Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 69

กลยุทธ์ การพัฒนาการเรียนรู้ E-Learning เพื่อตอบสนองความต้องการ


ในยุคศตวรรษที่ 21

ศุภาภรณ์ พงษ์ แพทย์

สารนิพนธ์ นี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร


ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต
วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
พ.ศ. 2562

ลิขสิ ทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล

สารนิพนธ์
เรื่ อง
กลยุทธ์ การพัฒนาการเรียนรู้ E-Learning เพื่อตอบสนองความต้องการ
ในยุคศตวรรษที่ 21

ได้รับการพิจารณาให้นบั เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร


ปริ ญญาการจัดการมหาบัณฑิต
วันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

…………………………………….
นางสาวศุภาภรณ์ พงษ์แพทย์
ผูว้ ิจยั

……………………………………. …………………………………….
ภูมิพร ธรรมสถิตเดช, รองศาตราจารย์ณัฐสิทธิ์ เกิดศรี ,
D.B.A. Ph.D.
อาจารย์ที่ปรึ กษาสารนิพนธ์ ประธานกรรมการสอบสารนิพนธ์

........................................................... .............................................................
ดวงพร อาภาศิลป์ , ผูช้ ่วยศาสตราจารย์พาสน์ ทีฑทรัพย์,
Ph.D. D.B.A.
คณบดี กรรมการสอบสารนิพนธ์
วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล

กิตติกรรมประกาศ

สารนิพนธ์ฉบับนี้สาเร็ จลุล่วงได้ดว้ ยดีตามวัตถุประสงค์ของผูว้ ิจยั ด้วยความอนุเคราะห์


และสนับสนุ นจากผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องต่าง ๆ ทั้งนี้ ผวู ้ ิจยั ขอใช้พ้ืนที่กิตติกรรมประกาศนี้ ในการแสดง
ความขอบคุณทุกท่าน
ผูว้ ิจ ัยขอขอบคุ ณ อาจารย์ภู มิพร ธรรมสถิตเดช อาจารย์ที่ปรึ ก ษาสารนิ พนธ์ฉ บับ นี้
สาหรับความกรุ ณ าและค าชี้ แนะตั้งแต่ เริ่ มต้น ตลอดจนข้อปรั บปรุ ง จนทาให้สารนิ พนธ์น้ ี เสร็ จ
สมบูรณ์
ผูว้ ิจยั ขอขอบคุณคณาจารย์วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ให้ความรู ้และคา
ชี้แนะ โดยเป็ นส่วนหนึ่งในการนาองค์ความรู ้ที่ได้รับ มาใช้เป็ นพื้นฐานสาคัญในการศึกษาวิจยั ชิ้นนี้
รวมถึงขอบคุณ คณะเจ้าหน้าที่ ประจ าวิทยาลัยการจัด การ มหาวิทยาลัยมหิ ดลทุกท่ านที่ ได้อานวย
ความสะดวกทาให้การศึกษาวิจยั สาเร็ จได้
ขอขอบคุณผูต้ อบแบบสอบถามทุกท่าน ที่ได้สละเวลาให้ขอ้ มูลอันเป็ นประโยชน์และ
เป็ นองค์ประกอบสาคัญของงานวิจยั ชิ้นนี้
ขอขอบคุณครอบครัวที่เป็ นกาลังใจ และเป็ นแรงสนับสนุนอย่างดีตลอดระยะเวลาของ
การศึกษาและการทางานวิจยั ชิ้นนี้
ท้ายนี้ ผวู ้ ิจยั ขอขอบคุณผูช้ ้ ีแนะและผูใ้ ห้แนวทางการทาวิจยั และกัลยาณมิตรร่ วมรุ่ น
MS 20C วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิ ดลทุกคน ในมิตรภาพ คาแนะนา และความช่วยเหลือต่าง ๆ
ที่มีให้กนั เสมอมา

ศุภาภรณ์ พงษ์แพทย์

กลยุทธ์การพัฒนาการเรี ยนรู ้ E-Learning เพื่อตอบสนองความต้องการในยุคศตวรรษที่ 21


A STRATEGY OF E-LEARNING DEVELOPMENT IN 21st CENTURY

ศุภาภรณ์ พงษ์แพทย์ 6050488

กจ.ม.

คณะกรรมการที่ปรึ กษาสารนิพนธ์: ภูมิพร ธรรมสถิตเดช, D.B.A., รองศาสตราจารย์ณัฐสิทธิ์ เกิดศรี ,


Ph.D., ผูช้ ่วยศาสตราจารย์พาสน์ ทีฑทรัพย์, D.B.A.

บทคัดย่อ
การวิจยั นี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษากลยุทธ์การพัฒนาการเรี ยนรู ้ E-Learning งานวิจยั นี้
เป็ นงานวิจ ัยเชิ งปริ ม าณ (Qualitative Research) เพื่ อ ศึก ษาปั จ จัย ที่ มีต่ อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย น
ออนไลน์ เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอน โดยงานวิจยั นี้ มีประเด็น ที่จะศึก ษาปั จจัย 3 ด้าน ได้แก่ ด้าน
คุณ ภาพของที่ รองรับระบบปฏิบตั ิ การ (platform) ด้านคุณ ภาพเนื้ อหา (content) และด้านคุณ ภาพ
เครื่ องมือ (tool) ที่มีผลต่อการใช้งาน (Use) บทเรี ยนออนไลน์ และความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน (User
Satisfaction) กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน (Learning Achievement) ของผูใ้ ช้งานบทเรี ยน E-Learning
ผลการศึก ษาพบว่า ปั จจัยทั้ง 3 ด้าน มีอิทธิพลต่ อการใช้งาน และความพึงพอใจของผูใ้ ช้งานโดย
เรี ยงลาดับความสาคัญของปัจจัยทั้ง 3 ด้าน จากมากไปน้อย ดังนี้ คุณภาพของ platform คุณภาพของ
content และคุณภาพของ tool ตามลาดับ ผูจ้ ดั การเรี ยนการสอนหรื อผูด้ ูแลระบบสามารถนาไปเป็ น
แนวทางในการพัฒนาบทเรี ยน E-Learning โดยต้องคานึงถึงคุณภาพการบริ การเป็ นหลัก เนื่องจาก
คุณภาพการบริ การเป็ นสิ่ งจาเป็ นในการใช้งานและสร้างความพึงพอใจให้กบั ผูใ้ ช้งาน เพราะหากมี
คุณภาพการบริ การที่ดี ผูใ้ ช้งานระบบก็จะมีความรู ้สึกที่อยากกลับมาใช้งานซ้ าในครั้งต่อไป และมี
ความพึงพอใจที่ดีตามไปด้วย รวมถึงการพัฒนารู ปแบบ E-Learning ทั้งในรู ปแบบสถาบันการศึกษา
และด้านเชิงพาณิ ชย์ควรผสมผสานในเรื่ องของการตลาดและกลยุทธ์การตอบสนองความต้องการ
ของผูเ้ รี ยนด้วย เพื่อพัฒนา E-Learning ให้มีประสิทธิภาพที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ต่อไป

คาสาคัญ: E-Learning/ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน

53 หน้า

สารบัญ

หน้ า
กิตติกรรมประกาศ ค
บทคัดย่อ ง
สารบัญตาราง ช
สารบัญรูปภาพ ฌ
บทที่ 1 บทนา 1
1.1 ที่มาและความสาคัญของปัญหา 1
1.2 ข้อมูลทัว่ ไปเกี่ยวกับอุตสาหกรรม 4
1.3 วัตถุประสงค์ของการวิจยั 6
1.4 กรอบแนวคิด (ทฤษฎีในการวิจยั ) 6
1.5 ขอบเขตงานวิจยั 6
1.6 ข้อจากัดของการวิจยั 7
1.7 นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจยั 7
1.8 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 8
บทที่ 2 แนวทฤษฎี และงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้ อง 10
2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการเรี ยนการสอนออนไลน์ 10
2.2 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการจัดการนวัตกรรม 15
2.3 อุปสรรคที่เกี่ยวข้องต่อความสาเร็ จของการจัดการนวัตกรรม 15
บทที่ 3 ระเบียบวิจยั 16
3.1 กรอบแนวคิด 16
3.2 แนวทางศึกษาและการทดสอบสมมติฐาน 17
3.3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 20
3.4 เครื่ องมือในการเก็บข้อมูล 20
3.5 ขั้นตอนการเก็บข้อมูล 21

สารบัญ (ต่อ)

หน้ า
3.6 แบบสอบถามที่ใช้ในงานวิจยั 21
3.7 ประเด็นของความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่เก็บ 27
3.8 กรอบการวิเคราะห์ขอ้ มูล 28
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล 29
4.1 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้ 29
4.2 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น 29
4.3 การวิเคราะห์ขอ้ มูลสถิติเชิงพรรณนา 36
4.4 สรุ ปผลการวิจยั 40
4.5 อภิปรายผลการศึกษา 41
บทที่ 5 สรุปผลการวิจยั และข้ อเสนอแนะ 49
5.1 การวิจยั และลักษณะของหน่วยตัววัด 49
5.2 การสรุ ปผลที่ได้จากงานวิจยั และอภิปรายผล 50
5.3 ข้อเสนอแนะสาหรับการนาผลไปใช้ 52
5.4 ข้อเสนอแนะสาหรับงานวิจยั ในอนาคต 53
บรรณานุกรม 54
ภาคผนวก ก แบบสอบถาม 56
ประวัตผิ ู้วจิ ยั 61

สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้ า
3.1 ตัวแปรระดับการวัดข้อมูลและเกณฑ์การแบ่งกลุ่มคาตอบสาหรับข้อมูลทัว่ ไป 22
ของผูต้ อบแบบสอบถาม
3.2 ตัวแปรระดับการวัดข้อมูลและเกณฑ์การแบ่งกลุ่มคาตอบสาหรับประสบการณ์ 23
การเรี ยนผ่าน E-learning ผ่านมา
3.3 ตัวแปรระดับการวัดข้อมูลและเกณฑ์การแบ่งกลุ่มคาตอบสาหรับปัจจัยที่มีผลต่อการ 24
ใช้บริ การหลักสูตร E-learning
3.4 เกณฑ์ในการวัดระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อรู ปแบบการเรี ยน 24
E-learning ที่ส่งผลกระทบต่อความพึงพอใจแก่ผใู ้ ช้
3.5 เกณฑ์ในการวัดระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้งาน (Use) 25
และความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน (Use Satisfaction) บทเรี ยน E-learning ด้านที่รองรับ
ระบบปฏิบตั ิการ (platform)
3.6 เกณฑ์ในการวัดระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้งาน (Use) 26
และความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน (Use Satisfaction) บทเรี ยน E-learning ด้านเนื้อหา
(content)
3.7 เกณฑ์ในการวัดระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้งาน (Use) 26
และความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน (Use Satisfaction) บทเรี ยน E-learning ด้านเครื่ องมือ
(tool)
4.1 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามเพศ 30
4.2 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามอายุ 30
4.3 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามอาชีพ 30
4.4 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามเงินเดือน 31
4.5 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามประสบการณ์การเรี ยนผ่าน 32
E-learning ที่ผา่ นมา

