Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 32

นวัตกรรมการนิเทศ

เพื่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนของโรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม
ปีการศึกษา 2563

โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม
ตาบลบ้านยาง อาเภอลาทะเมนชัย จังหวัดนครราชสีมา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คานา
แผนการนิเทศภายในสถานเล่มนี้เป็นเครื่องมือและทิศทางในการนิเทศภายในสถานศึกษาของ
โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7 โดยมีความมุ่งหวัง
ในการพัฒนาพร้อมกับยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนทั้งระบบ ตามกรอบภาระงานใน 4 กลุ่มงาน
ของโรงเรียน จุดมุ่งหมายสาคัญคือ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น เป็นไปตามาตรฐาน
การศึกษาแห่งชาติ แผนการนิเทศเล่มนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความร่วมมือของคณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา
ผู้นาชุมชน ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียนได้ร่วมให้ข้อคิดพร้อมกับเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาคุณภาพ
ของผู้เรียน ทั้งระบบผู้รับบริการ มีความพึงพอใจเป็นอย่างยิ่ง

ขอขอคุณคณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้นาชุมชน ผู้ปกครองนักเรียนและนักเรียนที่ได้ให้


ความร่วมมือ ในการจัดทาแผนการนิเทศภายในสถานศึกษาเล่มนี้จนสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม
มีนาคม 2563
สารบัญ
หน้า
คานา
บทที่ 1 บทนา
ข้อมูลทั่วไป
การบริหารจัดการสถานศึกษา
กระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วม
แผนภูมิการบริหารจัดการสถานศึกษา
NONG-OR Model แผนที่กลยุทธ์นวัตกรรมการบริหารแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์
เป้าหมายความสาเร็จเมื่อสิ้นภาคเรียน ปีการศึกษา 2563
จุดหมายสาคัญของการนิเทศภายในสถานศึกษา
บทที่ 2 กระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษา
ขั้นตอนการนิเทศภายในสถานศึกษา
บทที่ 3 กิจกรรม รูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาและแบบประเมินการนิเทศ
รูปแบบการประชุมเชิงปฏิบัติการ
รูปแบบการนิเทศชั้นเรียน
รูปแบบการสังเกตการสอน
รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
บทที่ 4 แผนการนิเทศ กิจกรรม ตารางการนิเทศ
ตารางการนิเทศครูผู้สอน
ตารางการนิเทศภาระงานที่มอบหมาย
ภาคผนวก
คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทาแผนการนิเทศภายในสถานศึกษา
บทที่ 1
บทนา
ข้อมูลทั่วไป
โรงเรี ย นหนองอ้ อวิ ทยาคม ตั้ ง อยู่ บ้า นอ้อ หมู่ ที่ 13 ตาบลบ้ านยาง อ าเภอล าทะเมนชั ย จั งหวั ด
นครราชสีมา รหัสไปรษณีย์ 30270 โทรศัพท์ 095-8180800 E-mail : nongorwittayakom@gmail.com
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7 สานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้น พื้นฐาน โดยจั ดการศึกษา 2 ระดับ ตั้งแต่ระดับการศึกษาปฐมวัย ถึ งระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ปี
การศึกษา 2563 มีนักเรียน 113 คน ข้าราชการครู 7 คน ครูอัตราจ้าง 2 คน เจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน
นักการภารโรง 1 คน รวมบุคลากรในสถานศึกษาทั้งสิ้น 11 คน บริหารจัดการโดยใช้รูปแบบกระบวนการ
การมีส่วนร่วม โดยยึดหลักธรรมาภิบาล ตามกรอบภาระกลุ่มงาน 4 กลุ่มงาน ได้แก่
1. งานวิชาการ
2. งานงบประมาณ
2.1 งานการเงิน
2.2 งานพัสดุ
3. งานบุคคล
4. งานบริหารทั่วไป
4.1 งานธุรการ
4.2 งานกิจการนักเรียน/การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน
4.3 งานดูแลช่วยเหลือนักเรียน
4.3.1 โครงการเรียนฟรี 15 ปี โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
4.3.2 โครงการอาหารกลางวัน
4.3.3 โครงการอาหารเสริมนม
4.3.4 งานดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็นพิเศษ
- นักเรียนยากจน
- นักเรียนมีปัญหาครอบครัว
- นักเรียนมีปัญหาการเรียนรู้ช้า/เด็กพิการ
- ทุนการศึกษาสาหรับนักเรียน
4.4 งานอาคารสถานที่
4.5 งานสัมพันธ์ชุมชน
4.6 งานอื่นๆ
การบริหารจัดการสถานศึกษา
การบริหารจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7 แบ่ง
โครงสร้างการบริหารงานเป็น 4 ด้าน ได้แก่
1. ด้านการบริหารงานวิชาการ
2. ด้านการบริหารงานงบประมาณ
3. ด้านการบริหารงานบุคคล
4. ด้านการบริหารงานทั่วไป
โดยผู้บริหารใช้ “รูปแบบกระบวนการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม” โดยใช้แผนที่กลยุทธ์ในการบริหารจัดการ

รูปแบบกระบวนการการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม โดยใช้กระบวนการ PDCA


ของโรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7

ร่วมวิเคราะห์ข้อมูล วางแผน
ศึกษาสภาพปัจจุบัน
ปัญหา และความต้องการ
ในรูปแบบคณะกรรมการ

