Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 13

การหาปริมาณสารที่ละลายได้ท้ังหมด (TDS) ในตัวอย่ างนา้

1. วัตถุประสงค์

เพื่อทดสอบหาปริมาณสารที่ละลายได้ทั้งหมด (TDS) ในตัวอย่างน้้าผิวดิน น้้าเสีย และน้้าประปา


โดยวิธี Total Dissolved solids dried at 180C ส้าหรับน้้าผิวดินและน้้าประปา และ dried at
103-105C ส้าหรับ น้้าเสีย

2. ขอบเขต

ใช้ส้าหรับการหาปริมาณสารที่ละลายได้ทั้งหมด (TDS) ในตัวอย่างน้้าผิวดิน และน้้าประปา ช่วง


การทดสอบ 100-1000 มิ ล ลิ กรั มต่ อลิ ตร (mg/L) และน้้ าเสี ย ช่ ว งการทดสอบ 100-5000
มิลลิกรัมต่อลิตร (mg/L)

3. ค้านิยาม
1.

3.1 น้้าผิ ว ดิน หมายถึง น้้ าที่เกิดตามธรรมชาติ ได้แก่ แม่น้า ล้ าคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ
อ่างเก็บน้้าและแหล่งน้้าสาธารณะอื่นๆที่อยู่ภายในผืนแผ่นดิน
3.2 น้้าเสีย หมายถึง น้้าที่มาจากกิจกรรรมต่างๆที่ส่งผลให้มีการปะปนหรือปนเปื้อนของมวล
สารอยู่ในน้้านั้น รวมถึงน้้าทิ้งหรือน้้าที่ผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้้าก่อนระบายลงสู่
แหล่งน้้าสาธารณะ
3.3 น้้าประปา หมายถึง น้้าที่เกิดจากการน้าน้้าจากแหล่งธรรมชาติ ได้แก่ น้้าผิวดินหรือ
น้้าใต้ดินมาผ่านขั้นตอนการปรับปรุงคุณภาพ แล้วจ่ายน้้าที่ผลิตได้ให้แก่ประชาชน
4. หลักการ
2.

เป็นการทดสอบหาปริมาณสารที่ละลายได้ทั้งหมดโดยกรองผ่านกระดาษกรองใยแก้ว GF/C
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 47 mm แล้วน้าน้้าที่ผ่านการกรองแล้วไปเทลงในชามระเหยที่ทราบ
น้้าหนักแน่นอน แล้วน้าไประเหยน้้าออกบนเครื่องอัง ไอน้้า (water bath) จนกระทั่งน้้าตัวอย่าง
ระเหยจนหมดแล้วน้าชามระเหยไปอบให้แห้งที่อุณหภูมิ 180 + 2 oC ส้าหรับน้้าผิวดิน และ
น้้าประปา และที่อุณหภูมิ 104 + 1 oC ส้าหรับน้้าเสีย เป็นเวลา 1 ชั่วโมง หลังจากนั้นน้าไปเข้า
ตู้ดูดความชื้น แล้วน้ามาชั่งน้้าหนัก ส่วนของน้้าหนักที่เพิ่มขึ้นจากชามระเหยคือปริมาณสาร
ที่ละลายได้ทั้งหมด โดยคิดเทียบเป็นหน่วย mg/L

5. ข้อควรระวังและความปลอดภัย
3.

5.1 ปัจจัยที่ท้าให้น้าหนักคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงคือ น้้าตัวอย่างที่มีเกลือของธาตุปน


อยู่มาก เช่น เกลือของสารจ้าพวกแคลเซียม แมกนีเซียม คลอไรด์ และซัลเฟต ซึ่งมีความ
ว่องไวและดูดความชื้นสูงมาก
5.2 สภาพของชามระเหยมีส่วนท้าให้ค่าจากการทดสอบคลาดเคลื่อนคือ ชามระเหย
มีสภาพดูดความชื้นได้ดี เช่น พื้นผิวขรุขระไม่เรียบ
5.3 การรบกวนจากภายนอก เช่น ต้าแหน่งการวางเครื่องชั่งไม่เหมาะสม ท้าให้เครื่องชั่งไม่
นิ่งขณะชั่ง
5.4 สิ่งที่เหลือตกค้างบนชามระเหยต้องไม่น้อยกว่า 2.5 mg และไม่เกิน 200 mg
5.5 ไม่ควรเปิดประตูของตู้ควบคุมอุณหภูมิหลังจากที่ใส่ตัวอย่างเข้าตู้แล้ว
5.6 ระวังไม่ให้ชามระเหยถูกขีดข่วนหรือกระแทกขณะทดสอบ เพราะอาจท้าให้น้าหนัก
สูญหายไปได้
5.7 ห้ามใช้มือจับชามระเหย เนื่องจากไขมันจากมือจะติดที่ชามระเหย ท้าให้น้าหนัก
ที่ได้ไม่แน่นอน
6. ภาวะควบคุม
4.

