Life Style English

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 19

เอกสารประกอบการฝึ กสนทนา

ภาษาอังกฤษในสถานการณ์ ต่างๆในชีวติ ประจำวัน

LIFE STYLE ENGLISH

สนุกกับคำ วลี และประโยคพืน้ ฐานที่ใช้ กนั บ่ อยในสถานการณ์ ต่างๆ


ในชีวติ ประจำวัน ใช้ สื่อสารได้ ทันที

คำนำ
เนื่องมาจากความต้องการอยากจะแบ่งปันประสบการณ์เกี่ยวกับภาษาอังกฤษที่พอมีอยูบ่ า้ งให้กบั
ทุกๆคนที่สนใจแต่ยงั หาจุดเริ่ มต้นในการฝึ กฝนไม่ได้เพราะยังขาดความมัน่ ใจ หนังสื อเล่มนี้ช่วยท่านได้
สามารถใช้เป็ นคู่มือในการฝึ กฝนการสนทนาภาษาอังกฤษได้เป็ นอย่างดี เพราะสำนวนในการเขียนหนังสื อ
เล่มนี้ เป็ นสำนวนแบบธรรมดาทัว่ ๆไป อ่านแล้วเข้าใจง่าย กะทัดรัด พร้อมคำอธิบายโดยละเอียด
เนื้อหาในหนังสื อนี้ ท้ งั หมดได้มาจากการศึกษาค้นคว้าจากตำราและประสบการณ์ที่ได้มีโอกาส
สนทนากับเจ้าของภาษา จึงนำมารวบรวมไว้เพื่อแบ่งปันประสบการณ์น้ี ให้กบั ทุกท่านที่สนใจ
ผมมิบงั อาจกล่าวได้วา่ หนังสื อเล่มนี้จะเป็ นคู่มือสำหรับการฝึ กพูดภาษาอังกฤษที่ดีที่สุด จึงเรี ยนมายัง
ผูร้ ู ้ ผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านนี้ โดยตรงว่า นี่เป็ นเพียงส่ วนหนึ่งเท่านั้นที่ผมสามารถรวบรวมขึ้นได้ เพื่อช่วยให้ผทู้ ี่
สนใจเข้าใจประโยคและสำนวนต่างๆที่ใช้ในการพูดคุยกันในชีวิตประจำวันได้ดีข้ ึน
หากหนังสื อเล่มนี้มีสาระตรงใจท่านก็ขอเป็ นกำลังใจให้ท่านประสบผลสำเร็ จ และขอน้อมรับคำ
ติชมจากทุกท่านด้วยความเคารพ เพื่อน้อมนำมาแก้ไขปรับปรุ งในโอกาสต่อไป

วิทูล เหล่ าทอง

สารบัญ
เรื่ อง เรื่ องที่
แรกพบจะพูดอย่างไร 1
ไถ่ถามทุกข์สุข 2
ไปก่อนนะ 3
แนะนำตนเอง 4
แนะนำคนอื่นให้รู้จกั กัน 5
ขอบคุณ 6
ขอโทษครับ 7
คุณชื่ออะไรครับ 8
เอ่ยคำชม 9
ขอตำหนิเธอหน่อย 10
การเตือนภัย 10
คุณชอบหรื อเปล่า 11
อุทาน ตื่นเต้น 11
ชวนกันไป 12
ฝรั่งถามทาง 13
ไปแท็กซี่ดีกว่า 14
ยามเจ็บไข้ไปหาหมอ 15
หิ วหรื อยัง 16
ไปซื้ อของ 17
เสี ยใจด้วยนะ 18
ใจร้อนจัง 19

1. แรกพบจะพูดอย่ างไร
คำพูดของเรานันมี ้ หลากหลายแล้ วแต่ว่าใครจะพูดอย่างไร เหมาะสมเพียงไรในการสนทนากันแต่ละ
ครัง้ ทังนี
้ ้ ก็ขึ ้นอยูก่ บั สถานการณ์ และความสนิทสนมของคูส่ นทนา จะได้ ตดั สินใจใช้ คำที่เป็ นกันเอง หรื อคำที่
เป็ นทางการในสถานการณ์นนๆได้ ั้ เช่น
คำทักทายที่ใช้ กับคนที่สนิทสนมและเป็ นกันเอง คือ Hi, Hello หรื อ Hey
Hi (ไฮ ) เช่น Hi, John. (สวัสดีจอร์ น)
Hello (เฮ้ลโล ) เช่น Hello, Tom. (สวัสดีทอม)
Hey (เฮ้ ) เช่น Hey, Marry. (สวัสดีแมรี่ )
ทัง้ 3 คำ ใช้ ทกั ทายกันได้ ตลอดเวลาที่พบกัน เวลาตอบก็ใช้ คำ Hi, Hello หรื อ Hey ตอบเช่นกัน
คำทักทายที่ใช้ กับคนที่ไม่ ค่อยสนิทกันมาก หรื อแบบเป็ นทางการ คือ Good morning, Good
afternoon หรื อ Good evening
Good morning (กุด ม้อร์ นิง ) เช่น Good morning John. (สวัสดีครับจอร์ น ) ใช้ ทกั ทายกันในตอน
เช้ าจนถึงบ่าย
Good afternoon (กุด อ๊าฟเตอร์ นนู ) เช่น Good afternoon Tom. (สวัสดีครับทอม) ใช้ ทกั ทายกันใน
ตอนบ่ายจนถึงเย็น
Good evening (กุด อีฟ๊ ’นิ ง ) เช่น Good evening Marry. (สวัสดีครับแมรี่ ) ใช้ ทกั ทายกันในตอน
เย็นเป็ นต้ นไปจนเช้ าของวันใหม่
ใครที่ค้ า ขายอย่า ลืม ใช้ ค ำว่า Good morning, Good afternoon หรื อ Good evening ทัก ทายเมื่อ
ลูกค้ าเข้ าร้ าน ส่วนคำว่า Good night. (กุด ไนท์ ) ใช้ ในการลาจากกันในเวลากลางคืน ไม่ใช่คำทักทายเมื่อ
แรกพบนะครับ