P
ร่วมประเมินผล
พัฒนารายงานผล
ในรูปแบบคณะกรรมการ
A D
ร่วมดาเนินงาน
ในรูปแบบคณะกรรมการ

C
ร่วมตรวจสอบผลการดาเนินงาน
ในรูแบบปคณะกรรมการ
กระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วม
โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7 มีขั้นตอน
และวิธีการบริหารแบบมีส่วนร่วม ดังนี้
ขั้นที่ 1 กาหนดรูปแบบและวิธีการ
ขั้นที่ 2 กาหนดผู้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการสถานศึกษา
ขั้นที่ 3 ดาเนินการให้เกิดการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการศึกษา
ขั้นที่ 4 พัฒนาประสิทธิภาพการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการสถานศึกษา

โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7

ผู้มีส่วนร่วม รูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วม ภาระงานในการบริหาร

1. คณะครู 1. วิเคราะห์ ศึกษาสภาพปัจจุบัน 1. งานวิชาการ


2. คณะกรรมการฯ ปัญหา 2. งานงบประมาณ
3. คณะกรรมการที่ปรึกษา 2. วางแผน 3. งานบุคคล
ผู้นาชุมชน 3. ดาเนินงานตามแผน 4. งานบริหารทั่วไป
4. ผู้ปกครองนักเรียน 4. ตรวจสอบประเมินผล 5. งานอื่นๆ
5. ผู้นานักเรียน 5. ปรับปรุงพัฒนาคุณภาพ

คุณภาพผู้เรียน
คุณภาพสถานศึกษา
แผนภูมิขอบข่ายการบริหารจัดการภายในสถานศึกษา โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม สพป.นครราชสีมา เขต 7
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้บริหาร กรรมการที่ปรึกษา

งานบริหารวิชาการ งานบริหารงบประมาณ งานบริหารบุคคล งานบริหารทั่วไป


น.ส.ละออง มุ่งแซกกลาง นางอุไร ภายสันใจ น.ส.สุคนธลักษณ์ คาไทย นางสุวารี ไวยวุฒินันท์
น.ส.ธนพร คาสวัสดิ์ น.ส.จรรยา สวามีชัย น.ส.ศิริกาญจน์ รุ่งเป้า น.ส.วิศิราณี หะดี

- การพัฒนาหลักสูตร - การจัดทาและเสนอของบประมาณ - การแสวงหาอัตรากาลัง - การดาเนินงานธุรการ


- การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ - งานเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษา
- การจัดสรรงบประมาณ และการ กาหนดตาแหน่ง
- การวัดผล ประเมินผล การเทียบโอนผลการเรียน ขั้นพื้นฐาน
- การวิจยั เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา - การตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล - การสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง - งานพัฒนาระบบและเครือข่ายการศึกษา
- การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี ทางการศึกษา และรายงานการใช้เงิน - การเสริมสร้างประสิทธิภาพ - การประสานและพัฒนาเครือข่ายการศึกษา
- การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ - การจัดระบบการบริหารและพัฒนาองค์กร
และผลการดาเนินงาน ในการปฏิบัติราชการ
- การนิเทศการศึกษา - งานเทคโนโลยีสานสรเทศ
- การพัฒนาระบบประกันคุณภาพ - การระดมทรัพยากรและการลงทุน - วินัยและการรักษาวินัย - การส่งเสริม สนับสนุนด้านวิชาการ งบประมาณ
ภายในสถานศึกษา เพื่อการศึกษา - การออกจากราชการ บุคลากรและบริหารทั่วไป
- การส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการแก่ชุมชน - การจัดทาสามะโนผู้เรียน
- การบริหารงานการเงิน
- การระสานความร่วมมือในการพัฒนา - การรับนักเรียน
วิชาการกับสถานศึกษาอื่น - การบริหารบัญชี - การส่งเสริมและประสานงาน การศึกษาในระบบ
- การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล - การบริหารพัสดุและสินทรัพย์ นอกระบบตามอัธยาศัย
ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน และสถาบันอื่น - การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
ที่จัดการศึกษา - การส่งเสริมงานกิจการนักเรียน

คุณภาพผู้เรียน / คุณภาพสถานศึกษา
“NONG-OR MODEL แผนที่กลยุทธ์นวัตกรรมการบริหารแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน” ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7
วิสัยทัศน์ “โรงเรียนดำรงไว้ซึ่งควำมสัมพันธ์อันดีกับชุมชน นักเรียนทุกคนมีควำมรู้คู่คุณธรรม มำรยำทงำม น้อมนำหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง
สถำนศึกษำน่ำอยู่ ภูมิทัศน์งำมสง่ำ น่ำดู น่ำอยู่ น่ำเรียน ใช้ภูมิปัญญำชำวบ้ำน กำรบริหำรจัดกำรได้มำตรฐำน กำรศึกษำไทยก้ำวไกลสู่อำเซียน”

P D
นักเรียนมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนเป็นไปตาม

ผู้บริหารและครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยการบรูณาการหลักปรัชญาของ
นักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม รับผิดชอบต่อสังคม
ผู้บริหารและครูได้รับการพัฒนาให้เป็นมืออาชีพปฏิบัติหน้าที่อย่างมืออาชีพ

หลักสูตรและเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา เป็นพลเมืองดี และมีค่านิยมที่พึงประสงค์


มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงและหลากหลาย
ครูใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ

จัดการศึกษาให้มีความรู้ จัดกิจกรรมให้เด็ก จัดการศึกษาให้ผู้เรียน น้อมนาหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีสุขภาพพลานามัยที่ ได้พัฒนาตนเองตาม เศรษฐกิจพอเพียงมา
คู่คุณธรรม โดยเน้น
สมบูรณ์ มีมารยาทงาม ความถนัดและความ บูรณาการใน
ผู้เรียนเป็นสาคัญ
และรู้การพัฒนาตนเอง ต้องการ สถานศึกษา

บริหารจัดการพัฒนาครู ส่งเสริมพัฒนาให้ จัดการศึกษาให้ชุมชน


ส่งเสริมความสัมพันธ์ เข้ามามีส่วนร่วม
สู่มืออาชีพ โรงเรียนมีบรรยากาศ
ระหว่างโรงเรียน นาภูมิปญั ญาท้องถิน่ มาใช้
พัฒนาโรงเรียน ทีเ่ อื้อต่อการเรียนรู้
กับชุมชน จัดกิจกรรมการเรียน
สู่มาตรฐานสากล น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน
การสอน

อาคารสถานที่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน นักเรียนและผู้ปกครองมีความพึงพอใจ
บรรยากาศน่าดู น่าอยู่ น่าเรียน และมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของโรงเรียน
A C
วิสัยทัศน์ (Vision)
โรงเรียนดารงไว้ซึ่งความสัมพันธ์อันดีกับชุมชน นักเรียนทุกคนมีความรู้คู่คุณธรรม มารยาทงาม
น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สถานศึกษาน่าอยู่ ภูมิทัศน์งามสง่า น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน
ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้าน การบริหารจัดการได้มาตรฐาน การศึกษาไทยก้าวไกลสู่อาเซียน

พันธกิจ (Mission)
1. จัดการศึกษาตั้งแต่ชั้นอนุบาล ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ให้มีความรู้คู่คุณธรรม เต็มตามศักยภาพ
โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
2. จัดกิจกรรมให้เด็กมีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์ มีมารยาทงาม และรู้การพัฒนาตนเอง
3. จัดการศึกษาให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามความถนัดและความต้องการ ให้มีความชานาญ
สู่การประกอบอาชีพ
4. น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในสถานศึกษาให้เกิดประโยชน์สูงสุด
5. จัดการศึกษาให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอน
6. ส่งเสริมพัฒนาให้โรงเรียนมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม
โรงเรียนน่าดู น่าอยู่ น่าเรียน
7. ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน เพื่อร่วมมือกันพัฒนาโรงเรียนและนักเรียนให้มี
คุณภาพที่ดี
8. บริหารจัดการพัฒนาครูสู่มืออาชีพ พัฒนาโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

เป้าประสงค์ (Goals)
1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นไปตามหลักสูตรและเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา
2. นักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม รับผิดชอบต่อสังคม เป็นพลเมืองดี และมีค่านิยมที่พึงประสงค์
3. ผู้บริหารและครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนด้วยการบรูณาการหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. ครูใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงและ
หลากหลาย ผู้บริหารและครูมีความพึงพอใจ และมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของโรงเรียนรู้ ได้รับการพัฒนา
ให้เป็นมืออาชีพปฏิบัติหน้าที่อย่างมืออาชีพ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
5. อาคารสถานที่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน บรรยากาศน่าดู น่าอยู่ น่าเรียน
6. นักเรียนและผู้ปกครองมีความพึงพอใจ และมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของโรงเรียน

ปรัชญาของโรงเรียน
เมธาวี อตฺตโน วฒฺฑน อาเนติ “การศึกษาย่อมนาความเจริญมาสู่ตน”
คาขวัญโรงเรียน
“คุณธรรมนาวิชาการ ประสานชุมชน ทุกคนมีส่วนร่วม”
คุณธรรมนาวิชาการ หมายถึง นักเรียนมีผลการเรียนดี และมีคุณธรรม ซื่อสัตย์โตมาไม่โกง
ประสานชุมชน หมายถึง โรงเรียนกับชุมชนต้องพัฒนาไปพร้อมกัน
ทุกคนมีส่วนร่วม หมายถึง ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

สีประจาโรงเรียน
ฟ้า - ขาว
สีฟ้า หมายถึง นักเรียนมีน้าใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กว้างขวางและมั่นคงหนักแน่น
สีขาว หมายถึง นักเรียนมีความประพฤติดี บริสุทธิ์ด้วยกาย วาจา ใจ

ต้นไม้ประจาโรงเรียน
ต้นมะขาม

เอกลักษณ์ของโรงเรียน
“ภูมิทัศน์น่าอยู่ แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย”

อัตลักษณ์ของโรงเรียน
ระดับปฐมวัย - มารยาทงาม ตามแบบอนุบาล
ระดับประถมศึกษา - สะอาด มารยาทงาม ตามวิถีพอเพียง
เป้าหมายความสาเร็จที่คาดว่าจะเกิดขึ้นเมื่อสิ้นปีการศึกษา 2563
1. ด้านประสิทธิผล
1.1 นักเรียนในเขตบริการทุกคนได้เข้ารับการศึกษาอย่างทั่วถึง
1.2 นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรสถานศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.3 นักเรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานหลักสูตร มีคะแนน NT, O-NET สูงกว่าระดับชาติ
ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ อ่านออก เขียนได้ แก้ปัญหาได้ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน
1.4 นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีความพอเพียง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ด้านคุณภาพการให้บริการ
2.1 นักเรียนทุกคน เรียนรู้อย่างมีความสุขจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย กิจกรรม “ลดเวลาเรียน
เพิ่มเวลารู้”
2.2 ผู้ปกครองนักเรียนพึ่งพอใจในการให้บริการและการจัดการเรียนรู้
3. ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน
3.1 ครูทุกคนจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ และใช้สื่อช่วยสอน
3.2 ผู้บริหาร บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม โดยยึดหลักธรรมาภิบาล
4. การพัฒนาองค์การ
4.1 พัฒนาบุคลากรทุกคนในการจัดการเรียนรู้การใช้สื่อช่วยสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
4.2 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา โดยชุมชนมีส่วนร่วม ปลอดภัย น่าดู น่าอยู่
และน่าเรียน ห้องเรียนคุณภาพ โรงเรียนคุณภาพ

