Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 8

1.

กระบวนการสำคัญของนโยบายสาธารณะ มีขน
ั ้ ตอนที่สำคัญกี่ขน
ั ้ ตอน
อะไรบ้าง
5 ขัน
้ ตอน ดังนี ้
1. ขัน
้ ระบุปัญหา
2. ขัน
้ การจัดทําข้อเสนอนโยบาย 
3. ขัน
้ ประกาศเป็ นนโยบาย 
4. ขัน
้ ดําเนินการตามนโยบาย
5. ขัน
้ ประเมินผล

2. อธิบายนโยบายสาธารณะกับระบอบการเมือง
- นโยบายสาธารณะกับระบอบการปกครองแบบอำนาจนิยม
อำนาจนิยม เป็ นระบอบการเมืองที่มีฐานอยู่บนอุดมการณ์ทางการ
เมืองแบบเผด็จการชนิดที่ผู้ปกครองสามารถใช้อำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาด
เหนือรัฐ หรือกลุ่มคนใด ๆ ในการดำรงไว้ซึ่งเป้ าหมายสูงสุด คือ การรักษา
อำนาจของตน โดยมักจะไม่คำนึงถึงสิทธิ เสรีภาพของประชาชน ปิ ดกัน
้ การ
แสดงความคิดเห็นที่เป็ นปฏิปักษ์กับผู้นำ ควบคุมสื่อมวลชน ผูกขาดการใช้
อำนาจและจำกัดการตรวจสอบ การนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติจึงเป็ น
อำนาจผูกขาดของรัฐโดยตรงในการเลือกนโยบายไปปฏิบัติ
- นโยบายสาธารณะกับระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย  เป็ นระบอบการปกครองแบบหนึง่ ซึ่งพลเมืองเป็ น
เจ้าของอำนาจอธิปไตยและเลือกผู้ปกครองซึ่งทำหน้าที่ออกกฎหมาย โดย
พลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจ
แทนก็ได้ การนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ โดยรัฐบาลต้องออกนโยบาย
และนำไปปฏิบัติเพื่อช่วยแก้ไขปั ญหา หรือ ทำให้ประชาชนที่ชีวิตความเป็ น
อยู่ที่ดียิ่งขึน
้ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน ส่วนประชาชนเมื่อ
เห็นว่านโยบายของรัฐบาลมีประโยชน์และตอบสนองต่อความต้องการใน
การดำเนินชีวิต ก็จะให้การ สนับสนุนรัฐบาลมากขึน

3. แผน (Plan) หมายถึง


กรอบการทำงานที่ระบุถึงวิธีการและงานที่จะต้องปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุ
เป้ าหมายที่ตงั ้ ไว้ แผนสามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
ขึน
้ อยู่กับ สถานการณ์ ที่เกิดขึน
้ ในอนาคต

4. อธิบายความหมายของ การวางแผน (Planning) และลักษณะของการ


วางแผน
กระบวนการในการกำหนดทิศทาง เป้ าหมาย วัตถุประสงค์ที่ต้องการ
ให้เกิดขึน
้ ในอนาคตขององค์การหรือหน่วยงานโดยเลือกวิธีทำงานที่ดีที่สุด มี
ประสิทธิภาพมากที่สุด ให้บรรลุผลตามที่ต้องการภายในเวลาที่กำหนด
ลักษณะของการวางแผน
1) จุดหมายปลายทาง (คืออะไร)
2) วิธีการดำเนินงาน (ทำอย่างไร)
3) ระยะเวลา (เสร็จสิน
้ เมื่อไร)

5. การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) หมายถึงอะไร


เป็ นแผนที่ถูกจัดทำขึน
้ โดยผู้บริหารระดับสูง เพื่อให้สอดคล้องกับเป็ น
หมายกลยุทธ์ของหน่วยงานแล้วประสานไปยังผู้บริหารระดับกลาง และ
ระดับล่าง ทำให้การวางแผนกลยุทธ์มีลักษณะการบริหารแบบลงล่าง (Top-
Dow Planning) ที่ผู้บริหารระดับสูงมีบทบาทสำคัญที่สุด การวางแผน
กลยุทธ์จะกล่าวถึงขอบเขตกว้างๆ ของการจัดกิจกรรมของหน่วยงาน ซึ่ง
ต้องครอบคลุมทรัพยากรทัง้ หมดที่หน่วยงานมีอยู่ตลอดจนการพยากรณ์
สภาวะแวดล้อมทัง้ ภายในและภายนอก เป้ าหมายของการวางแผนกลยุทธ์
โดยทั่วไปจะมุ่งเน้นให้หน่วยงานเจริญเติบโตและดำรงอยู่ได้ในอนาคต กับ
การช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำเนินงานของหน่วยงาน