2.ไถ่ ถามทุกข์ สุข


หลังจากที่ได้ทกั ทายกันแล้ว ก็ตอ้ งแสดงความสนใจคู่สนทนาของเราโดยการไถ่ถามทุกข์สุขของ
เขาบ้าง โดยใช้ประโยคต่อไปนี้
ถามว่ า How are you? (ฮาว อาร์ ยู) คุณสบายดีหรือ เมื่อถูกถามด้วยประโยคนี้ ถ้าสบายดีให้ตอบ
ว่า Fine, thank you. (ไฟน์ แธงคิว ) หมายถึง สบายดี ขอบคุณ และด้วยมารยาทที่ดี เมื่อเขาถามเราแล้วก็ควร
ถามตอบไปบ้างด้วยคำว่า And you? (แอ่ น ยู้ ) หมายถึง แล้วคุณล่ะ สบายดีรึเปล่า เขาก็จะตอบเช่นเดียวกับ
เรา แต่..ถ้าเราไม่สบายให้ตอบไปตามอาการที่เราเป็ น เช่น ป่ วย เป็ นไข้ ปวดท้อง ปวดศรี ษะ เป็ นไข้หวัด
ฯลฯ แล้วตามด้วยคำว่า thank you. เช่น I’ve got a cold, thank you. (ไอฟ์ ก็อต อะ โคล แธง คิว) หมายถึง
ฉันเป็ นหวัดนิดหน่อย ขอบคุณ ดังตัวอย่างในสถานต่อไปนี้ Tom กับ John ซึ่งเป็ นเพื่อนสนิทมาพบกัน
Tom : Hey ! John. (สวัสดีจอร์น)
John : Hi, Tom. How are you? (สวัสดีทอม สบายดีหรื อ)
Tom : Fine, thank you. And you? (สบายดี ขอบคุณ แล้วคุณละ)
John : Fine, thank you. (สบายดี ขอบคุณ)
หรื อเผอิญวันนั้น John ปวดศรี ษะ
Tom : Hey ! John. (สวัสดีจอร์น)
John : Hi, Tom. How are you? (สวัสดีทอม สบายดีหรื อ)
Tom : Fine, thank you. And you? (สบายดี ขอบคุณ แล้วคุณละ)
John : I’ve a headache, thank you. (ปวดศรี ษะนิดหน่อย ขอบคุณ)
มีประโยคอีกมากมายที่น ำมาใช้ในการถามทุกข์สุขกันได้ นี่เป็ นเพียงบางส่ วนในสถานการณ์จริ ง
เท่านั้น ถ้าสามารถศึกษาให้หลากหลายมากเท่าไรยิง่ ดี
3.ไปก่อนนะ
หลังจากทักทายสนทนาไถ่ถามสารทุกข์สุขดิบกันแล้ว ก็ตอ้ งมีการลาจากกัน ซึ่งคำที่ใช้ในการลาจากกัน
นั้นมีมากมาย แล้วแต่วา่ ใครจะจำไปได้ได้หลากหลายมากกว่ากัน เช่น
Goodbye (กุด บาย) หมายถึง ไปละนะ ค่อนข้างเป็ นทางการคือ คู่สนทนายังไม่สนิทสนมกันมาก
เวลาตอบใช้ค ำว่า Goodbye เช่นเดียวกัน
Bye-bye (บ๊ าย บาย) หมายถึง ไปละนะเหมือนกัน ใช้กบั คนสนิทคุน้ เคยกัน เวลาตอบใช้ค ำว่า Bye-bye
เช่นเดียวกัน
See you later. (ซี ยู เลท เทอร์ ) หมายถึง แล้วค่อยพบกันอีก ใช้ทวั่ ไป เวลาตอบใช้ค ำว่า See you later.
หรื อ See you.
See you again. (ซี ยู อเกน ) หมายถึง แล้วค่อยพบกันอีก ใช้ทวั่ ไป เวลาตอบใช้ค ำว่า See you later.
หรื อ See you. เช่นเดียวกัน
ถ้าเป็ นการลากันขณะกำลังจะออกเดินทางไปไหน ใช้วลีต่อไปนี้
Have a nice trip. (แฮฟ อะ ไนซ์ ทริ ป)หมายถึง ขอให้เดินทางให้สนุก หรื อขอให้สนุกกับการเดินทาง
เวลาตอบใช้ประโยค Thank you, I will. (แธง คิว ไอวิล) หมายถึง ขอบคุณ ขอให้สมพรปาก
ถ้าลากันขณะเตรี ยมเดินทางโดยทางเรื อ ใช้วลีต่อไปนี้
Bon Voyage. (บอง โว ยาจ) หมายถึง ขอให้เดินทางโดยปลอดภัย เวลาตอบใช้ประโยค Thank you, I
will. (แธง คิว ไอวิล) หมายถึงขอบคุณขอให้สมพปาก
ถ้าลากันขณะเตรี ยมเดินทางโดยเครื่ องบิน ใช้วลีต่อไปนี้
Have a nice flight. (แฮฟ อะ ไนซ์ ไฟลท์ ) หมายถึง ขอให้เดินทางโดยปลอดภัย
4. แนะนำตนเอง
ประโยคที่นิยมใช้ ในการแนะนำตนเอง และแนะนำผู้อื่นให้ ร้ ูจกั กันมีมากมายแล้ วแต่จะเลือกใช้ ตมสถานการณ์
ต่างๆ ดังนี ้
การแนะนำตนเอง
Hello, My name is John. (ไฮ มาย เนม อีส๊ จอร์ น) สวัสดีครับ ผมชื่อจอร์ น ถ้ าเราเป็ นผู้ถกู แนะนำ หรื อเป็ นผู้ฟังเราก็ตอบ
ด้ วยประโยค
Nice to meet you. (ไนซ์ ทู มี ท้ ยู) ยินดีที่ได้ ร้ ูจกั คุณ
I’m very please to meet you. (แอม เวรี พลี ส้ ทู มี ท้ ยู) ผมมีความยินดีมากที่ได้ ร้ ูจกั คุณ
I’m glad to meet you. (แอม แกล๊ ด ทู มี ท้ ยู) ผมยินดีที่ได้ ร้ ูจกั คุณ
หรื อเราอาจบอกชื่อของเราตอบก็ได้ เช่นดังตัวอย่างสถานการณ์ตอ่ ไปนี ้ ทอมมาพบจอร์ น โดยทังคู ้ ย่ งั ไม่ร้ ูจกั กัน ทอมเป็ น
ฝ่ ายเอ่ยขึ ้นก่อน
Tom : Hello, my name is Tom. (เฮลโล มายเนม อีส๊ ทอม) สวัสดีครับผม..ทอม
John : Nice to meet you. (แกล๊ ด ทู มี ท้ ยู) ยินดีที่ได้ ร้ ูจกั คุณ
May I introduce myself? I’m Peter. (เมย์ ไอ อิ นโทรดิ๊ วส์ มายเซล์ ฟ แอม ปี เตอร์ ) ผมขอแนะนำตนเองหน่อยนะครับ ผม…ปี
เตอร์ ครับ
ดังตัวอย่ าง
Peter : Hello, May I introduce myself? I’m Peter. สวัสดีครับ ผมขอ อนุญาตแนะนำตัว ผม..ปี เตอร์ ครับ
Tom : I’m glad to meet you. ยินดีที่ได้ ร้ ูจกั คุณครับ
นี่เป็ นเพียงบางส่วนในการแนะนำตนเองและการตอบรับ สามารถใช้ ในการสนทนาได้ ทนั ที หรื อจะศึกษาให้ หลาก
หลายมากกว่านี ้ก็ไม่ผิดกติกาครับ