จุดมุ่งหมายสาคัญของการนิเทศภายในสถานศึกษา คือ
1. พัฒนางานที่รับผิดชอบตามกรอบภาระงาน 4 กลุ่มงาน
2. พัฒนาคนและบุคลากรในการทางาน ดังนี้
2.1 การจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนของครูผู้สอน การใช้สื่อเทคโนโลยีช่วยสอน โดยเน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ
2.2 การปฏิบัติงานในหน้าที่ที่รับมอบหมายได้อย่างมีคุณภาพเกิดประสิทธิผลต่อผู้รับบริการ
3. ประสานสัมพันธ์ระหว่างครูผู้สอน ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
4. สร้างขวัญและกาลังใจที่ดีให้เกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงาน
บทที่ 2
กระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษา
โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7
กระบวนการการนิเทศภายในสถานศึกษา
กระบวนการการนิเทศภายในสถานศึกษาเป็นการดาเนินการอย่างมีขั้นตอนเป็นระบบต่อเนื่อง มี 5
ขั้นตอน คือ
ขั้นที่ 1 การวิเคราะห์บริบท ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการ
ขั้นที่ 2 การวางแผน
ขั้นที่ 3 การปฏิบัติตามแผน/นิเทศ
ขั้นที่ 4 การประเมินผล ปรับปรุงพัฒนา
ขั้นที่ 5 สรุปรายงานผลการดาเนินการ/นิเทศ
รูปแบบกระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษาโรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7

1
การวิเคราะห์บริบท
ศึกษาสภาพปัจจุบัน
ปัญหาและ

5
สรุปรายงานผล
ความต้องการ
2
การดาเนินการ/ การวางแผน
นิเทศ

4 3
การประเมินผล การปฏิบัติ
ปรับปรุง พัฒนา ตามแผน/นิเทศ
ขั้นตอนการนิเทศภายในสถานศึกษา
เป็นรูปแบบกระบวนการทั่วไป มีลักษณะเช่นเดียวกับกระบวนการวางแผนกิจกรรมที่ได้จากการ
วิเคราะห์ จะเป็นไปเพื่อแก้ปัญหาการเรียนการสอนทั้งสิ้น โดยมีขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1 การวิเคราะห์บริบท ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา ความต้องการ
1.1 วิเคราะห์บริบท วิเคราะห์ข้อมูลจากตัวบ่งชี้คุณภาพต่างๆ
ก. วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกชั้นเรียน
ข. วิเคราะห์การอ่านออก เขียนได้ การคิดคานวณพื้นฐานของนักเรียนทุกชั้นเรียน
ค. วิเคราะห์การผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้
ง. วิเคราะห์สุขภาพนักเรียน
จ. วิเคราะห์คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนผ่านเกณฑ์ขั้นต่า
1.2 สารวจความต้องการ
1.3 ลาดับความสาคัญของปัญหา ความต้องการ
1.4 วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา จัดลาดับความสาคัญของปัญหา กาหนดทางเลือกในรูปแบบการ
แก้ปัญหา ดาเนินงานตามความต้องการ
ก. วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
ข. จัดลาดับความสาคัญของสาเหตุ กาหนดทางเลือกในการแก้ปัญหา
ค. การดาเนินการตามความต้องการ
ขั้นที่ 2 การวางแผน
2.1 กาหนดกิจกรรมและรายละเอียดของกิจกรรม
2.2 การจัดทาโครงการนิเทศภายในสถานศึกษา
ขั้นที่ 3 การปฏิบัติการนิเทศ แบ่งเป็น 2 ส่วน
ส่วนที่ 1 การปฏิบัติตามกิจกรรมการพัฒนาครู
ก. การพัฒนาครูด้านความรู้ด้านต่างๆ
ข. การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้การใช้สื่อเทคโนโลยีช่วยสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ค. การกากับแนะนาการปฏิบัติงานตามภารกิจ
ส่วนที่ 2 การประเมินผลการปฏิบัติตามโครงการ
ก. ด้านปริมาณ
ข. ด้านคุณภาพ
ขั้นที่ 4 การประเมินผล พัฒนา ปรับปรุง
1. ประเมินการดาเนินงานทุกขั้นตอน/ ปรับปรุง พัฒนา
2. ประเมินกระบวนการ/ ปรับปรุง พัฒนา
3. ประเมินความพึงพอใจของครู
ขั้นที่ 5 สรุปรายงานผลการดาเนินการ/ นิเทศ
บทที่ 3
กิจกรรม รูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษา และแบบประเมินผลการนิเทศ
รูปแบบการประชุมเชิญปฏิบัติการ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ หมายถึง การประชุมที่เน้นให้ผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้ ความเข้าใจและ
ลักษณะทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติอย่างแท้จริง โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการให้กับ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตามแผนที่กาหนดเป็นประจาทุกเดือนอย่างสม่าเสมอ เพื่อพัฒนางาน
ของสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพเป็นไปตามมาตรฐาน
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจและทักษะในการปฏิบัติงาน
นาไปพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพเป็นไปตามมาตรฐาน

