Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 51

ลัก ูตร ถาน ึก า

ตาม ลัก ูตรแกนกลางการ ึก าขั้นพื้นฐาน พ. . 2551


(ฉบับปรับปรุง พ. . 2560)

ค 22101 ราย ิชาคณิต า ตร์


ชั้นมัธยม ึก าปีที่ ๒

นาง า รรณ ิภา อยู่ ูงเนิน


ตาแ น่ง ครู
โรงเรียน มื่น รีประชา รรค์
านักงานเขตพื้นที่การ ึก าประถม ึก า ุรินทร์ เขต ๑
หลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนหมื่นศรีประชาสรรค์

รายวิชา ค 2๒๑0๑ คณิตศาสตร์


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒

นางสาววรรณวิภา อยู่สูงเนิน
ตาแหน่ง ครู
โรงเรียนหมื่นศรีประชาสรรค์

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

คานา

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับ


ปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ซึ่งพัฒนามาจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยนาข้อมูลที่
ได้จากการวิจัยและข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ มาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรให้มี
ความเหมาะสมชัดเจนยิ่งขึ้น ทั้งเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และกระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ
ในระดับเขตพื้นที่และสถานศึกษา
โรงเรียนหมื่นศรีประชาสรรค์ ได้นาแนวทางการบริหารหลักสูตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) มาใช้เป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรและ
จัดการเรียนการสอน และได้จัดทาเป็นหลักสูตรโรงเรียนหมื่นศรีประชาสรรค์ พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐)
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ได้ศึกษาเอกสาร ตาราเกี่ยวข้องกับการจัดทาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) มาเป็นแนวทางในการจัดทา ดังนั้นผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
หลักสูตร หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของโรงเรียนหมื่นศรีประชาสรรค์ ฉบับนี้จะเกิดประโยชน์ต่อ
บุคคลที่ต้องการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ

วรรณวิภา อยู่สูงเนิน

สารบัญ

หน้า

คานา............................................................................................................................................ 1
สารบัญ………………………………………………………………………………………………………………………... ๒
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น.............................................. ๓
คาอธิบายรายวิชา………………………….……………………………………………………………….………..….… ๖
โครงสร้างรายวิชา........................................................................................................................ ๗
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวชี้วัดรายวิชา ......................................………………………………….… 9
หน่วยการเรียนรู้
หน่วยที่ 1 ทฤษฎีพีทาโกรัส......................................................................................... ๑๐
หน่วยที่ ๒ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจานวนจริง............................................................ ๑5
หน่วยที่ ๓ พื้นที่ผิวและปริมาตร................................................................................. ๒๓
หน่วยที่ ๔ การแปลงทางเรขาคณิต............................................................................ 31
หน่วยที่ ๕ สมบัติเลขยกกาลัง...................................................................................... 35
หน่วยที่ 6 พหุนาม....................................................................................................... 41
การวัดและประเมินผลรายวิชา............................................................................…………….…….… 48

มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและท้องถิ่น

สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของจานวน ผลที่
เกิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และนาไปใช้
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
๑. เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยก
จำนวนตรรกยะ
กาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม
- เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม
ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และ
- การนาความรู้เกี่ยวกับเลขยกกาลังไปใช้ ใน
ปัญหาในชีวิตจริง
การแก้ปัญหา
๒. เข้าใจจานวนจริงและ
ม.๒ จำนวนจริง
ความสัมพันธ์ของจานวนจริง และ
- จานวนอตรรกยะ
ใช้สมบัติของจานวนจริงในการ
- จานวนจริง
แก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาใน
- รากที่สองและรากที่สามของจานวนตรรกยะ
ชีวิตจริง
- การนาความรู้เกี่ยวกับจานวนจริงไปใช้

มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลาดับและอนุกรม และนาไปใช้

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น


พหุนำม
- พหุนาม
- การบวก การลบ และการคูณของพหุนาม
๑. เข้าใจหลักการการดาเนินการ - การหารพหุนามด้วยเอกนามที่มีผลหารเป็น
ของพหุนามและใช้พหุนามในการ พหุนาม
กำรแยกตัวประกอบของพหุนำม
ม.๒ แก้ปัญหาคณิตศาสตร์
๒. เข้าใจและใช้การแยกตัว - การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง
ประกอบของพหุนาม ดีกรีสองใน โดยใช้
การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ o สมบัติการแจกแจง
o กาลังสองสมบูรณ์
o ผลต่างของกาลังสอง

มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสัมพันธ์ หรือช่วยแก้ปัญหาที่กาหนดให้


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
ม.๒ - -

สาระที่ 2 การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และนาไปใช้

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น


ม.๒ ๑. ประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องพื้นที่ผิว พื้นที่ผิว
ของปริซึมและทรงกระบอกในการ - การหาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก
แก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาใน - การนาความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ผิวของปริซึม
ชีวิตจริง และทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปัญหา
๒. ประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องปริมาตร ปริมำตร
ของปริซึมและทรงกระบอกในการ - การหาปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก
แก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาใน - การนาความรู้เกี่ยวกับปริมาตรของปริซึม
ชีวิตจริง และทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปัญหา

มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต


และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น


ม.๒ ๑. ใช้ความรู้ทางเรขาคณิตและ กำรสร้ำงทำงเรขำคณิต
เครื่องมือ เช่น วงเวียนและสันตรง - การนาความรู้เกี่ยวกับการสร้างทาง
รวมทั้งโปรแกรม The เรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริง
Geometer’s Sketchpad หรือ
โปรแกรมเรขาคณิตพลวัตอื่น ๆ
เพื่อสร้างรูปเรขาคณิต ตลอดจนนา
ความรู้เกี่ยวกับ การสร้างนี้ไป
ประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิต
จริง
๒. นาความรู้เกี่ยวกับสมบัติของ เส้นขนำน
เส้นขนานและ รูปสามเหลี่ยมไปใช้ - สมบัติเกี่ยวกับเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น


๓. เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับการ กำรแปลงทำงเรขำคณิต
แปลงทางเรขาคณิตในการ - การเลื่อนขนาน
แก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาใน - การสะท้อน
ชีวิตจริง - การหมุน
- การนาความรู้เกี่ยวกับการแปลงทาง
เรขาคณิตไปใช้ในการแก้ปัญหา
๔. เข้าใจและใช้สมบัติของรูป ควำมเท่ำกันทุกประกำร
สามเหลี่ยมที่เท่ากัน - ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม
ทุกประการในการแก้ปัญหา - การนาความรู้เกี่ยวกับความเท่ากันทุก
คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง ประการไปใช้ในการแก้ปัญหา
๕. เข้าใจและใช้ทฤษฎีบทพีทา ทฤษฎีบทพีทำโกรัส
โกรัสและบทกลับ - ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ
ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และ - การนาความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ปัญหาในชีวิตจริง และ บทกลับไปใช้ในชีวิตจริง

สาระที่ ๓ สถิติและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น


ม.๒ ๑. เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติใน สถิติ
การนาเสนอข้อมูล และวิเคราะห์ - การนาเสนอและวิเคราะห์ข้อมูล
ข้อมูลจากแผนภาพจุด แผนภาพ o แผนภาพจุด
ต้น – ใบ ฮิสโทแกรม และค่ากลาง o แผนภาพต้น – ใบ
ของข้อมูล และแปลความหมาย o ฮิสโทแกรม
ผลลัพธ์ รวมทั้งนาสถิติไปใช้ในชีวิต o ค่ากลางของข้อมูล
จริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม - การแปลความหมายผลลัพธ์
- การนาสถิติไปใช้ในชีวิตจริง

มาตรฐาน ค ๓.๒ เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนาไปใช้

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น


ม.1 - -

คำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน
วิชา ค ๒๒๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๒ เวลาเรียน ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเศษส่วนและทศนิยม จานวนตรรกยะและจานวนอตรรกยะ การหารากที่สองและ


รากที่สามของจานวนจริง การแยกตัวประกอบโดยการหารากที่สองและรากที่สามของจานวนจริง โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับการหารากที่สองและรากที่สามของจานวนเต็ม ความสมเหตุสมผล ความสัมพันธ์ของการยกกาลังกับการ
หารากของจานวนจริง ความสัมพันธ์ของจานวนจริง จานวนตรรกยะและจานวนอตรรกยะ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส และการนาไปใช้แก้โจทย์ปัญหา พื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก และ
การน าความรู้ เกี่ย วกับ พื้น ที่ผิ ว และปริ มาตรของปริซึมและทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปัญหา การแปลงทาง
เรขาคณิต การสร้างรูปเรขาคณิตที่ได้จากการเลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุนในระบบพิกัดฉาก สมบัติและ
การดาเนินการของเลขยกกาลัง การบวก การลบ การคูณ และการหารเอกนามและพหุนาม
โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจาวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า เพื่อพัฒนา
ทั ก ษะกระบวนการในการคิ ด ค านวณ การแก้ ปั ญ หา การให้ เ หตุ ผ ล การวิ เ คราะห์ การสื่ อ ความหมายทา ง
คณิตศาสตร์ และการนาประสบการณ์ทั้งด้านความรู้ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจาวันอย่าง
สร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัย มุ่งมั่นในการทางานอย่างมี
ระบบ ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนาความรู้ไปประยุกต์ในการดารงชีวิตได้อย่างพอเพียง รวมทั้งมีเจตคติ
ที่ดีต่อคณิตศาสตร์
ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรงและทางอ้อม ซื่อสัตย์ เสียสละ มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อ
ส่วนรวม

รหัสตัวชี้วัด
ค 1.1 ม. 2/1
ค 1.1 ม. 2/2
ค 1.2 ม. 2/1
ค 2.1 ม. 2/1, ม. 2/2
ค 2.2 ม. 2/3, ม. 2/5

รวมทั้งหมด 7 ตัวชี้วัด

โครงสร้างรายวิชา
ค 2210๑ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง
ชื่อหน่วย จานวน น้าหนัก
หน่วยที่ สาระสาคัญ มฐ.การเรียนรู้/ตัวชี้วัด
การเรียนรู้ (ชั่วโมง) (คะแนน)
1 ทฤษฎีบท ทฤษฎี บ ทพี ท าโกรั ส และบทกลั บ เป็ น (ค 2.2 ม.2/5) 8 8
พีทาโกรัส ทฤษฎีที่กล่ าวถึงความสั มพันธ์ของความ เข้าใจและใช้ทฤษฎีบท
ยาวของด้านทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุม พีทาโกรัส และบทกลับในการ
ฉากเราสามารถใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หา แก้ปัญหาคณิตศาสตร์และ
ความยาวของด้ า นใดด้ า นหนึ่ ง ของรู ป ปัญหาในชีวิตจริง
สามเหลี่ยมมุมฉากที่ต้องการทราบได้
2 ความรู้ 1. เศษส่วนทุกจานวนสามารถเขียนให้อยู่ (ค 1.1 ม.2/2) 13 10
เบื้องต้น ในรูปทศนิยมซ้าได้ เข้าใจจานวนจริงและ
เกี่ยวกับ 2. จานวนจริงประกอบด้วย จานวนตรรก ความสัมพันธ์ของจานวนจริง
จานวนจริง ยะ และจานวนอตรรกยะ ซึ่งจานวนตรรก และใช้สมบัติของจานวนจริงใน
ยะคือจานวนที่เขียนได้ในรูปเศษส่วน แต่ การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และ
จานวนอตรรกยะไม่สามารถเขียนแทนได้ ปัญหาในชีวิตจริง
ด้วยเศษส่วน
3. รากที่สองของศูนย์และจานวนจริงใดๆ
คือ การหาจานวนจริงที่ยกกาลังสองและ
ได้จานวนจริงนั้น ในการหารากที่สามของ
จานวนจริงใดๆ ก็คือการหาจานวนจริงที่
ยกกาลังสามแล้วได้จานวนจริง
4. การหารากที่สองและรากที่สามของ
จานวนจริงทาได้หลายวิธี คือใช้การ
แยกตัวประกอบ การประมาณ การเปิด
ตาราง และการใช้เครื่องคานวณ
3 พื้นที่ผิวและ การหาพื้นที่ผิวของรูปเรขาคณิตสามมิติใด (ค 2.1 ม.2/1) 9 7
ปริมาตร ๆ เ ป็ น ก า ร ห า พื้ น ที่ ทั้ ง ห ม ด ข อ ง รู ป ประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องพื้นที่ผิว
เรขาคณิตสามมิตินั้น การหาปริมาตรของ ของปริซึมและทรงกระบอกใน
ปริ ซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย ทรง การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และ
กรวย และทรงกลม มรวิ ธี ก ารหาที่ ปัญหาในชีวิตจริง
แตกต่ า งกั น ขึ้ น อยู่ กั บ ลั ก ษณะของรู ป (ค 2.1 ม.2/2)
เรขาคณิตสามมิตินั้น ๆ ประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องปริมาตร
ของปริซึมและทรงกระบอกใน
การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และ
ปัญหาในชีวิตจริง