5. แนะนำคนอืน่ ให้ ร้ ู จกั กัน


การแนะนำคนอื่นให้ ร้ ูจกั กับคนที่เรารู้จกั อยูก่ ่อนแล้ ว นับเป็ นสิ่งสำคัญในสังคม ที่จะทำให้ เราผู้คนรู้จกั กันมากขึ ้น ซึง่
จะเกิดประโยชน์หลายๆอย่างตามมา คำที่นิยมใช้ แนะนำกันมีอยูม่ ากมาย ในสถานการณ์ตอ่ ไปนี ้ก็สามารถนำไปใช้ ได้

ตัวอย่างเช่น ทอม จะแนะนำปี เตอร์ ให้ ร้ ูจกั กับจอร์ น ก่อนอื่นทอมต้ องเรี ยกชื่อปี เตอร์ ก่อนเพื่อให้ ร้ ูตวั แล้ วจึงแนะนำ
จอร์ นให้ ร้ ูจกั ดังนี ้
Tom : Peter, this is John. (ปี เตอร์ ดีส๊ อีส๊ จอร์ น) คุณปี เตอร์ ครับ นี่คือจอร์ น เมื่อทอมแนะนำให้ ร้ ูจกั กับจอร์ นแล้ ว ปี
เตอร์ ต้ องบอกว่า
Peter : Nice to meet you, John. (ไน้ซ์ ทู มี ส้ ยู) ยินดีที่ได้ ร้ ูจกั คุณ.. จอร์ น
หรื อ Peter : Glad to meet you, John. (แกล๊ด ทู มี ส้ ยู) ยินดีที่ได้ ร้ ูจกั คุณ.. จอร์ น
อีกสถานการณ์ หนึ่งคือ
Tom : May I introduce John? (เมย์ ไอ อิ น โทรดิ๊ วส์ จอร์ น) ผมขขออนุญาตแนะนำจอร์ นหน่อยนะครับ การตอบรับก็
ตอบเช่นเดียวกัน
Peter : Nice to meet you, John. (ไน้ซ์ ทู มี ส้ ยู) ยินดีที่ได้ ร้ ูจกั คุณ.. จอร์ น
หรื อ Peter : Glad to meet you, John. (แกล๊ด ทู มี ส้ ยู) ยินดีที่ได้ ร้ ูจกั คุณ.. จอร์ น

6. ขอบคุณ
ในสังคมยุคใหม่ผคู้ นมีการช่วยเหลือกันมากขึ้น ดังนั้นผูร้ ับจึงจำเป็ นต้องพูดคำว่าขอบคุณให้ติดปาก ผู้
ให้กเ็ ช่นกันเมื่อมีใครกล่าวขอบคุณแล้วจะต้องตอบรับได้ดอ้ ย่างเหมาะสม เพื่อแสดงถึงการมีน ้ำใจช่วยเขา
นั้นเราช่วยด้วยความเต็มใจ
คำพื้นฐานที่นิยมพูดขอบคุณกันโดยทัว่ ไปคือ Thank you. (แธ็ง คิว) ทุกคนพูดคำนี้ได้ แต่ถา้ เรามีค ำ
ขอบคุณที่หลากหลายกว่านี้กจ็ ะได้เปรี ยบนะครับ คำที่นิยมกล่าวขอบคุณกันในโอกาสต่างๆ คือ
Thank you. (แธ็ง คิว) ขอบคุณ
Thank you very much. (แธ็ง คิว เวรี มัช) ขอบคุณมาก
Thank you for your kindness. (แธ็ง คิว ฟอร์ ยัวร์ คายเนส) ขอบคุณในความมีน ้ำใจของคุณ
That’s very kind of you. (แด็ทส์ เวรี คาย อ๊ อฟ ยู) คุณใจดีมาก
ในทางกลับกันเมื่อมีผกู้ ล่าวคำขอบคุณแล้ว ตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ผูใ้ ห้ควรพูดตอบ ดังนี้
You are welcome. (ยู อาร์ เวลคัม) ด้วยความยินดีครับ
I’m glad to do it. (แอม แกล๊ ด ทู ดู อิท) ผมดีใจที่ได้ช่วยเหลือ
Don’t mention it. (โด๊ นท์ เมนชั่น อิท) ไม่เป็ นไร อย่าไปพูดถึงมันเลย
That’s alright. (แด๊ ทส์ ออลไรว์ ) ไม่เป็ นไรหรอก
No need to thank me. (โน นีด้ ทู แธ็ง มี) ไม่ตอ้ งขอบคุณผมหรอก