ขั้นตอนการประชุม

1 ขั้นเตรียมการประชุม

ขั้นประชุม 2

3 ขั้นประเมินผล
แบบประเมินผลการนิเทศการประชุมเชิงปฏิบัติการ
โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7

ระดับคะแนน
ที่ รายการประเมิน หมายเหตุ
4 3 2 1
1 เตรียมการประชุม
1.1 กาหนดหัวข้อ วัตถุประสงค์ เป้าหมายของการประชุม
1.2 กาหนดวิถีการ กิจกรรม ขั้นตอนการประชุม
1.3 การจัดสถานที่ เอกสาร บุคลากร
2 การประชุม
2.1 เป็นไปตามแผน เป้าหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอน
2.2 ผู้เข้าร่วมประชุมมีส่วนร่วม มีความพึงพอใจเข้าใจและ
ให้ความร่วมมือด้วยดี
2.3 กิจกรรมมีประสิทธิภาพเน้นด้านการปฏิบัติได้
3 การประเมิน
3.1 มีการทดสอบความรู้ ก่อน – หลัง
3.2 ผู้เข้าร่วมประชุมมีส่วนร่วมในการประเมิน
3.3 มีการติดตามผลหลังการประชุมต่อเนื่องและ
สม่าเสมอ
รวม

สรุปได้ .......................................... คะแนน / คิดเป็นร้อยละ ................................................

ลงชื่อ .................................................... ผู้ประเมิน


(.......................................................)
ตาแหน่ง .............................................................
รูปแบบการนิเทศชั้นเรียน
การนิเทศชั้นเรียน หมายถึง การที่ผู้เนิเทศพบและสังเกตการณ์ทางานของครูในชั้นเรียน เพื่อร่วมกัน
พัฒนาการทางานให้มีคุณภาพ
วัตถุปรสงค์
1. สารวจความต้องการของครู
2. ศึกษาปัญหาของครู
3. ประเมินผลการสอนของครู
4. กระตุ้นให้ครูปรับปรุง พัฒนาการสอน
5. ให้คาปรึกษาแนะนาแก่ครู

ขั้นตอนการนิเทศ

สร้างข้อตกลงในการนิเทศชั้นเรียน

ปรับปรุง พัฒนาการทางาน นิเทศชั้นเรียน

วิเคราะห์ผลการเยี่ยมนิเทศชั้นเรียน

ขั้นที่ 1 สร้างข้อตกลงในการนิเทศชั้นเรียน
1.1 พบปะสนทนาสร้างความคุ้นเคยและสร้างเจตคติที่ดีในการนิเทศแก่ครู
1.2 วางแผนการนิเทศชั้นเรียนร่วมกับครูในเรื่องต่างๆ ดังนี้
1.2.1 กาหนดการเยี่ยมนิเทศชั้นเรียน
1.2.2 กาหนดจุดมุ่งหมายในการเยี่ยมนิเทศชั้นเรียน
1.2.3 กาหนดเรื่องที่จะนิเทศตามความต้องการ จาเป็น ดังนี้
1) การจัดทาเอกสารชั้นเรียน
2) การจัดห้องเรียนและบรรยากาศในห้อง
3) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งภายใน และภายนอกห้องเรียน
1.2.4 กาหนดวิธีการนิเทศ ดังนี้
1) สารวจปัญหา และความต้องการของครู
2) สอบถามการปฏิบัติงานของครู
3) ให้คาปรึกษาแนะนา
4) สังเกตการณ์สอน
ขั้นที่ 2 นิเทศชั้นเรียน
ผู้นิเทศเข้าเยี่ยมชั้นเรียนตามข้อตกลงที่กาหนดร่วมกับครู ดังนี้
2.1 เข้าเยี่ยมนิเทศชั้นเรียนตรงตามเวลาที่กาหนด
2.2 ให้ความเป็นกันเองเพื่อสร้างเจตคติที่ดีแก่ครู
2.3 เยี่ยมนิเทศตามเรื่องที่กาหนด
2.4 เยี่ยมนิเทศชั้นเรียนตามเวลาที่กาหนด
ขั้นที่ 3 วิเคราะห์ผลการเยี่ยมนิเทศชั้นเรียน
3.1 วิเคราะห์ผลการเยี่ยมชั้นเรียนร่วมกับครู
3.2 สรุปผลการเยี่ยมนิเทศชั้นเรียน
3.3 ให้คาปรึกษาแนะนาแก่ครู
ขั้นที่ 4 ปรับปรุงพัฒนาการทางาน
ครูนาผลการเยี่ยมนิเทศชั้นเรียนมาปรับปรุงพัฒนาแก้ไขการทางาน
ผู้นิเทศนาผลการเยี่ยมนิเทศชั้นเรียนมาปรับปรุงพัฒนาแก้ไขในการนิเทศ/บันทึกผลการนิเทศ
แบบประเมินผลการเยี่ยมนิเทศชั้นเรียน
โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7