หน่วยที่ ชื่อหน่วย สาระสาคัญ มฐ.การเรียนรู้/ตัวชี้วัด จานวน น้าหนัก


การเรียนรู้ (ชั่วโมง) (คะแนน)
4 การแปลง 1. การเลื่อนขนาน การสะท้อน และการ (ค 2.2 ม.2/3) 12 10
ทาง หมุนเป็นการแปลงทางเรขาคณิต ซึ่งรูปที่ เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับ
เรขาคณิต เกิดจากการแปลงจะเท่ากันทุกประการกับ การแปลงทางเรขาคณิตใน
รูปต้นแบบเสมอ การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
2. การแปลงทางเรขาคณิ ต ทั้ ง คื อ การ
และปัญหาในชีวิตจริง
เลื่ อ นขนาน การสะท้ อ น และการหมุ น
เป็นการเปลี่ยนตาแหน่งของรูปเรขาคณิต
บนระนาบ โดยที่ระยะระหว่างจุดสองจุด
ใด ๆ ของรูปเรขาคณิตนั้นไม่เปลี่ยนแปลง
5 สมบัติของ ให้ a และ n เป็นจานวนเต็มใด ๆ โดยที่ (ค 1.1 ม.2/1) 8 7
เลขยกกาลัง a ≠ 0 จะได้ an = a × a × a ×.. nตัวa เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยก
กาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็น
เรียก an ว่าเลขยกกาลังที่มี a เป็นฐาน
จานวนเต็มในการแก้ปัญหา
และ n เป็นเลขชี้กาลัง
คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิต
การดาเนินการของเลขยกกาลังในการคูณ
และการหารที่มีฐานเป็นจานวนเดียวกัน จริง
จะได้ว่า
ถ้าให้ a, m และ n เป็นจานวนเต็มที่
a ≠ 0 แล้ว am × an = am+ n
6 พหุนาม 1. พหุ น าม คื อ นิ พ จน์ ที่ เ ขี ย นในรู ป เอก (ค 1.2 ม.2/1) 10 8
นามหรือเขียนในรูปการบวกของเอกนาม เข้าใจหลักการการดาเนินการ
ตั้งแต่สองเอกนามขึ้นไป ในพหุนามใด ๆ ของพหุนาม
เรี ย กแต่ ล ะเอกนามที่ อ ยู่ ใ นพหุ น ามว่ า และใช้พหุนามในการ
พจน์ของพหุนาม แก้ปัญหาคณิตศาสตร์
2. การหาผลบวกของพหุ นาม ทาได้โ ดย
นาพหุนามมาเขียนในรูปการบวกและถ้ามี
พจน์ที่คล้ายกัน ให้บวกพจน์ที่คล้ายกันเข้า
ด้วยกัน
3. การลบพหุนามด้วยพหุนาม ทาได้โดยบวก
พหุ นามตั วตั้ งด้ วยพจน์ ตรงข้ ามของแต่ ละ
พจน์ของพหุนามตัวลบ
รวมระหว่างเรียน 60 50
สอบกลางภาค - 20
สอบปลายภาค - 30
รวม 60 100

การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวชี้วัดในรายวิชา ค 2๒๑0๒ คณิตศาสตร์


หน่ว ตัวชี้วัด ค 1.1 ค ๑.๒ ค ๒.๑ ค 2.2 ค 3.1 รวม
ยที่ ชื่อหน่วย 1 2 1 2 1 2 1 2 3 4 5 1
1 ทฤษฎีพีทาโกรัส √ 1
2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจานวนจริง √ 1
3 พื้นที่ผิวและปริมาตร √ √ 2
4 การแปลงทางเรขาคณิต √ 1
5 สมบัติเลขยกกาลัง √ 1
๖ พหุนาม √ 1
รวม 1 1 1 1 1 1 1 6
๑๐

หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทฤษฎีพีทาโกรัส เวลา ๙ ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ รหัสวิชา ค 2๒10๑ วิชา คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์
ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 2.2 ม.2/5 เข้าใจและใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
และปัญหาในชีวิตจริง
สาระการเรียนรู้
1. ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
2. การหาความยาวด้านของรูปสามเหลี่ยม โดยใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
3. การหาพื้นที่รูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม โดยใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
4. การพิสูจน์ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
5. บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส
6. การพิสูจน์บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส
7. การนาความรู้เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ไปใช้
สาระสาคัญ
1. เมื่อกาหนดรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหนึ่งรูป และให้ c แทนความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก
แล้วให้ a, b แทนความยาวของด้านประกอบมุมฉาก จะได้ความสัมพันธ์ระหว่างความยาว
ของด้านทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เท่ากับ c2 = a2 + b2 เมื่อ a, b และ c เป็นจานวนนับใด ๆ
โดยที่ a, b แทนความยาวของด้านประกอบมุมฉาก
c แทนความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก
2. พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านตรงข้ามมุมฉากของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากเท่ากับผลบวกของพื้นที่
ของรูปสี่เหลี่ยม หรือ AB2 = AC2 + BC2
3. การคานวณเกี่ยวกับระยะทาง ความสูง ความยาว และความกว้างของสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
กับรูปสามเหลี่ยมสามารถเชื่อมโยงกับทฤษฎีบทพีทาโกรัส
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. ใฝ่เรียนรู้
2. ความสามารถในการคิด 2. มุ่งมั่นในการทางาน
- การให้เหตุผล การสรุปความรู้ การปฏิบัติ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๑๑

ภาระงานหลัก
1. ใบงาน เรื่อง การหาพื้นที่และความยาวด้านของรูปสามเหลี่ยม โดยใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
2. ใบงาน เรื่อง การนาความรู้เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัสไปใช้
การวัดและประเมินผล
1. ประเมินความรู้ เรื่อง สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ทฤษฎีบทพีทาโกรัส การหาความยาวด้าน
ของรูปสามเหลี่ยม โดยใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส การหาพื้นที่รูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม
โดยใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส การพิสูจน์ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส
การพิสูจน์บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส การนาความรู้เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ไปใช้ (K)
ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินใบงาน เรื่อง การหาพื้นที่และความยาวด้านของรูปสามเหลี่ยม
โดยใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (P) ด้วยแบบประเมิน
4. ประเมินใบงาน เรื่อง การนาความรู้เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัสไปใช้ (P) ด้วยแบบประเมิน
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน (A) ด้วยแบบประเมิน

แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)
แบบประเมินกระบวนกำรทำงำนกลุ่ม
ระดับคุณภำพ
รำยกำรกำรประเมิน 4 3 2 1
กระบวนการ มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท ไม่มีการกาหนด
ทางานกลุ่ม สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้าหมาย มีการชี้แจงเป้าหมาย ไม่มีการชี้แจงเป้าหมาย และไม่มีการชี้แจง
การทางาน มีการ อย่างชัดเจนและ อย่างชัดเจน เป้าหมาย สมาชิก
ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน ต่างคนต่างทางาน
อย่างร่วมมือร่วมใจ แต่ไม่มีการประเมิน ไม่ครบทุกคน
พร้อมกับการประเมิน เป็นระยะ ๆ
เป็นระยะ ๆ
๑๒

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การหาพื้นที่และความยาวด้านของรูปสามเหลี่ยมโดยใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
การหาพื้นที่และ หาพื้นที่ หาพื้นที่ หาพื้นที่ หาพื้นที่
ความยาวด้าน และความยาวด้าน และความยาวด้าน และความยาวด้าน และความยาวด้าน
ของรูปสามเหลี่ยม ของรูปสามเหลี่ยม ของรูปสามเหลี่ยม ของรูปสามเหลี่ยม ของรูปสามเหลี่ยม
โดยใช้ทฤษฎีบท โดยใช้ทฤษฎีบท- โดยใช้ทฤษฎีบท- โดยใช้ทฤษฎีบท- โดยใช้ทฤษฎีบท-
พีทาโกรัส พีทาโกรัส พีทาโกรัส พีทาโกรัส พีทาโกรัส
ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง
พร้อมทั้งอธิบาย ได้ด้วยตนเอง ครูแนะนาบางครั้ง โดยครูแนะนา อธิบาย
ให้เพื่อนเข้าใจได้ เพิ่มเติม และดูตัวอย่าง
ในหนังสือ

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การนาความรู้เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัสไปใช้


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
การนาทฤษฎีบท- นาทฤษฎีบท- นาทฤษฎีบท- นาทฤษฎีบท- นาทฤษฎีบท-
พีทาโกรัสไปใช้ พีทาโกรัสไปใช้ พีทาโกรัสไปใช้ พีทาโกรัสไปใช้ พีทาโกรัสไปใช้
ในการคิดคานวณ ในการคิดคานวณ ในการคิดคานวณ ในการคิดคานวณ
และแก้ปัญหา และแก้ปัญหา และแก้ปัญหา และแก้ปัญหา
ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง
แม่นยา ด้วยตนเอง โดยครูแนะนาบางครั้ง โดยครูแนะนา และอธิบาย
พร้อมทั้งอธิบาย เพิ่มเติมทุกครั้ง
ให้เพื่อนเข้าใจได้
๑๓

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่ำน (1) ไม่ผ่ำน (0)
4.1.1 ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ตั้งใจเรียน
4.1.2 เอาใจใส่และ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่
มีความเพียร และมีความเพียรพยายาม และมีความเพียรพยายาม ในการเรียน มีส่วน
พยายาม ในการเรียนรู้ มีส่วนร่วม ในการเรียนรู้ มีส่วนร่วม ร่วม
ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ และเข้าร่วม ในการเรียนรู้ และเข้า ในการเรียนรู้ และเข้า
4.1.3 สนใจเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ร่วมกิจกรรมการ
กิจกรรมการเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอก ต่าง ๆบ่อยครั้ง เรียนรู้ต่าง ๆ เป็น
ต่าง ๆ โรงเรียนเป็นประจา บางครั้ง

