Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 24

หน่ วยการเรียนรู้ท่ 1ี

เรื่ อง ระบบประสาทและอวัยวะรั บความรู้ สึก


หัวข้ อ : การทางานของเซลล์ ประสาท

สอนโดย ครูชาริยา แสนขอมดา


จุดประสงค์การเรี ยนรู ้

1. อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของศักย์ไฟฟ้าที่เยือ่ หุ ม้ เซลล์ของเซลล์ประสาท
2. อธิ บายเกี่ยวกับกลไกการเกิดกระแสประสาทและการถ่ายทอดกระแสประสาท
การทางานของเซลล์ ประสาท

• เซลล์ประสาทแต่ละเซลล์สามารถรับและส่งข้ อมูลถึงกันได้
เพราะมีกระแสประสาท มีการนากระแสประสาท และการ
ถ่ายทอดกระแสประสาท
• โดยกระแสประสาทนี ้เป็ นสัญญาณเคมีไฟฟ้าที่เกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้าที่เยื่อหุ้มเซลล์ประสาท
• เมื่อมีการกระตุ้นเซลล์ประสาทจะทาให้ เกิดเป็ นกระแส
ประสาทขึ ้น
• สิ่งเร้ าชนิดต่างๆ เช่น เสียง ความร้ อน สารเคมีที่มากระตุ้น
หน่วยรับความรู้สกึ จะถูกเปลี่ยนให้ เป็ นกระแสประสาท
การเกิดกระแสประสาท