6.1 ภาวะแวดล้อม
6.1.1 ควบคุมห้องทดสอบ ขณะท้าการกรองตัวอย่าง และห้องเครื่องชั่ง ขณะท้าการชั่ง
ถ้วยชามระเหย ที่อุณหภูมิ 255 oC ความชื้นสัมพัทธ์ 5020 %R.H. และท้า
การทวนสอบโดยปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติงาน เรื่องการใช้และบ้ารุงรักษาเครื่องวัด
อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์
6.1.2 ท้าความสะอาดห้องทดสอบ/ห้องชั่งก่อนปฏิบัติงาน
6.1.3 แยกพื้นที่การเตรียมสารละลายมาตรฐาน ตัวอย่าง และอื่นๆ ให้เป็นสัดส่วนเพื่อ
ป้องกันการปนเปื้อน
6.2 ภาวะเครื่องมือ
6.2.1 ปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติงานเรื่อง การใช้และบ้ารุงรักษาเครื่องดิจิตอลเทอร์โมมิเตอร์
(Digital Thermometer)
6.2.2 ปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติงานเรื่อง การใช้และบ้ารุงรักษาเครื่องชั่ง
6.2.3 ปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติงานเรื่อง การใช้และบ้ารุงรักษาตู้อบ (OVEN)
6.2.4 เครื่องแก้วและอุปกรณ์ต้องผ่านการล้างท้าความสะอาด

7. เครื่องมือและอุปกรณ์

5.
7.1 เครื่องชั่งชนิดละเอียดทศนิยม 4 ต้าแหน่ง/5 ต้าแหน่ง
7.2 ตู้อบ (OVEN)

7.3 ชุดกรองแบบสุญญากาศ (Vacuum pump)

7.4 ตู้/โถดูดความชื้น (Desiccator) พร้อมด้วยสารดูดความชื้น (Silica gel) (สารดูดความชื้น


ต้องอบไล่ความชื้นเมื่อมีสีจางหรือเปลี่ยนใหม่เมื่อหมดสภาพ) หรือตู้ดูดความชื้นอัตโนมัติ
7.5 ชามระเหย (Evaporating dish) ขนาดความจุอย่างน้อย 90 mL

7.6 อ่างควบคุมอุณหภูมิ (Water bath)

7.7 กระดาษกรองใยแก้ว (GF/C) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 47 mm


7.8 เครื่องกวนแม่เหล็ก (magnetic stirrer) พร้อมแท่งคนแม่เหล็ก (magnetic bar)
7.9 กระบอกตวง (Cylinder) Class A ชนิด TD ขนาด 10, 25, 50 และ 100 mL
7.10 คีมคีบ (Forcep)
7.11 ที่คีบ (Tongs)
7.12 Volumetric flask Class A ขนาด 100 และ 1000 mL
8. สารเคมี

8.1 น้าโซเดียมคลอไรด์ (NaCl), Secondary reference material อบที่อุณหภูมิ 103-105 C


เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ไปใส่ในตู้/โถดูดความชื้น (Desiccator) หรือตู้ดูดความชื้นอัตโนมัติ เพื่อ
ปรับอุณหภูมิให้เท่ากับอุณหภูมิห้องและชั่งโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) จ้านวน 5 mg แล้วปรับ
ปริมาตร 100 mL ด้วยน้้ากลั่น
8.2 น้้ากลั่น