7. ขอโทษครับ
ในช่วงเวลาหนึ่ง เวลาใดที่เราคิดว่าเราทำอะไรที่ท ำให้คนอื่นมีความรู ้สึกที่เปลี่ยนไปจากปกติในลบ เช่น
การเดินตัดหน้า การขอทาง การขัดจังหวะ คำพื้นฐานที่ท ำให้คนเหล่านั้นไม่ถือโทษโกรธเคืองเราก็คือ Excuse
me. (เอ็กซ์ คิวส์ มี) หมายถึง ขอโทษครับ/ค่ะแต่ถา้ จะให้ค ำขอโทษของเราหลากหลายขึ้น สามารถใช้ค ำเหล่า
นี้ได้ครับ
Pardon. (พาร์ ดัน) ขอโทษ
I beg your pardon. (ไอ เบ๊ ก ยัวร์ พาร์ ดัน) ผม ..ขอโทษครับ
Forgive me, please. (ฟอร์ กี๊ฟ มี พลีส้ ) ยกโทษให้ผมด้วย
ในทำนองเดียวกัน ถ้ามีใครมาทำอะไรให้เราเกิดความรู ้สึกดังกล่าวข้างต้น และกล่าวคำขอโทษแล้วเรา
ไม่ถือโทษ เราก็ควรพูดแสดงน้ำใจด้วยคำหรื อวลี
ต่อไปนี้
That’s O.K. (แด๊ ทศ์ โอ เค) ไม่เป็ นไร
Go on (โกว์ ออน) ต่อเลยครับ
No problem. (โน พร็ อบลึม) ไม่มีปัญหา ได้เลย..
Alright. (ออล ไรว์ ) ครับ..ไม่เป็ นไร
ในกรณี ผดิ นัด ทำให้ใครคอยนาน มาทำงานสาย หรื อทำงานให้ไม่ได้เพราะไม่วา่ ง ฯลฯประโยคขอโทษ
ที่ติดหูมากที่สุดคือ
I’m sorry. (แอม ซอรี ) เสี ยใจครับ หรื อพูดสั้นๆว่า Sorry ก็ได้ เช่น
Sorry, I’m late. (ซอรี แอม เลท) ขอโทษครับ วันนี้ ผมมาสาย /ช้าไปหน่อย
Sorry, Busy. (ซอรี แอม บิ ซซี ) ขอโทษครับ คือ..ผมไม่วา่ งครับ

8. คุณชื่ออะไรครับ
พื้นฐานของความสนิทสนม ไม่มีเพื่อนสนิทที่ไม่รู้จกั ชื่อกัน ดังนั้น การถามชื่อเพื่อนใหม่ หรื อผูท้ ี่เรา
อยากรู ้จกั ควรเป็ นไปอย่างสุ ภาพให้ประทับใจผูต้ อบ แล้วท่านจะได้เพื่อนที่แสนดี
ประโยคที่ใช้ถามชื่อกัน มีอยูม่ ากมาย ในที่น้ ี จะนำเสนอเฉพาะที่ติดหูมากที่สุด จำง่าย จำใช้ได้เลย
May I know your name please? (เมย์ ไอ โนว์ ยัวร์ เนม พลีส้ ) ผมขออนุญาตทราบชื่อคุณ..ได้ไหม
ครับ
May I ask your name please? (เมย์ ไอ อาสค์ ยัวร์ เนม พลีส้ ) ผมขออนุญาตถามชื่อคุณ..ได้ไหมครับ
Your name please? (ยัวร์ เนม พลีส้ ) กรุ ณาบอกชื่อคุณ..ได้ไหมครับ
มีอีกประโยคหนึ่งที่ติดหนูมากที่สุดคือ What’s your name? (ว็อทส์ ยัวร์ เนม) ใช้ถามชื่อเหมือนกัน
แต่วา่ ออกจะแข็งไปนิด ฟังแล้วเหมือนว่าผูต้ อบกำลังถูกเค้นเอาชื่อทำนองนี้ ผมว่าใช้ 3 ประโยคบนเพราะ
กว่าครับ
เมื่อมีคนถามชื่อ เราก็ใช้ประโยคต่อไปนี้ ตอบ
My name is………. (มาย เนม อี๊ส……..) ผมชื่อ…………พร้อมนามสกุล
9. เอ่ยคำชม
รู ้จกั ชื่อกันแล้วจะเดินหนีไปดื้อๆก็ดูไม่ดีนกั ควรแสดงความสนใจคู่สนทนาสักหน่อย เขาจะได้เกิด
ความประทับใจตัวเรา คบเราได้โดยสนิทใจ คำชมนั้นมีมากมายทั้งชมที่ตวั ชมสิ่ งของ ชมบ้านของเขา ชมรถ
ฯลฯ ชมอะไรก็ได้ที่ตอ้ งการ ดังเช่นตัวอย่างประโยคที่ใช้
You are very nice. (ยู อาร์ เวรี ไนซ์ ) คุณดูดีมาก
Your shirt is very nice. (ยัวร์ เชิ ร์ต อี๊ส เวรี ไนซ์ ) เสื้ อของคุณสวยมาก
I like your eyes. (ไอ ไลค์ ยัวร์ อายส์ ) ผมชอบตาของคุณ
What a beautiful picture! (ว็อท อะ บิวทิฟูล พิคเจอร์ ) มันเป็ นภาพที่สวยจริ งๆ หรื อ ภาพอะไรช่าง
สวยงามอย่างนี้
How beautiful you look. (ฮาว บิว ทิฟูล ยู ลุค) คุณสวยมาก
เมื่อมีคนชมแบบนี้ ถ้าชอบอย่าเอาแต่ยนื หน้าแดงนะครับ ตอบรับความมีน ้ำใจเขาสักหน่อย ด้วยประโยค
หรื อวลีต่อไปนี้
Thank you. (แธ็ง คิว) ขอบคุณค่ะ
Do you think so. (ดู ยู ธิ งค์ โซ) คุณคิดอย่างนั้นหรื อคะ
Thank you for you complement. (แธ็งคิว ฟอร์ ยัวร์ ค็อมพลิมีนท์ ) ขอบคุณสำหรับคำชมนะคะ
ถ้าชมแล้วไม่ชอบ ก็ตอ้ งปฏิเสธคำชมอย่างน่าฟังด้วยเพื่อรักษาน้ำใจกันไว้
You’re just Flatter me. (ยูเออร์ จั๊สท แฟลทเทอร์ มี) คุณยอผม/ฉันแน่ๆเลย
Don’t try to flatter me. (โด๊ นท ทราย ทู แฟลทเทอร์ มี ) อย่าพยายามยอผม/ฉันเลย
10. ขอตำหนิเธอหน่ อย
เมื่อเด็กหรื อบุคคลรอบข้างทำอะไรที่ไม่ถูกไม่ควร ตามประสาคนช่างพูดก็อดที่จะกล่าวคำตำหนิออก
มาไม่ได้ ถ้าอยากตำหนิใคร ผมมีประโยคเกี่ยวกับเรื่ องนี้มาฝากครับ
What a shame! (ว็อท อะ เชม) ช่างน่าอายจริ งๆเลย..
You should be ashamed yourself. (ยู ชู้ด บี แอชเชท ยัวร์ เซ็ล์ฟ) คุณควรละอายแก่ใจตนเองบ้าง
What a bad guy you are. (ว็อท อะ แบ๊ ด กาย ยู อาร์ ) คุณเป็ นคนที่แย่มาก
Shame on you. (เชม ออน ยู) น่าอายจังเลย..คุณเนี่ย
How rude of you. (ฮาว รู้ ด อ๊ อฟ ยู) หยาบคายจริ ง..คุณเนี่ย