สารบัญตาราง (ต่อ)

ตารางที่ หน้ า
4.6 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามช่วงเวลาที่เคยมีประสบการณ์ 32
การเรี ยนผ่าน E-learning ที่ผา่ นมา
4.7 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามระบบ E-learning ที่เคย 32
ใช้บริ การ
4.8 จานวนหน่ วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามเหตุผลในการเรี ยนหลักสูตร 33
E-learning
4.9 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามเนื้อหาที่ตอ้ งการเรี ยน 34
4.10 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามรู ปแบบการเรี ยน E-learning 35
ที่ส่งผลกระทบต่อความพึงพอใจแก่ผใู ้ ช้
4.11 ข้อมูลค่าเฉลี่ยเกี่ยวกับด้านคุณภาพของที่รองรับระบบปฏิบตั ิการ (platform) ที่มี 37
อิทธิพลต่อการตัดสินใจ (Use) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่าน
หลักสูตรออนไลน์
4.12 ข้อมูลค่าเฉลี่ยเกี่ยวกับด้านคุณภาพของเนื้ อหา (content) ที่มีอิทธิพลต่อการใช้งาน 38
(Use) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์
4.13 ข้อมูลค่าเฉลี่ยเกี่ยวกับด้านคุณภาพของเครื่ องมือ (tool) ที่มีอิทธิพลต่อการใช้งาน 39
(Use) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์
4.14 ข้อมูลสรุ ปรู ปแบบการเรี ยน E-learning ที่ส่งผลกระทบต่อความพึงพอใจแก่ผใู ้ ช้ 43
4.15 ข้อมูลสรุ ปปัจจัยที่มีผลต่ออิทธิพลต่อการใช้งาน (Use) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ ม 44
การเรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์ ด้านคุณภาพของ platform
4.16 ข้อมูลสรุ ปปัจจัยที่มีผลต่ออิทธิพลต่อการใช้งาน (Use) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ ม 46
การเรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์ ด้านคุณภาพของ content
4.17 ข้อมูลสรุ ปปัจจัยที่มีผลต่ออิทธิพลต่อการใช้งาน (Use) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ ม 47
การเรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์ ด้านคุณภาพของ tool

สารบัญรูปภาพ

ภาพที่ หน้ า
3.1 โมเดลความสาเร็ จของระบบสารสนเทศของ DeLone และ McLean ปี ค.ศ. 2003 17
1

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ที่มำและควำมสำคัญของปัญหำ
โลกมีก ารเปลี่ย นแปลงตลอดเวลา สังคมแห่ งการเรี ยนรู ้ ไม่มีว นั หยุด นิ่ ง สังคมโลก
กลายเป็ นสังคมความรู ้ (Knowledge Society) หรื อสังคมแห่งการเรี ยนรู ้ (Learning Society) องค์กร
ทางการศึกษาจึงต้องปรับตัวให้เป็ นองค์กรแห่งการเรี ยนรู ้ (Learning Organization) จากแผนพัฒนา
เศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติฉ บับที่ 11 (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิ จและสังคม
แห่งชาติ, 2554) มีนโยบายมุ่งเน้นแนวทางการพัฒนาโดยยึดคนเป็ นศูนย์กลาง เพื่อให้เกิดการพัฒนา
ที่ยง่ั ยืน ภายใต้ก ารเปลี่ยนแปลง ทั้งภายในและภายนอกประเทศ นอกจากนี้ ยังมีนโยบายส่ งเสริ ม
การศึ ก ษาให้ส อดคล้องกับความต้องการของผูเ้ รี ยน และสร้ างสังคมการเรี ยนรู ้ ที่มีคุ ณ ภาพอัน
ก่อให้เกิดการเรี ยนรู ้ตลอดชีวิต สอดคล้องกับนโยบายของรั ฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ข่าว
สานักงานรัฐมนตรี ,2556) ที่ตอ้ งการให้พฒั นาการศึกษาของประเทศอย่างเร่ งด่วน
ใน ยุ ค ศ ต ว ร ร ษ ที่ 2 1 ก ร ะ บ ว น ก าร เรี ย น ก า ร ส อ น มี ก าร เป ลี่ ย น แ ป ล ง
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2556) โดยผูเ้ รี ยนจะเรี ยนด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทนั สมัย
และสามารถเข้าถึงข้อมูลข่ าวสารได้อย่างรวดเร็ ว นอกจากนี้ ยังมีปัญ หาที่ สืบเนื่ องมาจากจานวน
นักเรี ยนที่เพิ่มขึ้นต่อห้องเรี ยน (สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ,2553) จนทาให้ประสิทธิภาพในการเรี ยนการ
สอนลดลง สื่ อที่แสดงมีขนาดใหญ่ไม่เพียงพอสาหรับผูเ้ รี ยนที่อยูห่ ลังห้อง ความจดจ่อกับผูส้ อนถูก
เบี่ยงเบนจากพฤติกรรมและสภาพแวดล้อมในชั้นเรี ยนขนาดใหญ่ ผูเ้ รี ยนมีการนาเอาคอมพิวเตอร์
พกพาเข้ามาสืบค้นความรู ้ในชั้นเรี ยนอภิปรายหรื อซักถามคาถามเกี่ยวกับเรื่ องที่ผสู ้ อนกาลังสอน
กระทรวงศึกษาธิการ (ข่าวสานักงานรัฐมนตรี , 2556) ได้เล็งเห็นความสาคัญของการ
นาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communications Technology : ICT) มา
ใช้เป็ นเครื่ องมือสาคัญและเป็ นประโยชน์ต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษา ช่วยเพิ่มประสิ ทธิภาพ
การเรี ยนการสอนได้อย่างรวดเร็ ว รวมทั้งยังช่ วยแก้ปัญหาการขาดแคลนครู ตลอดจนลดความไม่เท่า
เทียมทางการศึกษาในโรงเรี ยนที่ห่างไกลอีกด้วย
ปัจจุบนั กระทรวงศึกษาธิการได้มีแนวทางการพัฒนา ICT เพื่อการศึกษา ดังนี้
2

1) การจัดหาระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เพื่อการเรี ยนการสอนของสถานศึกษา ทั้ง


คอมพิวเตอร์ ประจาห้องปฏิบตั ิการ คอมพิวเตอร์ ประจาห้องเรี ยน ไม่ว่าจะเป็ นคอมพิวเตอร์ ต้ งั โต๊ะ
และคอมพิ ว เตอร์ พ กพา จัด ตั้งศูน ย์ข ้อ มู ล Data Center และสถานี โทรทัศ น์ ผ่านดาวเที ยม เพื่ อ
การศึกษา สาหรับใช้ในการเรี ยนการสอน
2) การพัฒนาโครงข่ายโทรคมนาคมเพื่อการศึกษาขั้นพื้นฐาน การบูรณาการโครงข่าย
MOENet (บารุ ง เฉี ยบแหลม, ม.ป.ป.) และ NEdNet (กาจร ตติยกวี,2555) ให้เป็ นโครงข่ายเดียว โดย
ใช้ชื่อว่า OBEC-NET (กระทรวงศึกษาธิการ, 2556) สาหรับใช้เป็ นเครื อข่ายเพื่อการศึกษาและวิจยั
โดยเชื่อมต่อโรงเรี ยนต่างๆ ไว้กบั ศูนย์ขอ้ มูลของ สพฐ. OBEC Data Center เพื่อให้ง่ายต่อการดูแล
และบริ หารจัดการ
3) การพัฒ นาสื่ อ อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ (Digital Contents) ในรู ปแบบสื่ อ ออนไลน์ ผ่า น
เว็บไซต์ e-Book หรื อApplications ต่างๆ
จากแนวทางการพัฒ นาไอซี ทีเพื่อการศึกษาของกระทรวงศึก ษาธิก าร จะเห็ น ได้ว่า
ปัจจุบนั กระทรวงศึกษาธิการได้เล็งเห็นความสาคัญของการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการศึกษา
โดยมี แ นวทางในการจัด การโครงสร้ างพื้ น ฐาน จัด สภาพแวดล้อ ม และพัฒ นาสื่ อ การเรี ยนรู ้
อิเล็กทรอนิ กส์ให้กบั สถานศึกษา แต่ส่ิ งสาคัญที่ ควรคานึ งถึงในการนาเทคโนโลยีเหล่านี้ ไปใช้ใน
การศึกษาคือ การพัฒ นาผูส้ อนให้มีความรู ้ ความสามารถในการนาไปประยุกต์ใช้และพัฒนาการ
เรี ยนการสอน หากสภาพแวดล้อมและอุปกรณ์เอื้ออานวยแต่ไม่รู้จกั นาไปใช้ให้คุม้ ค่า การลงทุนเพื่อ
พัฒนาไอซีทีเพื่อการศึกษานี้ จะได้ผลลัพธ์ที่ไม่คุม้ ค่า ดังนั้น การวางแผนพัฒ นาการเรี ยนการสอน
โดยใช้ไอซีที เป็ นเครื่ องมือต้องทาทั้งระบบเพื่อปฏิรูปการเรี ยนการสอนให้ได้ผลอย่างแท้จริ ง
ปั จ จุ บั น ผู ้ ใ ช้ อิ น เต อ ร์ เน็ ต ทั่ ว โ ล ก มี จ า น ว น เกื อ บ 4 พั น ล้ า น ค น
(www.brandbuffet.in.th,2018) อินเตอร์ เน็ตกลายเป็ นแหล่งแห่ งการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนข้อมูลที่
ใหญ่ที่สุดในโลก และทาให้เกิดการเปลี่ยนรู ปแบบการสื่ อสารจากยุคการสื่ อสารแบบเดิ ม เช่น การ
พบปะพูดคุ ยสนทนาแบบเห็ นหน้าพบเจอตัวกันของคู่สนทนาหรื อการเขียนหรื อส่ งจดหมายทาง
ไปรษณี ย ์ เป็ นต้น มาสู่ ใช้เทคโนโลยีก ารสื่ อสารในยุคดิ จิต อลแห่ งโลกเสมือนจริ ง (Eid & Ward,
2009)
นอกจากนี้ รายงานผลการส ารวจพฤติ ก รรมผู ้ใ ช้อิ น เทอร์ เน็ ต ในประเทศไทย
(Hootsuite, 2561) พบว่ามีผใู ้ ช้งานอินเทอร์เน็ต 57 ล้านคน มีผใู ้ ช้งาน Social Media มากถึง 51 ล้าน
คน มีผใู ้ ช้งานโทรศัพท์มือถือ สูงถึง 93.61 ล้านเลขหมาย มากกว่าจานวนประชากรทั้งประเทศ ใน
จานวนผูใ้ ช้งานอินเทอร์เน็ตทั้งหมด มีผใู ้ ช้ Social Media เป็ นประจาผ่าน Smart Device 46 ล้านคน
3