ระดับคะแนน
ที่ รายการประเมิน หมายเหตุ
4 3 2 1
1 สร้างข้อตกลงในการนิเทศชั้นเรียน
1.1 พบปะสนทนาสร้างความคุ้นเคยและสร้างเจตคติที่ดี
ในการนิเทศแก่ครู
1.2 กาหนดการเยี่ยมนิเทศชั้นเรียน
1.3 กาหนดจุดมุ่งหมายในการเยี่ยมนิเทศชั้นเรียน
1.4 กาหนดเรื่องที่จะนิเทศตามความต้องการ จาเป็น
1.5 กาหนดวิธีการนิเทศ
2 เยี่ยมนิเทศชั้นเรียน
2.1 เข้าเยี่ยมนิเทศชั้นเรียนตรงตามเวลาที่กาหนด
2.2 ให้ความเป็นกันเองเพื่อสร้างเจตคติที่ดีแก่ครู
2.3 เยี่ยมนิเทศตามเรื่องที่กาหนด
2.4 เยี่ยมนิเทศชั้นเรียนตามเวลาที่กาหนด
3 วิเคราะห์ผลการเยี่ยมนิเทศชั้นเรียน
3.1 วิเคราะห์ผลการเยี่ยมชั้นเรียนร่วมกับครู
3.2 สรุปผลการเยี่ยมนิเทศชั้นเรียน
3.3 ให้คาปรึกษาแนะนาแก่ครู
4 ปรับปรุงพัฒนาการทางาน
4.1 การจัดทาเอกสารชั้นเรียน
4.2 การจัดห้องเรียนและบรรยากาศในห้องเรียน
4.3 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
รวม

สรุปได้ .......................................... คะแนน / คิดเป็นร้อยละ ................................................

ลงชื่อ .................................................... ผู้ประเมิน


(.......................................................)
ตาแหน่ง .............................................................
การสังเกตการสอน
การสังเกตการสอน หมายถึง การจัดให้บุคคลหนึ่งที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเรียนการสอนมา
สังเกตพฤติกรรมการสอนของครูในขณะทาการสอน
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ครูสามารถพัฒนาหรือปรับปรุงการสอนให้มีประสิทธิภาพโดยใช้ข้อมูลย้อนกลับ
จากการสังเกตการสอนของผู้นิเทศ

ขั้นตอนการสังเกตการสอน
กระบวนการสังเกตการสอนในชั้นเรียน มีขั้นตอนที่ต่อเนื่องเกี่ยวโยงกันแบบวิทยาศาสตร์ โดยสรุปได้
5 ขั้นตอน ดังนี้

1 การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้นิเทศ

2 การปรึกษาหารือและการเตรียมแผนการสอน

3 การสังเกตการสอน

4 วิเคราะห์พฤติกรรมการสอน

5 การปรับปรุงการสอน/ นิเทศ
แบบสังเกตการสอนในชั้นเรียน
โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7

เรื่อง .......................................................................... กลุ่มสาระ ....................................... .................................


ชั้น ........................................... จานวนนักเรียน ................ คน ครูผู้สอน ..........................................................
ผู้สังเกตการสอน ......................................................... วันที่ .......... เดือน ............................. พ.ศ. ....................

คาชี้แจง 1. ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการที่ปรากฏในช่อง


2. เกณฑ์ในการพิจารณา ดีมาก 4 , ดี 3 , พอใช้ 2 , ปรับปรุง 1
ระดับคะแนน
ที่ รายการประเมิน หมายเหตุ
4 3 2 1
1 การเตรียมแผนการสอน (แผนการสอน/บันทึกการสอน)
2 การจัดชั้นเรียนเอื้อต่อการเรียนการสอน น่าดู น่าเรียน
3 รอบรู้ แม่นยาในเนื้อหาที่สอน
4 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเหมาะสมกับเนื้อหา เวลา
5 ช้สื่อช่วยสอนเหมาะสมกับเนื้อหาและกิจกรรม
6 ให้การเสริมแรงแก่นักเรียน
7 เอาใจใส่ให้การช่วยเหลือนักเรียน
8 ส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน
9 นักเรียนสนใจและตั้งใจทางานที่รับมอบหมาย
10 มีระเบียบวินัยในห้องเรียน
11 การนาเข้าสู่บทเรียนและสรุปบทเรียน
12 การวัดและประเมินผลครอบคลุมจุดมุ่งหมายการสอน
13 การเรียนการสอนบรรลุจุดประสงค์ที่วางไว้
14 บุคลิกภาพและพฤติกรรมการสอนของครู
15 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน นักเรียนกับนักเรียน
รวม
เฉลี่ย

ข้อเสนอแนะ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ คือ การวิจัยเชิงปฏิบัติการร่วมกันระหว่างผู้บริหารโรงเรียนคณะครูในการ
แก้ไขปรับปรุงการเรียนการสอน หรือปัญหาต่างๆ ในห้องเรียน โดยวิธีการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ ด้วย
กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาค้นคว้าสาเหตุของปัญหา วิธีการแก้ไขปัญหา และพัฒนาการเรียนการสอนให้
มีประสิทธิภาพเป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้

ขั้นตอนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ

1. กาหนดปัญหา/ความต้องการ

5. ทดสอบ/ แก้ไขปรับปรุงพัฒนา 2. กาหนดจุดมุ่งหมายและการดาเนินการ

4. วิเคราะห์สรุป 3. ดาเนินการศึกษาค้นคว้า
แบบประเมินผลการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7