9. วิธกี ารทดสอบ

9.1 การเตรียมชามระเหยส้าหรับใส่ตัวอย่าง
9.1.1 เขียนหมายเลขที่ชามระเหยส้าหรับใส่ตัวอย่าง ใช้ปากกาสีน้าเงินเขียนหมายเลข
ส้าหรับน้้าผิวดินและน้้าประปา และใช้ปากกาสีแดงเขียนหมายเลขส้าหรับน้้าเสีย
เพื่อป้องกันการหยิบชามระเหยผิด เนื่องจากอบที่อุณหภูมิต่างกัน
9.1.2 น้าชามระเหยที่เตรียมไว้ไปอบในตู้อบ ยี่ห้อ Binder รุ่น FP240 /หรือตู้อบ ยี่ห้อ
Heraeus รุ่น T6120 โดยปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติงานเรื่องการใช้และบ้ารุงรักษาตู้อบ
(OVEN) (WI6.4-10) เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 180 + 2 oC ส้าหรับตัวอย่าง
น้้าผิวดินและน้้าประปา และอบที่อุณหภูมิ 104+1 oC ส้าหรับตัวอย่างน้้าเสีย และ
ท้า การทวนสอบอุ ณ หภู มิ โ ดยวิ ธี ป ฏิ บั ติ ง านเรื่ อ งการใช้ แ ละบ้ า รุ ง รั ก ษาเครื่ อ ง
ดิจิตอลเทอร์โมมิเตอร์ (Digital Thermometer)
9.1.3 น้ามาท้าให้เย็นในตู้/โถดูดความชื้น (Desiccator) หรือตู้ดูดความชื้นอัตโนมัติเพื่อ
ปรับอุณหภูมิให้เท่ากับอุณหภูมิห้อง
9.1.4 ชั่งน้้าหนั กชามระเหย ด้ว ยเครื่องชั่ง 4 ต้าแหน่ง /5 ต้าแหน่งโดยปฏิบัติตามวิธี
ปฏิบัติงานเรื่องการใช้และบ้ารุงรักษาเครื่องชั่ง
9.1.5 ท้าซ้้าตามข้อ 9.1.2 ถึง 9.1.4 จนได้น้าหนักคงที่หรือแตกต่างกันไม่เกิน 0.0004g
บันทึกน้้าหนักชามระเหย ลงสมุดแบบบันทึกผลการทดสอบปริมาณสารที่ละลาย
ได้ทั้งหมด (Total Dissolved Solide, TDS)
9.1.6 เก็บชามระเหยที่ได้น้าหนักคงที่แล้วไว้ในตู้/โถดูดความชื้น (Desiccator) หรือ
ตู้ดูดความชื้นอัตโนมัติเพื่อเตรียมความพร้อมในการทดสอบต่อไป
9.2 การรักษาสภาพ การทดสอบตัวอย่างน้้า และการบันทึกผลการทดสอบ
9.2.1 การรักษาสภาพตัวอย่างน้้า
ตัวอย่างที่เข้ามายังห้องปฏิบัติการ หากไม่สามารถทดสอบได้ทันที ให้รักษาสภาพ
ตัวอย่างด้วยการแช่เย็นที่อุณหภูมิ 42 oC และต้องทดสอบให้เสร็จภายใน 7
วั น โดยก่ อ นท้ า การทดสอบต้ อ งท้ า ให้ ตั ว อย่ า งน้้ า มี อุ ณ หภู มิ ใ กล้ เ คี ย งกั บ
อุณหภูมิห้อง
9.2.2 การทดสอบตัวอย่างน้้า
1) ใช้คีมคีบ (forcep) คีบกระดาษกรองโดยหงายด้านขรุขระขึ้น แล้ววางลงบน
ชุดกรอง
2) ล้างกระดาษกรองด้วยน้้ากลั่ น ปริมาณ 20 mL จ้านวน 3 ครั้ง เปิดปั้ม
สุญญากาศขณะเท เพื่อดูดน้้าให้แห้ง
3) เทน้้าในขวดรองรับน้้าชุดกรองทิ้ง แล้วใช้น้ากลั่นล้างขวดรองรับอีกครั้ง
4) ท้าตัวอย่างน้้า ให้เป็นเนื้อเดียวกัน โดยเขย่าตัวอย่างน้้าในขวดเก็บตัวอย่างให้
ผสมกันก่อน เทลงในบีกเกอร์ในปริมาตรตามที่ต้องการแล้วใส่ magnetic