ปัจจุบนั ได้มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารมาประยุกต์ใช้ในการจัดการ


เรี ยนการสอนอย่างแพร่ หลาย มหาวิทยาลัยทัว่ โลกได้พฒั นาและขยายระบบการศึกษาจากการศึกษา
ภายในห้องเรี ยน (Face-to-face หรื อ Traditional Learning) เป็ นการเรี ยนการสอนแบบออนไลน์
(online learning) ขึ้ น เป็ นจานวนมาก (Allen & Seama, 2006) จนเกิ ด เป็ นนวัต กรรมการเรี ยนการ
สอนในรู ปแบบใหม่ๆ ขึ้นตามมา สถาบันการศึกษาและผูพ้ ฒั นา Platform จึงต้องมีการปรับตัวและ
รับมือกับรู ปแบบการศึกษาให้ทดั เทียมและสามารถแข่งขันได้
E-Learning เป็ นช่องทางหนึ่งที่เข้ามามีบทบาทในการเรี ยนรู ้รูปแบบใหม่ เนื่องจากเป็ น
ช่องทางที่ทาให้การเรี ยนการสอนง่ ายขึ้น และเปิ ดช่องทางการเรี ยนรู ้รูปแบบใหม่ๆ เพื่อเป็ นแนว
ทางเลือกในการเรี ยนรู ้เพิ่มเติ ม และสามารถแก้ไขปั ญ หาเรื่ องความแตกต่ างระหว่างบุค คล ความ
ต้องการ และความสามารถของผูเ้ รี ย น อีกทั้งยังช่ วยเอื้ออานวยความสะดวกในการเรี ย นรู ้ให้ก ับ
ผูเ้ รี ยนอีกด้วย
การเรี ยนการสอนออนไลน์ เป็ นการเรี ยนการสอนที่ผเู ้ รี ยนสามารถเรี ยนรู ้และฝึ กฝน
ตนเองได้โดยลาพังแบบไม่มีขอ้ จากัด ในเรื่ องเวลาและสถานที่ โดยสนับสนุ นระบบการเรี ยนรู ้ที่มี
ผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง (Student Centered Learning) ที่ผเู ้ รี ยนสามารถควบคุมจังหวะการเรี ยนรู ้ได้ดว้ ย
ตัวเอง (Self-paced Learning) ดังนั้นการเรี ยนการสอนออนไลน์น้ ี จะช่วยให้ผเู ้ รี ยนรู ้สึกพอใจ และไม่
เกิ ด ความกดดัน ขณะเรี ยนเมื่อเรี ยนไม่ทัน ผูอ้ ื่น ทาให้ไม่รู้ สึกเครี ยดในระหว่างเรี ยน จึงส่ งผลให้
ผูเ้ รี ยนมีประสิทธิภาพในการเรี ยนรู ้สูงขึ้น
อย่างไรก็ดี ในปั จจุบัน เมื่อกล่าวถึง E-Learning คนส่ วนใหญ่ จะหมายเฉพาะถึงการ
เรี ยนเนื้ อหาหรื อสารสนเทศซึ่งออกแบบมาสาหรับการสอนหรื อการอบรม ซึ่งใช้เทคโนโลยีของเว็บ
(Web Technology) ในการถ่ายทอดเนื้ อ หา และเทคโนโลยีร ะบบการบริ ห ารจัด การการเรี ย นรู ้
(Learning Management System) ในการบริ หารจัดการการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนและงานสอนด้านต่างๆ
โดยผูเ้ รี ยนที่เรี ยนจาก E-Learning นี้ สามารถศึกษาเนื้ อหาในลักษณะออนไลน์ นอกจากนี้ เนื้ อหา
สารสนเทศของ E-Learning จะถูกนาเสนอโดยอาศัยเทคโนโลยีมลั ติมีเดีย (Multimedia Technology)
และเทคโนโลยีเชิงโต้ตอบ (Interactive Technology)
จากความหมายที่ ค นส่ ว นใหญ่ นิ ยาม E-Learning นั้น จ าเป็ นต้องท าความเข้าใจให้
ชัดเจนว่า E-Learning ไม่ใช่เพียงแค่การสอนในลักษณะเดิม ๆ และนาเอกสารการสอนมาแปลงให้
อยู่ในรู ปดิจิตอล และนาไปวางไว้บนเว็บ หรื อระบบบริ หารจัดการการเรี ยนรู ้เท่านั้น แต่ครอบคลุม
ถึง กระบวนการในการเรี ยนการสอน หรื อการอบรมที่ใช้เครื่ องมือทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อให้เกิดความยืดหยุ่นทางการเรี ยนรู ้ (flexible learning) สนับสนุ นการเรี ยนรู ้ในลักษณะที่ผเู ้ รี ยน
เป็ นศูนย์กลาง (learner-centered) และการเรี ยนในลักษณะตลอดชีวิต (life-long learning) ซึ่งอาศัย
4

การเปลี่ยนแปลงด้านกระบวนทัศน์ (paradigm shift) ของทั้งกระบวนการในการเรี ยนการสอนด้วย


นอกจากนี้ E-Learning ไม่จ าเป็ นต้องเป็ นการเรี ยนทางไกลเสมอ คณาจารย์สามารถน าไปใช้ใน
ลักษณะการผสมผสาน (blended) กับการสอนในชั้นเรี ยนได้
จากความสาคัญของประเด็น ที่กล่าวมา ผูว้ ิจยั จึงมีความสนใจที่จะศึก ษาปั จจัยที่มีต่ อ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนออนไลน์เพื่อส่งเสริ มการเรี ยนการสอน โดยศึกษาปั จจัยด้านคุณภาพของที่
รองรับระบบ คุ ณภาพเนื้ อหา และคุณภาพของเครื่ องมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนออนไลน์เพื่อ
เสริ มการเรี ยนการสอน โดยทาการวิจยั กับผูท้ ี่เรี ยนเคยเรี ยนออนไลน์เพื่อวิเคราะห์ถึงความต้องการ
ในการเรี ยนออนไลน์ และผูท้ ี่ ไม่เคยเรี ยนออนไลน์ เพื่ อวิเคราะห์ปัจจัย ในการเริ่ มเรี ย นออนไลน์
งานวิจยั นี้ เป็ นประโยชน์ต่อสถาบัน การศึกษาและผูส้ อนที่ตอ้ งการพัฒนาระบบการเรี ยนการสอน
ออนไลน์เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการออกแบบและพัฒนาคุณภาพของสภาพแวดล้อมการเรี ยนการ
สอนออนไลน์ให้ผเู ้ รี ยนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนที่ดีข้ ึนและมีความต้องการในการเรี ยนรู ้ผา่ นระบบ
ออนไลน์เพิ่มมากขึ้น

1.2 ข้ อมูลทั่วไปเกี่ยวกับอุตสำหกรรม
ควำมหมำยของ E-Learning
การเรี ยนทางอิเล็ก ทรอนิ ก ส์ หรื อ E-Learning รู ปแบบการเรี ยนการสอน ซึ่ งใช้ก าร
ถ่ายทอดเนื้ อ หา (delivery methods) ผ่านทางอุป กรณ์ อิเล็ก ทรอนิ ก ส์ ไม่ ว่าจะเป็ น คอมพิ ว เตอร์
เครื อข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรื อ ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรื อ สัญญาณดาวเทียม
และใช้รูปแบบการนาเสนอเนื้ อหาสารสนเทศในรู ปแบบต่าง ๆ ซึ่งอาจอยู่ในรู ปแบบการเรี ยนเช่น
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer-Assisted Instruction) การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction)
การเรี ยนออนไลน์ (On-line Learning) การเรี ยนทางไกลผ่านดาวเทียม หรื ออาจอยูใ่ นลักษณะที่ยงั ไม่
ค่อยเป็ นที่แพร่ หลายนัก เช่น การเรี ยนจากวิดีทศั น์ตามอัธยาศัย (Video On-Demand) เป็ นต้น

ลักษณะสำคัญของ E-Learning (Feature of E-Learning)


ลัก ษณะส าคัญ ของ E-Learning ประกอบไปด้วยลัก ษณะ 4 ประการ (http://www.oknation.net/ )
ดังนี้
1. ทุกเวลาทุ กสถานที่ (Anywhere, Anytime) หมายถึง E-Learning ควรต้องช่วยขยาย
โอกาสในการเข้าถึงเนื้ อหาการเรี ยนรู ้ข องผูเ้ รี ยนได้จ ริ ง ในที่ น้ ี หมายรวมถึง การที่ ผเู ้ รี ยนสามารถ
5

เรี ยกดูเนื้ อหาตามความสะดวกของผูเ้ รี ยน เช่น ผูเ้ รี ยนมีการเข้าถึงเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อกับ