• จากการวิจยั ของนักสรี รวิทยาหลายท่าน โดยเฉพาะ ฮอดจ์


กิน (A.L. Hodgkin) และ ฮักซเลย์ (A.F. Huxley) ผู ้
ได้รับรางวัลโนเบลในปี พ.ศ. 2506 ทาให้ทราบว่ากระแส
ประสาทเกิดได้อย่างไร
• โดยการนาไมโครอิเล็กโทรด (microelectrode) ซึ่งมี
ลักษณะเป็ นหลอดแก้วที่ดึงยาว ตรงปลายเรี ยวเป็ นท่อขนาดเล็ก
มาต่อกับ มาตรวัดความต่างศักย์ไฟฟ้า (cathode
rayoscilloscope)
• จากนั้นเสี ยบปลายของไมโครอิเล็กโทรดเข้าไปในแอกซอนของ
หมึกและแตะปลายอีกข้างหนึ่งที่ดา้ นผิวนอกของแอกซอนของ
หมึก
• เยือ่ หุม้ เซลล์ประสาทเป็ นฟอสโฟลิพิด
จัดเรี ยงตัวกัน 2 ชั้น จามีคุณสมบัติ
ป้องกันไม่ให้ไอออนผ่านเข้าออกได้อย่าง
อิสระ
• ที่เยือ่ หุม้ เซลล์จะมีโปรตีนแทรกอยูท่ าให้
เกิดช่องที่ทาให้ไอออนสามารถผ่านได้
ตามความแตกต่างของความเข้มข้นของ
ไอออน
ungate channel
gate channel
• เช่น ซึ่ งมีท้ งั แบบไม่มีประตู (ungated
channel) และมีประตู (gate
channel)
ผลการทดลอง
• สามารถวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่าง
ภายในและภายนอกเซลล์ประสาทของหมึก
• พบว่ามีคา่ ประมาณ -70 มิลลิโวลต์ซงึ่ เป็ น
ศักย์เยื่อเซลล์ระยะพัก (resting
membrane potential)
• เยื่อหุ้มเซลล์มีโปรตีนทาหน้ าที่ควบคุมการเข้ า
ออกของไอออนบางชนิดเช่น
• Na+ เรี ยกว่า ช่องโซเดียม
• K+ เรี ยกว่า ช่องโพแทสเซียม
• ขณะเซลล์ประสาทยังไม่ถกู กระตุ้น พบว่า
Na+สู ง
K+ ต่า • สารละลายภายนอกเซลล์มี Na+ สูงกว่า
สารละลายภายในเซลล์
• ขณะที่สารละลายภายในเซลล์มี K+ สูงกว่า
Na+ต่า
K+ สู ง สารละลายภายนอกเซลล์
ATP ไปดัน Na+ ออกไป นาNa+ ออกไป 3
• การที่เซลล์สามารถดารงความเข้ มข้ นของ
นอกเซลล์ทางช่องโซเดียม
ไอออนที่แตกต่างกันนี ้เพราะอาศัยพลังงานจาก
ATP ไปดัน Na+ ออกไปนอกเซลล์ทางช่อง
โซเดียม พร้ อมกับดึง K+ เข้ าไปในเซลล์ทาง
ช่องโพแทสเซียม ในอัตราส่วน 3Na+ :
2K+ เรี ยกกระบวนการนี ้ว่า โซเดียม
โพแทสเซียมปั ้ม(sodium-
potassium pump)
ดึง K+ เข้ าไปในเซลล์ทาง
ช่องโพแทสเซียม 2K+
• เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุน้ เซลล์ประสาทในระดับที่เซลล์
สามารถตอบสนองได้ จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ
ศักย์เยือ่ เซลล์ คือทาให้ช่องโซเดียมเปิ ด
• Na+ จึงพรู เข้าไปในเซลล์มากขึ้น ภายในเซลล์จะเป็ นลบ
น้อยลง และมีความเป็ นบวกมากขึ้น
• ความต่างศักย์ที่เยือ่ เซลล์จะเปลี่ยนจาก -70 มิลลิโวลต์ เป็ น
ประมาณ +30 มิลลิโวลต์เรี ยกว่า ดีโพรลาไรเซชัน
(depolarization)
• เมื่อ Na+ ผ่านเข้าไปในเซลล์สกั ครู่ หนึ่ง ช่องโซเดียม
จะปิ ด
• ขณะที่ช่องโพรแทสเซียมจะเปิ ด
• ทาให้ K+ พรู ออกนอกเซลล์ได้ทาให้เซลล์สูญเสี ยประจุ
บวกและภายในเซลล์เปลี่ยนเป็ นประจุลบเรี ยกว่า รี โพรลา
ไรเซชัน(repolarization)
• ความต่างศักย์จะเปลี่ยนกลับจาก +30 มิลลิโวลต์ เป็ น -70
มิลลิโวลต์
• ระยะพัก(resting state)
• เป็ นระยะทีเ่ ซลล์ประสาทยังไม่ ถูกสิ่ งเร้ า
กระตุ้น
• ศักย์ ไฟฟ้ าเยื่อเซลล์มีค่าเป็ น-70มิลลิโวลต์
• เพราะช่ องโซเดียมทีม่ ีประตูเปิ ดแบบพร้ อม
ใช้ งานและช่ องโพแทสเซียมทีม่ ีประตูเปิ ด
เช่ นกัน แต่ เซลล์ยงั รักษาปริมาณไอออนทั้ง
สองไว้ ได้ ด้วยการทางานของโซเดียม
โพแทสเซียมปั๊ม
• ระยะดีโพลาไรเซชัน(depolarization)
• เป็ นระยะที่เซลล์ประสาทถูกสิ่ งเร้ามากระตุน้
• ศักย์ไฟฟ้าเยือ่ เซลล์จะมีค่าเป็ นบวกมากขึ้นหรื อ
ประมาณ-50 มิลลิโวลต์
• ช่องโซเดียมเปิ ด ช่องโพแทสเซียมปิ ด
• โซเดียมไอออนเริ่ มเข้าสู่ ภายในเซลล์ มีความเป็ น
บวกมากขึ้น
• ถ้าการกระตุน้ ถึงระดับเทรสโฮลด์ จะทาาให้เกิด
แอกชันโพเทนเชียล
• ค่าความต่างศักย์ที่เยือ่ หุม้ เซลล์เปลี่ยนแปลงจาก
-70 มิลลิโวลต์ เป็ น +30 มิลลิโวลต์
• ระยะ รีโพลาไรเซชัน
(repolarization)
• ช่องโซเดียมจะปิ ด ขณะที่ช่องโพแทสเซียม
จะเปิ ด
• ความต่างศักย์ จะเปลี่ยนจาก +30 มิลลิ
โวลต์ เป็ น-70มิลลิโวลต์
• กลับสู่ สภาพเดิม
• ระยะไฮเพอร์โพลาไรเซชัน
(Hyperpolarization)
• เป็ นระยะที่ศกั ย์ไฟฟ้าเยือ่ เซลล์มีค่าเป็ นลบมาก
ที่สุดโดยมีค่า เป็ นลบมากกว่าระยะพัก
• เพราะช่องโซเดียมที่มีประตูเปลี่ยนจากสถานะ
ปิ ดแบบไม่พร้อมใช้งาน”เป็ น “ปิ ดแบบ
พร้อมใช้งาน”ทาาให้โซเดียมไอออนยังคงไม่
สามารถผ่านเข้าเซลล์ ได้ ขณะที่ช่อง
โพแทสเซียมที่มีประตยังคงเปิ ดอยู่ทาให้
โพแทสเซียมไอออนผ่านออกนอกเซลล์
• แต่เมื่อ เวลาผ่านไปช่องโพแทสเซียมที่มีประตูจะ
ปิ ด ค่าศักย์ไฟฟ้าเยือ่ เซลล์จะเข้าสู่ ระยะพัก
• การเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ดงั กล่าว
เรี ยกว่า แอกชันโพเทนเชียล (action
potential)
• ซึ่งทาให้เกิด กระแสประสาท (บริ เวณที่
ถูกกระตุน้ และจะชักนาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงที่บริ เวณถัดไป ขณะที่
บริ เวณที่เกิดแอกชันโพเทนเชียล แล้วจะ
กลับสู่ สภาพศักย์ไฟฟ้าระยะพักอีกครั้ง
หนึ่ง
• กระบวนการดังกล่าวเกิดขึ้นเรื่ อยๆไป ทา
ให้กระแสประสาทเคลื่อนที่ไปตามความ
ยาวของใยประสาท (axon) ที่ไม่มีเยือ่
ไมอีลินหุม้ แบบจุดต่อจุดต่อเนื่องกัน
จนถึงปลายแอกซอน
• ใยประสาทที่มีเยือ่ ไมอีลินหุม้ จะไม่มีแอกชันโพ
เทนเชียลเกิดขึ้นตรงบริ เวณนั้น เนื่องจากเยือ่ นี้จะทา
หน้าที่เป็ นฉนวนกั้นประจุไฟฟ้า
• ดังนั้นแอกชันโพเทนเชียล จะเคลื่อนที่จากบริ เวณ
โนดออฟเรนเวียร์หนึ่งไปยังโนดออฟเรนเวียร์
ถัดไปตลอดความยาวของใยประสาท ซึ่ งเป็ น
บริ เวณของแอกซอนที่ไม่มีเยือ่ ไมอีลินหุม้
• การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทดังกล่าวจึงมี
ลักษณะเสมือนกระโดดจากโนดออฟเรนเวียร์ หนึ่ ง
ไปยังโนดออฟเรนเวียร์ถดั ไปเรื่ อยๆ
• ซึ่ งใช้เวลาในการเคลื่อนที่นอ้ ยกว่าการเคลื่อนที่ของ
กระแสประสาทในใยประสาทที่ไม่มีเยือ่ ไมอีลินหุม้
การเคลื่อนที่ของกระแสประสาท