6. หลักการพื้นฐานที่ต้องคำนึงถึงในการวางแผนกลยุทธ์ (Strategic
Planning) มีอะไรบ้าง
การวางแผนกลยุทธ์จะเริ่มจากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก
และสภาวะ แวดล้อมภายในองค์การเพื่อสร้างวิสัยทัศน์(Vision) ของ
องค์การ เกี่ยวกับทิศทาง (Direction) จุดยืนที่เหมาะสม (Optimal
Position) ภารกิจ(Mission) และวัตถุประสงค์ขององค์การ(Objective)
การวางแผนกลยุทธ์จะต้องประกอบด้วยคุณลักษณะสำคัญ 3 ประการ
คือ การมีวิสัยทัศน์ขององค์การ(Future Oriented) การเน้นความสำคัญต่อ
การเปลี่ยนแปลง(Change Oriented) และการมองภาพรวม(Holistic)ของ
องค์การ

7. จงอธิบายถึงความหมายของ การวางแผนบริหาร (Managerial


Planning)
แผนที่กำหนดขึน
้ ให้สอดคล้องกับการจัดการบริหาร โดยปกติจัดทำ
โดยผู้บริหารระดับหัวหน้าขึน
้ ไป เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายเชิงการจัดการ เพื่อ
ระบุถึงวิธีการบริหารจัดการให้บรรลุเป้ าหมายที่กำหนด

8. จงอธิบายถึงความหมายของ การวางแผนปฏิบัติการ (Operational


Planning)
แผนปฏิบัติการ (Operational Plans) ใช้อธิบายเป้ าหมายในการ
ปฏิบัติงานของหน่วยงานในลักษณะที่เป็ นหน้าที่เฉพาะของหน่วยงาน หรือมี
ลักษณะที่เป็ นงานที่ต้องทำเป็ นประจำวันต่อวัน การวางแผนปฏิบัติการเป็ น
หน้าที่ของผู้บริหารระดับล่างที่จะต้องกระทำตามเป้ าหมายปฏิบัติการ และ
ให้สอดคล้องกับแผนยุทธวิธี และแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการจึงมีลักษณะ
การวางแผนระยะสัน
้ ซึง่ มักเกี่ยวข้องกับปั จจัยต่างๆ ภายในหน่วยงาน ซึง่
เป็ นทรัพยากรที่ผู้บริหารสามารถควบคุมได้

9. จงอธิบายถึงลักษณะของนโยบายมุ่งเน้นการกระจายผลประโยชน์
(Distributive Policies)
นโยบาย มุง่ เน้นการกระจายผลประโยชน์ การจำแนกโดยการใช้เกณฑ์
การรับผลประโยชน์จากนโยบายของรัฐ เป็ นนโยบายเกี่ยวกับการจัดสรร
บริการหรือผลประโยชน์ให้กับประชาชน บางส่วนอย่างเฉพาะเจาะจง ซึง่
ผู้รับผลประโยชน์อาจจะเป็ น ปั จเจกบุคคล กลุ่มคน องค์การ เช่น นโยบาย
การแก้ปัญหาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์

10. จงอธิบายถึงลักษณะของนโยบายมุ่งเน้นการกระจายความเป็ นธรรม


(Redistributive Policies)
นโยบายมุ่งเน้นการกระจายความเป็ นธรรม  เป็ นความพยายามของรัฐ
ที่จะจัดสรรความมั่นคง รายได้ ทรัพย์สินและสิทธิต่าง ๆให้แก่ประชาชน
อย่างเป็ นธรรม เช่น นโยบายพื้นฐานไม่ต่ำกว่า 12 ปี   นโยบายการจัดตัง้
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์

11. จงอธิบายถึงลักษณะของจงอธิบายถึงลักษณะของนโยบายมุ่งเน้นขัน

ตอนการปฏิบัติ (Procedural Policies)
นโยบาย มุง่ เน้นขัน
้ ตอนการปฏิบัติ ลักษณะจะเกี่ยวข้องกับวิธีการ
ดำเนินการนโยบายว่าจะดำเนินการอย่างไร และใครเป็ นผู้ดำเนินการดังนัน

นโยบายนีจ
้ ะคลอบคลุมองค์การที่จะต้องรับผิด ชอบการบังคับใช้นโยบาย
เช่น นโยบายส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยให้คณะกรรมการสิ่ง
แวดล้อมแห่งชาติเป็ นผู้ดูแลรับผิดชอบ

12. การกำหนดวัตถุประสงค์ของนโยบาย
การเตรียมการออกนโยบายของนัก บริหารเพื่อแก้ปัญหา หรือเป็ นการ
ที่รัฐบาลตัดสินใจและพูดว่าจะทํา อะไรบ้างเกี่ยวกับปั ญหาที่รับรู้ว่าเกิดขึน

“การกําหนดนโยบายสาธารณะ ก็คือการ ตัดสินใจนโยบาย”
การกําหนดนโยบายสาธารณะ เป็ นกระบวนการทางการเมือง เป็ น
การต่อสู้กันของกลุ่มต่าง ๆ มีความสลับซับซ้อน ไม่เป็ นระเบียบ
1. ความครอบคลุมหรือเฉพาะเจาะจง
2. มีมาตรฐานที่เป็ นแบบฉบับเดียวกัน หรือมีมาตรฐานหลายๆ แบบ
แตกต่างกันไป
3. รวมอํานาจที่ส่วนกลางหรือกระจายไปตามท้องถิ่น
4. แน่นอนตายตัวหรือยืดหยุ่นได้
5. เป็ นกลางทางการเมืองหรือไม่เป็ นกลางทางการเมือง
6. รัฐบาลเข้าแทรกแซงหรืออนุญาตให้เอกชนดําเนินการ
7. เป็ นนโยบายเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ

13. ปั จจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกนโยบาย
1. ค่านิยม  ค่านิยมองค์การ  ค่านิยมด้านวิชาชีพ  ค่านิยมส่วนบุคคล 
ค่านิยมด้านอุดมการณ์
2. ความสัมพันธ์กับนักการเมือง
3.ผลประโยชน์ของเขตเลือกตัง้
4. มติมหาชน
5.ประโยชน์ของสาธารณะชน
6. สำคัญต่อกระบวนการนโยบายสาธารณะ

14. รูปแบบของการตัดสินใจเลือกนโยบายไปปฏิบัติ
1.   แถลงการณ์หรือคำสัง่ ของฝ่ ายบริหาร
2.   เนื้อหาหรือรายละเอียดในกฎหมาย
3.   ความร่วมมือระหว่างฝ่ ายนิติบัญญัติและฝ่ ายบริหารในการ
ประกาศใช้กฎหมายที่ถือว่าเป็ นนโยบายสำคัญของรัฐบาลนัน

  4.   ข้าราชการระดับสูง ผู้มีหน้าที่ในการริเริ่มการก่อรูปนโยบายและ
การพัฒนาทางเลือกนโยบาย
5.    การพิจารณาและการวินิจฉัยของศาล คำพิพากษาถือเป็ นที่สน
ิ้
สุด  และคือนโยบายสาธารณะที่สำคัญของทุกสังคม
6.ความชัดเจนของนโยบาย  

15. ความหมายของการนำนโยบายไปปฏิบัติ
กระบวนการจัดการและการประสานกิจกรรมเพื่อนำการเปลี่ยนแปลง
ไปสูผ
่ ลลัพธ์ที่พึงประสงค์ให้บรรลุความสำเร็จตรงตามเจตจำนงของนโยบาย
โดยกลุ่มบุคคลหรือองค์กรภาครัฐหรือเอกชน

16. ความสำคัญของการนำนโยบายไปปฏิบัติ ความสำเร็จหรือความล้ม


เหลวของการนำนโยบายไปปฏิบัติจะส่งผลกระทบอย่างไร/ ต่อใครบ้าง
จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อผู้กำหนดนโยบาย กลุ่มคนที่นำไปปฏิบัติ
และกลุ่มเป้ าหมายที่เกี่ยวข้อง
1. ฝ่ ายการเมือง รัฐสภา ครม.
2. ระบบราชการ กระทรวง ทบวง กรม
3. ข้าราชการ
4. ผู้รับบริการ

17. ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ
 1.   แหล่งที่มาของนโยบาย 

- การแถลงการณ์หรือคำสั่งของฝ่ ายบริหาร  
- เนื้อหาหรือรายละเอียดในกฎหมาย
- ความร่วมมือระหว่างฝ่ ายนิติบัญญัติและฝ่ ายบริหาร
- ข้าราชการระดับสูง
- การพิจารณาและการวินิจฉัยของศาล
      2.   ความชัดเจนของนโยบาย เป็ นรากฐานสำคัญของความมุ่งหมาย
ของนโยบายทัง้ ที่เป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ
      3.   การสนับสนุนนโยบาย 
      4.  ความซับซ้อนในการบริหาร 
5. สิ่งจูงใจสำหรับผู้ปฏิบัติ 

18. อธิบายปั ญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายไปปฏิบัติ


1. ปั ญหาทรัพยากรการบริหาร : คน เงิน วัสดุ
2. ปั ญหาการดำเนินงาน : โครงสร้าง กระบวนการ
3. ปั ญหาพฤติกรรม : การต่อต้าน การสนับสนุน ความผูกพันต่อการ
ปฏิบัตินโยบาย
            
19. ความล้มเหลวในการนำนโยบายไปปฏิบัติอาจเกิดจาก
1. ข้อความของนโยบาย (ตัวปั จจัยของนโยบายจะเป็ นตัวบอกเองว่า
สำเร็จหรือล้มเหลว)
2. การสนับสนุนจากผู้มีอำนาจ
3. ศักยภาพและความสามารถขององค์การที่นำนโยบายไปปฏิบัติ
4. จิตสำนึกของผู้ปฏิบัติ  หรือทัศนะของผู้ปฏิบัติ
5. ผู้นำ
6. การมีส่วนร่วมของทุกคนในองค์กร
7. การกำกับดูแลติดตามประเมินผลและการเสริมแรง

20. เมื่อนักศึกษาได้ศึกษาเกี่ยวกับวิชานโยบายสาธารณะและการวางแผน
แล้ว นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการทา
งานได้อย่างไรบ้าง อธิบาย

You might also like