เครื อข่ายได้อย่างยืดหยุน่
2. มัลติมีเดีย (Multimedia) หมายถึง E-Learning ควรต้องมีการนาเสนอเนื้ อหาโดยใช้
ประโยชน์จากสื่อประสมเพื่อช่วยในการประมวลผลสารสนเทศของผูเ้ รี ยนเพื่อให้เกิดความคงทนใน
การจดจาและ/หรื อการเรี ยนรู ้ได้ดีข้ ึน
3. การเชื่อมโยง (Non-linear) หมายถึง E-Learning ควรต้องมีการน าเสนอเนื้ อหาใน
ลัก ษณะที่ ไม่ เป็ นเชิ งเส้น ตรง กล่ าวคื อ ผูเ้ รี ย นสามารถเข้าถึงเนื้ อ หาตามความต้อ งการ โดย E-
Learning จะต้องจัดหาการเชื่อมโยงที่ยดื หยุน่ แก่ผเู ้ รี ยน นอกจากนี้ ยงั หมายถึงการออกแบบให้ผเู ้ รี ยน
สามารถเรี ยนได้ตามจังหวะ
(pace) การเรี ยนของตนเองด้ว ย เช่ น ผูเ้ รี ยนที่ เรี ย นช้าสามารถเลือกเนื้ อหาที่ ต ้องการเรี ยนซ้ าได้
บ่อยครั้ง ผูเ้ รี ยนที่เรี ยนดีสามารถเลือกที่จะข้ามไปเรี ยนในเนื้ อหาที่ตอ้ งการได้โดยสะดวก
4. การโต้ตอบ (Interaction) หมายถึง E-Learning ควรต้องมีการเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยน
โต้ตอบ (มีปฏิสมั พันธ์) กับเนื้ อหา หรื อกับผูอ้ ื่นได้ กล่าวคือ
4.1 E-Learning ควรต้อ งมี ก ารออกแบบกิ จ กรรมซึ่ งผูเ้ รี ยนสามารถ
โต้ต อบกับเนื้ อหา (Interactive Activities) รวมทั้งมีการจัดเตรี ยมแบบฝึ กหัด และ
แบบทดสอบให้ผเู ้ รี ยนสามารถตรวจสอบความเข้าใจด้วยตนเองได้
4.2 E-Learning ควรต้องมีการจัดหาเครื่ องมือในการให้ช่องทางแก่ผเู ้ รี ยน
ในการติดต่อสื่อสาร (Collaboration Tools) เพื่อการปรึ กษา อภิปราย ซักถาม แสดง
ความคิดเห็นกับผูส้ อน วิทยากร ผูเ้ ชี่ยวชาญ หรื อเพื่อน ๆ ร่ วมชั้นเรี ยน โดยในส่วน
ของการโต้ต อบนี้ จะต้ อ งค านึ งถึ ง การให้ ผ ลป้ อนกลับ ที่ ทั น ต่ อ เหตุ ก ารณ์
(Immediate Response) ซึ่งอาจหมายถึง การที่ผสู ้ อนต้องเข้ามาตอบคาถามหรื อให้
คาปรึ ก ษาแก่ผูเ้ รี ยนอย่างสม่าเสมอและทัน เหตุ ก ารณ์ รวมถึง การที่ E-Learning
ควรต้องมีการออกแบบให้มีการทดสอบ การวัดผล และการประเมินผล ซึ่งสามารถ
ให้ผลป้ อนกลับโดยทันทีแก่ผูเ้ รี ยน ไม่ว่าจะอยู่ในลักษณะของแบบทดสอบก่อน
เรี ยน (pre-test) หรื อ แบบทดสอบหลังเรี ยน (posttest) ก็ตาม
6

1.3 วัตถุประสงค์ของกำรวิจยั
1. เพื่อศึกษาปัจจัย 3 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณภาพของที่รองรับระบบปฏิบตั ิการ (platform)
ด้านคุณภาพเนื้ อหา (content) และด้านคุณภาพของเครื่ องมือ (tool) ที่มีอิทธิพลต่อการใช้งาน (Use)
บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์
2. เพื่อศึกษาปัจจัย 3 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณภาพของที่รองรับระบบปฏิบตั ิการ (platform)
ด้านคุณภาพเนื้อหา (content) และด้านคุณภาพของเครื่ องมือ (tool) ที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของ
ผูใ้ ช้งาน (User Satisfaction) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์
3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการใช้งาน (Use) และความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน (User
Satisfaction) กับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน (learning Achievement) ของผูใ้ ช้งานบทเรี ยนออนไลน์
เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์

1.4 กรอบแนวคิด (ทฤษฎีในกำรวิจยั )


1. ปัจจัยด้านคุณภาพของที่รองรับระบบปฏิบตั ิการ (platform) ด้านคุณภาพของเนื้อหา
(content) และด้า นคุ ณ ภาพของเครื่ องมื อ (tool) มี ค วามสั ม พัน ธ์ก ับ การใช้ง าน (Use) บทเรี ยน
ออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์หรื อไม่ และอย่างไร
2. ปั จจัยด้านคุณ ภาพของที่ รองรั บ ระบบปฏิบัติ การ (platform) ด้านคุ ณ ภาพเนื้ อหา
(content) และด้านคุณภาพของเครื่ องมือ (tool) มีความสัมพันธ์กบั ความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน (User
Satisfaction) บทเรี ยนออนไลน์ เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลัก สู ต รออนไลน์ หรื อไม่ และ
อย่างไร
3. ก ารใช้ ง าน (Use) แ ละ ค ว าม พึ งพ อ ใจข องผู ้ ใ ช้ ง าน (User Satisfaction) มี
ความสัมพันธ์กบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน (Learning Achievement) ออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการ
สอนผ่านหลักสูตรออนไลน์หรื อไม่ และอย่างไร

1.5 ขอบเขตงำนวิจยั
ผูว้ ิจยั ใช้การวิจยั เชิงปริ มาณ (Quantitative Research) สาหรับการศึกษานี้ โดยเลือกใช้
วิธีการสารวจด้วยแบบสอบถามที่สร้างขึ้น และได้กาหนดขอบเขตของการวิจยั ไว้ดงั นี้
7

1. ผูท้ ี่ สามารถให้ข ้อมูลการวิจ ัย ครั้งนี้ คื อ ผูท้ ี่ เคยใช้วิธีก ารเรี ยนแบบออนไลน์ เพื่ อ


เรี ยนรู ้ในศาสตร์ความรู ้ดา้ นต่างๆ และผูท้ ี่ไม่เคยใช้วิธีการเรี ยนแบบออนไลน์
2. งานวิจยั นี้ มุ่งเน้นศึกษาปั จจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการ
เรี ยนการสอน โดยศึกษาตามรู ปแบบของทฤษฎี ความสาเร็ จ ของระบบสารสนเทศ (Information
System Success Model) และการสร้างผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
3. งานวิจ ัย นี้ จะวิเคราะห์ค วามสัมพัน ธ์ข องปั จ จัย ต่ างๆ ใน 3 ด้าน ได้แก่ ที่ รองรั บ
ระบบปฏิบตั ิการ (platform) ด้านคุณภาพเนื้อหา (content) และด้านคุณภาพของเครื่ องมือ (tool) เพื่อ
แสดงให้เห็ นถึงความสัมพันธ์ต่อการสร้างผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนออนไลน์หรื อ E-Learning เพื่อ
เสริ มการเรี ยนการสอน โดยอาศัยข้อมูลการตอบแบบสอบถามของหน่วยตัวอย่าง

1.6 ข้ อจำกัดของกำรวิจยั
1. กลุ่มตัวอย่างของงานวิจ ัยนี้ คือ ผูท้ ี่เคยใช้วิธีก ารเรี ยนแบบออนไลน์เพื่อเรี ยนรู ้ใน
ศาสตร์ความรู ้ดา้ นต่างๆ และผูท้ ี่ไม่เคยใช้วิธีการเรี ยนแบบออนไลน์ จานวนรวม 100 คน
2. การวิจยั นี้เป็ นการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนออนไลน์หรื อ E-Learning เพื่อเสริ ม
การเรี ยนการสอนภายในหลักสูตรออนไลน์ รวมถึงหลักสูตรอื่นๆที่ เปิ ดตามความต้องการของผูเ้ รี ยน
ซึ่งอาจไม่สามารถสะท้อนถึงการเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนในภาพรวมได้

1.7 นิยำมศัพท์ เฉพำะที่ใช้ ในกำรวิจยั


1. การเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอน หมายถึง เป็ นการเรี ยนที่ไม่ได้ใช้เป็ น
สื่ อหลักในการเรี ยนการสอน เป็ นเพียงทางเลือกอีกทางหนึ่ งให้กบั ผูเ้ รี ยนในการเข้าถึงเนื้ อหา เพื่อ
เพิ่มประสบการณ์ และความรู ้เพิ่มเติมให้แก่ผเู ้ รี ยนเท่านั้น เช่น เอกสารประกอบการสอน วิ ดีทศั น์
ฯลฯ (ถนอมพร (พิพฒั น์) เลาหจรัสแสง, 2545)
2. E-Learning หมายถึงกระบวนการและการใช้ประโยชน์จากการเรี ยนการสอนผ่าน
เว็บ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ห้องเรี ยนเสมือนและการเรี ยนร่ ว มมือด้วยเครื่ องมือดิจิตอลต่าง ๆ รวมถึง
การเรี ยนผ่านระบบอินเทอร์เน็ต,ระบบอินทราเน็ต ระบบเครื อข่าย การเรี ยนด้วยระบบเสี ยง ระบบ
ภาพ ระบบดาวเทียม ระบบโทรทัศน์ และซีดีรอม (http://www.moe.go.th, 2553)
3. คุณภาพของที่รองรับระบบปฏิบตั ิการ (platform) หมายถึง ระดับประสิทธิภาพของ
ระบบในด้านความสะดวกในการใช้งาน ความง่ายในการใช้งาน ความน่ าเชื่อถือของระบบ ความมี
8

เสถียรภาพ ความปลอดภัยในการใช้งาน และเวลาในการตอบสนอง ความเป็ นส่ วนตัว และความ


ปลอดภัย (Delone & McLean, 2003)
4. คุณภาพเนื้ อหา (content) หมายถึง ระดับประสิ ทธิภาพของคุณลักษณะสาคัญของ
บทเรี ยน ได้แก่ ความครบถ้วยสมบูรณ์ ความถูกต้อง ความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กนั ความเข้าใจได้ง่าย
ความทันสมัย การตรงตามวัตถุประสงค์ของการเรี ยน ความทันต่อเวลา (Delone & McLean, 2003)
5. คุณภาพเครื่ องมือ (tool) หมายถึง ระดับประสิ ทธิภาพของช่องทางการติดต่อสื่ อสาร
กับผูใ้ ช้และผูส้ อน การตอบสนองต่อผูร้ ับบริ การ การมีคู่มือและเนื้ อหาประกอบการเรี ยนการสอน
(Parasuraman, Zeithaml, & Berry, 1988)
6. การใช้งาน (Use) หมายถึง การเข้าใช้งานในส่ วนต่างๆ ของระบบที่ แสดงถึงความ
มุ่งมัน่ ตั้งใจในการคงอยูแ่ ละใช้งานระบบ (Delone & McLean, 2003)
7. ความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน (Use Satisfaction) หมายถึง ระดับความคิดเห็นของผูใ้ ช้
ที่มีต่อระบบ (Delone & McLean, 1992)
8. ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ยน (Learning Achievement) หม ายถึ ง ความสามารถ
ความสาเร็ จ และสมรรถภาพด้านต่างๆ ของผูเ้ รี ยนที่ได้จากการเรี ยนรู ้อนั เป็ นผลมาจากการเรี ยนการ
สอน การฝึ กฝนหรื อประสบการณ์ ของแต่ ละบุ คคล ซึ่ งสามารถวัดได้จากการทดสอบด้วยวิธีก าร
ต่างๆ