• กระแสประสาทจะไม่เกิดขึ้นถ้ากระตุน้ ด้วยความแรงน้อยเกินกว่าระดับหนึ่ ง ถ้ากระตุน้ ด้วยความแรงมากก็


ไม่ทา ให้กระแสประสาทเคลื่อนที่เร็ วขึ้น กระแสประสาทเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วเท่าเดิม เพราะว่าการ
เคลื่อนที่ของกระแสประสาทใช้พลังงานภายในเซลล์ความเร็ วของกระแสประสาทในใยประสาทขึ้นอยูก่ บั
• 1. เยือ่ ไมอีลิน ถ้ามีจะเคลื่อนที่เร็ วกว่าเซลล์ประสาทที่ไม่มีเยือ่ ไมอีลิน
2. Node of Ranvier ถ้าห่างมากกระแสประสาทจะเคลื่อนที่เร็ ว
3. เส้นผ่านศูนย์กลาง ถ้ามีขนาดใหญ่จะเคลื่อนที่เร็ ว
การถ่ ายทอดกระแสประสาทระหว่ างเซลล์ ประสาท
• การถ่ายทอดกระแสประสาทเกิดที่บริเวณไซแนปส์
(synaptic cleft) ระหว่างเซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์
(presynaptic components) กับเซลล์ประสาท
หลังไซแนปส์ (postsynaptic components)
หรื อเซลล์ถดั ไป
• โดยระหว่าง 2 เซลล์นี ้จะมีช่องไซแนปส์ซงึ่ มีขนาด 0.02
ไมโครเมตรทาให้ กระแสประสาทต้ องสามารถผ่านช่วงนี ้ไปได้
• ดังนันร่
้ างกายจึงต้ องมีการสร้ างกลไกในการถ่ายทอดกระแส
ประสาทให้ ผ่านช่องดังกล่าวนันคื ้ อการไซแนปส์
• ซึง่ แบ่งออกเป็ น 2 ชนิดได้ แก่
• ไซแนปส์เคมี(chemical synapse)
• ไซแนปส์ไฟฟ้า (electrical synapse)
ไซแนปส์เคมี(chemical synapse)
พบได้ในสัตว์มีกระดูกสันหลัง

• นักวิทยาศาสตร์ชื่อ ออทโต ลอวิ (Otto Loewi)