11.การเตือนภัย
บางครั้งมีคนรอดพ้นจากอันตราย อุบตั ิเหตุ หรื อเหตุร้ายต่างๆ เพียงเสี ยเตือนสั้นๆ ถ้าเราจะจำไว้ใช้กค็ ง
ไม่เสี ยหลาย คำเตือนภัยที่ส้ ัน เข้าใจง่ายและใช้ทวั่ ไป คือ
Watch out ! (ว็อทช เอ้ าท) ระวัง !
Heads up ! (เฮ้ ดส อับ) ระวังศรี ษะ
Be careful ! (บี แคร์ ฟูล) โปรดใช้ความระมัดระวังด้วย
Don’t move ! (โด๊ นท มู้ฟ) อย่าขยับตัว
Watch your steps ! (ว็อทช ยัวร์ สเต็ป) เดินระวังหน่อย
12. คุณชอบหรือเปล่า
ในระหว่างสนทนา คงขาดบทนี้ ไม่ได้อย่างน้อยก็ตอ้ งถามพอเป็ นกับแกล้มกันบ้าง คุณชอบ……รึ เปล่า
คุณชอบ…มั้ย คุณชอบกิน…..มั้ย ฯลฯ แล้วแต่อยากจะถาม ประโยคที่พอจำไว้เป็ นแนวในการถามเกี่ยวกับเรื่ อง
นี้ คือ
Do you like……….? (ดู ยู ไลค์ ……) คุณชอบ…..มั้ย (ที่เว้นไว้คืออะไรก็ได้ที่เราต้องการถาม) เช่น
Do you like Som-Tam? (ดู ยู ไลค์ ส้ มตำ) คุณชอบส้มตำมั้ย ถ้าชอบตอบ Yes ถ้าไม่ชอบตอบ No
Do you like to……..? (ดู ยู ไลค์ ทู……) คุณชอบที่จะ……หรื อเปล่า (ที่เว้นไว้คือกรยาใดก็ได้ที่
ต้องการถาม) เช่น Do you like to swim? (ดู ยู ไลค์ ทู สวิม) คุณชอบว่ายน้ำหรื อเปล่า ถ้าชอบตอบ Yes ถ้า
ไม่ชอบตอบ No
Would you prefer coffe ? (วู้ด ยู พรี เฟอร์ ค็อฟฟี ) คุณอยากดื่มกาแฟไหม ถ้าชอบตอบ Yes ถ้าไม่
ชอบตอบ No
Would you like dancing? (วูด้ ยู ไลค์ แด๊นซิง) คุณชอบเต้นรำไหมครับ
ถ้าชอบตอบ Yes ถ้าไม่ชอบตอบ No

