ พบว่า มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนอยูใ่ นเกณฑ์ต ่ำมาก ผูเ้ รี ยนขาด
การใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน ครู ขาดความรู้ ความเข้าใจการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรี ยน ขาดทักษะการจัด
กิจกรรม ที่ส่งเสริ มสนับสนุนการเรี ยนการสอน ที่สอดคล้องกับหลักสู ตรสถานศึกษา และ
หลักสู ตรแกนกลาง (โรงเรี ยนบ้านนาวงศ์. ๒๕๕๒: ๑๙) ดังนั้น ผูศ้ ึกษาค้นคว้าในฐานะผูบ้ ริ หาร
สถานศึกษา จึงมีความสนใจที่จะพัฒนางานด้านบริ หารจัดการห้องสมุดโรงเรี ยนให้มี
ประสิ ทธิภาพ และได้มาตรฐานยิง่ ขึ้น ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการบริ หารงานการจัดการศึกษา
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเป็ นข้อสนเทศกับโรงเรี ยนอื่นๆ สามารถนำไปปรับปรุ งและพัฒนาการ
ดำเนินงานห้องสมุดโรงเรี ยน เพื่อนำไปสู่ การจัดการศึกษาให้มีคุณภาพสู งสุ ดต่อไป

๒. วัตถุประสงค์
๒.๑ เพื่อพัฒนารู ปแบบการบริ หารจัดการงานห้องสมุดโรงเรี ยนเชิงรุ ก โดยใช้รูปแบบ
NAWONG LIBRALY MODAL
๒.๒ เพื่อยกระดับคุณภาพและมาตรฐานของห้องสมุดโรงเรี ยนบ้านนาวงศ์ ให้เป็ น
“ห้องสมุด ๓ ดี”
๒.๓ เพื่อส่ งเสริ มและแนะแนวการอ่านแก่นกั เรี ยน สร้างนิสยั รักการอ่านให้นกั เรี ยน
สามารถหาความสุ ข ความเพลิดเพลินจากการอ่าน รวมทั้งมีวิจารณญาณในการอ่าน
๒.๔ เพื่อจัดทำห้องสมุดโรงเรี ยน ให้เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ ให้เกิดประโยชน์ต่อนักเรี ยน ครู
บุคลากร และชุมชน ทั้งในโรงเรี ยนและโรงเรี ยนอื่นๆ
๒.๕ เพื่อให้ปลูกฝังนิสยั รักการอ่านแบบยัง่ ยืนให้แก่นกั เรี ยน ครู ชุมชนในเขตบริ การ

๓. กระบวนการพัฒนานวัตกรรม
๓.๑ สภาพปัญหาก่อนการพัฒนา
สภาพปัญหาของห้องสมุดโรงเรี ยนบ้านนาวงศ์คือ ห้องสมุดคับแคบไม่เพียงพอกับ
ความต้องการของผูม้ าใช้บริ การ หนังสื อและสื่ อสารสนเทศเทคโนโลยี ที่สนองความต้องการของ
ผูม้ าใช้บริ การมีจ ำนวนน้อยและไม่หลากหลาย ทั้งขาดบุคลากรที่มีความรู ้ทางด้านความถนัดทาง
บรรณารักษศาสตร์ที่จะรับผิดชอบงานห้องสมุดโดยตรง และที่สำคัญครู และนักเรี ยนในยังใช้หอ้ ง
สมุดเพื่อการเรี ยนการสอนได้ไม่เต็มที่ นอกจากนั้นทางโรงเรี ยนยังมีขอ้ จำกัดในด้านงบประมาณ
ที่ใช้การพัฒนาห้องสมุดอีกด้วย
จากสภาพห้องสมุดโรงเรี ยนดังกล่าว โรงเรี ยนบ้านนาวงศ์ สำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต ๒ ได้ตระหนักว่า หากปล่อยให้ปัญหาดังกล่าวดำเนินงานไปตาม
ทิศทางเดิม คงส่ งผลต่อสติปัญญาของนักเรี ยนอันเป็ นกำลังสำคัญของประเทศชาติ จึงต้องการ
พัฒนาระบบงานบริ หารจัดการห้องสมุดของโรงเรี ยนขึ้นเพื่อที่จะช่วยเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการเรี ยน
การสอน และเป็ นแหล่งวิทยาการเพื่อการศึกษาค้นคว้า ตลอดจนสร้างนิสยั รักการอ่านอย่างยัง่ ยืน
จึงได้คิดหารู ปแบบในการบริ หารจัดการงานห้องสมุดโรงเรี ยนที่สอดคล้องกับบริ บทของโรงเรี ยน
แบบมีประสิ ทธิภาพ เกิดสัมฤทธิ์ ผลในการพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีความสามารถในการเรี ยนรู ้ที่พฒั นา
ขึ้น
๓.๒ กรอบแนวคิด การบริ หารจัดการห้องสมุดโรงเรี ยนเพื่อสนองต่อพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และการปฏิรูปการศึกษา จำเป็ นต้องอาศัยกระบวนทัศน์ใหม่ในการ
บริ หารจัดการและการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับเปลี่ยนบทบาทและภาพลักษณ์ของบรรณารักษ์
เพื่อสามารถนำ ห้องสมุดโรงเรี ยนสู่ การเป็ นแหล่งวิทยาการหรื อศูนย์การเรี ยนรู ้ที่แท้จริ ง โดยการ
ปรับเปลี่ยนรู ปแบบความคิดของการบริ หารห้องสมุดแบบใหม่ ทั้งการวางแผนเชิงปฏิบตั ิการ การ
ควบคุมการบริ การสารนิเทศในลักษณะเชิงรุ กที่ตอ้ งตามให้ทนั กับความต้องการของผูใ้ ช้บริ การใน
สังคมยุคใหม่ รวมถึงการหาแนวทางพัฒนา สร้างสรรค์คุณค่าบริ การ การสื่ อสาร และที่สำคัญที่สุด
คือ “ต้ องสร้ างความเป็ นตัวตน เอกลักษณ์ ความน่ าเชื่อถือให้ กบั ห้ องสมุด” เพื่อที่ผใู ้ ช้บริ การจะไม่
ได้เข้ามาเพราะความจำเป็ นเพียงอย่างเดียว แต่มาเพราะเกิดความประทับใจและผูกผันกับห้องสมุด
กับบรรณารักษ์ และบุคลากรอย่างยัง่ ยืนตลอดไป