• ได้ทาการทดลองนาหัวใจกบที่ยงั มีชีวิตและยังมี
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 10ติดอยู่ มาใส่ ในแก้วที่มีน้ าเกลือ
แล้วกระตุน้ เซลล์ประสาทดังกล่าวด้วยกระแสไฟฟ้า พบว่า
หัวใจของกบเต้นช้าลง เมื่อดูดสารละลายจากแก้วที่ 1 มา
ใส่ ลงในแก้วที่ 2 ซึ่งมีหวั ใจกบที่ตดั เอาเส้นประสาทสมอง
คู่ที่ 10 ออกไป พบว่าหัวใจของกบในแก้วที่ 2 มีอตั ราการเต้น
ของหัวใจช้าลงเช่นเดียวกัน
• การทดลองครัง้ นี ้แสดงให้ เห็นว่าการกระตุ้นเส้ นประสาทสมอง
คูท่ ี่ 10 จะทาให้ เกิดการปล่อยสารบางชนิดออกมายับยังการ้
ทางานของกล้ ามเนื ้อหัวใจ เช่นเดียวกับการกระตุ้นใยประสาท
ที่ไปเลี ้ยงกล้ ามเนื ้อนันโดยมี
้ การหลัง่ สารจากปลายประสาท
กระตุ้นให้ กล้ ามเนื ้อหดตัว
• สารที่หลัง่ ออกจากจากใยประสาทเรี ยกว่า สารสื่อประสาท
(neurotransmitter)
• ต่อมามีการค้ นพบว่าที่บริ เวณปลายแอกซอนมีสารดังกล่าวที่
ปริ มาณสูงมาก ทาหน้ าที่เป็ นตัวกลางถ่ายทอดกระแสประสาท
จากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง
• ปั จจุบนั พบว่าสารสื่อประสาทมีหลายชนิด เช่นแอซิตลิ โคลีน
(acetylcholine) นอร์ เอพิเนฟริ น (nor
epinephrine) เอนดอร์ ฟิน (endorphin) เป็ นต้ น
• ซึง่ จากการทดลองของออทโต ลอวิ พบว่าสารที่หลัง่ ออกมา
จากเส้ นประสาทสมองคูท่ ี่ 10 เมื่อกระตุ้นด้ วยกระแสไฟฟ้า คือ
แอซิตินโคลีน
• เมื่อศึกษาด้ วยกล้ องจุลทรรศน์
อิเล็กตรอน พบว่ารอยต่อระหว่างเซลล์
ประสาทที่เรี ยกว่า ไซแนปส์นนจะมี
ั ้ ช่อง
ขนาด 0.02ไมโครเมตร คัน่ อยู่ ทาให้
กระแสประสาทไม่สามารถข้ ามผ่าน
ไซแนปส์ได้
• ที่ปลายแอกซอนจะมีถงุ ขนาดเล็กและไมโทคอนเดรี ย
สะสมอยูม่ ากภายในถุงเหล่านี ้จะบรรจุสารสื่อประสาท
• เมื่อกระแสประสาทเคลื่อนที่มาถึงปลายแอกซอน ถุงเล็กๆ
ดังกล่าวจะเคลื่อนไปรวมตัวกับเยื่อหุ้มเซลล์ตรงบริเวณ
ถุงบรรจุสารสื่ อประสาท ไซแนปส์ และปล่อยสารสื่อประสาทออกมา เพื่อกระตุ้น
เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์ถดั ไปทาให้ เซลล์ประสาทที่ถกู
สารสื่ อประสาท กระตุ้นมีกระแสประสาทเกิดขึ ้นและถูกถ่ายทอดต่อไป
จนถึ
โปรตีนตัวรับที่เยื่อหุ้มเซลล์
ง ปลายทาง
ไซแนปส์
• เมื่อสารสื่อประสาทถูกปล่อยออกมาจากถุงบรรจุสารสื่อ
ประสาทที่เยื่อหุ้มปลายแอกซอนเข้ าสูช่ ่องไซแนปส์ สารสื่อ
ประสาทจะไปจับกับโปรตีนตัวรับที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์
เดนไดรต์/ตัวเซลล์ ประสาทหลังไซแนปส์ทาให้ เกิดการเคลื่อนที่ของไอออน
ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เกิดการเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ที่เดน
ไดรต์ของเซลล์ประสาทต่อไป
ไซแนปส์ไฟฟ้า (electrical synapse)

• เกิดขึ ้นที่รอยต่อระหว่างเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์ประสาทก่อน
ไซแนปส์และเซลล์ประสาทหลังไซแนปส์ที่อยูช่ ิดกันจนเสมือน
เป็ นเยื่อหุ้มเซลล์เดียวกันซึง่ เกิดจากการเชื่อมติดกันของ
โปรตีนรวมกันเป็ นช่อง
• ทาให้ Action potential จากเซลล์ประสาทก่อน
ไซแนปส์สามารถผ่านช่องโปรตีนเข้ าสูเ่ ซลล์ประสาทหลัง
ไซแนปส์ได้ โดย
• สามารถพบได้ ที่กล้ ามเนื ้อหัวใจหรื อบางบริเวณของสมอง
มนุษย์
ไซแนปส์เคมี ไซแนปส์ไฟฟ้า

https://qph.fs.quoracdn.net/main-qimg-
9ce17cb015ae65fd6bc99442e9b9499

You might also like