bar ลงไป หลังจากนั้นน้าไปวางบน magnetic stirrer แล้วเปิดเครื่อง
5) ตวงตั ว อย่ า งน้้ า ใส่ ก ระบอกตวงตามปริ ม าตรที่ เ หมาะสมด้ ว ยบี ก เกอร์
(ปริมาตรที่เหมาะสม ควรให้เหลือสิ่งตกค้างในชามระเหยไม่น้อยกว่า 2.5 mg
และไม่เกิน 200 mg) เทลงบนกระดาษกรอง เปิดปั๊มสุญญากาศเพื่อดูดน้้า
ให้แห้ง บันทึกปริมาตรตัวอย่างที่ใช้ลงสมุดแบบบันทึกผลการทดสอบปริมาณ
สารที่ละลายได้ทั้งหมด (Total Dissolved Solide, TDS)
6) ล้ า งภายในกระบอกตวงด้ ว ยน้้ า กลั่ น เล็ ก น้ อ ยประมาณ 3 ครั้ ง เทลงบน
กระดาษกรอง และใช้น้ากลั่นฉีดล้างบริเวณปากชุดกรองอีก 1 รอบ เมื่อดูด
น้้าจนกระดาษกรองแห้ง
7) ถ่ายตัว อย่ างที่กรองได้ใส่ล งในชามระเหยที่เตรียมพร้อมไว้บนอ่างควบคุม
อุณหภูมิ (Water bath) และใช้น้ากลั่นล้างซ้้าอีกครั้ง โดยปฏิบัติตามวิธี
ปฏิบัติงานการใช้และบ้ารุงรักษาอ่างควบคุมอุณหภูมิ (Water bath) เมื่อ
ตัวอย่างน้้าแห้ง ให้ด้าเนินการตามข้อ 9.1.2 ถึง 9.1.5
9.2.3 การบันทึกผลการทดสอบ
1) น้าข้อมูลจากสมุดแบบบันทึกผลการทดสอบปริมาณสารที่ละลายได้ทั้งหมด
(Total Dissolved Solide, TDS) มาถ่ายโอนและค้านวณผล
( A - B) 6
ด้วยสูตร ปริมาณสารที่ละลายได้ทั้งหมด (mg/L) = × 10
V
เมื่อ A = น้้าหนักของชามระเหย + สารที่ละลายได้ทั้งหมด (กรัม)
B = น้้าหนักของชามระเหย (กรัม)
V = ปริมาตรของน้้าตัวอย่างที่ใช้ (มิลลิลิตร)
ลงในแบบบันทึกผลการทดสอบปริมาณของแข็ง (Solids) โดยรายงานผลการ
ทดสอบเป็นตัวเลขจ้านวนเต็ม (ให้ปฏิบัติตามภาคผนวกกฎการปัดเศษ) หน่วย
เป็น มิลลิกรัมต่อลิตร (mg/L)
2) ด้าเนินการประเมินค่าความไม่แน่นอนของการทดสอบและรายงานเป็นทศนิยม 2
ต้าแหน่ง (ให้ปฏิบัติตามภาคผนวกกฎการปัดเศษ) เมื่อผลการทดสอบมีค่า อยู่
ในช่ ว งขอบข่ า ยการรั บ รอง โดยปฏิ บั ติ ต ามวิ ธี ป ฏิ บั ติ ง าน เรื่ อ งการประเมิ น
ค่าความไม่แน่นอนของวิธีทดสอบการหาปริมาณสารที่ละลายได้ทั้งหมด (TDS)
ในตัวอย่างน้้า พร้อมบันทึกค่าความไม่แน่นอนของการทดสอบลงในแบบบันทึก
การค้านวณค่าความไม่แน่นอนของการหาปริมาณสารที่ละลายได้ทั้งหมด (TDS)
ในตัวอย่างน้้า และในแบบบันทึกผลการทดสอบปริมาณของแข็ง (Solids)
3) พิมพ์ ตรวจทานความถูกต้อง พร้อมลงชื่อและวันที่ลงในบันทึกผลการทดสอบ
ปริ มาณของแข็ง (Solids) แล้ วส่ งบันทึกผลการทดสอบพร้อมเอกสาร/ข้อมูล
ที่เกี่ยวข้องกับการทดสอบนั้นให้หัวหน้าทีมบริหารด้านวิชาการ เพื่อด้าเนินการ
รายงานผลการทดสอบตามวิธีด้าเนินการเรื่อง การรายงานผลการทดสอบ