ทฤษฎีที่ใช้ The five needs ตามทฤษฎีมาสโลว์


The five needs ตามทฤษฎีมาสโลว์

 ขั้นที่ 1 ความต้ องการทางกาย (Physiological Needs) คือความต้องการปั จจัยพื้นฐานใน


การดำรงชีวิต
 ขั้นที่ 2 ความต้ องการความ มั่นคงปลอดภัย (Safety and Security Needs) คือความ
ต้องการที่จะมีชีวิต ที่มนั่ คง ปลอดภัย
 ขั้นที่ 3 ความต้ องการความรักและการเป็ นที่ยอมรับของกลุ่ม (Love and Belonging
Needs) มนุษย์เมื่อเข้าไปอยูใ่ นกลุ่มใดก็ตอ้ งการให้ตนเป็ นที่รักและยอมรับในกลุ่มที่ตนอยู่
 ขั้นที่ 4 ความต้ องการได้ รับการยกย่ องจากผู้อนื่ (Self -Esteem Needs) เป็ นความต้องการ
ในลำดับต่อมา ซึ่ งความต้องการในชั้นนี้ถา้ ได้รับจะก่อให้เกิดความภาคภูมิใจใจตนเอง
 ขั้นที่ 5 ความต้ องการในการเข้ าใจและรู้ จักตนเอง (Self-Actualization Needs) เป็ นความ
ต้องการชั้นสูงของมนุษย์ ซึ่ งน้อยคนที่จะประสบได้ถึงขั้นนี้

จะต้องเข้าใจธรรมชาติของคนโดยใช้หลักการจูงใจในการสร้างบรรยากาศในการทำงาน
ให้คนมีส่วนร่ วม มีความคิดอิสระ ชอบทำงาน มีเป้ าหมาย มีความรับผิดชอบ มีความคิดริ เริ่ ม
สร้างสรรค์ กระตือรื อร้น และสามารถควบคุมตัวเองได้ ซึ่ งจะเน้นให้คนก้าวสู ้ความต้องการขั้นสู ง
คือเป็ นคนที่มีความสำคัญและสร้างฝันให้เป็ นจริ ง

รู้ องค์ กร
หัวใจการจัดองค์กร คือ การจัดให้คนหลายคนมาทำงานร่ วมกันก่อให้เกิดพลังร่ วมซึ่ งจะได้
ผลงานมากกว่าต่างคนต่างทำงานแยกกัน
วัตถุประสงค์ที่สำคัญ จะต้องให้มีการแบ่งงานกันทำ โดยมีการมอบหมายงาน ความรับผิด
ชอบตามความรอบรู้ ความถนัด ความสามารถ ความเหมาะสมของแต่ละคนจากการจัดงานเป็ น
กลุ่มๆ โดยมีการกำหนดสายบังคับบัญชา ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มงาน กลุ่มคน เพื่อจัดสรรการ
ใช้ทรัพยากรบุคคลได้มีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิ ผลสู งสุ ด
แนวโน้ มโครงสร้ างองค์กรสมัยใหม่ ตอบสนองลูกค้ามากขึ้น เร็ วขึ้น ดังนั้น สายการบังคับบัญชา
สั้นลงขนาดการควบคุมกว้างขึ้นการมอบหมายและให้คนมีอ ำนาจมากขึ้นใช้วิธีกระจายอำนาจ
อย่างรวบอำนาจโดยผูบ้ ริ หารมีขอ้ มูลที่จะใช้เป็ นเครื่ องมือตรวจสอบการปฎิบตั ิงานระดับล่างได้
ทำให้การตัดสิ นใจเร็ วขึ้น การพัฒนางานมีมากขึ้นและเร็ วขึ้น โดยเฉพาะใช้กบั ธุรกิจที่มีลกั ษณะ
งานที่ท ำเหมือนกัน ไม่ยงุ่ ยากซับซ้อน ผูป้ ฏิบตั ิงานมีความสามารถ ผ่านการอบรมมาดี เครื่ องมือ
เครื่ องใช้ทนั สมัย แผนงานชัดเจน
รู้ บริหาร
ความหมายการบริหารคือ การทำงานให้สำเร็ จโดยอาศัยคนอื่น เริ่ มจากการวางแผน การจัด
องค์กร การสัง่ การ การจูงใจ และการควบคุมคนและวัตถุให้บรรลุเป้ าหมายขององค์กร
ทรัพยากรบุคคลถือว่าเป็ นสิ่งทีม่ ีคุณค่ า เป็ นทรัพย์สินที่จะสามารถพัฒนาก่อให้เกิด
ประโยชน์และผูส้ ร้างรายได้ ผูบ้ ริ หารที่ดีจะต้องรู ้วิธี แนะนำ สนับสนุนให้พนักงานสามารถดำเนิน
การแก้ปัญหาได้ ตัดสิ นใจเองได้เพราะอยูใ่ กล้ชิดลูกค้า โดยเน้นการทำงานเป็ นทีม ดังนั้นผูบ้ ริ หาร
ยุคใหม่จึงเป็ นหัวหน้าทีม ผูส้ อนงาน ผูใ้ ห้ความสะดวก ผูป้ ระสานงาน