มุ่งมั่นในกำรทำงำน
ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่ำน (1) ไม่ผ่ำน (0)
6.1.1 เอาใจใส่ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ไม่ตั้งใจปฏิบัติ
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ หน้าที่การงาน
ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย
6.1.2 ตั้งใจและ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ
รับผิดชอบในการ ปรับปรุงและพัฒนา ปรับปรุงและพัฒนา
ทางานให้สาเร็จ การทางานให้ดีขึ้น การทางานให้ดีขึ้น
6.1.3 ปรับปรุงและ ด้วยตนเอง
พัฒนาการทางาน
ด้วยตนเอง
๑๔

ตัวชี้วัดที่ 6.2 ทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย

พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่ำน (1) ไม่ผ่ำน (0)


6.2.1 ทุ่มเททางาน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ไม่ขยัน อดทน
อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน พยายามให้งาน ในการทางาน
ต่อปัญหาและ ต่อปัญหา พยายาม ต่อปัญหาในการ สาเร็จตามเป้าหมาย
อุปสรรคในการ แก้ปัญหา อุปสรรค ทางาน
ทางาน ในการทางานให้สาเร็จ พยายามให้งานสาเร็จ
6.2.2 พยายาม ตามเป้าหมายภายใน ตามเป้าหมาย
แก้ปัญหา เวลา ชื่นชมผลงาน
และอุปสรรค ที่กาหนด ชื่นชม ด้วยความภาคภูมิใจ
ในการทางานให้ ผลงาน
สาเร็จ ด้วยความภาคภูมิใจ
6.2.3 ชื่นชม
ผลงาน
ด้วยความ
ภาคภูมิใจ

การจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องทฤษฎีพีทาโกรัส
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
2. รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
3. รูปสามเหลี่ยม
4. รูปสี่เหลี่ยม
5. แผนภาพแสดงทฤษฎีบทพีทาโกรัส
6. บัตรโจทย์
7. ตารางแสดงการพิสูจน์
8. ชาร์ตสรุปบทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส
9. บัตรโจทย์ปัญหา
10. ใบงานรื่อง การหาพื้นที่และความยาวด้านของรูปสามเหลี่ยม โดยใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
11. ใบงานเรื่อง การนาความรู้เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัสไปใช้
12. แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
๑๕

หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจานวนจริง เวลา 13 ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รหัสวิชา ค 22101 วิชา คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของ
จานวน ผลที่เกิดจากการดาเนินการ และนาไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 1.1 ม.2/2 เข้าใจจานวนจริงและความสัมพันธ์ของจานวนจริง และใช้สมบัติของจานวนจริง
ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง
สาระการเรียนรู้
1. ทบทวนจานวนเต็มและเศษส่วน
2. จานวนตรรกยะและจานวนอตรรกยะ
3. การเขียนทศนิยมซ้าให้อยู่ในรูปเศษส่วน
4. จานวนอตรรกยะ
5. รากที่สอง
6. การหารากที่สองโดยวิธีการแยกตัวประกอบ
7. การหารากที่สองโดยวิธีการเปิดตาราง
8. สมบัติของรากที่สอง
9. รากที่สาม
10. การหารากที่สามโดยวิธีการแยกตัวประกอบและเปิดตาราง
สาระสาคัญ
1. เศษส่วนทุกจานวนสามารถเขียนให้อยู่ในรูปทศนิยมซ้าได้
2. จานวนจริงประกอบด้วย จานวนตรรกยะ และจานวนอตรรกยะ ซึ่งจานวนตรรกยะคือจานวนที่เขียน
ได้ในรูปเศษส่วน แต่จานวนอตรรกยะไม่สามารถเขียนแทนได้ด้วยเศษส่วน
3. รากที่สองของศูนย์และจานวนจริงใดๆ คือ การหาจานวนจริงที่ยกกาลังสองและได้จานวนจริงนั้น ใน
การหารากที่สามของจานวนจริงใดๆ ก็คือการหาจานวนจริงที่ยกกาลังสามแล้วได้จานวนจริง
4. การหารากที่สองและรากที่สามของจานวนจริงทาได้หลายวิธี คือใช้การแยกตัวประกอบ การประมาณ
การเปิดตาราง และการใช้เครื่องคานวณ
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร ๑. ใฝ่ เรียนรู้
2. ความสามารถในการคิด ๒. มุง่ มันในการท
่ างาน
- การสรุ ป ความรู้ การให้ เ หตุ ผ ล การ
เชื่อมโยง การแก้ปัญหา
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๑๖

ภาระงานหลัก
1. ใบงาน เรื่อง การเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยม
2. ใบงาน เรื่อง จานวนตรรกยะและจานวนอตรรกยะ
3. ใบงาน เรื่อง การเขียนทศนิยมซ้าในรูปเศษส่วน
4. ใบงาน เรื่อง จานวนอตรรกยะ
5. ใบงาน เรื่อง สมบัติของรากที่สอง
6. ใบงาน เรื่อง รากที่สาม
7. ชิ้นงาน เรื่อง Pop-Up จานวนอตรรกยะ
8. ชิ้นงาน เรื่อง แผ่นพับตารางการหารากที่สามของจานวนจริง
การวัดและประเมินผล
1. ประเมินความรู้ เรื่อง จานวนตรรกยะ จานวนอตรรกยะ รากที่สอง รากที่สาม การนาความรู้เกี่ยวกับ
จานวนจริงไปใช้ในการแก้ปัญหา (K) ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินใบงาน เรื่อง การเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยม (P) ด้วยแบบประเมิน
4. ประเมินใบงาน เรื่อง จานวนตรรกยะและจานวนอตรรกยะ (P) ด้วยแบบประเมิน
5. ประเมินใบงาน เรื่อง การเขียนทศนิยมซ้าในรูปเศษส่วน (P) ด้วยแบบประเมิน
6. ประเมินใบงาน เรื่อง จานวนอตรรกยะ (P) ด้วยแบบประเมิน
7. ประเมินใบงาน เรื่อง สมบัติของรากที่สอง (P) ด้วยแบบประเมิน
8. ประเมินใบงาน เรื่อง รากที่สาม (P) ด้วยแบบประเมิน
9. ประเมินชิ้นงาน เรื่อง Pop-Up จานวนอตรรกยะ (P) ด้วยแบบประเมิน
10. ประเมินชิ้นงาน เรื่อง แผ่นพับตารางการหารากที่สามของจานวนจริง (P) ด้วยแบบประเมิน
11. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน (A) ด้วยแบบประเมิน

แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)
แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
กระบวนการ มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท ไม่มีการกาหนด
ทางานกลุ่ม สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้าหมาย มีการชี้แจงเป้าหมาย ไม่มีการชี้แจง และไม่มีการชี้แจง
การทางาน มีการ อย่างชัดเจนและ เป้าหมาย เป้าหมาย สมาชิก
ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน อย่างชัดเจน ต่างคนต่างทางาน
อย่างร่วมมือร่วมใจ แต่ไม่มีการประเมิน ปฏิบัติงานร่วมกัน
พร้อมกับการประเมิน เป็นระยะ ๆ ไม่ครบทุกคน
เป็นระยะ ๆ
๑๗

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยม


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
การเขียนเศษส่วน เขียนเศษส่วน เขียนเศษส่วน เขียนเศษส่วน เขียนเศษส่วน
ในรูปทศนิยม ในรูปทศนิยม ในรูปทศนิยม ในรูปทศนิยม ในรูปทศนิยม
ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง
แม่นยาด้วยตนเอง แม่นยาด้วยตนเอง โดยมีครูอธิบาย โดยมีครูอธิบาย
พร้อมทั้งอธิบายการ และให้คาแนะนา และให้คาแนะนาทุก
เขียนเศษส่วนในรูป บางครั้ง ครั้ง
ทศนิยม หรือทาตามตัวอย่าง
ให้เพื่อนเข้าใจได้

แบบประเมินใบงาน เรื่อง จานวนตรรกยะและจานวนอตรรกยะ


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
จานวนตรรกยะ จาแนกจานวน จาแนกจานวน จาแนกจานวน จาแนกจานวน
และจานวนอตรรก ทีก่ าหนดให้ ที่กาหนดให้ ที่กาหนดให้ ที่กาหนดให้
ยะ ว่าเป็นจานวนตรรกยะ ว่าเป็นจานวนตรรกยะ ว่าเป็นจานวนตรรกยะ ว่าเป็นจานวนตรรกยะ
หรือจานวนอตรรกยะ หรือจานวนอตรรกยะ หรือจานวนอตรรกยะ หรือจานวนอตรรกยะ
ได้อย่างถูกต้องแม่นยา ได้อย่างถูกต้องแม่นยา ได้อย่างถูกต้องแม่นยา ได้อย่างถูกต้องแม่นยา
ด้วยตนเอง พร้อมทั้ง ด้วยตนเอง โดยครูให้คาแนะนาบ้าง โดยดูจากตัวอย่าง
ยกตัวอย่างและอธิบาย และครูคอยแนะนา
ให้เพื่อนเข้าใจได้ เสมอ

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การเขียนทศนิยมซ้าในรูปเศษส่วน


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
การเขียนทศนิยม เขียนทศนิยมซ้า เขียนทศนิยมซ้า เขียนทศนิยมซ้า เขียนทศนิยมซ้า
ซ้าในรูปเศษส่วน ในรูปเศษส่วน ในรูปเศษส่วน ในรูปเศษส่วนได้ ในรูปเศษส่วนได้
ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง โดยจะต้องดูตัวอย่าง เมื่อครูให้คาแนะนา
แม่นยาด้วยวิธีการ แม่นยาด้วยวิธีการ จากหนังสือ ทุกขั้นตอน
ของตนเอง ของตนเอง หรือให้เพื่อนอธิบาย หรือดูหนังสือ
พร้อมทั้งอธิบาย จึงสามารถทาได้ ประกอบจึงสามารถ
ยกตัวอย่าง แนะนา ถูกต้อง ทาได้ถูกต้อง
เพื่อนให้เข้าใจได้
๑๘

แบบประเมินใบงาน เรื่อง จานวนอตรรกยะ


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
จานวนอตรรกยะ ระบุจานวนที่เป็น ระบุจานวนที่เป็น ระบุจานวนที่เป็น ระบุจานวนที่เป็น
จานวนอตรรกยะ จานวนอตรรกยะ จานวนอตรรกยะ จานวนอตรรกยะ
ได้อย่างถูกต้องแม่นยา ได้อย่างถูกต้องแม่นยา ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง
และบอกความเกี่ยวข้อง และบอกความเกี่ยวข้อง และบอกความ และบอกความ
ของจานวนจริง ของจานวนจริง เกี่ยวข้องของจานวน เกี่ยวข้องของจานวน
จานวนตรรกยะ จานวนตรรกยะ จริง จริง
และจานวนอตรรกยะได้ และจานวนอตรรกยะ จานวนตรรกยะ จานวนตรรกยะ
พร้อมทั้งอธิบาย ได้ด้วยตนเอง และจานวนอตรรกยะ และจานวนอตรรกยะ
ยกตัวอย่างให้เพื่อน โดยมีครูชี้แนะ โดยมีครูชี้แนะ
เข้าใจได้ บางครั้ง และอธิบายเพิ่มเติม
ทุกครั้ง