13. อุทาน ตืน่ เต้ น


เราต่างผ่านเรื่ องราวที่ตื่นเต้นมาไม่นอ้ ย แน่นอนเมื่อมีเรื่ องราวที่ตื่นเต้นต้องมีเสี ยงอุทานเพื่อลดระดับ
ความเครี ยด ความกลัว หรื อความตื่นเต้นลง ถ้าไม่จ ำคำเหล่านี้ไว้ใช้ เวลาตื่นเต้น จะพูดไม่ออกนะครับ
Hah? What? หา! อะไรนะ
Oh! ho! โอ้โห….(เบ้อเล่อเลย)
Wow? อะไรจะขนาดนั้น
Amazing ! (อะเมซิ ง) น่าแปลกจริ ง
That’s unbelievable! (แด็ทส อันบีลีฟ้ เวอบึล) ไม่น่าเชื่อเลยนะ
Beyond belief! (บี ย็อน บีลีฟ) เหลือเชื่อจริ งๆ
Incredible (อินเครดิบึล) ไม่น่าจะเป็ นไปได้
What a surprise! (ว็อท อะ เซอร์ ไพร้ ส) มันช่างน่าประหลาดใจจริ งๆ
ถ้าตื่นเต้นคนเดียวยังไม่พอ อยากจะมองหาคนช่วยตื่นเต้นด้วยก็ตอ้ งถามหาว่าคนที่อยูข่ า้ งๆตื่นเต้นด้วย
หรื อไม่ หาได้โดยการถามว่า
Are you surprise? (อาร์ ยู เซอร์ ไพล้ ส) คุณประหลาดใจไหมครับ
What surprise you? (ว็อท เซอร์ ไพล้ ส ยู) อะไรทำให้คุณประหลาดใจ
Can you believe it? (แคน ยู บีลีฟ อิท) คุณเชือหรื อไม่
Does it surprise you? (ด๊ าส อิท เซอร์ ไพล้ ส ยู) มันทำให้คุณประหลาดใจไหมครับ

14. ชวนกันไป
ในชีวิตจริ งการไปไหนมาไหนคนเดียวคงไม่สนุกนัก จึงมีการชักชวนกันไปเป็ นกลุ่ม ซึ่งการชวนกัน
นั้น ที่นิยมใช้มากที่สุดคือ Let’s นิยมวางไว้หน้าประโยคที่แสดงถึงการเชิญชวน จะชวนไปไหนก็แล้วแต่ เช่น
Let’s go to see the movie. (เล็ทส โก ทู ซี เดอะ มูฟวี) ไปดูหนังกันเถอะ
พวกเรา
Let’s go dancing. (เล็ทส โก แดนซิ ง) ไปเต้นรำกันเถอะพวกเรา
Let’s go to the market. (เล็ทส โก ทู เดอะ มาร์ เก็ท) ไปตลาดกันเถอะ
หรื อ Let’s………………………(ไปไหนก็ได้ตามต้องการ)

15. ฝรั่งถามทาง
ปัญหาใหญ่อย่างหนึ่งสำหรับคนไทยเราเกี่ยวกับเรื่ องนี้ คือ ชาวต่างชาติหลง แล้วมาถามทาง เราไม่
สามารถช่วยเหลือเขาได้ บทนี้ ผมขอเสนอแนวทางในการสนทนาเกี่ยวกับเรื่ องนี้มาเพื่อพิจารณานำไปใช้
สมมุติวา่ ชาวต่างชาติคนหนึ่งกำลังจะ
ไปโรงแรมเพชรแต่ไปไม่ถูก เผอิญเรารอรถจะไปพิจิตร เขาปรี่ มาหาเราพร้อมสี หน้า
ไม่สู้ดีนกั แล้วกล่าวว่า
Excuse me, I’d like to go to Phet Hotel. Can I go this way? (เอ็กซ์ คิวมี ไอ
ไลค์ ทู โกว์ ทู เพชรโฮเทล แคน ไอ โกว์ ดี๊ส เวย์ ) ขอโทษครับ ผมจะไปโรงแรมเพชร
ผมจะไปทางนี้ ได้ไหมครับ (แล้วชี้ไปทางพิจิตร)
ขืนปล่อยไป หลงแน่ ท่านก็บอกว่า
No. You should go that way. (โนว์ ยู ชู้ด โกว์ แด็ท เวย์ ) ไม่ใช่ คุณควรไป
ทางนั้น (ชี้ไปทางโรงแรม)
Go straight ahead. (โกว์ สเตรร์ ท อเฮด) ตรงไปข้างหน้าหรื อครับ
Yes, then turn right. (เยส เดน เทิร์น ไรว์ ) ใช่ แล้วเลี้ยวขวานะ
Thank you, I was almost lost. (แธ็งคิว ไอวอส ออลโมส ลอส) ขอบคุณครับ
ผมเกือบหลงแน่ะ
คำที่ใช้ในการบอกทาง มีดงั นี้
Turn left / Turn right (เทิร์น เล็ฟท / เทิร์ ไรว์ ) เลี้ยวซ้าย / เลี้ยวขวา
Go ahead. (โก อเฮด) ตรงไปข้างหน้า
Go straight this way. (โกว์ สเตรร์ ท ดี๊ส เวย์ ) ตรงไปทางนี้
On your left. (ออน ยัวร์ เล็ฟท) อยูท่ างซ้ายของคุณ
On your right. (ออน ยัวร์ ไรว์ ) อยูท่ างขวาของคุณ

16. ไปแท็กซี่ดกี ว่ า
เผือ่ บังเอิญได้ไปเมืองนอกและจำเป็ นต้องนัง่ แท็กซี่ หรื อไม่กเ็ ป็ นคนขับแท็กซี่
เสี ยเอง จะได้สื่อสารกับลูกค้าเข้าใจ ส่ วนใหญ่แล้ว ทั้งคู่มกั ใช้วลี และประโยค
ต่อไปนี้
คนขับแท็กซี่ขบั มาพบลูกค้า แล้วจอด พร้อมเอ่ยถาม
Where to? (แวร์ ทู) ไปไหนครับ
ลูกค้าตอบ
To Watprakaew. (ทู วัดพระแก้ ว) ไปวัดพระแก้วครับ
คนขับได้ยนิ วัดพระแก้ว ก็ยนิ ดี ใครๆก็ไปถูก ตอบรับทันที
I’ll take you there, hop on. (ไอล เทค ยู แธร์ ฮ้ อบ ออน) ผมจะไปส่ ง ขึ้น
รถเลยครับ (hop on ใช้กบั การขึ้นแท็กซี่ )
ถ้าต้องการให้เร่ งความเร็ว เพราะลูกค้ารี บ ให้บอกคนขับว่า
Hurry up, I’m in a hurry. (เฮอรี อัฟ แอม อิน อะ เฮอรี ) เร็วหน่อยนะ ผมรี บ
พอถึงที่หมายแล้ว ก็ตอ้ งจ่ายเงินค่ารถ
How much? (ฮาว มัช) เท่าไรครับ
มิเตอร์ข้ ึนเท่าไรก็เท่านั้น เมื่อจ่ายเงินไปแล้ว ถ้ามีเงินทอน แต่เราไม่เอา ยกให้
แท็กซี่ เราก็บอกว่า
Keep the change. (คีบ้ เดอะ เช้ นจ) ไม่ตอ้ งทอนครับ
เท่านี้กส็ ามารถขึ้นแท็กซี่ฝรั่ง หรื อขับแท็กซี่รับลูกค้าฝรั่งได้แล้วครับ

