Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 10

1

แบบฝึ กการสอนการอ่านเข้าใจ คิดวิเคราะห์ และ


เขียนสื่อความ
ตามแนวทางการประเมินผลนักเรียนร่วมกับ
นานาชาติ (PISA)
เรื่อง สึนามิ
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓

นางสุพร กุลกัง้
2

ตำแหน่ง ครู โรงเรียนบ้านสำราญสุข


สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
หนองบัวลำภู เขต ๑

แบบฝึ กการสอนการอ่านเข้าใจ คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อ


ความ
ตามแนวทางการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA)

เวลา ๔๐ นาที
คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน

ชื่อ - สกุล..................................................................................ระดับ
ชัน
้ .....................................................

โรงเรียน.......................................................อำเภอ................................จังหวัด..........................
...................
3

คำชีแ
้ จง

1. ข้อสอบชุดนีม
้ ีถ้อยความให้อ่าน มีคำถามการอ่านในใจและความเข้าใจการ
อ่าน ๗ ข้อ จำนวน ๕ หน้า
2. การตอบคำถามทุกข้อให้ทำในชุดข้อสอบ
3. ให้นักเรียนอ่านคำถามทุกข้ออย่างละเอียดรอบคอบแล้วตอบคำถามให้ดี
ที่สุดเท่าที่จะทำได้

๓.๑ บางคำถามจะมีคำตอบให้เลือกตอบ
ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
โดยเขียนคำตอบลงในช่องที่กำหนดให้ท้ายข้อสอบแต่ละ
ข้อ

๓.๒ บางคำถามจะให้นักเรียนเขียนคำตอบสัน
้ ๆ ในที่ว่างที่เตรียมไว้
ในข้อสอบ
ให้นักเรียนเขียนคำตอบเป็ นตัวหนังสือ ตัวเลขไทยหรือเครื่องหมายตามที่
กำหนด

๓.๓ บางคำถามต้องการให้นักเรียนอธิบายคำตอบ หรือบอกเหตุผล


ประกอบคำตอบ
โดยกำหนดเงื่อนไขให้ใช้เนื้อเรื่องสนับสนุนคำตอบ
นักเรียนต้องเขียนอธิบาย หรือ เขียนเหตุผลประกอบ ภายในถ้อยความที่
กำหนดให้

๓.๔ บางคำถามต้องการให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ
นักเรียนจะได้คะแนนจากการเขียนตอบที่แสดงถึงความเข้าใจคำถามและ
ลักษณะการคิด
4

นักเรียนจึงควรเขียนคำตอบจากความคิดของตนเองอย่างสมเหตุผล

( ให้นักเรียนเขียนด้วยลายมือที่อ่านง่าย และชัดเจน)

อ่านถ้อยความต่อไปนีแ
้ ล้วตอบคำถามข้อ ๑ – ๖
5

ที่มา: “กรมอุตุนิยมวิทยา : ซุกสุข,” เดลินิวส์, ( กรกฎาคม, ๒๕๕๕ ), หน้า ๔


คำถามที่ ๑ ๒
คะแนน
6

ประเทศใดไม่ได้อยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน
๑. จีน
๒. ไทย
๓. เวียดนาม
๔. อินโดนีเซีย
ข้ คำตอบ

คำถามที่ ๒ ๒
คะแนน
สึนามิเป็ นภัยพิบัติที่เกี่ยวข้องกับภัยธรรมชาติในข้อใด
๑. วาตภัย
๒. อุทกภัย
๓. พายุซัดฝั่ ง
๔. แผ่นดินไหว
ข้ คำตอบ

คำถามที่ ๓ ๒
คะแนน

ข้อใดต่อไปนีก
้ ล่าวถึงคลื่นสึนามิถูกต้อง
๑. ความเร็วของคลื่นไม่ขน
ึ ้ อยู่กับความลึก
๒. เป็ นคลื่นน้ำที่มีความยาวคลื่น 1,000 กิโลเมตร
7