แบบประเมินใบงาน เรื่อง สมบัติของรากที่สอง


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
สมบัติของรากที่ แสดงวิธีทา แสดงวิธีทา แสดงวิธีทา แสดงวิธีทา
สอง และหาคาตอบโจทย์ และหาคาตอบโจทย์ และหาคาตอบโจทย์ และหาคาตอบโจทย์
ที่กาหนดให้ โดยใช้ ที่กาหนดให้ โดยใช้ ที่กาหนดให้ โดยใช้ ที่กาหนดให้ โดยใช้
สมบัติของรากที่สอง สมบัติของรากที่สอง สมบัติของรากที่สอง สมบัติของรากที่สอง
ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง
แม่นยา ครบ แม่นยา ครบทุก แต่ไม่ครบทุกข้อ แต่ไม่ครบทุกข้อ
ทุกข้อด้วยวิธีการ ข้อ ด้วยวิธีการ โดยจะต้องดูตัวอย่าง โดยครูต้องแนะนา
ตามลาดับขั้นตอน ตามลาดับขั้นตอน จากหนังสือ อธิบายข้อที่ทาไม่
ของตนเองและ ของตนเอง และให้เพื่อนอธิบาย ถูกต้องและดูตัวอย่าง
อธิบายหรือแนะนา จึงสามารถทาได้ จากหนังสือประกอบ
ให้เพื่อนเข้าใจได้ ถูกต้อง จึงสามารถทาได้
ถูกต้อง
๑๙

แบบประเมินใบงาน เรื่อง รากที่สาม


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
รากที่สาม หารากที่สาม หารากที่สาม หารากที่สาม หารากที่สาม
ของจานวนเต็ม ของจานวนเต็ม ของจานวนเต็ม ของจานวนเต็ม
ได้ถูกต้องครบทุกข้อ ได้ถูกต้องครบทุกข้อ ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง
ด้วยวิธีการและลาดับ ด้วยวิธีการและลาดับ แต่ไม่ครบทุกข้อ แต่ไม่ครบทุกข้อ
ขั้นตอนของตนเอง ขั้นตอนของตนเอง โดยจะต้องดูตัวอย่าง โดยครูต้องแนะนา
บอกความสัมพันธ์ บอกความสัมพันธ์ จากหนังสือและให้ อธิบายข้อที่ทาไม่
ของเลขยกกาลัง ของเลขยกกาลัง เพื่อนอธิบายจึง ถูกต้อง และดูตัวอย่าง
กับการหารากที่สาม กับการหารากที่สามได้ สามารถทาได้ถูกต้อง จากหนังสือประกอบ
และอธิบายหรือ จึงสามารถทาได้
แนะนาให้เพื่อนเข้าใจ ถูกต้อง
ได้

แบบประเมินชิ้นงาน เรื่อง Pop-Up จานวนอตรรกยะ


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
ชิ้นงาน Pop-Up ชิ้นงานสมบูรณ์ ชิ้นงานสมบูรณ์ ชิ้นงานค่อนข้าง ชิ้นงานไม่สมบูรณ์
จานวนอตรรกยะ มีความคิดสร้างสรรค์ มีความคิดสร้างสรรค์ สมบูรณ์ มีความคิด เนื้อหาถูกต้องตาม
เนื้อหาถูกต้องตาม เนื้อหาถูกต้องตาม สร้างสรรค์ เนื้อหา ทฤษฎี สาระสาคัญ
ทฤษฎี สาระสาคัญ ทฤษฎี สาระสาคัญ ถูกต้องตามทฤษฎี หรือบทนิยาม
หรือบทนิยาม หรือบทนิยาม สาระสาคัญ ทางคณิตศาสตร์
ทางคณิตศาสตร์ ทางคณิตศาสตร์ หรือบทนิยาม โดยครูคอยชี้แนะ
และนาเสนอผลงาน ทางคณิตศาสตร์ เสมอ
ให้เพื่อนเข้าใจได้
๒๐

แบบประเมินชิ้นงาน เรื่อง แผ่นพับตารางการหารากที่สามของจานวนจริง


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
ชิ้นงาน ชิ้นงานสมบูรณ์ ชิ้นงานสมบูรณ์ ชิ้นงานค่อนข้าง ชิ้นงานไม่สมบูรณ์
แผ่นพับตาราง มีความคิดสร้างสรรค์ มีความคิดสร้างสรรค์ สมบูรณ์ มีความคิด เนื้อหาถูกต้องตาม
การหารากที่สาม เนื้อหาถูกต้องตาม เนื้อหาถูกต้องตาม สร้างสรรค์ เนื้อหา ทฤษฎี สาระสาคัญ
ของจานวนจริง ทฤษฎี สาระสาคัญ ทฤษฎี สาระสาคัญ ถูกต้องตามทฤษฎี หรือบทนิยาม
หรือบทนิยาม หรือบทนิยาม สาระสาคัญ ทางคณิตศาสตร์
ทางคณิตศาสตร์ ทางคณิตศาสตร์ หรือบทนิยาม โดยครูคอยชี้แนะ
และนาเสนอผลงาน ทางคณิตศาสตร์ เสมอ
ให้เพื่อนเข้าใจได้

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
4.1.1 ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ตั้งใจเรียน
4.1.2 เอาใจใส่และ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่
มีความเพียร และมีความเพียร และมีความเพียร ในการเรียน มีส่วนร่วม
พยายาม พยายาม พยายาม ในการเรียนรู้ และเข้า
ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ มีส่วน ในการเรียนรู้ มีส่วน ร่วม
4.1.3 สนใจเข้าร่วม ร่วม ร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง
กิจกรรมการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ และเข้า ในการเรียนรู้ และเข้า ๆ
ต่าง ๆ ร่วม ร่วม เป็นบางครั้ง
กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง
ๆ ๆ
ทั้งภายในและภายนอก บ่อยครั้ง
โรงเรียนเป็นประจา
๒๑

มุ่งมั่นในการทางาน
ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.1.1 เอาใจใส่ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ไม่ตั้งใจปฏิบัติ
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ หน้าที่การงาน
ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย
6.1.2 ตั้งใจและ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ
รับผิดชอบในการ ปรับปรุงและพัฒนา ปรับปรุงและพัฒนา
ทางานให้สาเร็จ การทางานให้ดีขึ้น การทางานให้ดีขึ้น
6.1.3 ปรับปรุงและ ด้วยตนเอง
พัฒนาการทางาน
ด้วยตนเอง

ตัวชี้วัดที่ 6.2 ทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย


พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.2.1 ทุ่มเททางาน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ไม่ขยัน อดทน
อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน พยายามให้งาน ในการทางาน
ต่อปัญหาและ ต่อปัญหา พยายาม ต่อปัญหาในการ สาเร็จตามเป้าหมาย
อุปสรรคในการ แก้ปัญหา อุปสรรค ทางาน
ทางาน ในการทางานให้สาเร็จ พยายามให้งานสาเร็จ
6.2.2 พยายาม ตามเป้าหมายภายใน ตามเป้าหมาย
แก้ปัญหา เวลา ชื่นชมผลงาน
และอุปสรรค ที่กาหนด ชื่นชม ด้วยความภาคภูมิใจ
ในการทางานให้ ผลงาน
สาเร็จ ด้วยความภาคภูมิใจ
6.2.3 ชื่นชม
ผลงาน
ด้วยความ
ภาคภูมิใจ

การจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจานวนจริง
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
2. แผนภาพความคิด
3. บัตรจานวน
4. บัตรทศนิยม
5. บัตรเศษส่วน
๒๒

6. เส้นจานวน
7. สามเหลี่ยมมุมฉาก
8. ชาร์ตตัวอย่างการหารากที่สองโดยการแยกตัวประกอบ
9. ชาร์ตสมบัติของรากที่สอง
10. ตารางรากที่สองและรากที่สาม
๒๓

หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พื้นที่ผิวและปริมาตร เวลา 9 ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ รหัสวิชา ค 22101 วิชา คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
และนาไปใช้

ตัวชี้วัด
ค 2.1 ม.2/1 ประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอกในการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง
ค 2.1 ม.2/2 ประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอกในการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง
สาระการเรียนรู้
1. พื้นที่และความสัมพันธ์ของหน่วยการวัดพื้นที่ในมาตราต่าง ๆ
2. พื้นที่รูปเรขาคณิต
3. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการหาพื้นที่
4. ปริมาตรและการหาปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
5. ความสัมพันธ์ของหน่วยปริมาตร
6. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการหาปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
7. ปริซึมและพื้นที่ผิวของปริซึม
8. การหาพื้นที่ผิวของปริซึม
9. การหาปริมาตรของปริซึม
10. ทรงกระบอกและพื้นที่ผิวของทรงกระบอก
11. การหาพื้นที่ผิวของทรงกระบอก
12. การหาปริมาตรของทรงกระบอก
13. การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับพื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึม
14. การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับพื้นที่ผิวและปริมาตรของทรงกระบอก
สาระสาคัญ
การหาพื้นที่ผิวของรูปเรขาคณิตสามมิติใด ๆ เป็นการหาพื้นที่ทั้งหมดของรูปเรขาคณิตสามมิตินั้น การหา
ปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย ทรงกรวย และทรงกลม มรวิธีการหาที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับ
ลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิตินั้น ๆ
๒๔

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร ๑. ใฝ่ เรียนรู้
2. ความสามารถในการคิด ๒. มุง่ มันในการท
่ างาน
- การจาแนก การให้เหตุผล การสรุปความรู้
การจัดระบบความคิดเป็นแผนภาพ
การปฏิบัติ/การสาธิต การแก้ปัญหา การ
ประยุกต์/การปรับปรุง การประเมินค่า
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

ภาระงานหลัก
1. ใบงานโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการหาพื้นที่
2. ใบงานการหาพื้นที่ผิวของปริซึม
3. ใบงานการหาปริมาตรของปริซึม
4. ใบงานการหาพื้นที่ผิวของทรงกระบอก
5. ใบงานทีก่ ารหาปริมาตรของทรงกระบอก
6. ชิ้นงานที่ปริมาตรของทรงกระบอก
การวัดและประเมินผล
1. ประเมินความรู้ เรื่อง พื้นที่และปริมาตร พื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึม พื้นที่ผิวและปริมาตร
ของทรงกระบอก การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับพื้นที่ผิวและปริมาตร (K) ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินใบงาน เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการหาพื้นที่ (P) ด้วยแบบประเมิน
4. ประเมินใบงาน เรื่อง การหาพื้นที่ผิวของปริซึม (P) ด้วยแบบประเมิน
5. ประเมินใบงาน เรื่อง การหาปริมาตรของปริซึม (P) ด้วยแบบประเมิน
6. ประเมินใบงาน เรื่อง การหาพื้นที่ผิวของทรงกระบอก (P) ด้วยแบบประเมิน
7. ประเมินใบงาน เรื่อง การหาปริมาตรของทรงกระบอก (P) ด้วยแบบประเมิน
8. ประเมินชิ้นงาน เรื่อง ปริมาตรของทรงกระบอก (P) ด้วยแบบประเมิน
9. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน (A) ด้วยแบบประเมิน
๒๕

แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)
แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
กระบวนการ มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท ไม่มีการกาหนด
ทางานกลุ่ม สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้าหมาย มีการชี้แจงเป้าหมาย ไม่มีการชี้แจง และไม่มีการชี้แจง
การทางาน มีการปฏิบัติงาน อย่างชัดเจนและ เป้าหมาย เป้าหมาย สมาชิก
ร่วมกันอย่างร่วมมือร่วมใจ ปฏิบัติงานร่วมกัน อย่างชัดเจน ต่างคนต่างทางาน
พร้อมกับการประเมินเป็น แต่ไม่มีการประเมิน ปฏิบัติงานร่วมกัน
ระยะ ๆ เป็นระยะ ๆ ไม่ครบทุกคน

แบบประเมินใบงาน เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการหาพื้นที่


