Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 14

ความกระด้าง (HARDNESS)

อาจารย์ ดร. ธัชชัย ปุษยะนาวิน

ธัชชัย ปุษยะนาวิน 1
ความกระด้าง (HARDNESS)

 เป็นสภาพที่น้าไม่เกิดฟองกับสบู่และเกิดตะกรันเมื่อให้ความร้อน ซึ่งเกิด เนื่องมาจากเกลือ


HCO3-, CO32-, SO42-, Cl- และ NO3- ของ Ca2+, Mg2+ (และบางครัง Fe2+) ละลายอยู่ในน้า โดย
สภาพที่ไม่เกิดฟองกับสบู่นันพบว่าจะให้ปฏิกิริยาหลักที่เป็นตะกอนจาก ปฏิกิริยาเกลือโซเดียม
ของสบู่ท้าปฏิกิริยากับ Ca2+ ใน น้า

ธัชชัย ปุษยะนาวิน 2
ความกระด้าง (HARDNESS)

น้ากระด้างมีกี่ประเภท ?
 สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท
 ความกระด้างชั่วคราว ส่วนใหญ่เป็นสารประกอบไบคาร์บอเนตของแคลเซี่ยมและแมกนีเซียมสามารถตกตะกอนได้เมื่อได้รับ
ความร้อนเกิดเป็นตะกรันเกาะตามผิวภาชนะ เป็นความกระด้างที่เกิดเนื่องจากในน้ํามี HCO3- ของโลหะ Ca2+,Mg2+ ก้าจัดออก
ได้โดย กระบวนการต้มซึ่งเป็นกระบวนการผันกลับได้ดังนี
Ca2+ + 2HCO3-⇌ CaCO3(S) + CO2(g) + H2O
 ความกระด้างถาวร ไม่ตกตะกอนเมื่อได้รับความร้อนการก้าจัดความกระด้างประเภทนีต้องใช้วิธีทางเคมี เป็นความกระด่างที่เกิด
เนื่องจากน้ามี SO42-,Cl- หรือ NO3- ของโลหะ Ca2+,Mg2+ ละลายอยู่ ซึ่งจะไม่สามารถก้าจัดออกได้โดยการต้ม จะต้องอาศัย
สารเคมี

ธัชชัย ปุษยะนาวิน 3
ความกระด้าง (HARDNESS)
Ethylenediamine-tetraacetic acid - EDTA
O

HO O

HO N
N OH

O OH

 EDTA สามารถสร้างไอออนเชิงซ้อนที่เสถียรกับ Ca2+ , Mg2+ และไอออนประจุบวกสองอื่นๆที่เป็นสาเหตุของความ


กระด้างของน้า เมื่อเติมสารอีรีโครมแบลกทีอินดิเคเตอร์ที่น้าตัวอย่างที่มบี ัฟเฟอร์ที่พีเอช 10.0+0.1 สารอีรีโครมแบ
ลกทีอินดิเคเตอร์จะรวมกับ Ca2+ และ Mg2+ เกิดเป็นสารเชิงซ้อนสีม่วง (ถ้าไม่มีไอออนของโลหะละลายอยูจ่ ะได้
สารละลายสีน้าเงิน) เมื่อไตเตรทด้วย EDTA Ca2+ , Mg2+ และไอออนประจุบวกอื่นๆที่เป็นสาเหตุของความกระด้าง
ของน้าจะรวมตัวกับ EDTA เป็นสารเชิงซ้อน ซึ่งไม่มีสีและคงตัวกว่าสารเชิงซ้อนแรก โดยจะรวมตัวกับ Ca2+ ก่อน
แล้วจึงมารวมตัวกับ Mg2+ เมื่ออีดีทีเอรวมตัวกับไอออนดังกล่าวหมดแล้วจึงไปดึงไอออนโลหะ (Mg2+ ) มาจากสาร
เชิงซ้อนแรกจนหมดและปล่อยอีดีทีเป็นอิสระ สีของสารละลายจะเปลีย่ นเป็นสีน้าเงินอีรีโครมแบลกทีอินดิเคเตอร์
แสดงว่าถึงจุดยุติตามสมการ
ธัชชัย ปุษยะนาวิน 4
สารเคมี
1. สารละลายมาตรฐานแคลเซียมคาร์บอเนต
ชั่งแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) ซึ่งได้อบแห้งแล้วจ้านวน 0.25 กรัม ใส่ในขวดรูปชมพู่ขนาด 250 มล. วางกรวยไว้ที่คอขวด
ค่อยๆ เติมเติม 1.0 M HCl ทีละหยด และเขย่าแรง ๆ จน CaCO3 ละลายหมด ทีละน้อยจนกระทั่งแคลเซียมคาร์บอเนตละลาย
หมด ปรับปริมาตรจนได้ปริมาตร 250 มล
2. สารละลาย EDTA เข้มข้น 1 M ละลายผงอีดีทีเอไดโซเดียมซอลท์ (EDTA Disodium Salt) 2.00 กรัม ในน้ากลั่นแล้วเจือจาง
ให้เป็น 450 มล. (ในบีกเกอร์ 600 มล) (คนด้วยแท่งคน และเติม NaOH 1 เม็ด) เติม MgCl2.6H2O 0.05 กรัม ปรับปริมาตรใน
ขวดปรับปริมาตร 500 มล.
3. สารละลายบัฟเฟอร์ pH 10
4. อิริโอโครม แบลค ที อินดิเคเตอร์ (Eriochrome Black t Indicator)
5. ตัวอย่างน้าปะปา

ธัชชัย ปุษยะนาวิน 5
STANDARDIZE สารละลาย EDTA ด้วยแคลเซียมคาร์บอเนต

• ปิเปตสารละลายมาตรฐานแคลเซียมคาร์บอเนต 25 มล.