๓.๓ ขั้นตอนการดำเนินงานพัฒนา
๓.๓.๑. สำรวจสภาพปั จจุบนั ปัญหา โอกาส และความต้องการของนักเรี ยน
และผูม้ าใช้บริ การในชุมชน จากการสำรวจดังกล่าว ได้ขอ้ มูลยืนยันว่านักเรี ยน ครู และบุคลากร
ในโรงเรี ยน มีความต้องการให้ทางโรงเรี ยนจัดสภาพบรรยากาศและสิ่ งแวดล้อมให้สวยงาม กว้าง
ขวาง และมีสื่อสารสนเทศที่ทนั สมัยสนองความต้องการ ตลอดจนมีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการ
สื บค้นที่หลากหลาย จึงได้ประชุมคณะครู กรรมการสถานศึกษาเพื่อการวางแผนการพัฒนาห้อง
สมุดแนวใหม่ข้ ึน (เอกสารอ้างอิงจากภาคผนวก ก )
๓.๓.๒ แต่งตั้งคณะทำงานในการพัฒนาห้องสมุดโรงเรี ยน โดยแบ่งสัดส่ วน
ของคณะกรรมการให้มีท้ งั ครู นักเรี ยน ผูป้ กครอง ชุมชน ร่ วมมือพัฒนาห้องสมุดโรงเรี ยนที่เน้น
การตอบสนองความต้องของผูใ้ ช้บริ การ
(เอกสารอ้างอิงจากภาคผนวก ก )
๓.๓.๓ การนำเสนอนวัตกรรมนี้ ในการประชุมครู และกรรมการสถานศึกษา
ในขั้นตอนนี้ได้รับการยอมรับ การให้ค ำแนะนำปรึ กษาจากผูเ้ ชี่ยวชาญที่เชิญมา จึงได้มีการ
ปรับปรุ งให้มีความสมบูรณ์ข้ ึน จนสรุ ปเป็ นแนวทางในการพัฒนาห้องสมุดโรงเรี ยนบ้านนาวงศ์
NAWONG LIBRALY MODAL ซึ่ งมีรายละเอียดในการบริ หารจัดการดังนี้
รู ปแบบในการบริหารจัดการห้ องสมุดโรงเรียนบ้ านนาวงศ์ NAWONG LIBRALY MODAL
1. บริ หารงานแบบกระจายอำนาจ เพื่อให้สามารถนำเนินงานได้สะดวกรวดเร็ ว และ
สามารถตอบสนองต่อความต้องการของผูใ้ ช้บริ การได้ การบริ หารงานควรนำเอาระบบธุรกิจเข้า
มาช่วยในการจัดการห้องสมุด มีการคิดต้นทุน กำไรในการดำเนินงาน มีการนำเอาระบบการ
ประกันคุณภาพเข้ามาใช้ในหน่วยงาน มีการตรวจสอบการดำเนินงาน
(เอกสารอ้างอิงจากภาคผนวก ข )
           ๒. การจัดการเกี่ยวกับฐานข้อมูลของห้องสมุด โดยนำสื่ อและเทคโนโลยีใช้ในการบริ การ
นำโปรแกรม OBACE LIBRALY มาพัฒนางานห้องสมุดจะต้องมีการจัดการฐานข้อมูลที่ดี มีการ
จัดการ และปรับปรุ งฐานข้อมูลอยูเ่ สมอ มีการเพิ่มศักยภาพจากการเป็ นเพียงฐานข้อมูล
บรรณานุกรม ให้สามารถบริ การข้อมูลจากต้นแหล่งได้ และให้บริ การเอกสารเต็มรู ปได้ หรื อ
จัดการสารสนเทศของห้องสมุดให้อยูใ่ นรู ปดิจิตอล หรื อในรู ปมัลติมีเดียมากขึ้น
(เอกสารอ้างอิงจากภาคผนวก ข )
๓. การจัดระบบการค้นคืนสารสนเทศ ห้องสมุดจะต้องปรับปรุ ง และสร้ างเครื่ องมือช่วย
ค้นที่มีคุณภาพที่ท ำให้ผใู้ ช้บริ การสามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดได้มากที่สุด
และรวดเร็ว ถูกต้องที่สุด เครื่ องมือช่วยค้นที่จะต้องจัดทำได้แก่ บัตรรายการ บัตรดรรชนีวารสาร
การสื บค้นสารสนเทศด้วยระบบออนไลน์ (OPAC) ในการสื บค้นสารสนเทศห้องสมุดต้องสามารถ
สื บค้นได้หลายวิธี
(เอกสารอ้างอิงจากภาคผนวก ข )
๔. งานบริ การห้องสมุด ห้องสมุดจะต้องจัดให้มีการบริ การสารสนเทศหลายรู ปแบบ
เช่น บริ การสอนการใช้หอ้ งสมุด บริ การสารสนเทศเลือกสรร บริ การข่าวสารทันสมัย บริ การค้น
คืนสารสนเทศด้วยระบบออนไลน์ บริ การอินเทอร์เนต บริ การสารสนเทศในรู ปแบบของสื่ อ
อิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น มีการกำหนดเป้ าหมายไว้วา่ จะให้บริ การดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ และมีความมุ่ง
มัน่ ที่จะเปลี่ยนแปลงบริ การของตน ในการตัดสิ นใจว่าจะดำเนินการเปลี่ยนแปลงการให้บริ การ
ในรู ปแบบการให้บริ การวิชาการ หรื อให้บริ การในรู ปแบบของตลาดข้อมูล ควรมีการเรี ยนรู ้เกี่ยว
กับพฤติกรรมของผูใ้ ช้บริ การ เพื่อที่จะได้น ำความรู ้ดงั กล่าวมาพัฒนาและปรับปรุ งงานบริ การของ
ห้องสมุดในเชิงรุ ก มุ่งให้บริ การด้วยความพึงพอใจ จึงคิดรู ปแบบการดำเนินงานบริ การดังนี้
           ๔.๑. บริ การการอ่าน   เป็ นบริ การหลักของห้องสมุดที่จดั หาและคัดเลือกหนังสื อ สิ่ ง
พิมพ์ต่างๆ มาไว้เพื่อให้บริ การ และจัดเตรี ยมสถานที่ให้อ ำนวยความสะดวกต่อการอ่าน เพื่อตอบ
สนองความต้องการ และความสนใจของผูใ้ ช้มากที่สุด
           ๔.๒ .บริ การยืม - คืน   คือบริ การให้ยมื - คืนทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ ตาม
ระเบียบการยืมของห้องสมุดแต่ละแห่ง เพื่อให้ความสะดวกในการใช้ ในกรณี ที่ยมื เกินกำหนด ผู ้
ยืมจะต้องเสี ยค่าปรับตามอัตราที่หอ้ งสมุดกำหนด
           ๔.๓. บริ การหนังสื อจอง   เป็ นบริ การที่หอ้ งสมุดจัดแยกหนังสื อรายวิชาต่าง ๆ ที่ครู ผู ้
สอนกำหนดให้นกั เรี ยนอ่านประกอบ รวมทั้งเป็ นบริ การพิเศษที่จดั ขึ้นในกรณี ที่หนังสื อนั้นมี