17.ยามเจ็บไข้ ไปหาหมอ
ในยามเจ็บไข้บางครั้งเราต้องหันไปพึ่งคนอื่น โดยเฉพาะคุณหมอ ให้ตดั สิ นใจวินิจฉัยโรคหรื อจ่ายยาให้
ที่สำคัญที่สุดเราต้องรู ้ก่อนว่าเราเป็ นอะไร แล้วพูดว่าอย่างไร ดังสถานการณ์ตวั อย่าง ต่อไปนี้ ทอม ปวดศรี ษะ
ไปพบคุณหมอ
คุณหมอ : What is your complaint? (ว็อท อี๊ส ยังร์ ค็อมเพลนท) คุณป่ วยเป็ นอะไรมา
ทอม : I have a headache. (ไอ แฮ้ ฟ อะ เฮ้ ดเอ็ค) ผมปวดศรี ษะครับ
คุณหมอ : Does your stomach ache? (ด๊าส ยัวร์ สตอมัช เอ๊ค)
ปวดท้องด้วยมั้ย
ทอม : No. Just a headache. (โนว์ จั๊สท อะอเฮ้ ดเอ้ ค) ไม่ครับ แค่ปวดศรี ษะ
คุณหมอ : Is it serious? (อี๊ส อิท ซี เรี ยส) ปวดมากไหม
ทอม : No. (โนว์ ) ไม่มาก
คุณหมอ : You should take Paracetamol and rest a couple days then you will be better. (ยู ชู้ด เท้ ค
พาราเซตามอล แอ่ น เรสท อะ ค็อบพึล ดย์ เดน ยู วิล บี เบ็ทเทอร์ ) กินพาราเซตามอล และนอนพักสัก 2-3 วัน
แล้วคุณจะดีข้ ึน
ทอม : Thank you. (แธ็ง คิว) ขอบคุณครับ
คุณหมอ : You are welcome. (ยู อาร์ เวลคัม) ด้วยความยินดีครับ
เขาจะถามกันในทำนองนี้ แหละครับ ส่ วนจะเป็ นโรคอะไรนั้นก็สุดแล้วแต่ นี่
เป็ นแนวทางหนึ่งเท่านั้นครับ
Sorry, Busy. (ซอรี แอม บิซซี ) ขอโทษครับ คือ..ผมไม่วา่ งครับ
18. หิวหรือยัง
เป็ นเรื่ องสำคัญอยูไ่ ม่นอ้ ยที่จะสังเกตคู่สนทนาของเราว่าเขาหิ วหรื อยัง จะเอ่ยปากถามก็แสนลำบากใจ
เหมือนเป็ นการตัดบทสนทนาลงอย่างกระทันหัน แต่ถา้
จำเป็ นต้องทำเช่นนั้น ต้องเป็ นไปอย่างสุ ภาพที่สุด ดังเหตุการณ์น้ี แมรี่ มาหาสุ ดา ทั้งสอง คุยกันอย่างเมามัน
สุ ดารู ้สึกหิ วมาก จึงเปลี่ยนเรื่ องสนทนามาเป็ นเรื่ องอาหาร
ทันที
สุ ดา : Would you like something to drink? (วู้ด ยู ไลค์ ซัมธิ ง ทู ดริ๊ งค) คุณต้องการอะไรมาดื่มไหมคะ
แมรี่ : Yes, a glass of water please. (เยส อะ แกล๊ ส อ๊ อฟ วอเทอร์ พลีส้ ) ดีเหมือนกัน ขอน้ำสักแก้วสิ
สุ ดา : I’ll bring you right now. (ไอล บริ๊ ง ยู ไรวท นาว) ฉันจะนำมาให้เดี๋ยวนี้
แมรี่ : Thannk you. (แธ็ง คิว) ขอบใจจะ
สุ ดา : How do you feel now? (ฮาว ดู ยู ฟี ล นาว) ตอนนี้ เธอรู ้สึกอย่างไรบ้าง
แมรี่ : A bit better, thanks. (อะ บิท เบ็ทเทอร์ แธ็งส) ค่อยยังชัว่ ขอบคุณ
สุ ดา : Are you hungry? (อาร์ ยู ฮั งกรี ) เธอหิ วหรื อยัง
แมรี่ : Yes, a little. (เยส อะ ลิทเทิล) หิ วหน่อยๆ
สุ ดา : Me too. (มี ทู) เราก็หิวเหมือนกัน
สุ ดา,แมรี่ : So, let’s go to have some rice. (โซ เล็ท โกว์ ทู แฮฟ ซัม ไรวส)
19. ไปซื้อของ
การจับจ่ายซื้อของ ถือเป็ นส่ วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ที่ทุกคนต้องปฏิบตั ิ ในการซื้ อของนั้นประกอบ
ด้วยบุคคล 2 ฝ่ าย คือผูซ้ ้ื อกับผูข้ าย การสนทนากันก็เกี่ยวกับการทักทายลูกค้า การถามหาของที่ตอ้ งการ การถาม
ราคา และการทอนเงินต่างๆ
ดังสถานการณ์ตวั อย่าง ทอมไปซื้ อปากกาที่ร้านค้าแห่งหนึ่ง
เมื่อทอมเดินเข้าร้าน พ่อค้าก็เอ่ยทัก
พ่อค้า : Good morning, can I help you? (กุด มอร์ นิง แคน อ เฮลพ ยู) อรุ ณสวัสดิ์ ให้ผมช่วยอะไรไหม
ครับ
ทอม : Yes, I’m looking for a pen. (เยส แอม ลุคคิง ฟอร์ อะ เพน) ครับ ผมกำลังมองหาปากกาสักด้าม
พ่อค้า : Do you want a good one? (ดู ยู ว็อนท อะ กู๊ด วัน) คุณต้องการอย่างดีหรื อเปล่า
ทอม : No, just a common one. (โนว์ จั๊สท อะ ค็อมมอน วัน) ไม่ครับ เอาแบบธรรมดาพอ
พ่อค้า : This is the one you want. (ดี๊ส อี๊ส เดอะ วัน ยู ว็อนท) นี่คือปากกาที่คุณต้องการ
ทอม : How much? (ฮาว มัช) ราคาเท่าไรครับ
พ่อค้า : Only ten baht. (โอนลี เทน บาท) แค่สิบบาทเอง
ทอม : Here’s 50 baht. (เฮี ยร์ ส ฟิ ฟที บาท) นี่ครับแบ็งค์หา้ สิ บ
พ่อค้า : Here’s 40 change. (เฮี ยร์ ส เธอร์ ที เช้ นจ) เงินทอนสี่ สิบบาทครับ
ทอม : I gotta go now. (ไอ ก็อททอ โก นาว) ผมไปละ