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงการคานวณ แสดงการคานวณ แสดงการคานวณ แสดงการคานวณ แสดงการคานวณ
เกี่ยวกับการหา เกี่ยวกับการหาพื้นที่ เกี่ยวกับการหาพื้นที่ เกี่ยวกับการหาพื้นที่ เกี่ยวกับการหาพื้นที่
พื้นที่ ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง
ครบทุกข้อด้วยตนเอง ครบทุกข้อด้วยตนเอง แต่ไม่ครบทุกข้อ แต่ไม่ครบทุกข้อ
และอธิบายยกตัวอย่าง ต้องดูตัวอย่างจาก โดยครูต้องแนะนา
แนะนาเพื่อนให้เข้าใจ หนังสือและให้เพื่อน อธิบายข้อที่ทาไม่
ได้ถูกต้อง อธิบาย ถูกต้อง
จึงสามารถทาได้ถูกต้อง และดูตัวอย่างจาก
หนังสือประกอบ
จึงสามารถทาได้
ถูกต้อง
๒๖

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การหาพื้นที่ผิวของปริซึม


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงลาดับขั้นตอน แสดงลาดับขั้นตอน แสดงลาดับขั้นตอน แสดงลาดับขั้นตอน แสดงลาดับขั้นตอน
การแก้ปัญหาและ การแก้ปัญหาและ การแก้ปัญหาและ การแก้ปัญหา การแก้ปัญหาและ
คิดคานวณเกี่ยวกับ คิดคานวณเกี่ยวกับ คิดคานวณเกี่ยวกับ และคิดคานวณ คิดคานวณเกี่ยวกับ
การหาพื้นที่ผิวของ การหาพื้นที่ผิวของ การหาพื้นที่ผิวของ เกี่ยวกับการหาพื้นที่ การหาพื้นที่ผิวของ
ปริซึม ปริซึมได้ถูกต้อง ครบ ปริซึมได้ถูกต้อง ครบ ผิวของปริซึมได้ถูกต้อง ปริซึมได้ถูกต้อง
ทุกข้อ ทุกข้อ แต่ไม่ครบทุกข้อ แต่ไม่ครบทุกข้อ
ด้วยตนเอง และ ด้วยตนเอง ต้องดูตัวอย่างจาก โดยครูต้องแนะนา
อธิบายยกตัวอย่าง หนังสือและให้เพื่อน อธิบายข้อที่ทาไม่
แนะนาเพื่อนให้เข้าใจ อธิบายจึงสามารถทา ถูกต้อง
ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง และดูตัวอย่างจาก
หนังสือประกอบ
จึงสามารถทาได้
ถูกต้อง

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การหาปริมาตรของปริซึม


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงลาดับขั้นตอน แสดงลาดับขั้นตอน แสดงลาดับขั้นตอน แสดงลาดับขั้นตอน แสดงลาดับขั้นตอน
การแก้ปัญหาและ การแก้ปัญหาและ การแก้ปัญหาและ การแก้ปัญหาและ การแก้ปัญหาและ
คิดคานวณเกี่ยวกับ คิดคานวณเกี่ยวกับ คิดคานวณเกี่ยวกับ คิดคานวณเกี่ยวกับ คิดคานวณเกี่ยวกับ
การหาปริมาตร การหาปริมาตรของ การหาปริมาตรของ การหาปริมาตรของ การหาปริมาตรของ
ของปริซึม ปริซึม ปริซึม ปริซึม ปริซึม
ได้ถูกต้อง ครบทุกข้อ ได้ถูกต้อง ครบทุกข้อ ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง
ด้วยตนเอง และ ด้วยตนเอง แต่ไม่ครบทุกข้อ แต่ไม่ครบทุกข้อ
อธิบายยกตัวอย่าง ต้องดูตัวอย่างจาก โดยครูต้องแนะนา
แนะนาเพื่อนให้เข้าใจ หนังสือและให้เพื่อน อธิบายข้อที่ทาไม่
ได้ถูกต้อง อธิบาย ถูกต้องและดูตัวอย่าง
จึงสามารถทาได้ จากหนังสือประกอบ
ถูกต้อง จึงสามารถทาได้
ถูกต้อง
๒๗

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การหาพื้นที่ผิวของทรงกระบอก


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงลาดับขั้นตอน แสดงลาดับขั้นตอน แสดงลาดับขั้นตอน แสดงลาดับขั้นตอน แสดงลาดับขั้นตอน
การแก้ปัญหาและ การแก้ปัญหาและ การแก้ปัญหาและ การแก้ปัญหาและ การแก้ปัญหาและ
คิดคานวณเกี่ยวกับ คิดคานวณเกี่ยวกับ คิดคานวณเกี่ยวกับ คิดคานวณเกี่ยวกับ คิดคานวณเกี่ยวกับ
การหาพื้นที่ผิวของ การหาพื้นที่ผิวของ การหาพื้นที่ผิวของ การหาพื้นที่ผิวของ การหาพื้นที่ผิวของ
ทรงกระบอก ทรงกระบอกได้ถูกต้อง ทรงกระบอกได้ถูกต้อง ทรงกระบอกได้ถูกต้อง ทรงกระบอกได้ถูกต้อง
ครบทุกข้อด้วยตนเอง ครบทุกข้อด้วยตนเอง แต่ไม่ครบทุกข้อ แต่ไม่ครบทุกข้อ
และอธิบาย ต้องดูตัวอย่าง โดยครูต้องแนะนา
ยกตัวอย่างแนะนา จากหนังสือและให้ อธิบายข้อที่ทาไม่
เพื่อนให้เข้าใจ เพื่อนอธิบายจึง ถูกต้องและดูตัวอย่าง
ได้ถูกต้อง สามารถทา จากหนังสือประกอบ
ได้ถูกต้อง จึงสามารถทาได้
ถูกต้อง

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การหาปริมาตรของทรงกระบอก


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงลาดับขั้นตอน แสดงลาดับขั้นตอน แสดงลาดับขั้นตอน แสดงลาดับขั้นตอน แสดงลาดับขั้นตอน
การแก้ปัญหา การแก้ปัญหา การแก้ปัญหา การแก้ปัญหา การแก้ปัญหา
และคิดคานวณ และคิดคานวณ และคิดคานวณ และคิดคานวณ และคิดคานวณ
เกี่ยวกับการหา เกี่ยวกับการหา เกี่ยวกับการหา เกี่ยวกับการหา เกี่ยวกับการหา
ปริมาตร ปริมาตรของ ปริมาตร ปริมาตร ปริมาตร
ของทรงกระบอก ทรงกระบอก ของทรงกระบอก ของทรงกระบอก ของทรงกระบอก
ได้ถูกต้อง ครบทุกข้อ ได้ถูกต้อง ครบทุกข้อ ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง
ด้วยตนเองและอธิบาย ด้วยตนเอง แต่ไม่ครบทุกข้อ แต่ไม่ครบทุกข้อ
ยกตัวอย่าง แนะนา ต้องดูตัวอย่างจาก โดยครูต้องแนะนา
เพื่อนให้เข้าใจได้ หนังสือและให้เพื่อน อธิบายข้อที่ทาไม่
ถูกต้อง อธิบาย ถูกต้องและดูตัวอย่าง
จึงสามารถทาได้ จากหนังสือประกอบ
ถูกต้อง จึงสามารถทาได้
ถูกต้อง
๒๘

แบบประเมินชิ้นงาน เรื่อง ปริมาตรของทรงกระบอก


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงลาดับขั้นตอน แสดงลาดับขั้นตอน แสดงลาดับขั้นตอน แสดงลาดับขั้นตอน แสดงลาดับขั้นตอน
การแก้ปัญหา การแก้ปัญหา การแก้ปัญหา การแก้ปัญหา การแก้ปัญหา
และคิดคานวณ และคิดคานวณ และคิดคานวณ และคิดคานวณ และคิดคานวณ
เกี่ยวกับการหา เกี่ยวกับการหา เกี่ยวกับการหา เกี่ยวกับการหา เกี่ยวกับการหา
ปริมาตรของ ปริมาตร ปริมาตรของ ปริมาตร ปริมาตร
ทรงกระบอก ของทรงกระบอก ทรงกระบอก ของทรงกระบอก ของทรงกระบอก
ได้ถูกต้องครบทุกข้อ ได้ถูกต้อง ครบทุกข้อ ได้ถูกต้อง โดยต้องดู ถูกต้องโดยครูต้อง
ด้วยตนเองและ ด้วยตนเอง ตัวอย่างจากหนังสือ แนะนาอธิบายและดู
อธิบายยกตัวอย่าง พร้อมทั้งสร้างชิ้นงาน และให้เพื่อนอธิบาย ตัวอย่าง
แนะนาเพื่อนให้เข้าใจ ได้อย่างถูกต้อง จึงสามารถทาได้ จากหนังสือประกอบ
ได้ถูกต้อง ถูกต้องพร้อมทั้งสร้าง จึงสามารถทาได้
พร้อมทั้งสร้างชิ้นงาน ชิ้นงาน ถูกต้องพร้อมทั้ง
ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง สามารถ
สร้างชิ้นงานได้ถูกต้อง

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
4.1.1 ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ตั้งใจเรียน
4.1.2 เอาใจใส่และ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่
มีความเพียร และมีความเพียร และมีความเพียร ในการเรียน มีส่วนร่วม
พยายาม พยายาม พยายาม ในการเรียนรู้
ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ มีส่วน ในการเรียนรู้ มีส่วน และเข้าร่วมกิจกรรม
4.1.3 สนใจเข้าร่วม ร่วม ร่วม การเรียนรู้ต่าง ๆ
กิจกรรมการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ เป็นบางครั้ง
ต่าง ๆ และเข้าร่วมกิจกรรม และเข้าร่วมกิจกรรม
การเรียนรู้ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ
ทั้งภายในและภายนอก บ่อยครั้ง
โรงเรียนเป็นประจา
๒๙

มุ่งมั่นในการทางาน
ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.1.1 เอาใจใส่ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ไม่ตั้งใจปฏิบัติ
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ หน้าที่การงาน
ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย
6.1.2 ตั้งใจและ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ
รับผิดชอบในการ ปรับปรุง ปรับปรุงและ
ทางานให้สาเร็จ และพัฒนาการ พัฒนาการทางาน
6.1.3 ปรับปรุงและ ทางาน ให้ดีขึ้น
พัฒนาการทางาน ให้ดีขึ้นด้วยตนเอง
ด้วยตนเอง

ตัวชี้วัดที่ 6.2 ทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย


พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.2.1 ทุ่มเททางาน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ไม่ขยัน อดทน
อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน ไม่ย่อท้อต่อ อดทน ไม่ย่อท้อต่อ อดทน พยายามให้ ในการทางาน
ต่อปัญหาและ ปัญหา พยายาม ปัญหาในการทางาน งาน
อุปสรรคในการ แก้ปัญหาอุปสรรคใน พยายามให้งานสาเร็จ สาเร็จตามเป้าหมาย
ทางาน การทางาน ให้ ตามเป้าหมาย
6.2.2 พยายาม งานสาเร็จตาม ชื่นชมผลงานด้วย
แก้ปัญหาและ เป้าหมายภายในเวลา ความภาคภูมิใจ
อุปสรรค ที่กาหนด ชื่นชมผลงาน
ในการทางานให้ ด้วยความภาคภูมิใจ
สาเร็จ
6.2.3 ชื่นชมผลงาน
ด้วยความภาคภูมิใจ

การจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้พื้นที่ผิวและปริมาตร
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
2. บัตรภาพเส้นขนาน
3. บัตรภาพเส้นขนานและมุมภายในข้างเดียวกันของเส้นตัด
4. บัตรภาพเส้นขนานแสดงมุมแย้ง
5. บัตรภาพแสดงมุมภายในและมุมภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด
6. รูปสามเหลี่ยม
๓๐