จำนวนน้อยแต่มีผใู้ ช้ตอ้ งการจำนวนมาก โดยแยกไว้ต่างหากและมีก ำหนดระยะเวลาให้ยมื สั้นกว่า
หนังสื อทัว่ ไป
          ๔.๔. บริ การแนะนำการใช้หอ้ งสมุด   เป็ นบริ การเพื่อแนะนำผูใ้ ช้ให้ทราบว่า ห้อง
สมุดจัดบริ การอะไรบ้างให้กบั ผูใ้ ช้ เช่น การปฐมนิเทศแนะนำแก่นกั เรี ยนที่เข้าเรี ยนในชั้นปี แรก
ห้องสมุดส่ วนใหญ่จะจัดทำคู่มือการใช้หอ้ งสมุด เพื่อให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับห้องสมุด เช่น ประวัติของ
ห้องสมุด ระเบียบการยืม - คืนทรัพยากรสารสนเทศ มารยาทในการใช้หอ้ งสมุด บริ การและ
กิจกรรมต่างๆของห้องสมุด เป็ นต้น
           ๔.๕ บริ การตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า   เป็ นบริ การที่ครู บรรณารักษ์หรื อเจ้า
หน้าที่หอ้ งสมุด จะช่วยให้ค ำแนะนำและบริ การตอบคำถามแก่นกั เรี ยนและผูใ้ ช้ ทั้งคำถามทัว่ ไป
เกี่ยวกับการใช้หอ้ งสมุด และคำถามที่ตอ้ งค้นหาคำตอบจากทรัพยากรสารสนเทศต่างๆ ในห้อง
สมุด
           ๔.๖. บริ การแนะแนวการอ่าน  เป็ นบริ การสำคัญที่หอ้ งสมุดจัดขึ้นเพื่อส่ งเสริ มการ
อ่าน พัฒนานิสยั รักการอ่าน และใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ นอกจากนี้ยงั เป็ นการช่วยเหลือผูใ้ ช้
ห้องสมุดที่มีปัญหาในการอ่าน ผูท้ ี่ไม่อยากอ่านหนังสื อ หรื อเลือกหนังสื ออ่านไม่เหมาะสมกับ
ความต้องการของตน
           ๔.๗. บริ การสอนการใช้หอ้ งสมุด  เป็ นบริ การของห้องสมุดในโรงเรี ยนที่จดั สอน
ให้แก่นกั เรี ยนที่เข้าเรี ยนใหม่ในชั้นปี แรก เพื่อให้ความรู ้เกี่ยวกับการใช้หอ้ งสมุด การเลือกใช้
ทรัพยากรสารสนเทศแต่ละประเภท และบริ การต่างๆ ของห้องสมุด ให้ผใู ้ ช้สามารถใช้ประโยชน์
จากห้องสมุดได้อย่างเต็มที่
           ๔.๘. บริ การสื บค้นฐานข้อมูล  เป็ นบริ การสื บค้นฐานข้อมูลหนังสื อของห้องสมุด
ช่วยให้ผใู้ ช้ สามารถค้นหาหนังสื อด้วยตนเองได้สะดวก รวดเร็ วขึ้น
           ๔.๙. บริ การรวบรวมบรรณานุกรม  เป็ นการรวบรวมรายชื่อหนังสื อ สำหรับใช้
ประกอบการเรี ยนการสอน ในรายวิชาต่างๆ รวมถึงการรวบรวมบรรณานุกรมหนังสื อใหม่ประจำ
เดือนที่หอ้ งสมุดออกให้บริ การแก่ผใู้ ช้บริ การ
๔.๑๐ บริ การข่าวสารทันสมัย  เป็ นบริ การที่ช่วยให้ผใู ้ ช้หอ้ งสมุดได้ทราบข้อมูล
ใหม่ๆ ในสาขาวิชาต่างๆ โดยการถ่ายสำเนาหน้าสารบัญวารสารฉบับล่าสุ ดที่หอ้ งสมุดได้รับ
รวบรวมไว้ในแฟ้ ม เพื่อให้บริ การแก่ผใู ้ ช้ในการศึกษาค้นคว้า
           ๔.๑๑. บริ การอินเทอร์เน็ต  ผูใ้ ช้บริ การสามารถสื บค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตที่
สนใจได้ทวั่ โลก ซึ่ งทำให้ผใู้ ช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ทนั สมัยได้มากขึ้น ตรงตามความต้องการ
และสะดวกรวดเร็ ว
           ๔.๑๒ บริ การอื่นๆ  ที่หอ้ งสมุดอาจจัดขึ้น เช่น บริ การโสตทัศนวัสดุ สื่ อ
อิเล็กทรอนิกส์ บริ การห้องสมุดเคลื่อนที่ บริ การชุมชน บริ การขอใช้สถานที่ประชุม เป็ นต้น
(เอกสารอ้างอิงจากภาคผนวก ข )
๕. วัสดุครุ ภณั ฑ์/ อุปกรณ์และเครื่ องอำนวยความสะดวก ห้องสมุดยุคใหม่ตอ้ งจัดหา
อุปกรณ์ดงั ต่อไปนี้ให้ผใู้ ช้บริ การ
         ๕.๑ คอมพิวเตอร์ และเครื่ องพิมพ์ที่มีการเชื่อมต่อกับเครื อข่ายต่าง ๆ หรื อเชื่อม
ต่อกับระบบออนไลน์
          ๕.๒ ที่อา่ นหนังสื อส่ วนบุคคล
         ๕.๓ เครื่ องถ่ายเอกสาร (เอกสารอ้างอิงจากภาคผนวก ข )
๖. กระตุน้ ให้บุคลากรที่มีอยูแ่ สดงพลังและศักยภาพ หรื อความสามารถที่แท้จริ งออก
มา และให้ความไว้วางใจ และรู้จกั มอบอำนาจแก่ผทู ้ ี่เห็นว่าเหมาะสมให้ท ำงาน บุคลากรห้องสมุด
ในที่น้ ีหมายถึง ครู และนักเรี ยน ที่เป็ นคณะกรรมการห้องสมุด โดยถือว่าบุคคลากรห้องสมุดเป็ น
องค์ประกอบที่สำคัญในการพัฒนาห้องสมุด ดังนั้นต้องส่ งเสริ มสนับสนุนให้บุคลากรห้องสมุดมี
การพัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถที่จะปฏิบตั ิหน้าที่ในห้องสมุดให้ดีที่สุด โดยส่ งเสริ มให้
เข้ารับการอบรมสัมมนาและศึกษาดูงาน เพราะห้องสมุดในปั จจุบนั ได้กลายเป็ นห้องสมุดแนว
ใหม่ มีการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีการสื่ อสาร มาใช้ในงานห้องสมุด บุคลากร
ห้องสมุดจำเป็ นจะต้องได้รับการพัฒนาความรู ้ความสามารถ และทักษะเกี่ยวกับเครื่ องมือหรื อ
อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่น ำมาใช้ในงานห้องสมุด หรื อเกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด
(เอกสารอ้างอิงจากภาคผนวก ข )
๗. ทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมุดซึ่ งถือว่าเป็ นแหล่งทรัพยากรการเรี ยนรู ้ที่สำคัญ จะ
ต้องจัดหาทรัพยากรสารสนเทศทุกชนิดทุกรู ปแบบมาไว้ให้บริ การอย่างและสนองความต้องการ
ของผูม้ าใช้บริ การ
(เอกสารอ้างอิงจากภาคผนวก ข )
๘. มีการสร้างระบบควบคุมคุณภาพของห้องสมุด หมายถึงการสร้างระบบตรวจสอบ
ติดตาม และประเมินผล ตลอดจนการกำหนดมาตรฐานของงานห้องสมุดและมาตรฐานนั้นจะต้อง
เป็ นที่ยอมรับ เช่น มีการกำหนดเกณฑ์ในการวัดผล หรื อกำหนดดัชนีชีวดั คุณภาพของห้องสมุด มี
การสร้างมาตรฐานขึ้นมาเพื่อให้หอ้ งสมุดสามารถเปรี ยบเทียบผลงานได้ และที่สำคัญการควบคุม
คุณภาพในห้องสมุดต้องให้ทุกฝ่ ายได้เข้ามามีส่วนร่ วมในกิจกรรมต่าง ๆ เพราะการประเมิน
คุณภาพต้องการให้ทุกฝ่ ายร่ วมกันทำงาน ไม่ใช่มาจับผิดการทำงานของฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง
(เอกสารอ้างอิงจากภาคผนวก ข )
๙. มีการสร้างเครื อข่ายและขยายความร่ วมมือระหว่างห้องสมุดกับนักเรี ยน ครู และ
บุคลากรในโรงเรี ยน ชุมชน หน่วยงาน องค์กรเอกชน เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการใช้ทรัพยากร
สารสนเทศร่ วมกัน หรื อเพื่อแบ่งเบาภาระหน้าที่ในการทำงาน เช่นแบ่งหน้าทีในการสร้างฐาน
ข้อมูลในด้านต่าง ๆ ที่เป็ นรู ปแบบของ Full text แบ่งหน้าที่ในการจัดหาวารสารร่ วมกัน แบ่งหน้าที่
ในการทำดรรชนีวารสาร แบ่งหัวข้อในการทำกฤตภาค มีความร่ วมมือในการพัฒนาเครื อข่ายห้อง
สมุด เพราะจะทำให้เกิดความร่ วมมือในการทำงานด้านต่าง ๆ
(เอกสารอ้างอิงจากภาคผนวก ข )
๑๐. จัดหาเงินนอกงอบประมาณ มาใช้ในการบริ หารจัดการห้องสมุดนอกเหนือจากงบ
ประมาณตามโครงการที่ได้รับจัดสรร เพราะห้องสมุดแนวใหม่ตอ้ งปรับกลยุทธ์ในการบริ การ
การจัดสภาพสิ่ งแวดล้อมและบรรยากาศ ตลอดจนการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มการอ่านที่หลากหลาย
จึงทำให้งบประมาณที่ได้รับจัดสรรไม่เพียงพอต่อการพัฒนา ผูบ้ ริ หารและคณะกรรมการพัฒนา
ห้องสมุดจึงต้องใช้วิธีการพึ่งพาตนเองจัดหางบประมาณจากภายนอกสนับสนุน เพื่อให้การดำเนิน
งานบรรลุผลและมีประสิ ทธิภาพ โยงบประมาณเหล่านั้นได้มาดังนี้
๑๐.๑ จากการจัดกิจกรรมชุมนุมห้องสมุด จัดทำกิจกรรมเสริ มหารายได้เข้า
ห้องสมุด เช่นนักเรี ยนในชุมนุมผลิตของใช้ประดับตกแต่งจากวัสดุเหลือใช้ มารี ไซเคิลใหม่ สร้าง
งานสร้างอาชีพ การจัดทำสื่ อส่ งเสริ มการอ่านจำหน่าย เป็ นต้น (เอกสารอ้างอิงจากภาคผนวก ข )
๑๐.๒ การส่ งกิจกรรมต่างๆของห้องสมุดเข้าร่ วมแข่งขันร่ วมกับหน่วยงาน
องค์กรเอกชนต่างๆ เพื่อนำรางวัลที่ได้ในรู ปของวัสดุ อุปกรณ์ สื่ อไอซี ทีมาพัฒนาห้องสมุดและ
กิจกรรมส่ งเสริ มการอ่าน (เอกสารอ้างอิงจากภาคผนวก ข )
๑๐.๓ วัสดุอุปกรณ์ ครุ ภณั ฑ์บางอย่าเก่าหรื อชำรุ ด นำมาปรับปรุ ง
เปลี่ยนแปลงและแปรสภาพให้สวยงาม ใช้ได้ ทนทาน โดยอาศัยศิลปะการตกแต่งที่ทนั สมัย จึง
ทำให้สามารถประหยัดงบประมาณในการจัดซื้ อวัสดุครุ ภณั ฑ์ได้ในแต่ละปี ประหยัดแต่สวยงาม
และมีประโยชน์มากขึ้น (เอกสารอ้างอิงจากภาคผนวก ข )
๑๑ โรงเรี ยนมีการทำ MOU กับองค์การบริ หารส่ วนตำบล ในการช่วยพัฒนาห้องสมุด
และการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มการอ่านแบบยัง่ ยืน
๑๒. มีการวัดผลประเมินผลในการดำเนินงาน มีระบบประกันคุณภาพและตัวชี้วดั เพื่อ
ใช้ในการประเมินคุณภาพและพัฒนาศักยภาพในการบริ หารจัดการห้องสมุด เพื่อจะได้ทราบถึงผล
การดำเนินงานด้านการบริ หารจัดการห้องสมุดโรงเรี ยน และทราบถึงปั ญหาอุปสรรคในการดำเนิน
งาน (เอกสารอ้างอิงจากภาคผนวก ข )
แนวทางการจัดผังงานการบริการในห้ องสมุดรู ปแบบใหม่ แบ่งออกเป็ น 6 ส่ วน ดังนี้
๑. ห้องสมุดอ่าน (พื้นที่ให้บริ การสำหรับอ่านหนังสื อ วารสาร สิ่ งพิมพ์อื่นๆ)
๒. ห้องสมุดส่ วนนิทรรศการ (พื้นที่มุมศิลป์ มุมผลงานนักเรี ยน ฯลฯ)
๓. ห้องสมุดส่ วนเวที (พื้นที่สำหรับจัดกิจกรรมส่ งเสริ มการอ่าน)
๔. ห้องสมุดอิเลคโทรนิกส์ (สำหรับจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนด้วยระบบอินเทอร์เน็ต)
๕. ห้องสมุดเชิงอนุรักษ์ (พื้นที่ลานใต้ร่มไม้รอบบริ เวณโรงเรี ยน)
๖. ห้องสมุดของเล่น (พื้นที่เพื่อให้นกั เรี ยนและผูป้ กครองมีโอกาสทำกิจกรรมร่ วมกัน)
ผังการบริหารจัดการห้ องสมุดโรงเรียนบ้ านนาวงศ์ NAWONG LIBRALY MODAL