๓. ปรากฎการณ์นม
ี ้ ักเกิดบริเวณชายฝั่ งมหาสมุทรแปซิฟิก
๔. จะเกิดขึน
้ ทุกครัง้ ที่เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.0 ริกเตอร์
ข้ คำตอบ

คำถามที่ ๔ ๕
คะแนน
จากถ้อยความข้างต้น ข้อความต่อไปนี ้ เป็ นความจริง หรือ ไม่เป็ นความ
จริง
ข้อความ เป็ นความจริง จงเขียนเครื่องหมาย X ในช่อง “ใช่”
ข้อความ ไม่เป็ นความจริง จงเขียนเครื่องหมาย X ในช่อง “ไม่ใช่”
ที่ ข้อความ ใช่ ไม่ใ
ช่
๑ สึนามิ เป็ นภัยธรรมชาติที่มักเกิดเมื่อแผ่นดินไหวรุนแรงใต้ท้อง
มหาสมุทร
๒ คลื่นสึนามิมีการเคลื่อนตัวด้วยความเร็วสูง 700-800 กิโลเมตร
ต่อชั่วโมง
๓ สึนามิ แปลว่าคลื่นที่ซัดเข้าท่าเรือ
๔ เมื่ออยูในทะเลขณะเกิดภัยสึนามิควรอยู่ในเรือขนาดใหญ่
เพราะปลอดภัยกว่า
๕ สึนามิเป็ นภัยที่เกี่ยวข้องกับพายุซัดฝั่ งอย่างรุนแรง
๖ ประเทศญี่ปุ่นไม่ได้อยู่ในบริเวณ”วงแหวนแห่งไฟ”
๗ ความเร็วของคลื่นสึนามิไม่ขน
ึ ้ อยู่กับความลึก
๘ บริเวณมหาสมุทรทุกแห่งมีโอกาสเกิดสึนามิได้
๙ เมื่อเกิดภัยสึนามิหากอยู่บริเวณชายฝั่ งให้รีบหนีไปอยู่ในที่สูง
8

และอยู่ห่างจากฝั่ งแม่น้ำ
๑ ภัยสึนามิมักเกิดขึน
้ เมื่อแผ่นดินไหวพร้อมกับภูเขาไฟระเบิด

คำถามที่ ๕ ๒
คะแนน
เมื่อเกิดภัยสึนามิควรปฏิบัติอย่างไร
คำตอบ

คำถามที่ ๖ ๒
คะแนน
ลักษณะภัยสึนามิที่เกิดขึน
้ ในประเทศไทยเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2547 เป็ น
อย่างไร
คำตอบ

คำถามที่ ๗ ๕
คะแนน
9

การป้ องกันความปลอดภัยจากสึนามิ ไม่ควรปลูกสิง่ ก่อสร้าง


บริเวณชายฝั่ งทะเล
นักเรียนคิดเห็นอย่างไร กับคำพูดข้างต้น ทำไมจึงคิดเช่นนัน
้ ให้ใช้เหตุผล
ประกอบคำอธิบาย
๑.ให้นักเรียนเลือกทำเครื่องหมาย วงล้อมรอบ ข้อความข้างล่างนี ้ เพียง ๑
ข้อความ

ความคิดเห็นคล้อยตาม ความคิดเห็นโต้แย้ง
ทัง้ คล้อยตามและโต้แย้ง

๒.ให้นักเรียนเขียนอธิบายเหตุผล จำนวน ๒ ข้อ ที่สอดคล้องความคิด การเลือก


ในข้อ ๑

ความคิดเห็นคล้อยตาม ความคิดเห็นโต้แย้ง
๑. เมื่อเกิดภัยจะไม่มีการสูญเสียเกิด ๑. เป็ นอาชีพของคนที่อยู่บริเวณ
ขึน
้ ชายฝั่ ง

๒. สิ่งปลูกสร้างบริเวณชายฝั่ งอาจ ๒. นักท่องเที่ยวหาแหล่งบริการไม่


ไม่แข็งแรงไม่สามารถหลบภัยได้ สะดวก เช่น ร้านอาหาร ธนาคาร
ที่พัก
10

You might also like