7. ใบงาน เรื่อง สมบัติของเส้นขนานกับมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด


8. ใบงาน เรื่อง สมบัติของเส้นขนานกับมุมแย้ง
9. ใบงาน เรื่อง มุมภายในและมุมภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด
10. ใบงาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
11. ใบงาน เรื่อง การพิสูจน์โดยใช้ความสัมพันธ์ของเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
12. ชิ้นงาน เรื่อง การพิสูจน์เส้นขนานโดยใช้มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด
13. ชิ้นงาน เรื่อง การพิสูจน์เส้นขนานโดยใช้มุมแย้ง
14. แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
๓๑

หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การแปลงทางเรขาคณิต เวลา 12 ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รหัสวิชา ค 22101 วิชา คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์
ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 2.2 ม.2/3 เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิตในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
และปัญหาในชีวิตจริง
สาระการเรียนรู้
1. รูปแบบของการแปลง
2. การสะท้อน (Reflection)
3. การสะท้อนบนระนาบพิกัดฉาก และการนาการสะท้อนไปใช้
4. การเลื่อนขนาน (Translation)
5. การเลื่อนขนานบนระนาบพิกัดฉาก และการนาการเลื่อนขนานไปใช้
6. การหมุน (Rotation)
7. การหมุนบนระนาบพิกัดฉาก และการนาการหมุนไปใช้
สาระสาคัญ
1. การเลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุนเป็นการแปลงทางเรขาคณิต ซึ่งรูปที่เกิดจากการแปลงจะ
เท่ากันทุกประการกับรูปต้นแบบเสมอ
2. การแปลงทางเรขาคณิตทั้ง คือ การเลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุน เป็นการเปลี่ยนตาแหน่งของ
รูปเรขาคณิตบนระนาบ โดยที่ระยะระหว่างจุดสองจุดใด ๆ ของรูปเรขาคณิตนั้นไม่เปลี่ยนแปลง
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. ใฝ่เรียนรู้
2. ความสามารถในการคิด ๒. มุ่งมั่นในการทางาน
- การสรุปความรู้ การปฏิบัติ การให้เหตุผล
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

ภาระงานหลัก
• ใบงาน การแปลงทางเรขาคณิ ต
๓๒

การวัดและประเมินผล
1. ประเมินความรู้ เรื่อง การเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน การนาความรู้เกี่ยวกับการแปลง
ทางเรขาคณิตไปใช้ในการแก้ปัญหา (K) ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินใบงาน เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต (P) ด้วยแบบประเมิน
4. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน (A) ด้วยแบบประเมิน
แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)
แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
กระบวนการ มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท ไม่มีการกาหนด
ทางานกลุ่ม สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้าหมาย มีการชี้แจงเป้าหมาย ไม่มีการชี้แจง และไม่มีการชี้แจง
การทางาน มีการ อย่างชัดเจนและ เป้าหมาย เป้าหมาย สมาชิก
ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน อย่างชัดเจน ต่างคนต่างทางาน
อย่างร่วมมือร่วมใจ แต่ไม่มีการประเมิน ปฏิบัติงานร่วมกัน
พร้อมกับการประเมิน เป็นระยะ ๆ ไม่ครบทุกคน
เป็นระยะ ๆ

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
การเขียนภาพที่เกิด เขียนภาพที่เกิดจาก เขียนภาพที่เกิดจาก เขียนภาพที่เกิดจาก เขียนภาพที่เกิดจาก
จากการเลื่อนขนาน การเลื่อนขนาน การเลื่อนขนาน การเลื่อนขนาน การเลื่อนขนาน
การสะท้อน การสะท้อน การสะท้อน การสะท้อน การสะท้อน
และการหมุน และการหมุน และการหมุน และการหมุน และการหมุน
จากรูปต้นแบบ จากรูปต้นแบบ จากรูปต้นแบบ จากรูปต้นแบบ จากรูปต้นแบบ
ที่กาหนดให้ ที่กาหนดให้ ที่กาหนดให้ ที่กาหนดให้ ที่กาหนดให้
ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง
ด้วยตนเอง และอธิบาย ด้วยตนเอง โดยมีครูแนะนาบ้าง โดยมีครูแนะนา
วิธีการที่จะได้ภาพ ทุกขั้นตอน
ให้เพื่อนเข้าใจ
อย่างถูกต้อง
๓๓

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
4.1.1 ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ตั้งใจเรียน
4.1.2 เอาใจใส่และ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่
มีความเพียร และมีความเพียร และมีความเพียร ในการเรียน มีส่วนร่วม
พยายาม พยายาม พยายาม ในการเรียนรู้
ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ มีส่วน ในการเรียนรู้ มีส่วน และเข้าร่วมกิจกรรม
4.1.3 สนใจเข้าร่วม ร่วมในการเรียนรู้ ร่วมในการเรียนรู้ การเรียนรู้ต่าง ๆ
กิจกรรมการเรียนรู้ และเข้าร่วมกิจกรรม และเข้าร่วมกิจกรรม เป็นบางครั้ง
ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ
ทั้งภายในและภายนอก บ่อยครั้ง
โรงเรียนเป็นประจา

มุ่งมั่นในการทางาน
ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.1.1 เอาใจใส่ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ไม่ตั้งใจปฏิบัติ
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ หน้าที่การงาน
ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย
6.1.2 ตั้งใจและ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ
รับผิดชอบในการ ปรับปรุง ปรับปรุงและ
ทางานให้สาเร็จ และพัฒนาการ พัฒนาการทางาน
6.1.3 ปรับปรุงและ ทางาน ให้ดีขึ้น
พัฒนาการทางาน ให้ดีขึ้นด้วยตนเอง
ด้วยตนเอง
๓๔

ตัวชี้วัดที่ 6.2 ทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย


พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.2.1 ทุ่มเททางาน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ไม่ขยัน อดทน
อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน ไม่ย่อท้อต่อ อดทน ไม่ย่อท้อต่อ อดทน พยายามให้ ในการทางาน
ต่อปัญหาและ ปัญหา พยายาม ปัญหาในการทางาน งาน
อุปสรรคในการ แก้ปัญหาอุปสรรคใน พยายามให้งานสาเร็จ สาเร็จตามเป้าหมาย
ทางาน การทางาน ให้งาน ตามเป้าหมาย
6.2.2 พยายาม สาเร็จตามเป้าหมาย ชื่นชมผลงานด้วย
แก้ปัญหาและ ภายในเวลา ความภาคภูมิใจ
อุปสรรค ที่กาหนด ชื่นชมผลงาน
ในการทางานให้ ด้วยความภาคภูมิใจ
สาเร็จ
6.2.3 ชื่นชมผลงาน
ด้วยความภาคภูมิใจ

การจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้การแปลงทางเรขาคณิต
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
2. รูปตัวอย่างการแปลงทางเรขาคณิต
3. รูปต้นแบบต่าง ๆ
4. ภาพที่เกิดจากรูปต้นแบบ
5. แผ่นชาร์ต
6. ระนาบพิกัดฉาก
๓๕

หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สมบัติเลขยกกาลัง เวลา 8 ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รหัสวิชา ค 22101 วิชา คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของ
จานวน ผลที่เกิดจากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และนาไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 1.1 ม.2/1 เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มในการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง
สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของเลขยกกาลัง
2. สมบัติของการคูณเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก
3. สมบัติของการหารเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก
4. สมบัติของเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นศูนย์
5. สมบัติของเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มลบ
6. การเขียนจานวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
7. การคูณเลขยกกาลัง
8. การหารเลขยกกาลัง
9. เลขยกกาลังที่มีฐานเป็นเลขยกกาลังและมีฐานอยู่ในรูปการคูณของจานวนหลาย ๆ จานวน
10. เลขยกกาลังที่มีฐานอยู่ในรูปการหารของจานวนหลาย ๆ จานวน

สาระสาคัญ
ให้ a และ n เป็นจานวนเต็มใด ๆ โดยที่ a ≠ 0 จะได้ an = a × a × a ×.. nตัวa เรียก an ว่าเลขยก
กาลังที่มี a เป็นฐาน และ n เป็นเลขชี้กาลัง การดาเนินการของเลขยกกาลังในการคูณและการหารที่มีฐานเป็น
จานวนเดียวกัน จะได้ว่า ถ้าให้ a, m และ n เป็นจานวนเต็มที่ a ≠ 0 แล้ว am × an = am+ n

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. ใฝ่เรียนรู้
2. ความสามารถในการคิด ๒. มุ่งมั่นในการทางาน
• การให้เหตุผล การจาแนก การสรุปความรู้ การปฏิบัติ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
๓๖

ภาระงานหลัก
• ใบงาน เรื่อง สมบัติของเลขยกกาลัง
• ใบงาน เรื่อง การเขียนจานวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
• ใบงาน เรื่อง การหาผลคูณในรูปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นบวก
• ใบงาน เรื่อง การหาผลหารในรูปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นบวก
• ใบงาน เรื่อง สมบัติอื่น ๆ ของเลขยกกาลัง
การวัดและประเมินผล
1. ประเมินความรู้ เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง สมบัติการคูณของเลขยกกาลัง สมบัติของการหาร
ของเลขยกกาลัง สมบัติของเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นศูนย์ สมบัติของเลขยกกาลังที่มีสมบัติของ
เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มลบ การเขียนจานวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ การคูณ
เลขยกกาลัง การหารเลขยกกาลัง (K) ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินการร่วมกิจกรรม กระบวนการทางาน กระบวนกาทางานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินใบงาน เรื่อง สมบัติของเลขยกกาลัง (P) ด้วยแบบประเมิน
4. ประเมินใบงาน เรื่อง การเขียนจานวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ (P) ด้วยแบบประเมิน
5. ประเมินใบงาน เรื่อง การหาผลคูณในรูปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นบวก (P) ด้วยแบบประเมิน
6. ประเมินใบงาน เรื่อง การหาผลหารในรูปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นบวก (P) ด้วยแบบประเมิน
7. ประเมินใบงาน เรื่อง สมบัติอื่น ๆ ของเลขยกกาลัง (P) ด้วยแบบประเมิน
8. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน (A) ด้วยแบบประเมิน
แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)
แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
กระบวนการ มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท ไม่มีการกาหนด
ทางานกลุ่ม สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้าหมาย มีการชี้แจงเป้าหมาย ไม่มีการชี้แจง และไม่มีการชี้แจง
การทางาน มีการ อย่างชัดเจนและ เป้าหมาย เป้าหมาย สมาชิก
ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน อย่างชัดเจน ต่างคนต่างทางาน
อย่างร่วมมือร่วมใจ แต่ไม่มีการประเมิน ปฏิบัติงานร่วมกัน
พร้อมกับการประเมิน เป็นระยะ ๆ ไม่ครบทุกคน
เป็นระยะ ๆ
๓๗

แบบประเมินใบงาน เรื่อง สมบัติของเลขยกกาลัง


ระดับคะแนน
เกณฑ์การประเมิน
4 3 2 1
ใช้สมบัติของ สามารถใช้สมบัติของ สามารถใช้สมบัติของ สามารถใช้สมบัติของ สามารถใช้สมบัติของ
เลขยกกาลัง เลขยกกาลังในการ เลขยกกาลังในการ เลขยกกาลังในการ เลขยกกาลังในการ
ในการคิดคานวณ คิดคานวณและ คิดคานวณและ คิดคานวณและ คิดคานวณและ
และแก้ปัญหา แก้ปัญหา แก้ปัญหา แก้ปัญหา แก้ปัญหา
ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง แต่ ได้อย่างถูกต้อง โดย
แม่นยา แม่นยาทุกข้อด้วย ครูต้องแนะนา ครูและเพื่อนต้อง
ทุกข้อ พร้อมทั้ง ตนเอง บางครั้ง แนะนาและดูตัวอย่าง
ยกตัวอย่างที่แตกต่าง จากหนังสือทุกข้อ
อธิบายให้เพื่อนเข้าใจ
ได้