การบริหารแบบกระจายอำนาจ

การจัดการฐานข้ อมูลของ
ห้ องสมุดโดยนำสื่ อและ การจัดระบบสื บค้ น
เทคโนโลยีใช้ ในการบริการ

จัดระบบการบริการ จัดหาสื่ อ /อุปกรณ์ พัฒนาครู และบุคลากรห้ องสมุด


พัสดุ/ครุ ภัณฑ์

จัดหาหนังสื อ/สารสนเทศ สร้ างระบบควบคุมคุณภาพของห้ องสมุด มีการสร้ างความร่ วมมือ จัดหางบประมาณ


ภายใน/ภายนอกหน่ วยงาน ภายใน/ภายนอกหน่ วยงาน

การวัดผลกระเมินผลนวัตกรรม
๔ ผลทีเ่ กิดขึน้ จากการดำเนินงาน
๔.๑ การดำเนินงานบริ หารจัดการห้องสมุดแบบ NAWONG LIBRALY MODAL ทำให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงในทางที่ดีข้ ึน เจ้าหน้าที่บรรณารักษ์มีความรู ้ ความเข้าใจในการปฏิบตั ิงานและเป็ นผูน้ ำ
คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะโปรแกรม OBACE LIBRALY มาใช้สนับสนุนการปฏิบตั ิงาน ทำให้การทำ
ทะเบียนคุมหนังสื อ ทะเบียนยืม-คืนหนังสื อ เกิดความรวดเร็ ว เป็ นปั จจุบนั ทันตามกำหนดเวลา จัดเก็บ
ข้อมูลหลักฐานปฏิบตั ิได้รวดเร็วและสามารถสื บค้นได้สะดวก
๔.๒ ครู บรรณรักษ์และคณะทำงานตลอดจนผูป้ ฏิบตั ิงานมีขวัญกำลังใจในการปฏิบตั ิงานยิง่ ขึ้น
ทำให้เพิม่ ประสิ ทธิภาพประสิ ทธิผลของงาน
๔.๓ ด้านการบริ การและกิจกรรม เมื่อนำเทคโนโลยีโดยเฉพาะคอมพิวเตอร์และโปรแกรม
OBACE LIBRALY มาใช้ ทำให้การบันทึกข้อมูลหนังสื อเป็ นปั จจุบนั บริ การยืมและคืนหนังสื อทำได้
สะดวกทำให้ขอ้ มูลถูกต้อง รวดเร็ ว เป็ นปัจจุบนั ทำให้งานห้องสมุดในทุกด้านบริ การได้ตามกำหนด
ระยะเวลา เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพเรี ยกใช้ขอ้ มูลและตรวจสอบได้รวดเร็ ว
๔.๔ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนของนักเรี ยนโรงเรี ยนบ้านนาวงศ์ ระหว่างก่อนและ
หลังการนำรู ปแบบบริ หารงานห้องสมุดแบบ NAWONG LIBRALY MODAL พบว่าผลสัมฤทธิ์ ทางการ
เรี ยนมีผลการทดสอบระดับชาติข้นั พื้นฐาน (O-NET) เพิ่มขึ้นในกลุ่ม ๕ กลุ่มสาระ และได้รับเกียรติบตั ร
จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาน่าน เขต ๒ ได้แก่ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย คณิ ตศาสตร์ การงาน
อาชีพและเทคโนโลยี และสาระวิทยาศาสตร์ และยังพบว่านักเรี ยนที่ได้เข้าแข่งขันประกวดทักษะทาง
วิชาการได้รับรางวัลในระดับกลุ่ม ระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็ นที่พอใจของผูป้ กครองและครู
๔.๕ นักเรี ยนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ จากการดำเนินกิจกรรมส่ งเสริ มการอ่านเชิงรุ ก
ที่ทางห้องสมุดจัดขึ้น ดังนั้นการบริ หารจัดการรู ปแบบนี้นบั ว่าเป็ นการจัดการที่สามารถสร้างคุณลักษณะ
ที่ดีให้เกิดกับผูเ้ รี ยนได้
๔.๖ โรงเรี ยนมีหอ้ งสมุด ๓ ดี ที่ได้มาตรฐานมีการพัฒนาทั้งด้านเทคโนโลยี ด้านสถานที่และ
การจัดบรรยากาศที่ดีเอื้อต่อการอ่านและการเรี ยนรู ้ มีหนังสื อและสื่ อการเรี ยนรู ้ที่ดีมีคุณภาพและเพียงพอ
ต่อความต้องการของนักเรี ยน ครู บุคลากรของโรงเรี ยนและชุมชน มีครู บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่หอ้ ง
สมุดที่มีคุณภาพ สามารถบริ หารและจัดการงานห้องสมุด ตลอดจนจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของห้องสมุดได้
อย่างหลากหลาย จนได้รับการคัดเลือกเป็ นห้องสมุดมีชีวิตต้นแบบ ของสพฐ.และรางวัลสถานศึกษาส่ ง
เสริ มการอ่านระดับประเทศ ในปี การศึกษา๒๕๕๓
๔.๗.  เกิดความร่ วมมือระหว่างองค์กร และบุคลากร มีเครื อข่ายของห้องสมุดโรงเรี ยนเพื่อสร้าง
เสริ มประสิ ทธิภาพ และประสิ ทธิผลของการดำเนินงานห้องสมุดระดับเขตพื้นที่การศึกษา,ระดับจังหวัด
(เอกสารอ้างอิงจากภาคผนวก ค )
๕ สิ่ งที่เรียนรู้ และการปรับปรุ งให้ ดขี นึ้
จากการนำรู ปแบบในการบริ หารจัดการห้องสมุดโรงเรี ยนแบบ NAWONG LIBRALY
MODAL มาใช้บริ หารจัดการห้องสมุดโรงเรี ยนคว้าพบว่า การพัฒนาระบบงานบริ การห้องสมุด โดย
ใช้แบบ NAWONG LIBRALY MODAL ทำให้ทราบสภาพที่เป็ นจริ ง จุดแข็ง จุดอ่อน ได้ข้นั ตอนและ
วิธีการบริ หารงานห้องสมุด ที่มีความถูกต้องรวดเร็ วเป็ นปั จจุบนั และตรวจสอบได้ ซึ่ งผลการประเมิน
โดยรวมมีความเหมาะสมอยูใ่ นระดับมาก และจัดทำคูม่ ือการดำเนินงานห้องสมุด ผูร้ ับผิดชอบงาน
บริ การห้องสมุดสามารถปฏิบตั ิงานบริ การห้องสมุดได้ตามขั้นตอนและวิธีการปฏิบตั ิงานห้องสมุดได้
อย่างถูกต้อง รวดเร็ ว เป็ นปัจจุบนั ตรวจสอบได้ และผูร้ ับบริ ก ารมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมาก แต่ยงั
มีผรู ้ ับผิดชอบงานบริ การห้องสมุดเป็ นส่ วนน้อยที่ยงั ไม่สามารถนำขั้นตอนและวิธีการปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับ
การยืม การคืน การบันทึกสถิติ และการสื บค้นไปใช้ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ ว เป็ นปั จจุบนั ตรวจสอบได้
เพราะขาดทักษะในการใช้งานคอมพิวเตอร์ จึงดำเนินการพัฒนาเชิงลึก โดยใช้กลยุทธ์การนิเทศแบบ
สอนแนะ ทำให้ผรู้ ับผิดชอบงานบริ การห้องสมุดดังกล่าวสามารถปฏิบตั ิงานตามขั้นตอนและวิธีการ
ปฏิบตั ิงานที่มีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึ้น