1.8 ประโยชน์ ที่คำดว่ำจะได้ รับ


1. ทาให้เข้าใจถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้งาน (Use) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการ
เรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์
2. ทาให้เข้าใจถึงปั จจัยที่ มีอิทธิพลต่ อความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน (Use Satisfaction)
ของผูใ้ ช้บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์
3. ท าให้ท ราบถึ งความสัมพัน ธ์ระหว่ างการใช้งาน (Use) และความพึ งพอใจของ
ผูใ้ ช้งาน (Use Satisfaction) ว่ามีความสัมพันธ์กนั หรื อไม่ อย่างไร
4. ทาให้ท ราบถึ งความสัม พัน ธ์ระหว่างการใช้งาน (Use) และความพึ งพอใจของ
ผูใ้ ช้งาน (Use Satisfaction) ของผูใ้ ช้บทเรี ยนออนไลน์ เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลัก สู ต ร
ออนไลน์ว่ามีความสัมพันธ์กบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน (Learning Achievement) ของผูใ้ ช้บทเรี ยน
ออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์หรื อไม่ อย่างไร
9

5. เพื่อเป็ นประโยชน์ต่อผูจ้ ดั การเรี ยนการสอนออนไลน์ เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอน


ผ่านหลักสู ตรออนไลน์ สาหรับใช้เป็ นกลยุทธ์และแนวทางในการปรับปรุ งพัฒนาในด้านที่รองรับ
ระบบปฏิบตั ิการ (platform) ด้านคุณภาพเนื้อหา (content) และด้านคุณภาพของเครื่ องมือ (tool) ของ
หลักสูตรออนไลน์
10

บทที่ 2
แนวคิดทฤษฎี และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง

2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนการสอนออนไลน์
การจัดการศึกษาในปั จจุบนั มีการนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเครื อข่ายอินเตอร์เน็ต
มาใช้ เพื่อเป็ นแนวทางในการเรี ยนการสอน ทั้งในด้านการจัดกิจ กรรมการเรี ยนการสอน การวัด
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน การมีส่วนร่ วมของผูเ้ รี ยน ซึ่งกระบวนการเรี ยนการสอนเปลี่ยนบทบาทของ
ครู จากการการเป็ นผูถ้ ่ายทอดมาเป็ นผูอ้ อกแบบการศึกษา โดยผลการวิจยั พบว่าการนาเทคโนโลยีมา
ใช้ในการเรี ยนออนไลน์ ไม่ว่าจะเป็ นอินเตอร์ เน็ต หรื อเครื อข่ายสังคมออนไลน์ สามารถส่ งเสริ ม
เครื อข่ายสังคมระหว่างผูเ้ รี ยนและส่ งเสริ มประสิ ทธิภาพในการเรี ยนให้ก ับผูเ้ รี ยนได้มากขึ้น และ
สามารถส่งเสริ มความร่ วมมือและการสื่อสารกันมากขึ้นระหว่างผูเ้ รี ยนกับผูเ้ รี ยน และระหว่างผูเ้ รี ยน
กับผูส้ อน (Barbour & Plough,2009) ในทานองเดียวกัน ปั ทมา นพรัตน์ (2548) กล่าวว่า การเรี ยน
การสอนออนไลน์ หรื อ E-learning เป็ นการศึกษาเรี ยนรู ้ผ่านเครื อข่ ายอิน เตอร์ เน็ต (Internet) หรื อ
อินทราเน็ต (Intranet) ด้วยตัวเอง ผูเ้ รี ยนจะได้เรี ยนตามความสามารถและความสนใจของตน โดย
เนื้อหาของบทเรี ยนประกอบด้วย ข้อความ รู ปภาพ เสียง วิดีโอ และมัลติมีเดียอื่นๆ โดยผูเ้ รี ยน ผูส้ อน
และเพื่ อ ร่ ว มชั้น เรี ยนทุ ก คนสามารถติ ด ต่ อ ปรึ ก ษา แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น ระหว่ างกัน ได้
เช่น เดียวกับการเรี ยนในชั้นเรี ยนตามปกติ โดยอาศัยเครื่ องมือการติ ดต่อสื่ อสารที่ทนั สมัย เช่ น E-
mail, Web-board, Chat และ Social Network การเรี ยนรู ้แบบออนไลน์จึงเป็ นการเรี ยนสาหรับทุกคน
เรี ยนได้ทุกเวลา และทุกสถานที่ (ปัทมา นพรัตน์, 2548)
การเรี ยนตามปกติในชั้นเรี ยนมีความแตกต่างกับการเรี ยนออนไลน์ (วิชุดา รัตนเพียร,
2542) สามารถสรุ ป ได้ว่า การเรี ยนออนไลน์ เป็ นรู ป แบบการเรี ยนการสอนที่ เข้าถึงผ่านระบบ
เครื อข่ ายอิน เทอร์ เน็ ต ด้ว ยคอมพิว เตอร์ ซึ่ งแตกต่ างจากการเรี ย นตามปกติ ในชั้น เรี ย นที่ ต ้องเข้า
ห้องเรี ยน เพื่อเรี ยนตามเวลา และสถานที่ที่กาหนดไว้ ผูส้ อนจะเป็ นคนกาหนดกระบวนการเรี ยนการ
สอน เพื่ อช่ ว ยให้ผูเ้ รี ย นเกิ ด การเรี ยนรู ้ ต ามวัต ถุประสงค์ที่ ก าหนด โดยเตรี ย มเนื้ อหาสาระ แล้ว
บรรยาย กล่าวคือ พูด บอกเล่า อธิบาย เนื้ อหาสาระหรื อสิ่ งที่ตอ้ งการสอนแก่ผเู ้ รี ยน และประเมินการ
เรี ยนรู ้ ของผูเ้ รี ยนด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ ง ซึ่ งมีว ตั ถุประสงค์คื อ วิธีก ารบรรยายเป็ นวิธีก ารที่ มุ่งช่ ว ยให้
ผูเ้ รี ยนจานวนมากได้เรี ยนรู ้เนื้ อหาสาระพร้อมๆ กันได้ในเวลาจากัด (ทิศนา แขมมณี , 2547) สาหรับ
11

การเรี ยนออนไลน์น้ นั ผูเ้ รี ยนจะสามารถเลือกเรี ยนได้ดว้ ยตนเอง สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลจานวน


มากได้อย่างรวดเร็ วสะดวกสบายและทัน ทีที่ตอ้ งการผ่านโลกอินเทอร์ เน็ต แต่หากเป็ นการเรี ยน
ตามปกติในชั้นเรี ยนก็จะสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลได้เฉพาะหนังสือ เอกสาร หรื อตาราตามที่ผสู ้ อน
นาเสนอ และถูกจากัดการสื่ อสารเฉพาะในห้องเรี ยนเท่ านั้น ซึ่ งแตกต่างจากการเรี ยนออนไลน์ที่
สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์กบั ผูเ้ รี ยนอื่นๆ ในเครื อข่ายได้ดว้ ย ในภาพรวม
แล้วการเรี ยนออนไลน์ ทาให้ผูเ้ รี ยนมีอิสระในด้านของเวลา มีความเป็ นส่ วนตัวสู ง สามารถเข้าถึง
ข้อมูลในปริ มาณมากได้โดยเสียค่าใช้จ่ายต่า ต่างจากการเรี ยนตามปกติในชั้นเรี ยนที่ผเู ้ รี ยนไม่มีอิสระ
ในการเลือกกาหนดเวลาเรี ยน มีความเป็ นส่วนตัวต่า เพราะต้องเรี ยนพร้อมกับผูเ้ รี ยนคนอื่นๆ ในเวลา
และห้องเรี ยนเดียวกัน

ความเป็ นมาของระบบ E-learning


ประเทศไทยได้มีการนาคอมพิวเตอร์ มาใช้เป็ นเครื่ องมือในการ สร้างสื่ อการเรี ยน การ
ถ่ า ยทอดความรู ้ เป็ นระยะเวลานานพอสมควร โดยอาจจะนั บ ได้ว่ าจุ ด เริ่ มต้น ตั้ง แต่ ก ารใช้
คอมพิวเตอร์ เป็ นเครื่ องมือในการ เรี ยนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ จากนั้นก็มีการสร้างสื่ อการเรี ยน
การสอนรู ปแบบใหม่ แ ทนที่ เอกสารหนั งสื อ ที่ เรี ยกว่ า สื่ อ คอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอน หรื อ CAI
(Computer Aided Instruction) ซึ่ งมีซอฟต์แวร์ ที่เป็ นเครื่ องมือให้เลือกใช้งานได้หลากหลาย ทั้งที่
ทางานบนระบบปฏิบตั ิการดอส เช่น โปรแกรมจุฬาซีเอไอ (Chula CAI) ที่พฒั นาโดยแพทย์จากคณะ
แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โปรแกรม ThaiTas ได้รับการสนับสนุนจาก ศูนย์เทคโนโลยี
อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละคอมพิ ว เตอร์ แ ห่ ง ชาติ รวมถึ งซอฟต์แ วร์ ส าเร็ จ รู ปจากต่ างประเทศ เช่ น
ShowPartnet F/X, ToolBook, Authorware
ในปั จจุบนั เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตได้พฒั นาเติบโตอย่างรวดเร็ วและ
ได้กา้ วมาเป็ นเครื่ องมือชิ้นสาคัญ ที่เปลี่ยนแปลงรู ปแบบการเรี ยนการสอน การฝึ กอบรม รวมทั้งการ
ถ่ายทอดความรู ้ โดยพัฒนา CAI เดิมๆ ให้เป็ น WBI (Web Based Instruction) หรื อการเรี ยนการสอน
ผ่านบริ การเว็บเพจ ส่ งผลให้ขอ้ มูล ในรู ปแบบ WBI สามารถเผยแพร่ ได้รวดเร็ ว และกว้างไกล กว่า
สื่อ CAI ปกติ ทั้งนี้ก็มาจากประเด็นสาคัญอีก 2 ประการ
1. ประเด็นแรกได้แก่ สามารถประหยัดเงินที่ตอ้ ง ลงทุนในการจัดหาซอฟต์แวร์สร้าง
สื่อ (Authoring Tools) ไม่จาเป็ นต้องซื้อโปรแกรมราคาแพงๆ มาใช้เป็ นเครื่ องมือในการสร้างสื่อการ
เรี ยนการสอน เพราะสามารถใช้ Notepad ที่ ม าพร้ อ มกับ Microsoft Windows ทุ ก รุ่ น หรื อ Text
Editor ใดๆ ก็ได้ลงรหัส HTML (Hypertext Markup Language) สร้างเอกสาร HTML ที่ มีลกั ษณะ
การถ่ายทอดความรู ้ดา้ นการศึกษา
12