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การเขียนจานวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์


ระดับคะแนน
เกณฑ์การประเมิน
4 3 2 1
เขียนจานวนใน สามารถเขียนจานวนใน สามารถเขียนจานวน สามารถเขียนจานวนใน สามารถเขียนจานวน
รูปสัญกรณ์ รูปสัญกรณ์ ในรูปสัญกรณ์ รูปสัญกรณ์ ในรูปสัญกรณ์
วิทยาศาสตร์และ วิทยาศาสตร์และแสดง วิทยาศาสตร์และ วิทยาศาสตร์และแสดง วิทยาศาสตร์และ
แสดงการหาผลลัพธ์ การหาผลลัพธ์ในรูปสัญ แสดงการหาผลลัพธ์ การหาผลลัพธ์ในรูปสัญ แสดงการหาผลลัพธ์
ในรูปสัญกรณ์ กรณ์-วิทยาศาสตร์ได้ ในรูปสัญกรณ์ กรณ์วิทยาศาสตร์ได้ ในรูปสัญกรณ์
วิทยาศาสตร์ อย่างถูกต้อง แม่นยา วิทยาศาสตร์ได้อย่าง อย่างถูกต้อง แต่ครูต้อง วิทยาศาสตร์ได้อย่าง
ทุกข้อ พร้อมทั้ง ถูกต้อง แม่นยาทุกข้อ แนะนาบางครั้ง ถูกต้อง โดยครูต้อง
ยกตัวอย่างและอธิบาย ด้วยตนเอง แนะนา และดู
ให้เพื่อนเข้าใจได้ ตัวอย่าง
จากหนังสือประกอบ
ทุกข้อ
๓๘

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การหาผลคูณในรูปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นบวก


ระดับคะแนน
เกณฑ์การประเมิน
4 3 2 1
แสดงการคูณ สามารถแสดงการคูณ สามารถแสดงการคูณ สามารถแสดงการคูณ สามารถแสดงการคูณ
เลขยกกาลัง เลขยกกาลัง เลขยกกาลัง เลขยกกาลัง เลขยกกาลัง
ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง แต่ ได้อย่างถูกต้อง โดย
แม่นยา แม่นยา ครูต้องแนะนา ครูและเพื่อนต้อง
ทุกข้อ พร้อมทั้ง ทุกข้อด้วยตนเอง บางครั้ง อธิบายและดูตัวอย่าง
อธิบาย จากหนังสือทุกข้อ
ให้เพื่อนเข้าใจได้

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การหาผลหารในรูปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นบวก


ระดับคะแนน
เกณฑ์การประเมิน
4 3 2 1
แสดงการหาร สามารถแสดงการ สามารถแสดงการ สามารถแสดงการ สามารถแสดงการ
เลขยกกาลัง หารเลขยกกาลัง หารเลขยกกาลัง หารเลขยกกาลัง หารเลขยกกาลังได้
ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง แต่ อย่างถูกต้อง โดยครู
แม่นยา แม่นยา ครูต้องแนะนา และเพื่อนต้องอธิบาย
ทุกข้อ พร้อมทั้ง ทุกข้อด้วยตนเอง บางครั้ง และ
อธิบาย ดูตัวอย่างจากหนังสือ
ให้เพื่อนเข้าใจได้ ทุกข้อ

แบบประเมินใบงาน เรื่อง สมบัติอื่น ๆ ของเลขยกกาลัง


ระดับคะแนน
เกณฑ์การประเมิน
4 3 2 1
แสดงการคิดคานวณ สามารถแสดงการคิด สามารถแสดงการคิด สามารถแสดงการคิด สามารถแสดงการคิด
โดยใช้สมบัติ คานวณโดยใช้สมบัติ คานวณโดยใช้สมบัติ คานวณโดยใช้สมบัติ คานวณโดยใช้สมบัติ
ของเลขยกกาลัง ของเลขยกกาลังได้ ของเลขยกกาลังได้ ของเลขยกกาลังได้ ของเลขยกกาลัง
อย่างถูกต้อง แม่นยา อย่างถูกต้อง แม่นยา อย่างถูกต้อง แต่ครู ได้อย่างถูกต้อง
ทุกข้อ พร้อมทั้ง ทุกข้อด้วยตนเอง ต้องแนะนาบางครั้ง โดยครูต้องแนะนา
อธิบาย และดูตัวอย่าง
ให้เพื่อนเข้าใจได้ จากหนังสือทุกข้อ
๓๙

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
4.1.1 ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ตั้งใจเรียน
4.1.2 เอาใจใส่และ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่
มีความเพียร และมีความเพียร และมีความเพียร ในการเรียน มีส่วนร่วม
พยายาม พยายาม พยายาม ในการเรียนรู้
ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ มีส่วน ในการเรียนรู้ มีส่วน และเข้าร่วมกิจกรรม
4.1.3 สนใจเข้าร่วม ร่วมในการเรียนรู้ ร่วมในการเรียนรู้ การเรียนรู้ต่าง ๆ
กิจกรรมการเรียนรู้ และเข้าร่วมกิจกรรม และเข้าร่วมกิจกรรม เป็นบางครั้ง
ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ
ทั้งภายในและภายนอก บ่อยครั้ง
โรงเรียนเป็นประจา

มุ่งมั่นในการทางาน
ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.1.1 เอาใจใส่ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ไม่ตั้งใจปฏิบัติ
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ หน้าที่การงาน
ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย
6.1.2 ตั้งใจและ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ
รับผิดชอบในการ ปรับปรุง ปรับปรุงและ
ทางานให้สาเร็จ และพัฒนาการ พัฒนาการทางาน
6.1.3 ปรับปรุงและ ทางาน ให้ดีขึ้น
พัฒนาการทางาน ให้ดีขึ้นด้วยตนเอง
ด้วยตนเอง
๔๐

ตัวชี้วัดที่ 6.2 ทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย


พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.2.1 ทุ่มเททางาน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ไม่ขยัน อดทน
อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน ไม่ย่อท้อต่อ อดทน ไม่ย่อท้อต่อ อดทน พยายามให้ ในการทางาน
ต่อปัญหาและ ปัญหา พยายาม ปัญหาในการทางาน งาน
อุปสรรคในการ แก้ปัญหาอุปสรรคใน พยายามให้งานสาเร็จ สาเร็จตามเป้าหมาย
ทางาน การทางาน ให้งาน ตามเป้าหมาย
6.2.2 พยายาม สาเร็จตามเป้าหมาย ชื่นชมผลงานด้วย
แก้ปัญหาและ ภายในเวลา ความภาคภูมิใจ
อุปสรรค ที่กาหนด ชื่นชมผลงาน
ในการทางานให้ ด้วยความภาคภูมิใจ
สาเร็จ
6.2.3 ชื่นชมผลงาน
ด้วยความภาคภูมิใจ

การจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้สมบัติเลขยกกาลัง
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
2. บทนิยามของเลขยกกาลัง
3. ตัวอย่างการอ่าน การเขียน และการหาค่าของเลขยกกาลัง
4. ตารางโจทย์ของเลขยกกาลัง ตารางที่ 1 และ 2
5. โจทย์การคูณเลขยกกาลัง
6. ตัวอย่างการคูณเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก
7. โจทย์การหารเลขยกกาลัง
8. ตัวอย่างการหารเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก
9. โจทย์การหาผลลัพธ์ของเลขยกกาลัง
๔๑

หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พหุนาม เวลา 10 ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รหัสวิชา ค 22101 วิชา คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลาดับและอนุกรม
และนาไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 1.2 ม. 2/1 เข้าใจหลักการดาเนินการของพหุนาม และใช้พหุนามในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
สาระการเรียนรู้
1. เอกนาม
2. นิพจน์ที่เป็นเอกนามและไม่เป็นเอกนาม
3. สัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนาม
4. เอกนามที่คล้ายกัน
5. การบวกเอกนามโดยใช้สมบัติการแจกแจง
6. การบวกเอกนามโดยใช้สมบัติต่าง ๆ
7. การลบเอกนาม
8. การบวก ลบระคนของเอกนาม
9. ลักษณะและการเขียนพหุนาม
10. การบวกพหุนาม
11. การลบพหุนาม
12. การคูณเอกนามกับเอกนาม
13. การคูณเอกนามกับพหุนาม
14. การหารเอกนามด้วยเอกนาม
15. การหารพหุนามด้วยเอกนาม

สาระสาคัญ
1. พหุนาม คือ นิพจน์ที่เขียนในรูปเอกนามหรือเขียนในรูปการบวกของเอกนามตั้ งแต่สองเอกนามขึ้นไป
ในพหุนามใด ๆ เรียกแต่ละเอกนามที่อยู่ในพหุนามว่า พจน์ของพหุนาม
2. การหาผลบวกของพหุนาม ทาได้โดยนาพหุนามมาเขียนในรูปการบวกและถ้ามีพจน์ที่คล้ายกัน ให้บวก
พจน์ที่คล้ายกันเข้าด้วยกัน
3. การลบพหุนามด้วยพหุนาม ทาได้โดยบวกพหุนามตัวตั้งด้วยพจน์ตรงข้ามของแต่ละพจน์ของพหุนามตัวลบ
๔๒

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. ใฝ่เรียนรู้
2. ความสามารถในการคิด ๒. มุ่งมั่นในการทางาน
- การให้เหตุผล การจาแนก การสรุปความรู้ การปฏิบัติ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

ภาระงานหลัก
1. ชิ้นงาน เรื่อง pop-up การหาผลบวกของพหุนาม
2. ใบงาน เรื่อง การบวกเอกนาม
3. ใบงาน เรื่อง การลบเอกนาม
4. ใบงาน เรื่อง การบวก ลบระคนของเอกนาม
5. ใบงาน เรื่อง การคูณเอกนามกับพหุนาม
6. ใบงาน เรื่อง การหารเอกนามด้วยเอกนาม
7. ใบงาน เรื่อง การหารพหุนามด้วยเอกนาม

การวัดและประเมินผล
1. ประเมินความรู้ เรื่อง เอกนาม เอกนามที่คล้ายกัน การบวก การลบเอกนาม พหุนาม การบวก การลบ
พหุนาม การคูณเอกนามกับเอกนาม การคูณเอกนามกับพหุนาม การหารเอกนามกับเอกนาม
การหารพหุนามด้วยเอกนาม (K) ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินการร่วมกิจกรรม กระบวนการทางาน กระบวนการทางานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินชิ้นงาน เรื่อง pop-up การหาผลบวกของพหุนาม (P) ด้วยแบบประเมิน
4. ประเมินใบงาน เรื่อง การบวกเอกนาม (P) ด้วยแบบประเมิน
5. ประเมินใบงาน เรื่อง การลบเอกนาม (P) ด้วยแบบประเมิน
6. ประเมินใบงาน เรื่อง การบวก ลบระคนของเอกนาม (P) ด้วยแบบประเมิน
7. ประเมินใบงาน เรื่อง การคูณเอกนามกับพหุนาม (P) ด้วยแบบประเมิน
8. ประเมินใบงาน เรื่อง การหารเอกนามด้วยเอกนาม (P) ด้วยแบบประเมิน
9. ประเมินใบงาน เรื่อง การหารพหุนามด้วยเอกนาม (P) ด้วยแบบประเมิน
10. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน (A) ด้วยแบบประเมิน
๔๓

แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)
แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการ 4 3 2 1
ประเมิน
กระบวนการ มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท มีการกาหนดบทบาท ไม่มีการกาหนด
ทางานกลุ่ม สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้าหมาย มีการชี้แจงเป้าหมาย ไม่มีการชี้แจง และไม่มีการชี้แจง
การทางาน มีการ อย่างชัดเจนและ เป้าหมาย เป้าหมาย สมาชิก
ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน อย่างชัดเจน ต่างคนต่างทางาน
อย่างร่วมมือร่วมใจ แต่ไม่มีการประเมิน ปฏิบัติงานร่วมกัน
พร้อมกับการประเมิน เป็นระยะ ๆ ไม่ครบทุกคน
เป็นระยะ ๆ

แบบประเมินชิ้นงาน เรื่ อง pop-up การหาผลบวกของพหุนาม

รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
pop-up การหา ประดิษฐ์ชิ้นงาน ประดิษฐ์ชิ้นงาน ประดิษฐ์ชิ้นงานได้ ประดิษฐ์ชิ้นงานได้
ผลบวกของพหุนาม แล้วเสร็ จได้ดว้ ย แล้วเสร็ จได้ดว้ ย เนื้อหาถูกต้อง เนื้อหาถูกต้อง
ตนเอง เนื้ อหา ตนเอง เนื้ อหา ตามหลักวิชา โดยมี ตามหลักวิชา
ถูกต้องแม่นยา ตาม ถูกต้องแม่นยา ตาม ครู แนะนาบางครั้ง โดยมีครู และเพื่อน
หลักวิชาและ หลักวิชา แนะนาทุกครั้ง
อธิบายให้เพื่อน
เข้าใจได้อย่างถูกต้อง
๔๔

แบบประเมินใบงาน เรื่ อง การบวกเอกนาม

รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงการบวก แสดงการบวกเอก แสดงการบวกเอก แสดงการบวกเอก แสดงการบวกเอก
เอกนาม นาม ได้ถูกต้อง นาม ได้ถูกต้อง นาม ได้ถูกต้อง นาม ได้ถูกต้อง
แม่นยา แม่นยา โดยดูตวั อย่างจาก โดยครู ตอ้ งแนะนา
ครบทุกข้อด้วย ครบทุกข้อด้วย หนังสื อ และดูตวั อย่าง
ตนเองพร้อมทั้ง ตนเอง และให้เพื่อนอธิบาย จากหนังสื อประกอบ
สามารถอธิบายให้ บางข้อ ทุกข้อ
เพื่อน
เข้าใจได้

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การลบเอกนาม


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงการลบ แสดงการลบเอกนาม แสดงการลบเอกนาม แสดงการลบเอกนาม แสดงการลบเอกนาม
เอกนาม ได้ถูกต้องแม่นยา ได้ถูกต้องแม่นยา ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง
ครบทุกข้อด้วยตนเอง ครบทุกข้อด้วยตนเอง โดยดูตัวอย่าง โดยครูต้องแนะนา
พร้อมทั้งสามารถ จากหนังสือ และดูตัวอย่าง
อธิบายให้เพื่อน และให้เพือ่ นอธิบาย จากหนังสือประกอบ
เข้าใจได้ บางข้อ ทุกข้อ

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การบวก ลบระคนของเอกนาม


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงการบวก แสดงการบวก ลบ แสดงการบวก ลบ แสดงการบวก ลบ แสดงการบวก ลบ
ลบระคนของเอก ระคนของเอกนาม ระคนของเอกนาม ระคนของเอกนาม ระคนของเอกนาม
นาม ได้ถูกต้องแม่นยา ได้ถูกต้องแม่นยา ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง
ครบทุกข้อด้วยตนเอง ครบทุกข้อด้วยตนเอง โดยดูตัวอย่าง โดยครูต้องแนะนา
พร้อมทั้งสามารถ จากหนังสือ และดูตัวอย่าง
อธิบายให้เพื่อน และให้เพื่อนอธิบาย จากหนังสือประกอบ
เข้าใจได้ บางข้อ ทุกข้อ
๔๕

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การคูณเอกนามกับพหุนาม


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงการคูณ แสดงการคูณ แสดงการคูณ แสดงการคูณ แสดงการคูณ
เอกนามกับพหุนาม เอกนามกับพหุนาม เอกนามกับพหุนาม เอกนามกับพหุนาม เอกนามกับพหุนาม
ได้ถูกต้องแม่นยา ได้ถูกต้องแม่นยา ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง
ครบทุกข้อด้วยตนเอง ครบทุกข้อด้วยตนเอง โดยดูตัวอย่าง โดยครูต้องแนะนา
พร้อมทั้งสามารถ จากหนังสือ และดูตัวอย่าง
อธิบายให้เพื่อน และให้เพื่อนอธิบาย จากหนังสือประกอบ
เข้าใจได้ บางข้อ ทุกข้อ

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การหารเอกนามกับพหุนาม


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงการหาร แสดงการหาร แสดงการหาร แสดงการหาร แสดงการหาร
เอกนามกับพหุนาม เอกนามกับพหุนาม เอกนามกับพหุนาม เอกนามกับพหุนาม เอกนามกับพหุนาม
ได้ถูกต้องแม่นยา ได้ถูกต้องแม่นยา ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง
ครบทุกข้อด้วยตนเอง ครบทุกข้อด้วยตนเอง โดยดูตัวอย่าง โดยครูต้องแนะนา
พร้อมทั้งสามารถ จากหนังสือ และดูตวั อย่าง
อธิบายให้เพื่อน และให้เพื่อนอธิบาย จากหนังสือประกอบ
เข้าใจได้ บางข้อ ทุกข้อ

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การหารพหุนามด้วยเอกนาม


รายการการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
แสดงการหาร แสดงการหาร แสดงการหาร แสดงการหาร แสดงการหาร
พหุนามด้วยเอก พหุนามด้วยเอกนาม พหุนามด้วยเอกนาม พหุนามด้วยเอกนาม พหุนามด้วยเอกนาม
นาม ได้ถูกต้องแม่นยา ได้ถูกต้องแม่นยา ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง
ครบทุกข้อด้วยตนเอง ครบทุกข้อด้วยตนเอง โดยดูตัวอย่าง โดยครูต้องแนะนา
พร้อมทั้งสามารถ จากหนังสือ และดูตัวอย่าง
อธิบายให้เพื่อน และให้เพื่อนอธิบาย จากหนังสือประกอบ
เข้าใจได้ บางข้อ ทุกข้อ
๔๖

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
4.1.1 ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ตั้งใจเรียน
4.1.2 เอาใจใส่และ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่
มีความเพียร และมีความเพียร และมีความเพียร ในการเรียน มีส่วนร่วม
พยายาม พยายาม พยายาม ในการเรียนรู้
ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ มีส่วน ในการเรียนรู้ มีส่วน และเข้าร่วมกิจกรรม
4.1.3 สนใจเข้าร่วม ร่วมในการเรียนรู้ ร่วมในการเรียนรู้ การเรียนรู้ต่าง ๆ
กิจกรรมการเรียนรู้ และเข้าร่วมกิจกรรม และเข้าร่วมกิจกรรม เป็นบางครั้ง
ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ
ทั้งภายในและภายนอก บ่อยครั้ง
โรงเรียนเป็นประจา

มุ่งมั่นในการทางาน
ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.1.1 เอาใจใส่ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ไม่ตั้งใจปฏิบัติ
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ หน้าที่การงาน
ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย
6.1.2 ตั้งใจและ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ มีการ ให้สาเร็จ
รับผิดชอบในการ ปรับปรุง ปรับปรุงและ
ทางานให้สาเร็จ และพัฒนาการ พัฒนาการทางาน
6.1.3 ปรับปรุงและ ทางาน ให้ดีขึ้น
พัฒนาการทางาน ให้ดีขึ้นด้วยตนเอง
ด้วยตนเอง
๔๗

ตัวชี้วัดที่ 6.2 ทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย


พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
6.2.1 ทุ่มเททางาน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ทางานด้วยความขยัน ไม่ขยัน อดทน
อดทน ไม่ย่อท้อ อดทน ไม่ย่อท้อต่อ อดทน ไม่ย่อท้อต่อ อดทน พยายามให้ ในการทางาน
ต่อปัญหาและ ปัญหา พยายาม ปัญหาในการทางาน งาน
อุปสรรคในการ แก้ปัญหาอุปสรรคใน พยายามให้งานสาเร็จ สาเร็จตามเป้าหมาย
ทางาน การทางาน ให้งาน ตามเป้าหมาย
6.2.2 พยายาม สาเร็จตามเป้าหมาย ชื่นชมผลงานด้วย
แก้ปัญหาและ ภายในเวลา ความภาคภูมิใจ
อุปสรรค ที่กาหนด ชื่นชมผลงาน
ในการทางานให้ ด้วยความภาคภูมิใจ
สาเร็จ
6.2.3 ชื่นชมผลงาน
ด้วยความภาคภูมิใจ

การจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้พหุนาม
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
2. ข้อความทางคณิตศาสตร์
3. ตัวอย่างนิพจน์
4. ใบกิจกรรม
5. ตัวอย่างนิพจน์ที่เป็นเอกนามและไม่เป็นเอกนาม
6. ตัวอย่างเอกนามที่คล้ายกันและเอกนามที่ไม่คล้ายกัน
7. บัตรเอกนาม
๔๘

การวัดและประเมินผลรายวิชา ค 2๒10๑ คณิตศาสตร์


การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในรายวิชา ค 2๒10๑ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนหมื่นศรีประชาสรรค์
ได้กาหนดแนวทางการวัดและประเมินผลไว้ดังนี้
1. การประเมินผลการเรียนรู้ กาหนดคะแนนการประเมินเป็น 2 ส่วน ดังนี้
1.1 คะแนนการประเมินระหว่างเรียน 70 %
1.2 คะแนนการประเมินปลายปี 30 %
โดยที่คะแนนการประเมินระหว่างเรียน ได้มาจากคะแนนเก็บรายหน่วยการเรียนรู้ที่ระบุไว้
ในโครงสร้างรายวิชา และคะแนนการประเมินปลายปี ได้มาจากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายปีและจากแฟ้ม
สะสมผลงาน (Portfolio) ตามระเบียบการวัดและประเมินผลที่โรงเรียนกาหนดไว้ รายละเอียดดังนี้
การประเมิน วิธีการประเมิน (เก็บจาก) คะแนน รวม
1. การประเมินระหว่างเรียน 1. ชิ้นงาน/ภาระงานในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ 70 100
(70 %) จานวน 6 หน่วยการเรียนรู้ คะแนน
2. การประเมินปลายปี 2. สอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายปี ๓๐
(30 %)

2. การตัดสินผลการเรียน
2.1 นักเรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียน
2.2 นักเรียนต้องผ่านการประเมินตัวชี้วัดทุกตัวตามที่หลักสูตรกาหนด
2.3 นักเรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนผ่านระดับ 1 ขึ้นไป
ลัก ูตร ถาน ึก า ราย ิชาคณิต า ตร์
โรงเรียน มื่น รีประชา รรค์ อาเภอ าโรงทาบ จัง ัด ุรินทร์
านักงานเขตพื้นที่การ ึก าประถม ึก า ุรินทร์ เขต ๑
านักงานคณะกรรมการการ ึก าขั้นพื้นฐาน กระทร ง ึก าธิการ

You might also like