ขั้นตอนการหาปริมาณสารทีล่ ะลายได้ทั้งหมด (TDS) ในตัวอย่างน้า้

อบชามระเหยที่อุณหภูมิ 180 + 2 ๐C ส้าหรับน้้าผิวดินและน้้าประปา และที่อุณหภูมิ 104 + 1 ๐C


ส้าหรับน้้าเสีย เป็นเวลา 1 ชั่วโมง

น้าเข้าตู้ดดู ความชื้น น้าไปชั่งน้้าหนักและบันทึกค่าที่ได้

อบชามระเหยและน้าเข้าตู้ความชืน้ ซ้้าอีก จนได้น้าหนักคงที่ หรือ


มีการเปลี่ยนแปลงของน้้าหนักไม่เกิน 0.0004 g

ตวงตัวอย่างน้้าให้มีปริมาณสารทีล่ ะลายได้ทั้งหมด อยู่ในช่วง 2.5 – 200 mg

กรองน้้าตัวอย่างด้วยชุดกรองสุญญากาศ ถ่ายน้้าตัวอย่างใส่ชามระเหย
ที่ชั่งน้้าหนักแล้วและน้าไประเหยด้วยอ่างควบคุมอุณหภูมิจนแห้ง

อบชามระเหยที่อุณหภูมิ 180 + 2 ๐C ส้าหรับน้้าผิวดินและน้้าประปา


และที่อุณหภูมิ 104 + 1 ๐C ส้าหรับน้้าเสีย เป็นเวลา 1 ชั่วโมง

น้าเข้าตู้ดดู ความชื้น น้าไปชั่งน้้าหนักบันทึกค่าที่ได้

อบชามระเหยและน้าเข้าตูด้ ูดความชื้นซ้้าอีก จนได้น้าหนักคงทีห่ รือ


มีการเปลี่ยนแปลงของน้้าหนักไม่เกิน 0.0004 g
10. การมั่นใจความใช้ได้ของผลการทดสอบ

10.1 การควบคุมคุณภาพภายใน
10.1.1 การทดสอบ Method blank เพื่อทดสอบดูการปนเปื้อน (Contamination)
ของวิธีการท้าทุกครั้งที่มีการทดสอบ โดยท้า 1 ตัวอย่าง ต่อ batch
1) ท้าการทดสอบโดยปฏิบัติตามข้อ 9.2.2 แต่ใช้น้ากลั่นแทนตัวอย่างน้้า
2) บันทึกผลการทดสอบโดยปฏิบัติตามข้อ 9.2.3
ก้าหนดเกณฑ์ค่า Method blank ต้องไม่เกิน 5 mg/L กรณีค่า Method
blank มากกว่า 5 mg/L ให้ท้าการเปลี่ยนน้้ากลั่นใหม่ แล้วท้าการ
ทดสอบตัวอย่างซ้้าใหม่ทั้ง batch อีกครั้ง
10.1.2 การท้า Laboratory-fortified blank (LFB) ท้าทุกครั้งที่ท้าการทดสอบโดย
ท้าอย่างน้อย 1 ตัวอย่างในทุกๆ 20 ตัวอย่าง หรือ 1 ตัวอย่างต่อ batch ใน
กรณีที่ batch นั้นน้อยกว่า 20 ตัวอย่าง
1) ท้าการทดสอบโดยปฏิบัติตามข้อ 9.2.2 แต่ใช้สารละลาย ข้อ 8.1 แทน
ตัวอย่างน้้า ปริมาตร 100 mL
2) บันทึกผลการทดสอบโดยปฏิบัติตามข้อ 9.2.3
3) น้าผลการทดสอบที่ได้ ค้านวณ %Recover
LFB % Recovery = measured conc
x 100
spiked conc
บันทึกค่าที่ได้ลงในแบบบันทึกผลการทดสอบปริมาณของแข็ง (Solids)
ก้าหนดเกณฑ์ %Recovery ต้องอยู่ในช่วง 85-115 (กรณีไม่ผ่านเกณฑ์
ที่ก้าหนดให้เตรียมสารละลายจากข้อ 8.1 ใหม่ จากนั้นให้ด้าเนินการตาม
ข้อ 10.1.2 1) ถึง 3) แล้วทดสอบตัวอย่างซ้้าใหม่ทั้ง batch อีกครั้ง)
10.1.3 ทดสอบความเที่ยง (Precision) ด้วยการท้าซ้้า (Duplicate) ) ท้าทุกครั้ง
ที่ท้าการทดสอบ โดยท้าอย่างน้อย 1 ตัวอย่างในทุกๆ 20 ตัวอย่าง หรือ
1 ตัวอย่างต่อ batch ในกรณีที่ batch นั้นน้อยกว่า 20 ตัวอย่างเพื่อหา
%RPD
1. น้าตัวอย่างใน batch มาทดสอบซ้้า โดยด้าเนินการตามข้อ 9.2.2
2. น้าน้้าบันทึกผลการทดสอบโดยปฏิบัติตามข้อ 9.2.3 มาค้านวณ %RPD