ระดับการปฏิบัติ
มาก ปาน น้อย
ที่ รายการประเมิน ที่สุด
มาก
กลาง
น้อย
ที่สุด
หมายเหตุ
4 3 2 1 0
1 การประชุมวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการ การคิด
2 การกาหนดปัญหาและการให้ลาดับความสาคัญของปัญหา คะแนน
มากที่สุด 4
และความต้องการ
มาก 3
3 การเลือกปัญหาที่ต้องการแก้ไขหรือความต้องการที่จะพัฒนา ปานกลาง 2
4 กาหนดจุดมุ่งหมายและวางแนวทางการดาเนินงาน น้อย 1
5 การสร้างแนวทางเลือกในการแก้ปัญหาหรือทางเลือก น้อยที่สุด 0
ในการพัฒนา
6 การกาหนดวิธีในการแก้ปัญหาหรือวิธีการในการพัฒนา
7 การสร้างเครื่องมือในการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาตามแนวทาง
ที่กาหนด
8 การทดสอบใช้เครื่องมือในการแก้ไขหรือพัฒนา
9 การเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ
10 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้สถิติที่สอดคล้องกับเรื่องที่
ต้องการแก้ไขหรือพัฒนา
11 การเขียนรายงานการทดลอง
12 การนาผลการทดลองไปใช้แก้ปัญหาหรือพัฒนา
13 การวิเคราะห์และสรุปผลการปฏิบัติงานแก้ไขปัญหาหรือ
พัฒนา
14 การแก้ไขปรับปรุงเครื่องมือหรือวิธีการหลังการดาเนินการ
15 การเผยแพร่ผลการปฏิบัติการแก้ไขหรือพัฒนา
รวม

สรุปได้ .......................................... คะแนน / คิดเป็นร้อยละ ................................................

ลงชื่อ .................................................... ผู้ประเมิน


(.......................................................)
ตาแหน่ง .............................................................
บทที่ 4
แผนการนิเทศ กิจกรรม ตารางการนิเทศภายในสถานศึกษา
โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7
การบริหารจัดการสถานศึกษาและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของโรงเรียนในปัจจุบัน ต้องมีการพัฒนา
อย่างต่อเนื่อง ผู้บริหารก็เช่นเดียวกัน ต้องพัฒนาในการนิเทศการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนอย่างต่อเนื่องให้
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้น มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ และของสานักงาน
รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ผู้บริหารยุคใหม่ต้องประยุกต์ในเรื่องของ
การบริหารจัดการ โดยยึดผู้บริการเป็นสาคัญ คือ นักเรียนและผู้ปกครองของนักเรียน โรงเรียนได้จัดวาง
โปรแกรมการนิเทศ ดังนี้
1. การนิเทศชั้นเรียน/ครูผู้สอน ได้จัดตารางการนิเทศเป็นรายสัปดาห์อย่างน้อยแต่ละชั้นเรียน สัปดาห์
ละ 1 ครั้งตามตารางแนบท้าย
2. การนิเทศภาระงานที่มอบหมาย ได้จัดตารางการนิเทศเป็นรายสัปดาห์เช่นกัน ภาระงานที่คณะครู
ได้รับทาตามกรอบภาระงาน 4 กลุ่มงาน น้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ตามตารางแนบท้าย
3. การประชุมอบรมครู โรงเรียนได้จัดอบรมพัฒนาครูเป็นรายเดือนเป็นประจาทุกเดือน เดือนละ 1
ครั้ง
4. การอบรมพัฒนาครูในด้านวิชาการ นอกเหนือจากการที่ครูได้รับการพัฒนาจากสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7 นอกจากนั้นทางโรงเรียนได้วางแผนในการพัฒนาครูในการใช้สื่อ
เทคโนโลยีช่วยสอน การผลิตและพัฒนาสื่อ โรงเรียนได้จัดตารางการอบรมพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ภาคเรียนละ 2
ครั้ง
5. การศึกษาดูงาน โรงเรียนได้กาหนดตารางการศึกษาดูงานของคณะครูในสถานศึกษาไว้ ปีละ 1 ครั้ง
6. การพัฒนาตนเองของคณะครู โรงเรียนส่งเสริมให้คณะครูพัฒนาตนเองจากแหล่งเรียนรู้ห้องสมุด
เอกสารสิ่งพิมพ์ อินเทอร์เน็ต เรียนรู้อื่นๆ ของแต่ละบุคคล
ตารางการนิเทศการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน
ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7

ชั้น/วัน วันจันทร์ วันอังคาร วันพุธ วันพฤหัสบดีที่ วันศุกร์ หมายเหตุ


อนุบาลปีที่ 2,3 ผู้บริหาร/วิชาการ
ประถมศึกษาปีที่ 1 ผู้บริหาร/วิชาการ
ประถมศึกษาปีที่ 2 ผู้บริหาร/วิชาการ
ประถมศึกษาปีที่ 3 ผู้บริหาร/วิชาการ
ประถมศึกษาปีที่ 4 ผู้บริหาร/วิชาการ
ประถมศึกษาปีที่ 5 ผู้บริหาร/วิชาการ
ประถมศึกษาปีที่ 6 ผู้บริหาร/วิชาการ

หมายเหตุ ตารางนิเทศสามารถยืดหยุ่นได้
ตารางการนิเทศภาระกลุ่มงานที่มอบหมาย/ครูผู้สอน ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7