๖. การขยายผลและการเผยแพร่
หลังจากที่ได้ด ำเนินการบริ หารจัดการห้องสมุดแบบ แบบ NAWONG LIBRALY
MODAL ทำให้หอ้ งสมุดโรงเรี ยนมีมาตรฐาน สามารถเป็ นแบบอย่างที่ดีของโรงเรี ยนต่างๆ ในกลุ่ม
โรงเรี ยนเดียวกัน โรงเรี ยนสังกัดในเขตพื้นที่ และโรงเรี ยนในจังหวัดน่าน โดยมีรางวัล เกียรติบตั ร
ยกย่องชมเชยจากหน่วยงาน องค์กร เอกชนทั้งระดับเขตพื้นที่ ระดับภาคและระดับชาติ เป็ นตัวชี้วดั ทาง
โรงเรี ยนจึงได้ด ำเนินการขยายผล เผยแพร่ ในรู ปแบบต่างๆดังนี้
๖.๑ จัดนิทรรศการเผยแพร่ การดำเนินงานห้องสมุดโรงเรี ยนและกิจกรรมส่ งเสริ มการอ่านในที่
ชุมชน หน่วยงานองค์กรต่างๆ จัดขึ้น โดยมีรูปแบบการจัดที่หลากหลายวิธีการนำเสนอ
๖.๒ จัดทำเอกสาร/วารสาร ห้องสมุดสัมพันธ์ ขึ้นภายในเขตพื้นที่
๖.๓ จัดทำบริ การให้ค ำปรึ กษาเกี่ยวกับการพัฒนาห้องสมุดแนวใหม่และการจัดกิจกรรมส่ ง
เสริ มการอ่าน ในสังคมออนไลน์ เช่น Facebook และ Website
๖.๔ ครู บรรณรักษ์และคณะทำงานได้เป็ นวิทยากรในการอบรมประชุมสัมมนาเกี่ยวกับงานห้อง
สมุด และการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มการอ่าน ระดับเขตพื้นที่และระดับจังหวัด

(เอกสารอ้างอิงจากภาคผนวก ค )

๗. ข้ อเสนอแนะและแนวทางพัฒนาอย่างต่ อเนื่อง
เพื่อให้นวัตกรรมนี้ มีความสมบูรณ์ยงิ่ ขึ้น รวมทั้งก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดกับผูเ้ รี ยน จึงมี
แนวคิดในการพัฒนาต่อยอดโดยการนำแนวทางการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนนี้เขียนเป็ นคู่มือการ
บริ หารจัดการห้องสมุดโรงเรี ยนแบบ NAWONG LIBRALY MODAL เผยแพร่ และให้มีการวิจยั
และพัฒนาผลที่เกิดกับนักเรี ยนควบคู่ไปด้วย