2. ประเด็นที่สองเนื่ องจากคุณสมบัติของเอกสาร HTML ที่สามารถนาเสนอข้อมูลได้


ทั้งข้อความ ภาพ เสี ยง VDO และสามารถสร้างจุดเชื่อมโยงไปตาแหน่ งต่างๆ ได้ตามความต้องการ
ของผูพ้ ฒั นา ส่งผลให้การพัฒนาสื่อการเรี ยนการสอนในรู ปแบบ WBI เป็ นที่นิยมอย่างสูง และได้รับ
การพัฒ นาปรั บ ปรุ งรู ปแบบมาเป็ นสื่ อ การเรี ยนการสอนในรู ปแบบ E-Learning (Electronic
Learning) ซึ่งกาลังได้รับความนิยมอย่างสูงในปัจจุบนั
สื่อการเรี ยนการสอนในรู ปแบบ E-Learning สามารถกล่าว ได้ว่าเป็ นรู ปแบบที่พฒั นา
ต่อเนื่องมาจาก WBI โดยมีจุดเริ่ มต้นจาก แผนเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาของชาติ สหรัฐอเมริ กา (The
National Educational Technology Plan'1996) ของกระทรวงศึก ษาธิก ารสหรั ฐอเมริ ก า ที่ ต ้องการ
พัฒนารู ปแบบการเรี ยนของนักเรี ยนให้เข้ากับศตวรรษที่ 21 การพัฒนาระบบการเรี ยนรู ้จึงมีการนา
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตมาช่วยเสริ มอย่างเป็ นจริ งเป็ นจัง ดังนั้นสามารถกล่าวได้ว่า E-Learning คือ
การนาเทคโนโลยีอินเทอร์ เน็ต โดยเฉพาะบริ การด้านเว็บเพจเข้ามาช่วยในการเรี ยน การสอน การ
ถ่ายทอดความรู ้ และการอบรม ทั้งนี้สามารถแบ่งยุคของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้ ดังนี้
• ยุค คอมพิ ว เตอร์ ช่ว ยสอนและฝึ กอบรม (Instructor Led Training Era) เป็ นยุค ที่ อยู่
ในช่วงเริ่ มใช้คอมพิวเตอร์ในวงการศึกษา จนถึงปี ค.ศ. 1983
• ยุคมัลติมีเดีย (Multimedia Era) อยู่ในช่วงปี ค.ศ. 1984 - 1993 ตรงกับช่วงที่มีการใช้
Microsoft Windows 3.1 อย่างกว้างขวาง มีการใช้ซีดีรอมในการเก็บบันทึกข้อมูล มีการใช้โปรแกรม
PowerPoint สร้างสื่ อน าเสนอ ทั้งทางธุ ร กิ จ และการศึก ษา โดยน ามาประยุก ต์สร้ างสื่ อการสอน
บทเรี ยน พร้อมบันทึกในแผ่นซีดี สามารถนาไปใช้สอนและเรี ยนได้ตาม เวลาและสถานที่ที่มีความ
สะดวก
• ยุคเว็บเริ่ มต้น (Web Infancy) อยู่ในช่วงปี ค.ศ. 1994 - 1999 มีการนาเทคโนโลยีเว็บ
เข้ามาเป็ นบริ การหนึ่งของอินเทอร์เน็ต มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเว็บสร้างบทเรี ยนช่วยสอนและ
ฝึ กอบรม รวมทั้งเทคโนโลยีมลั ติมีเดียบนเว็บ
• ยุค เว็บ ใหม่ (Next Generation Web) เริ่ มตั้ง แต่ ปี ค.ศ. 2000 เป็ นต้น ไป มี ก ารน า
สื่ อข้อมูล และเครื่ องมือ ต่ างๆ มาประยุกต์ส ร้างบทเรี ยน เป็ นการก้าวสู่ ระบบ E-Learning อย่าง
แท้จริ ง
13

องค์ประกอบของ E-Learning (Component of E-Learning)


1. เนื้ อหา (Content) เนื้ อหาเป็ นองค์ประกอบสาคัญที่สุดสาหรับ E-Learning คุณภาพ
ของการเรี ยนการสอนของ E-Learningและการที่ผเู ้ รี ยนจะบรรลุวตั ถุประสงค์การเรี ยนในลักษณะนี้
หรื อไม่อย่างไร สิ่งสาคัญที่สุดก็คือ เนื้ อหาการเรี ยนซึ่งผูส้ อนได้จดั หาให้แก่ผเู ้ รี ยน ซึ่งผูเ้ รี ยนมีหน้าที่
ในการใช้เวลาส่วนใหญ่ศึกษาเนื้อหาด้วยตนเอง เพื่อทาการปรับเปลี่ยน (convert) เนื้อหาสารสนเทศ
ที่ผสู ้ อนเตรี ยมไว้ให้เกิดเป็ นความรู ้ โดยผ่านการคิ ดค้น วิเคราะห์อย่างมีหลักการและเหตุผลด้วยตัว
ของผูเ้ รี ยนเอง คาว่า “เนื้อหา” ในองค์ประกอบแรกของ E-Learning นี้ ไม่ได้จากัดเฉพาะสื่อการสอน
และ/หรื อ คอร์ สแวร์ เท่านั้น แต่ยงั หมายถึงส่วนประกอบสาคัญอื่น ๆ ที่ E-Learning จาเป็ นจะต้องมี
เพื่อให้เนื้อหามีความสมบูรณ์ เช่น คาแนะนาการเรี ยน ประกาศสาคัญต่าง ๆ ผลป้อนกลับของผูส้ อน
เป็ นต้น
2. ระบบบริ หารจัด การการเรี ยนรู ้ (Learning Management System) องค์ประกอบที่
สาคัญมากเช่นกันสาหรับ E-Learning ได้แก่ ระบบบริ หารจัดการการเรี ยนรู ้ ซึ่งเป็ นเสมือนระบบที่
รวบรวมเครื่ องมือซึ่งออกแบบไว้เพื่อให้ความสะดวกแก่ผูใ้ ช้ในการจัดการกับการเรี ยนการสอน
ออนไลน์ นั่น เอง ซึ่ งผูใ้ ช้ในที่ น้ ี แบ่ งได้เป็ น 4 กลุ่ม ได้แก่ ผูส้ อน (instructors) ผูเ้ รี ยน (students)
ผูช้ ่ ว ยสอน(course manager) และผูท้ ี่ จะเข้ามาช่ วยผูส้ อนในการบริ หารจัด การด้านเทคนิ ค ต่ าง ๆ
(network administrator)ซึ่ งเครื่ อ งมือ และระดับของสิ ท ธิ ในการเข้าใช้ที่ จ ัด หาไว้ให้ ก็จ ะมี ค วาม
แตกต่างกันไปตามแต่การใช้งานของแต่ละกลุ่ม ตามปรกติแล้ว เครื่ องมือที่ระบบบริ หารจัดการการ
เรี ยนรู ้ตอ้ งจัดหาไว้ให้กบั ผูใ้ ช้ ได้แก่ พื้นที่และเครื่ องมือสาหรับการช่วยผูเ้ รี ยนในการเตรี ยมเนื้อหา
บทเรี ยน พื้นที่และเครื่ องมือสาหรับการทาแบบทดสอบ แบบสอบถาม การจัดการกับแฟ้มข้อมูลต่าง
ๆ นอกจากนี้ ระบบบริ หารจัดการการเรี ยนรู ้ที่สมบูร ณ์ จะจัด หาเครื่ องมือในการติ ดต่ อสื่ อสารไว้
สาหรับผูใ้ ช้ระบบไม่ว่าจะเป็ นในลัก ษณะของ ไปรษณี ยอ์ ิเล็ก ทรอนิ กส์ (e-mail) เว็บบอร์ ด (Web
Board) หรื อ แช็ท (Chat) บางระบบก็ยงั จัด หาองค์ประกอบพิเศษอื่น ๆ เพื่ออานวยความสะดวก
ให้กบั ผูใ้ ช้อีกมากมาย เช่น การจัดให้ผใู ้ ช้สามารถเข้าดูคะแนนการทดสอบ ดูสถิติการเข้าใช้งานใน
ระบบ การอนุญาตให้ผใู ้ ช้สร้างตารางการเรี ยน ปฏิทินการเรี ยน เป็ นต้น
3. โหมดการติ ด ต่ อสื่ อสาร (Modes of Communication) องค์ประกอบสาคัญ ของ E-
Learning ที่ขาดไม่ได้อีกประการหนึ่ง ก็คือ การจัดให้ผเู ้ รี ยนสามารถติดต่อสื่อสารกับผูส้ อน วิทยากร
ผูเ้ ชี่ยวชาญอื่น ๆ รวมทั้งผูเ้ รี ยนด้วยกัน ในลักษณะที่ หลากหลาย และสะดวกต่อผูใ้ ช้ กล่าวคือ มี
เครื่ องมือที่จดั หาไว้ให้ผเู ้ รี ยนใช้ได้มากกว่า 1 รู ปแบบ รวมทั้งเครื่ องมือนั้นจะต้องมีความสะดวกใน
การใช้งาน (user-friendly) ด้วย ซึ่งเครื่ องมือที่ E-Learning ควรจัดหาให้ผเู ้ รี ยน ได้แก่
14