ชั้น/วัน วันจันทร์ วันอังคาร วันพุธ วันพฤหัสบดีที่ วันศุกร์ หมายเหตุ


1. งานวิชาการ ผู้บริหาร/วิชาการ
2. งานบริหารงบประมาณ ผู้บริหาร/วิชาการ
- การเงิน
- พัสดุ
3. งานบริหารบุคคล ผู้บริหาร/วิชาการ
4. งานบริหารทั่วไป ผู้บริหาร/วิชาการ
- งานธุรการ
- งานกิจการนักเรียน
- งานดูแลช่วยเหลือนักเรียน
- อาหารกลางวัน
- อาหารเสริมนม
- สหกรณ์
- งานอนามัย
- อื่นๆ
5. การจัดกิจกรรมบูรณาการการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ ผู้บริหาร/วิชาการ
เศรษฐกิจพอเพียง ทุกชั้น
6. งานอื่นๆ ผู้บริหาร/วิชาการ
ภาคผนวก
คาสั่งโรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม
ที่ ......../๒๕๖๓
เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการจัดทาแผนการนิเทศภายในสถานศึกษา
โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม
*************************************

การนิเทศภายในสถานศึกษา มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคมมีความตระหนัก
และเป็นสิ่งสาคัญ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนทั้งระบบ ทั้งในเรื่องระบบบริหารจัดการ โดยการ
มีส่วนร่วมของคณะครู กรรมการสถานศึกษา ผู้นาชุมชน ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียน ในส่วนของ
กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนเช่นเดียวกัน สิ่งต่างๆ เหล่านี้ ทางโรงเรียนคาดว่าจะเป็นส่วนส
สาคัญให้ระดับการศึกษาของโรงเรียนมีการพัฒนาทุกๆ ด้าน ไปพร้อมๆ กัน ซึ่งจะเป็นผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของนักเรียนสูงขึ้นเช่นกัน ในการจัดกิจกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษาครั้งนี้ โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม
จึงแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการจัดทาแผนการนิเทศภายในสถานศึกษา ดังนี้
1. นายปรินทร์ ศรีษะเนตร ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ
2. นางสุวารี ไวยวุฒินันท์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ รองประธานกรรมการ
3. นางอุไร ภายรสันใจ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ
4. นางสาวจรรยา สวามีชัย ตาแหน่ง ครูชานาญการ กรรมการ
5. นางสาวสุคนธลักษณ์ คาไทย ตาแหน่ง ครู กรรมการ
6. นางสาวธนพร คาสวัสดิ์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย กรรมการ
7. นางสาวฑัณทิกา อิฐไธสง ตาแหน่ง ครูอัตราจ้าง กรรมการ
8. นางสาวศิริกาญจน์ รุ่งเป้า ตาแหน่ง ครูอัตราจ้าง กรรมการ
9. นางสาวละออง มุ่งแซกกลาง ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ กรรมการและเลขานุการ
ให้คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง ดาเนินการจัดทาแผนการนิเทศภายในสถานศึกษาให้เรียบร้อย
พร้อมใช้เป็นแนวทางในการนิเทศของสถานศึกษาในการจัดการเรียนรู้และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ให้กับนักเรียน ในปีการศึกษา 2563 ต่อไป

ทั้งนี้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป

สั่ง ณ วันที่ ........ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

ลงชื่อ
(นายปรินทร์ ศรีษะเนตร)
ผู้อานวยการโรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7

ที่ ชื่อ - สกุล ตาแหน่ง


1 นายแสน แย้มศรี ประธานกรรมการ (ผู้ทรงคุณวุฒิ)
2 นางศิริกัญญา พรมสุข กรรมการ (ผู้ทรงคุณวุฒิ)
3 นางบุญมี มุ่งดี กรรมการ (ผู้แทนผู้ปกครองนักเรียน)
4 นายจาลอง เสนาจันทร์ กรรมการ (ผู้แทนองค์กรศาสนา)
5 นางสมหมาย ศาลาแดง กรรมการ (ผู้แทนองค์กรชุมชน)
6 นายสมมาศ แสนหล้า กรรมการ (ตัวแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
7 นางบุปผาพรรณ ศาลาแดง กรรมการ (ผู้แทนศิษย์เก่า)
8 นางสุวารี ไวยวุฒินันท์ กรรมการ (ผู้แทนครู)
9 นายปรินทร์ ศรีษะเนตร กรรมการและเลขานุการ
ตารางปฏิบัติกิจกรรมประจาวันของนักเรียน/ครูเวร/ครูประจาชั้น/ครูประจาวิชา
โรงเรียนหนองอ้อวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7
ปีการศึกษา 2563

เวลา การปฏิบัติกิจกรรมประจาวัน ผู้รับผิดชอบ


07.30 น. – 08.00 น. กิจกรรมทาความสะอาดเขตพื้นที่รับผิดชอบ ครูเวร
08.00 น. – 08.15 น. กิจกรรมหน้าเสาธง ครูเวร
08.15 น. – 08.30 น. กิจกรรมท่องบทอาขยาน/ท่องสูตรครู ในห้องเรียน ครูเวร
08.30 น. – 11.30 น. เรียนตามตารางเรียน ครูประจาชั้น/ครูประจาวิชา
11.30 น. – 12.10 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน ครูเวร
12.10 น. – 12.20 น. กิจกรรมแปรงฟัน ครูเวร
12.20 น. – 12.30 น. นั่งสมาธิ ครูเวร
12.30 น. – 15.30 น. เรียนตามตารางเรียน ครูประจาชั้น/ครูประจาวิชา
15.30 น. เลิกเรียนเข้าแถวกลับบ้าน ครูเวร

You might also like