20. เสี ยใจด้ วยนะ


เมื่อคนรอบกายหรื อใครก็ตามที่ประสบกับปัญหายุง่ ยากไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับสุ ขภาพ หน้าที่การ
งาน เกี่ยวกับข้าวของสุ ญหายหรื ออื่นๆ ประโยคแรกที่เราเอ่ยออกมาก็น่าเป็ นประโยคที่แสดงความเสี ยใจ ดัง
ตัวอย่างประโยคต่อไปนี้
I’m sorry with you. (แอม ซอร์ รี วิธ ยู) ขอแสดงความเสี ยใจกับคุณด้วยนะ
Are you sorry? (อาร์ ยู ซอร์ รี) คุณเสี ยใจหรื อเปล่า
I’m sorry. (แอม ซอร์ รี) ผมเสี ยใจ
I feel sorry for you. (ไอ ฟี ล ซอร์ รี ฟอร์ ยู) ผมขอแสดงความเสี ยใจด้วยนะ
I feel bad that I can’t help you more. (ไอ ฟี ล แบ้ ด แด็ท ไอ แค้ นท เฮลพ ยู มอร์ ) ผมรู ้สึกเสี ยใจที่ไม่
สามารถช่วยเหลือคุณได้มากกว่านี้
I’m sorry to hear that you fail. (แอม ซอร์ รี ทู เฮี ย แด็ท ยู เฟล) ผมเสี ยใจที่ทราบว่าสอบตก
I’m sorry about your losing money. (แอม ซอร์ รี อเบ๊ าท ยัวร์ ลอสซิ ง มันนี ) ผมเสี ยใจด้วยเกี่ยวกับ
เรื่ องเงินของคุณหาย
การกล่าวแสดงความเสี ยใจ มีมากมาย ที่ผมนำเสนอนี้เป็ นเพียงแนวทางหนึ่งเท่านั้นที่น ำไปประยุกต์
ใช้ได้ครับ

21. ใจร้ อนจัง


อารมณ์ของคนเราไม่แน่นอน บางครั้งมีเรื่ องที่ท ำให้รำคาญใจ ทำให้หงุดหงิด แล้วก็จะแสดงอาการออก
มาทางคำพูด ซึ่งคำเหล่านี้เป็ นที่ไม่น่าฟังนัก แต่มีไว้ใช้กด็ ีเหมือนกันนะครับ และเมื่อมีใครมาแสดงอาการนี้ กบั
เรา เราก็สามารถพูดเพือ่ ลดระดับอารมณ์ฉุนเฉี ยวของเขาได้ดว้ ยตัวอย่างประโยค และวลีต่อไปนี้
Hurry up, will you. (เฮอร์ รี อัพ วิล ยู) รี บๆหน่อยได้ไหม
I’m losing my patience with you. (แอม ลอสซิ ง มาย แพ็ทเทียนซ วิธ ยู) ผมกำลังจะหมดความอดทนกับ
คุณแล้วนะ
You’re driving me crazy. (ยูเอ ไดร์ ฟฝิ ง มี เครซี ) คุณกำลังทำให้ผมเป็ นประสาท
You’re bothering me. (ยูเออ บ็อทเทอริ ง มี) คุณกำลังรบกวนผม
What are you going to do? (ว็อท อาร์ ยู โกวิง ทู ดู) คุณกำลังจะทำอะไร
เมื่อมีใครกำลังโกรธหรื ออารมณ์ข่นุ เคือง เราก็สามารถใช้ค ำพูดเพื่อลดระดับความรุ นแรงได้ ดังตัวอย่าง
ของวลี ต่อไปนี้
Calm down (คาม ดาว) สงบใจไว้บา้ ง
Take it easy. (เท้ ค อิท อี๊ซี) ใจเย็นๆน่า..
Don’t get so serious . (โด๊ นท เก็ท โซ ซี เรี ยส) อย่าเครี ยดนักเลย
Don’t get in an uproar. (โด๊ นท เก็ท อิน แอ่ น อัพโรเออ) อย่าเอะอะกันสิ

You might also like