3.1 การประชุมทางคอมพิวเตอร์
ในที่น้ ี หมายถึง การประชุมทางคอมพิวเตอร์ท้ งั ในลักษณะของการติดต่อสื่ อสารแบบ
ต่างเวลา(Asynchronous) เช่น การแลกเปลี่ยนข้อความผ่านทางกระดานข่าวอิเล็กทรอนิ กส์ หรื อ ที่
รู ้จกั กันในชื่อของเว็บบอร์ ด (Web Board) เป็ นต้น หรื อในลักษณะของการติดต่อสื่ อสารแบบเวลา
เดี ยวกัน (Synchronous) เช่น การสนทนาออนไลน์ หรื อที่ คุน้ เคยกัน ดี ในชื่ อของ แช็ท (Chat) และ
ICQ หรื อ ในบางระบบ อาจจัด ให้มี ก ารถ่ ายทอดสัญ ญาณภาพและเสี ยงสด (Live Broadcast /
Videoconference) ผ่านทางเว็บ เป็ นต้น ในการน าไปใช้ด าเนิ น กิจ กรรมการเรี ยนการสอน ผูส้ อน
สามารถเปิ ดสัมมนาในหัวข้อที่เกี่ ยวข้องกับเนื้ อหาในคอร์ ส ซึ่งอาจอยู่ในรู ปของการบรรยาย การ
สัมภาษณ์ผเู ้ ชี่ยวชาญ การเปิ ดอภิปรายออนไลน์ เป็ นต้น
3.2 ไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (e-mail)
ไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิ กส์ เป็ นองค์ประกอบสาคัญเพื่อให้ผเู ้ รี ยนสามารถติดต่อสื่ อสาร
กับ ผูส้ อนหรื อผูเ้ รี ยนอื่น ๆ ในลัก ษณะรายบุ ค คล การส่ งงานและผลป้ อนกลับ ให้ผู ้ เรี ยน ผูส้ อน
สามารถให้ ค าแนะน าปรึ กษาแก่ ผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุ ค คล ทั้ง นี้ เพื่ อ กระตุ ้น ให้ ผู ้เรี ยนเกิ ด ความ
กระตื อรื อร้ น ในการเข้าร่ ว มกิ จ กรรมการเรี ยนอย่างต่ อ เนื่ อ ง ทั้งนี้ ผูส้ อนสามารถใช้ไปรษณี ย์
อิเล็กทรอนิกส์ในการให้ความคิดเห็นและผลป้อนกลับที่ทนั ต่อเหตุการณ์
4. แบบฝึ กหั ด /แบบทดสอบ องค์ ป ระกอบสุ ด ท้ า ยของ E-Learning แต่ ไ ม่ ไ ด้ มี
ความสาคัญ น้อยที่ สุดแต่อย่างใด ได้แก่ การจัดให้ผูเ้ รี ย นได้มีโอกาสในการโต้ต อบกับเนื้ อหาใน
รู ปแบบของการทาแบบฝึ กหัด และแบบทดสอบความรู ้
4.1 การจัดให้มีแบบฝึ กหัดสาหรับผูเ้ รี ยน
เนื้อหาที่นาเสนอจาเป็ นต้องมีการจัดหาแบบฝึ กหัดสาหรับผูเ้ รี ยนเพื่อตรวจสอบความ
เข้าใจไว้ดว้ ยเสมอ ทั้งนี้เพราะ E-Learning เป็ นระบบการเรี ยนการสอนซึ่งเน้นการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง
ของผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ดังนั้นผูเ้ รี ยนจึงจาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องมีแบบฝึ กหัดเพื่อการตรวจสอบว่าตน
เข้าใจและรอบรู ้ในเรื่ องที่ศึกษาด้วยตนเองมาแล้วเป็ นอย่างดีหรื อไม่ อย่างไร การทาแบบฝึ กหัดจะทา
ให้ผเู ้ รี ยนทราบได้ว่าตนนั้นพร้อมสาหรับการทดสอบ การประเมินผลแล้วหรื อไม่
4.2 การจัดให้มีแบบทดสอบผูเ้ รี ยน
แบบทดสอบสามารถอยู่ในรู ปของแบบทดสอบก่อนเรี ยน ระหว่างเรี ยน หรื อหลังเรี ยน
ก็ได้ สาหรับ E-Learning แล้ว ระบบบริ หารจัดการการเรี ยนรู ้ทาให้ผสู ้ อนสามารถสนับสนุ นการ
ออกข้อสอบของผูส้ อนได้หลากหลายลักษณะ กล่าวคือ ผูส้ อนสามารถออกแบบการประเมินผลใน
ลักษณะของ อัตนัย ปรนัย ถูกผิด การจับคู่ ฯลฯ นอกจากนี้ ยงั ทาให้ผสู ้ อนมีความสะดวกสบายใน
การสอบเพราะผูส้ อนสามารถที่ จ ะจัด ทาข้อสอบในลัก ษณะคลังข้อสอบไว้เพื่อเลือกในการน า
15

กลับมาใช้ หรื อปรับปรุ งแก้ไขใหม่ได้อย่างง่ายดาย นอกจากนี้ ในการคานวณและตัดเกรด ระบบ E-


Learning ยังสามารถช่ว ยให้การประเมิน ผลผูเ้ รี ยนเป็ นไปได้อย่างสะดวก เนื่ องจากระบบบริ หาร
จัดการการเรี ยนรู ้ จะช่วยทาให้การคิดคะแนนผูเ้ รี ยน การตัดเกรดผูเ้ รี ยนเป็ นเรื่ องง่ายขึ้นเพราะระบบ
จะอนุ ญาตให้ผสู ้ อนเลือกได้ว่าต้องการที่จะประเมินผลผูเ้ รี ยนในลักษณะใด เช่น อิงกลุ่ม อิงเกณฑ์
หรื อใช้สถิติในการคิดคานวณในลักษณะใด เช่น การใช้ค่าเฉลี่ย ค่า T-Score เป็ นต้น นอกจากนี้ยงั
สามารถที่จะแสดงผลในรู ปของกราฟได้อกี ด้วย
(http://www.oknation.net/blog/Apinya0936/2013/12/24/entry-3)

2.2 ปัจจัยที่เกี่ยวข้ องต่อการจัดการนวัตกรรม


1. Platform
2. Content
3. Tools

2.3 อุปสรรคที่เกี่ยวข้ องต่อความสาเร็จของการจัดการนวัตกรรม


1. ข้อจากัดเงินทุนในการพัฒนา
2. ความร่ วมมือของผูส้ อนต่อการพัฒนา E-Learning
3. Course ที่เรี ยนไม่เป็ นที่ตอ้ งการของผูใ้ ช้
4. ไม่สามารถสื่อสารเนื้อหาได้ละเอียดพอ
16

บทที่ 3
ระเบียบวิจยั

บทนี้เป็ นการนาเสนอแนวทางการดาเนนนงานวนั ย เเื่ออออบวยอุปปรสสง์ททีอดดรรสบปดวรใน


บททีอเ1เเน่้ อหาในบทนี้ ปรสกอบดรว เกรอบแนว์นดเแนวทางการศึกษาแลสการทดสอบสมมอนฐานเ
ปรสชากรแลสหน่ว อยวอ า่ งเเ์ร่อ องม่อในการเก็บขรอมูลเขย้นออนการเก็บขรอมูลเปรสเด็น์วามุูกอรองเ
(Validity) แลส์วามน่ าเช่ออุ่อเ(Reliability) ของขรอมูลทีอเก็บเแลสกรอบการวนเ์ราสหทข รอมูลเ(Data
Analysis Framework)

3.1 กรอบแนวคิด
กรอบแนว์นดของการวนั ย นี้ แสดงดยงภาืทีอเ3.1เซึองดยดแปลงมาัากโมเดล์วามสาเร็ ั
ของรสบบสารสนเทศของเDeLone แลสเMcLean ปี เ์.ศ.เ2003เทีอแสดงุึง์วามสยมืยนธทรสหว่างอยว
แปรอนสรสเดดรแก่เ์ปณภาืของทีอรองรยบรสบบปฏนบอย นการเ(platform)เ์ปณภาื์ปณภาืเน่้ อหาเ(content)
แลส์ปณ ภาืเ์ร่อ องม่อเ(tool)เโด มีผลสยมฤทธน์ทางการเรี นเ(Learning Achievement) เป็ นอยวแปร
อามเเน่อ องัากปรสโ ชนท ทีอ ผูใร ชรดดรรย บ เ(Net Benefit) ัสืนั ารณาโด ์ านึ งุึ งวยอ ุปป รสสง์ทหร่ อ
ผลปรสโ ชนททีอดดรัากการใชรงานรสบบของผูใร ชรงานเซึอ งผลสยมฤทธน์ ทางการเรี นใชรวดย ผลทีอ ดดรัาก
การศึกษาสนองใดสนอ งหนึอ งเช่นกยนเอาักล่าวดดรว่าผลสยมฤทธน์ัึงเป็ นปรสโ ชนททีอผใู ร ชรดดรรยบัากการเรี น
ออนดลนทเื่ออเสรน มการเรี นการสอนผ่านหลยกสู อ รออนดลนทเอีกทย้ง งย มีอวย แปรร่ วม์่ อเการใชรงาน
รสบบเ(Use) แลส์วามืึงือใัของผูใร ชรงานเ(User Satisfaction)
เเเเเเเเเเเเเเเเเเ
17

ภาืทีอเ3.1 โมเดล์วามสาเร็ ัของรสบบสารสนเทศเของเDeLone แลสเMcLean ปี เ์.ศ.2003

3.2 แนวทางศึกษาและการทดสอบสมมติฐาน
งานวนั ย นี้ เป็ นงานวนั ย เชนงปรน มาณเ(Qualitative Research) ทีอมป่งอธนบา เหอปการณทเหร่ อ
สนองอ่างๆเโด ใชรอวย เลขปรสกอบการวนเ์ราสหทแลสสรป ปผลเโด ใชรแบบสอบุามเ(Questionnaire) เป็ น
เ์ร่อ องม่อในการเก็บขรอมูลเเื่ออศึก ษาปย ััย ทีอ มีอ่ อผลสยมฤทธน์ทางการเรี นออนดลนทเื่ออเสรน มการ
เรี นการสอนเโด งานวนั ย นี้ มีปรสเด็นทีอัสศึกษาเดยงนี้เ(1)เเื่ออศึกษาปยััย เ3เดรานเดดรแก่เดราน์ปณภาื
ของทีอรองรยบรสบบปฏนบอย นการเ(platform) ดราน์ปณ ภาืเน่้ อหาเ(content) แลสดราน์ปณภาืเ์ร่อ องม่อเ
(tool)เทีอ มี ผ ลอ่ อ การใชรงานเ(Use) บทเรี นออนดลนท เื่อ อ เสรน ม การเรี นการสอนผ่านหลยก สู อ ร
ออนดลนท เเ(2)เเื่อ อ ศึ ก ษาปย ััย เ3เดรา นเดดรแ ก่ เดรา น์ป ณ ภาืของดรา น์ป ณ ภาืของทีอ ร องรย บ
รสบบปฏนบยอน ก ารเ(platform) ดราน์ป ณ ภาืเน่้ อหาเ(content) แลสดราน์ป ณ ภาืเ์ร่อ องม่อเ(tool)เทีอ มี
อนทธนืลอ่อ์วามืึงือใัของผูใร ชรงานเ(User Satisfaction) บทเรี นออนดลนทเื่ออเสรน มการเรี นการ
สอนผ่านหลยก สู อ รออนดลนทเเ(3)เเื่ออศึกษา์วามสยมืยน ธทรสหว่างการใชรงานเ(Use) แลส์วามืึง
ือใัของผูใร ชรงานเ(User Satisfaction)เบทเรี นออนดลนทเื่ออเสรน มการเรี นการสอนผ่านหลยกสู อร
ออนดลนทเเเ(4)เเื่ออศึกษา์วามสยมืยนธทของการใชรงานเ(Use) แลส์วามืึงือใัของผูใร ชรงาน (User
Satisfaction) กยบผลสยมฤทธน์ทางการเรี นเ(Learning Achievement) ของผูใร ชรงานบทเรี น E-Learning
ัากการทบทวนวรรณกรรมในอดีอ แลสทฤษฎี ทีอเกีอ วทีอเกีอ วขรองืบว่าเแบบั าลอง
์วามสาเร็ ัของรสบบเท์โนโล ีสารสนเทศเ(Information System Success Model) ทีอ ุูกน าเสนอ
โด เDeLone แลสเMcLean (2003)เดดรอธนบา ว่ามีปยััย ทีอส่งผลอ่อ์วามสาเร็ ัของรสบบเท์โนโล ี
สารสนเทศปรสกอบดรว เ6 ปยััย เเ(DeLone &เMcLean, 2003) ดดรแก่เ(1) ์ปณภาืของรสบบเ(System
Quality) หร่ อเ์ปณภาืของทีอรองรยบรสบบปฏนบอย นการเ(platform)เ(2)เ์ปณภาืสารสนเทศเ(information
Quality) หร่ อเ์ป ณ ภาืเน่้ อหาเ(content)เเ(3)เ์ป ณ ภาืดรานบรน ก ารเ(Service Quality) หร่ อเเ์ปณ ภาื
เ์ร่อ องม่อเ(tool)เ(4)เการใชรงานรสบบเ(Use) (5)เ์วามืึงือใัของผูใร ชรงานเ(User Satisfaction) แลสเ
18