--------------------------------------------------------

หมายเหตุ
๑. การบริหารจัดการห้ องสมุดโรงเรียนแบบ NAWONG LIBRALY MODAL หมายถึง
การดำเนินงานห้องสมุดของโรงเรี ยนบ้านนาวงศ์ ที่มีรูปแบบตามบริ บทของโรงเรี ยน โดยอาศัยการมี
ส่ วนร่ วมของทุกฝ่ ายไม่วา่ ครู บุคลากรในโรงเรี ยน นักเรี ยน คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน ตลอด
จนหน่วยงานต้นสังกัด ร่ วมมือในการพัฒนางานห้องสมุดให้ได้มาตรฐานและสนองนโยบายของรัฐ
เพื่อการส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนในโรงเรี ยน ชุมชนและบุคลากรมีนิสยั รักการอ่านแบบยัง่ ยืน อันนำไปสู่ การ
เรี ยนรู ้และดำเนินชีวิตในโลกยุคโลกาภิวฒั น์
๒. บุคลากรห้ องสมุด หมายถึง บุคคลที่มีส่วนร่ วมในการดำเนินงานห้องสมุดได้แก่
- ครู ท ำหน้าที่บรรณารักษ์     เป็ นผูร้ ับผิดชอบงานทั้งหมดของห้องสมุด  มีหน้าที่ วาง
นโยบาย ดำเนินงาน ควบคุม ดูแลห้องสมุดให้บรรลุเป้ าหมาย
      - ผูช้ ่วยบรรณารักษ์    เป็ นผูป้ ฏิบตั ิงานแทนบรรณารักษ์ได้เกือบ ปฏิบตั ิงานตามที่
บรรณารักษ์มอบหมาย
     - บุคลากรโสตทัศนวัสดุ   เป็ นผูป้ ฏิบตั ิงานด้านนี้โดยตรง  
      - เจ้าหน้าที่หอ้ งสมุด     เป็ นผูป้ ฏิบตั ิงานตามที่บรรณารักษ์หรื อผูช้ ่วยมอบหมาย   
- พนักงานบริ การ  เป็ นผูป้ ฏิบตั ิงานในด้านปิ ด - เปิ ดห้องสมุด  ดูแลรักษาความสะอาด 
๓. ห้ องสมุด ๓ ดี หมายถึงห้องสมุดที่มีความพร้อมที่ดี ๓ ประการคือ
ดี ๑ หนังสือดี และสื่อการเรียนรู้ ดี หมายถึง หนังสื อและสื่ อการเรี ยนรู ้ที่มีคุณภาพ
เนื้อหาสาระถูกต้อง ไม่เป็ นพิษเป็ นภัยและตรงใจผูอ้ ่านในรู ปของสื่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ ออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ อ
อื่น ๆ เพื่อส่ งเสริ มการอ่านและสร้างสรรค์ปัญญา
       ดี ๒ บรรยากาศ และสถานที่ดี หมายถึง ห้องสมุดที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ การศึกษาค้นคว้า
อุดมไปด้วยความรู้ ความบันเทิง อบอวลไปด้วยมิตรภาพ สะอาด ร่ มรื่ น ปลอดโปร่ ง และปลอดภัย
สำหรับทุกคนที่ใช้บริ การ และต้องมีอุปกรณ์สิ่งอำนวยความสะดวกในห้องสมุดครบครัน เช่น เครื่ อง
คอมพิวเตอร์สำหรับสื บค้นทางอินเตอร์เน็ต เครื่ องถ่ายเอกสาร มีการจัดวางหนังสื อให้ชวนเด็กหยิบอ่าน
อากาศภายในเย็นสบาย กิจกรรมส่ งเสริ มรักการอ่านน่าสนใจ
      ดี ๓ บรรณารักษ์ และกิจกรรมดี หมายถึง ครู ที่ท ำหน้าที่บรรณารักษ์เป็ นผูท้ ี่มีความรู ้
ความเข้าใจในงานห้องสมุด มีอธั ยาศัยน้ำใจดี มีจิตบริ การ ทำงานระดับ "มืออาชีพ" เป็ นตัวกลางในการ
เชื่อมโยงความรู้ในห้องสมุดกับผูใ้ ช้บริ การ มีความรู ้ลึก รู ้รอบ รู ้กว้าง รู ้ไกล ทันสมัย ทันกับความ
เปลี่ยนแปลงของสังคม เป็ นนักจัดกิจกรรมส่ งเสริ มรักการอ่านและการเรี ยนรู ้ เป็ นผูบ้ ริ หารจัดการความรู ้
ที่ดี และปฏิบตั ิงานอย่างมีความสุ ข
บรรณานุกรม

กมล ภู่ประเสริ ฐ. (๒๕๔๗). การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา. กรุ งเทพฯ : เสริ มศิลป์ พรี เพรส-
ซิ สเต็ม.
กิตติพงษ์ ปิ ตะหงษ์นนั ท์ . (๒๕๔๘). การพัฒนาการดำเนินงานจัดกิจกรรมห้ องสมุดประชาชนอำเภอ
สั งขะ จังหวัดสุ รินทร์ . การศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม., มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,
มหาสารคาม.
กิติมา ปรี ดีดิลก. (๒๕๓๒). การบริหารและการนิเทศการศึกษาเบือ้ งต้ น กรุ งเทพฯ : อักษราพิพฒั น์.
เฉลียว พันธุ์สีดา. (๒๕๔๒ ). ห้ องสมุดโรงเรียน. กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรี นคริ นรทวิโรฒ –
ประสานมิตร.
ถวัลย์ มาศจรัส. (๒๕๔๘ ). คู่มือการใช้ ห้องสมุดโรงเรียน. กรุ งเทพฯ : ธารอักษร
ประวิต เอราวรรณ์. ( ๒๕๔๕ ) . การวิจัยปฏิบัติ การเรียนรู้ ของคณะครู และการสร้ างพลังร่ วมกันใน
โรงเรียน. กรุ งเทพฯ : ดอกหญ้าวิชาการ.
ปรี ยาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (๒๕๔๔). เทคนิคการสอน. กรุ งเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริ มกรุ งเทพฯ.
พิกลุ ภูมิโคกรักษ์. ( ๒๕๔๕ ). เอกสารประกอบการสอน วิชาห้ องสมุดโรงเรียน. นครราชสี มา :
สถาบันราชภัฏนครราชสี มา.
โรงเรี ยนบ้านนาวงศ์ (๒๕๕๒ ). รายงานการประเมินตนเอง (SSR) ประจำปี การศึกษา ๒๕๕๒. น่าน
: โรงเรี ยนบ้านนาวงศ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาน่าน เขต ๒
สมาน รังสิ โยกฤษฎ์. (2541). ความรู้ทั่วไปเกีย่ วกับการบริหารงานบุคคล. กรุ งเทพฯ : สำนักงาน ก.พ.

You might also like