เมื่อ X1 = น้้าหนักของชามระเหย + สารที่ละลายได้ทั้งหมด (กรัม)


ลบกับน้้าหนักของชามระเหย (กรัม) ครั้งที่ 1
X2 = น้้าหนักของชามระเหย + สารที่ละลายได้ทั้งหมด (กรัม)
ลบกับ น้้าหนักของชามระเหย (กรัม) ครั้งที่ 2
= ค่าเฉลี่ยของ X1 และ X2 (กรัม)
3. บันทึกค่าที่ได้ลงในแบบบันทึกผลการทดสอบปริมาณของแข็ง (Solids) (FS7.2-03)
ก้าหนดเกณฑ์ %RPD ต้องมีค่า  5 (กรณีไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดให้ด้าเนินตามข้อ
11.1.3 1) ถึง 3) แล้วทดสอบตัวอย่างซ้้าใหม่ทั้ง batch อีกครั้ง)

10.2 การควบคุมคุณภาพภายนอก
การควบคุมคุณภาพภายนอก โดยการเปรียบเทียบผลการทดสอบระหว่างห้องปฏิบัติการ
(Inter-Laboratory) ซึ่งเป็นการหาความแม่นย้าของวิธีและขั้นตอนการทดสอบด้วย
การเปรียบเทียบผลการทดสอบที่ได้กับห้องปฏิบัติการอื่นที่ทดสอบด้วยวิธีและตัวอย่าง
เหมือนกันหรือผลการทดสอบความช้านาญจากค่า Z-Score ควรมีค่าZอยู่ในช่วง  2
10.2.1 กรณีที่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก้าหนด 2 < Z < 3 และ Z  3 ให้ด้าเนินการ
สืบค้นต้นเหตุของข้อผิดพลาด ดังนี้
1) ตรวจความถูกต้องของการค้านวณ และการบันทึกผล
2) ตรวจสอบระบบการควบคุมคุณภาพของห้องปฏิบัติการ เช่น เทคนิคของ
ห้องปฏิบัติการในการท้าตัวอย่างให้เป็นเนื้อเดียวกันก่อนการทดสอบ (ขณะ
เทตัวอย่าง) เทคนิคการกรอง การควบคุมอุณหภูมิและระยะเวลาที่ใช้ในการ
อบแห้ งของสารที่กรองได้ที่อุณหภูมิก้า หนด การใช้ตัว อย่างควบคุม การ
ป้ อ งกั น ผลกระทบขององค์ ป ระกอบในตั ว อย่ า งต่ อ การทดสอบ เกณฑ์
ก้าหนดของการทดสอบซ้้าในตัวอย่างเดียวกันตามวิธีที่ใช้ทดสอบ การเก็บ
รักษาตัวอย่างในสภาวะที่เหมาะสมกรณีที่ไม่สามารถทดสอบได้ทันที เกณฑ์
คุณ ภาพหรื อความบริ สุ ท ธิ์ ข องน้้ ากลั่ น ที่ใ ช้ ในการล้ า งตะกอนที่ ก รองได้
เป็นต้น
3) ตรวจสอบระบบการควบคุมสภาวะแวดล้อมของห้องปฏิบัติการ เช่น การ
ควบคุมอุณหภูมิและความชื้นของห้องเครื่องชั่งน้้าหนัก การป้องกันการ
ปนเปื้อนจากสภาวะแวดล้อมข้างเคียงขณะท้าการทดสอบ เป็นต้น
4) ตรวจสอบอุปกรณ์/เครื่องมือที่ใช้ เช่น ตู้อบ(OVEN)/เครื่องชั่ง ว่าได้รับการ
สอบเทียบตามระยะเวลาที่ก้าหนดหรือไม่
5) ตรวจสอบการหาปริมาณ residue หลังอบจนน้้าหนักคงที่ว่ามีค่าความ
แตกต่างของน้้าหนักหลังการอบไม่เกิน 0.0004 g
6) ตรวจสอบปริ ม าตรของตั ว อย่ า งที่ ต้ อ งการทดสอบว่ า เหมาะสมและ
สอดคล้องกับความเข้มข้นของสารที่ละลายได้ทั้งหมด ในตัวอย่างหรือไม่
10.2.2 ปฏิบัติการแก้ไขตามแนวทางต่อไปนี้ตามความเหมาะสม เช่น
1) ค้านวณใหม่
2) ส่ ง เครื่ อ งมื อ สอบเที ย บ และทวนสอบผลการสอบเที ย บว่ า อยู่ ใ นเกณฑ์
ที่ก้าหนด
3) ใช้ปริมาตรของตัวอย่างที่ต้องการทดสอบให้เหมาะสมและสอดคล้องกับ
ความเข้มข้นของสารที่ละลายได้ทั้งหมดในตัวอย่าง
11. การตรวจสอบสารเคมี/วัสดุสนิ้ เปลืองก่อนน้าไปใช้งาน

การตรวจสอบคุณภาพของสารโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ก่อนน้าสารเคมีขวดใหม่มาใช้ในการ


ทดสอบให้ท้าการทดสอบคุณภาพของสารเคมีก่อนการใช้งาน ดังนี้
11.1 น้ า สารโซเดี ย มคลอไรด์ (NaCl) ขวดที่ ใ ช้ ง านอยู่ ปั จ จุ บั น และขวดใหม่ มาเตรี ย ม
สารละลายให้มีความเข้มข้น 50 mg/L (เตรียมโดยชั่งโซเดียมคลอไรด์ NaCl ที่ผ่าน
การอบที่อุณหภูมิ 103-105 C เป็นเวลา 1 ชั่วโมง จ้านวน 50 mg ละลายในน้้ากลั่น
แล้ ว ปรั บ ปริ ม าตรให้ เ ป็น 1,000 mL) จากนั้น น้า สารละลายดัง กล่ าวมาใช้ ในการ
ทดสอบหาปริมาณสารที่ละลายได้ทั้งหมดตามวิธีทดสอบ ข้อ 9 ในแต่ละขวดอย่าง
น้อย 1 ซ้้า บัน ทึกผลลงในสมุดแบบบันทึกผลการทดสอบปริมาณสารที่ล ะลายได้
ทั้งหมด (Total Dissolved Solide, TDS)
11.2 ท้าการประเมินคุณภาพสารเคมี โดยก้าหนดให้ %Recovery ของการทดสอบหา
ปริมาณสารที่ละลายได้ทั้งหมดจะต้องอยู่ในช่วง 85-115 % น้าผลการทดสอบที่ได้มา
ค้านวณ % Recovery = measured conc
x 100
spiked conc

11.3 ท้าการประเมินคุณภาพสารเคมี โดยก้าหนดให้ %RPD ของการทดสอบหาปริมาณสาร


แขวนลอยทั้งหมดจะต้องมีค่า  5 น้าผลการทดสอบที่ได้มาค้านวณ

เมื่อ X1 = น้้าหนักของชามระเหย + สารที่ละลายได้ทั้งหมดในสารโซเดียมคลอไรด์ (กรัม)


ลบกับน้้าหนักชามระเหย (กรัม) ขวดที่ใช้งานอยู่ปัจจุบัน
X2 = น้้าหนักของชามระเหย + สารที่ละลายได้ทั้งหมดในสารโซเดียมคลอไรด์ (กรัม)
ลบกับน้้าหนักถ้วย aluminium foil พร้อมกระดาษกรอง (กรัม) ขวดใหม่
= ค่าเฉลี่ยของ X1 และ X2 (กรัม)
11.4 บันทึกผลข้อ 11.1, 11.2 และ 11.3 ลงในแบบบันทึกการตรวจสอบสารเคมี/วัสดุ
สิ้นเปลือง ก่อนน้าไปใช้งาน และมีหัวหน้าทีมบริหารด้านวิชาการเป็นผู้ตรวจสอบ
11.5 สารเคมี/วัสดุสิ้นเปลืองที่มีผลการทดสอบอยู่ในเกณฑ์ที่ก้าหนด (แสดงว่าสารเคมี/วัสดุ
สิ้ น เปลื อ ง มีความต่อเนื่องระหว่างสารเคมี /วัส ดุสิ้ นเปลื อ งที่ใช้ง านอยู่ปั จจุบันกั บ
สารเคมี/วัสดุสิ้นเปลืองใหม่ที่ต้องการใช้งานแทน) สามารถน้าสารเคมี/วัสดุสิ้นเปลือ ง
นั้นไปใช้งานได้ ในกรณีที่ตรวจสอบสารเคมี/วัสดุสิ้นเปลือง แล้วผลที่ได้ไม่อยู่ในเกณฑ์
ที่ก้าหนด สารเคมี/วัสดุสิ้นเปลืองนี้ไม่สามารถน้าไปใช้งานได้ และแจ้งให้หัวหน้าทีม
บริหารด้านวิชาการทราบและด้าเนินการแก้ไขตามวิธีด้าเนินการเรื่องงานที่ไม่เป็นไป
ตามที่ก้าหนด
ภาคผนวก
กฎการปัดเศษ

