Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 3

1.

การจัดระบบการปกครองและการบริหารราชการ ที่ประเทศต่างๆ ทั่ว


โลกนิยมใช้อยู่ 3 หลักการด้วยกันคือ
1.1 การรวมอำนาจ (Centralization)
1.2 การแบ่งอำนาจ (Deconcentration)
1.3 การกระจายอำนาจ (Decentralization)
โดยการปกครอง 3 หลักการนี ้ มีความสำคัญอย่างไร และมีข้อดีและข้อ
เสียอย่างไร ให้อธิบายมาให้เข้าใจ

ตอบ 1. การรวมอำนาจ (Centralization) เป็ นหลักการบริหารประเทศ


ที่รวมอำนาจการสั่งการไว้ที่เมืองหลวงของรัฐ (ประเทศ) เพียงแห่งเดียว
ข้อดี ประหยัดค่าใช้จ่าย การสร้างความเป็ นเอกภาพภายในประเทศ
ที่จะเกิดขึน
้ ส่งผลดีต่อความมั่นคง
ข้อเสีย เกิดความล่าช้าในการบรหิารจัดการปั ญหา ไม่สามารถตอบ
สนองต่อความต้องการของท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประชาชนขาด
ความกระตือรือร้นในการมีส่วนร่วมและการตัดสินใจ เพราะต้องรับ
นโยบายและแนวทางปฏิบัติทุกอย่างจากส่วนกลาง
2. การแบ่งอำนาจ (Deconcentration) เป็ นหลักการบริหาร
ประเทศที่หน่วยงานบริหารในส่วนกลาง ได้แบ่งอำนาจการบริหารส่วน
หนึ่งให้กับตัวแทนของหน่วยของตนออกไปบริหารในส่วนภูมิภาค
ข้อดี มีความรวดเร็วและตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นได้มาก
ขึน

ข้อเสีย ตัวแทนที่ออกไปทำหน้าที่ยังคงอยู่ภายใต้การควบคุมบังคับ
บัญชาจากหน่วยงานราชการในส่วนกลาง เช่น ผู้ว่าราชการจังหวัด
3. การกระจายอำนาจ (Decentralization) เป็ นหลักการบริหาร
ประเทศที่กระจายอำนาจการตัดสินใจในการบริหารงานของท้องถิ่นให้กับ
ตัวแทนของท้องถิ่น ซึ่งผ่านการเลือกตัง้ จากประชาชนในท้องถิ่นนัน
้ ๆ
โดยตรง และเพื่อให้การบริหารงานในการตอบสนองความต้องการของ
ท้องถิ่นจึงมีสาระการดำรงตำแหน่ง (ผู้บริหารท้องถิ่นมากจากการเลือกตัง้
และมีวาระการดำรงตำแหน่ง)
ข้อดี ความรวดเร็วและความคล่องตัว ตอบสนองต่อความต้องการ
ของท้องถิ่นได้อย่างเต็มที่
ข้อเสีย ต้องเพื่อมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ประชาชนในท้องถิ่น
จะต้องมีความรู้ความเข้าใจ มีส่วนร่วมในการบริหารอย่างถูกต้องเหมาะ
สมจึงจะทำให้เกิดประสิทธิภาพ

2. คณะกรรมการบริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (วิด-19) หรือ ศบค. สังกัด กระทรวง/ทบวง//กรม/ใด
เป็ นการจัดตัง้ หน่วยงานราชการตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการแผ่นดิน 2534 หรือไม่อย่างไร จงอธิบายให้เข้าใจ
ตอบ คณะกรรมการบริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (วิด-19) หรือ ศบค. สังกัด กระทรวงมหาดไทย
เป็ นการจัดตัง้ หน่วยงานราชการตาม พระราชกำหนดการบริหาร
ราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 หรือ ‘พ.ร.ก.ฉุกเฉิน’ เพื่อใช้
รับมือกับวิกฤตการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 หน่วยงาน ‘ศบค.’
เป็ นผลผลิตของความในพ.ร.ก.ฉุกเฉิน มาตรา 7 วรรค 3 ที่ว่า “ให้นายก
รัฐมนตรีมีอำนาจแต่งตัง้ บุคคลเป็ นพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติหน้าที่
ตามพระราชกำหนดนี”
้ และวรรค 5 ซึง่ ระบุว่า “ในกรณีที่มีความจำเป็ น
คณะรัฐมนตรีอาจให้มีการจัดตัง้ หน่วยงานพิเศษเป็ นการเฉพาะเพื่อปฏิบัติ
หน้าที่ตามพระราชกำหนดนีเ้ ป็ นการชั่วคราวได้จนกว่าจะยกเลิกประกาศ
สถานการณ์ฉุกเฉิน” เพื่อตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉินมักเกี่ยวข้องกับการ
ป้ องกัน การระบุปัญหาและความเสี่ยง การปฏิบัติการ การประเมิน การ
ฟื้ นฟู และการเลือกใช้เครื่องมือตลอดจนทรัพยากรให้เกิดประสิทธิภาพ
สูงสุด 

You might also like