EDTA • เติมสารละลายบฟัเฟอร์ pH 10 ลงไปจ้านวน 10 mL (เติม


สารละลายนีใน Hood) จากนันเติม Eriochrom Black T
ประมาณ 2-5 หยด

• น้าไปไทเทรตกับสารละลาย 0.01 M EDTA เมื่อถึงจุดยุติ


สารละลายจะเปลีย่ นสีจากสีม่วงไปเป็นสีฟ้า หรือ สีฟ้าอมเขียว

• จากปริมาตรของ EDTA และน้าหนักของ CaCO3 น้า ไป


ค้านวณหาความเข้มข้นของสารละลาย EDTA ได้ (ท้า 2 ซ้า)
ธัชชัย ปุษยะนาวิน 6

สารมาตรฐานแคลเซียมคาร์บอเนต
ความกระด้าง (HARDNESS)

ไทเทรตด้วย EDTA จนกว่าสีจะเปลี่ยนจากสีแดงเป็นสีน้าเงิน

ธัชชัย ปุษยะนาวิน 7
1. วิเคราะห์ความกระด้างทังหมด

1. ปิเปตน้าตัวอย่าง 50.00 มล ลงในขวดรูปชมพู่ขนาด 250 มล ละลาย


ให้ได้เป็นกรดด้วย HCl 2-3 หยดอุ่น 1 นาที ไล่ CO2ปรับ pH ให้เป็น
กลางด้วย NaOH

2. เติมสารละลายบัฟเฟอร์ pH 10 ลงไป 5 mL (เติมสารละลายนีใน


Hood) เติม Eriochrom Black T ประมาณ 2 หยด

3. ไทเทรตด้วยสารละลายมาตรฐาน EDTA จนกระทั่งสารละลายเปลี่ยน


จาก สีม่วงแดง ไปเป็นสีฟ้า น้าผลที่ได้ ไปค้านวณหาความกระด้าง
ทังหมดของน้าในหน่วย ppm (ท้า 2 ซ้า)
ธัชชัย ปุษยะนาวิน 8
2. วิเคราะห์ความกระด้างถาวร

1. น้าน้าตัวอย่าง 250.00 mL (จากขวดปรับปริมาตร 250 มล.) ใส่บีกเกอร์


ขนาด 600 มล ต้มจนเดือด 20 นาที ทิงไว้ให้เย็น
2. กรองผ่านกระดาษกรองลงในขวดปรับปริมาตร 250 มล. (ปรับปริมาตรให้ถึง
ขีด)
3. ปิเปตน้าตัวอย่าง 50.00 มล ลงในขวดรูปชมพู่ขนาด 250 มล เติม
สารละลายบฟัเฟอร์ pH 10 ลงไป 5 mL (เติมสารละลายนีใน Hood) เติม
Eriochrom Black T ประมาณ 2 หยด
4. ไทเทรตด้วยสารละลายมาตรฐาน EDTA จนกระทั่งสารละลายเปลี่ยนจาก สี
ม่วงแดง ไปเป็นสีฟ้า น้าผลที่ได้ ไปค้านวณหาความกระด้างทังหมดของน้าใน
หน่วย ppm (ท้า 2 ซ้า)
ธัชชัย ปุษยะนาวิน
5. น้าผลที่ได้จาก 1 และ 2 มาหักลบกันหาความกระด้างชั่วคราว 9
ความกระด้าง (HARDNESS)

ธัชชัย ปุษยะนาวิน 10
 การคานวณ
 ความกระด้ างของน ้า, มก./ล. ของ CaCO3 = (A - B) x M x 100 x 1,000
ปริมาตรตัวอย่างน ้า, มล.
หรื อ = (A - B) x 20

 เมื่อ A = ปริมาตรอีดีทีเอที่ใช้ ไตเตรทตัวอย่าง, มล.
B = ปริมาตรอีดีทีเอที่ใช้ ไตเตรทแบลงค์, มล.
M = ความเข้ มข้ นของอีดีทีเอ (0.01 โมลาร์ )

ธัชชัย ปุษยะนาวิน 11
ความกระด้าง (HARDNESS)

 1st Step: The calcium ion coordinates with the indicator (Eriochrome Black T).
H2In- + Ca2+ ↔ CaIn- + 2H1+

 2nd Step: The EDTA chelates the calcium ion and releases the indicator

EDTA(aq) + CaIn–(aq) + 2H+(aq) → H2In–(aq) + CaEDTA(aq)


pink blue

ธัชชัย ปุษยะนาวิน 12
ความกระด้าง (HARDNESS)

ธัชชัย ปุษยะนาวิน 13
ความกระด้าง (HARDNESS)

ธัชชัย ปุษยะนาวิน 14

You might also like