การปัดเศษให้มีความละเอียดหนึ่งหน่วยในต้าแหน่งสุดท้ายที่คงไว้
กฎข้อที่ I ถ้าเศษตัวแรกมีค่าน้อยกว่า 5 ให้ปัดเศษทิ้งไป และคงตัวเลขตัวสุดท้ายในต้าแหน่งที่
ต้องการคงไว้
กฎข้อที่ II ถ้าเศษตัวแรกมีค่ามากกว่า 5 หรือเท่ากับ 5 แล้วตามด้วยตัวเลขอื่นที่ไม่ใช่ศูนย์ทั้งหมด
ให้ปัดเศษขึ้น คือเพิ่มค่าของตัวเลขตัวสุดท้ายในต้าแหน่งที่ต้องการคงไว้ขึ้นอีก 1
กฎข้อที่ III ถ้าเศษตัวแรกมีค่าเท่ากับ 5 โดยไม่มีตัวเลขอื่นต่อท้าย หรือเท่ากับ 5 แล้วตามด้วยเลข
ศูนย์ทั้งหมดให้ปฏิบัติดังนี้
- เมื่อตัวเลขตัวสุดท้ายในต้าแหน่งที่ต้องการคงไว้เป็นเลขคี่ ให้เพิ่มค่าของตัวเลขนี้ขึ้นอีก 1
- เมื่อตัวเลขตัวสุดท้ายในต้าแหน่งที่ต้องการคงไว้เป็นเลขคู่หรือเลขศูนย์ให้ปัดเศษทิ้ง

ตาราง ตัวอย่างการปัดเศษให้มีความละเอียดหนึ่งหน่วยในต้าแหน่งสุดท้ายที่คงไว้ตาม กฎข้อที่ I ถึง


กฎข้อที่ III
3) อบชามระเหยและนาเข้ าตู้
ความชื้นซ้าอีก จนได้ นา้ หนักคงที่
หรือมีการเปลีย่ นแปลงของนา้ หนัก
1) อบชามระเหยทีอ่ ุณหภูมิ 180 + 2 ๐C สาหรับ ไม่ เกิน 0.0004 g
2) นาเข้ าตู้ดูดความชืน้ นาไปชั่งนา้ หนัก
นา้ ผิวดินและนา้ ประปา และทีอ่ ณ
ุ หภูมิ
๐ และบันทึกค่ าทีไ่ ด้
104 + 1 C สาหรับนา้ เสีย เป็ นเวลา 1 ชั่วโมง

6) อบชามระเหยทีอ่ ุณหภูมิ 180 + 2 ๐C สาหรับนา้ 4) ตวงตัวอย่ างนา้ ให้ มปี ริมาณสารทีล่ ะลายได้
ผิวดินและนา้ ประปา และทีอ่ ุณหภูมิ 104 + 1 ๐C 5) ถ่ ายนา้ ตัวอย่ างใส่ ชามระเหยทีช่ ั่งนา้ หนักแล้ ว ทั้งหมด อยู่ในช่ วง 2.5 – 200 mg กรองนา้ ตัวอย่ าง
สาหรับนา้ เสีย เป็ นเวลา 1 ชั่วโมง และนาไประเหยด้ วยอ่ างควบคุมอุณหภูมจิ นแห้ ง ด้ วยชุดกรองสุ ญญากาศ

8) อบชามระเหยและนาเข้ าตู้ความชื้นซ้าอีก
จนได้ นา้ หนักคงที่ หรือมีการเปลีย่ นแปลง
ของนา้ หนักไม่ เกิน 0.0004 g
7) นาเข้ าตู้ดูดความชื้น นาไปชั่งนา้ หนักบันทึกค่ าทีไ่ ด้

You might also like