(6) ผลสยมฤทธน์ทางการเรี นเ(Learning Achievement) แลสเน่อ องัากการทบทวนวรรณกรรมในอดีอ


แลสทฤษฎี ทีอ เกีอ วขรอ งืบว่ าเผลสยม ฤทธน์ เป็ นเ์ร่อ องม่ อ ทีอ ใชรใ นการวยด ์วามรู ร ์ วามเขราใัเแลส
์วามสามารุทางการเรี นของบป์์ลเดยงนย้นการทบทวนวรรณกรรมในอดีอแลสทฤษฎีทีอเกีอ วขรอง
ทาใหรผวู ร นั ย สามารุสรรางสมมอนฐานัานวนเ9เสมมอนฐานเดยงอ่อดปนี้
สมมอนฐานขรอทีอเ1เ์ปณ ภาืของทีอรองรยบรสบบปฏนบอย นการเ(platform)เมีอนทธนืลอ่อการ
ใชรงานเ(Use) บทเรี นออนดลนท
H0: ์ปณภาืของทีอรองรยบรสบบปฏนบอย นการเ(platform)เดม่มีอนทธนืลอ่อการใชรงานเ(Use)
บทเรี นออนดลนท
H1: ์ปณ ภาืของทีอ รองรยบรสบบปฏนบยอนการเ(platform)เมีอนทธนืลอ่อการใชรงานเ(Use)
บทเรี นออนดลนท

สมมอนฐานขรอทีอเ2เ์ปณภาืของทีอรองรยบรสบบปฏนบอย นการเ(platform)เมีอนทธนืลอ่อ์วาม
ืึงือใัของผูใร ชรงานเ(User Satisfaction) บทเรี นออนดลนท
H0:เ์ปณภาืของทีอรองรยบรสบบปฏนบอย นการเ(platform)เดม่มีอนทธนืลอ่อ์วามืึงือใั
ของผูใร ชรงานเ(User Satisfaction) บทเรี นออนดลนท
H1:เ์ปณภาืของทีอรองรยบรสบบปฏนบอย นการเ(platform)เมีอนทธนืลอ่อ์วามืึงือใัของ
ผูใร ชรงานเ(User Satisfaction) บทเรี นออนดลนท

สมมอน ฐานขรอทีอ เ3เ์ป ณ ภาืเน่้ อหาเ(content) มีอนทธนืลอ่ อการใชรงานเ(Use) บทเรี น


ออนดลนท
H0:เ์ปณภาืเน่้อหาเ(content) ดม่มีอนทธนืลอ่อการใชรงานเ(Use) บทเรี นออนดลนท
H1:เ์ปณภาืเน่้อหาเ(content)เมีอนทธนืลอ่อการใชรงานเ(Use) บทเรี นออนดลนท

สมมอนฐานขรอทีอ เ4เ์ปณ ภาืเน่้ อหาเ(content)เมีอนทธนืลอ่อ์วามืึงือใัของผูใร ชรงานเ


(User Satisfaction) บทเรี นออนดลนท
H0:เ์ป ณ ภาืเน่้ อหาเ(content)เดม่ มี อน ท ธน ื ลอ่ อ ์วามืึ ง ือใัของผูใร ชรง านเ(User
Satisfaction) บทเรี นออนดลนท
H1:เ์ป ณ ภาืเน่้ อหาเ(content)เมี อน ท ธน ื ลอ่ อ ์วามืึ ง ือใัของผู รใ ชร ง านเ(User
Satisfaction) บทเรี นออนดลนท
19

สมมอน ฐ านขรอ ทีอ เ5 ์ป ณ ภาืเ์ร่อ อ งม่ อ เ(tool)เอนท ธน ื ลอ่ อ การใชรงานเ(Use) บทเรี น


ออนดลนท
H0:เ์ปณภาืเ์ร่อ องม่อเ(tool)เดม่มีอนทธนืลอ่อการใชรงานเ(Use) บทเรี นออนดลนท
H1:เ์ปณภาืเ์ร่อ องม่อเ(tool)เมีอนทธนืลอ่อการใชรงานเ(Use) บทเรี นออนดลนท

สมมอนฐานขรอทีอ เ6เ์ป ณ ภาืเ์ร่อ องม่อเ(tool) มีอนทธน ืลอ่ อ์วามืึงือใัของผูใร ชรงานเ


(User Satisfaction) บทเรี นออนดลนท
H0:เ์ป ณ ภาืเ์ร่อ องม่ อ เ(tool) ดม่ มี อน ท ธน ื ลอ่ อ ์วามืึ งือใัของผู รใ ชรง านเ(User
Satisfaction) บทเรี นออนดลนท
H1:เ์ป ณ ภาืเ์ร่อ องม่ อ เ(tool) มี อน ท ธน ื ลอ่ อ ์วามืึ ง ือใัของผู รใ ชร ง านเ(User
Satisfaction) บทเรี นออนดลนท

สมมอน ฐานขรอทีอ เ7เการใชรงานเ(Use) มี์ วามสยมืยน ธทก ยบ์วามืึงือใัของผูใร ชรงานเ


(User Satisfaction) บทเรี นออนดลนท
H0:เการใชรง านเ(Use) ดม่ มี ์ วามสย ม ืยน ธท ก ยบ ์วามืึ ง ือใัของผูใร ชรงานเ(User
Satisfaction) บทเรี นออนดลนท
H1:เการใชร ง านเ(Use) มี ์ วามสย ม ืย น ธท ก ย บ ์วามืึ ง ือใัของผู รใ ชร ง านเ(User
Satisfaction) บทเรี นออนดลนท

สมมอน ฐ านขรอ ทีอ เ8เการใชรง านเ(Use) มี ์ วามสยม ืยน ธทก ยบ ผลสยม ฤทธน์ ทางการเรี นเ
(Learning Achievement) ออนดลนท
H0:เการใชรงานเ(Use) ดม่ มี ์ วามสย ม ืยน ธทก ยบ ผลสย ม ฤทธน์ ทางการเรี นเ(Learning
Achievement) ออนดลนท
H1:เการใชร ง านเ(Use) มี ์ วามสย ม ืย น ธท ก ย บ ผลสย ม ฤทธน์ ทางการเรี นเ(Learning
Achievement) ออนดลนท

สมมอนฐานขรอทีอเ9เ์วามืึงือใัของผูใร ชรงานเ(User Satisfaction) มี์วามสยมืยน ธทกบย


ผลสยมฤทธน์ทางการเรี นเ(Learning Achievement)เออนดลนท
H0:เ์วามืึงือใัของผูใร ชรงานเ(User Satisfaction) ดม่มี์วามสยมืยนธทกบย ผลสยมฤทธน์
ทางการเรี นเ(Learning Achievement) ออนดลนท
20

H1:เ์วามืึงือใัของผูใร ชรงานเ(User Satisfaction) มี์ วามสยมืยน ธทก ยบ ผลสยม ฤทธน์


ทางการเรี นเ(Learning Achievement) ออนดลนท

3.3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง (Population and Sample)


งานวนั ย นี้ ออร งการศึกษาปยััย ทีอมีผลอ่อสยมฤทธน์ทางการเรี นเE-Learning เื่ออเสรน มการ
เรี นการสอนแอ่เน่อ องัากปรสชากรทีอใชรอนนเออรท เน็อในการเรี นออนดลนทมีเก่อบทปกช่วงอา ปเเป็ น
ปรสชากรทีอ ใหญ่ แลสผูวร นั ย ดม่ทราบัานวนปรสชากรทย้งหมดเอีกทย้ง งย ดม่ทราบรา ช่ออของแอ่ลส
หน่ ว ปรสชากรเทาใหรดม่สามารุเก็บขรอมูลัากทปกหน่ ว ของปรสชากรดดรเรวมุึงขรอัากยดในเร่อ อง
ของรส สเวลาทีอใช่ในการทาวนั ย เโด ทีอผทู ร ีอสามารุใหรขอร มูลในการศึกษาอรองเป็ นผูมร ีปรสสบการณท
การเรี นออนดลนทเื่ออเสรน มการเรี นการสอนผ่านหลยกสูอรออนดลนทแลสผูทร ีอดม่เ์ มีปรสสบการณท
การเรี นออนดลนท เเน่อ องัากงานวนั ย นี้ ั าเป็ นอรองเก็บขรอมูลแบบปฐมภู มนั ากหน่ ว อยว อ ่างเัึ ง
ก าหนดั านวนอยว อ ่างผูทร ีอ มี ป รสสบการณท ก ารเรี นออนดลนท เื่อ อ เสรน มการเรี นการสอนผ่าน
หลยกสูอรออนดลนทแลสผูทร ีอดม่เ์ มีปรสสบการณทการเรี นออนดลนทเเป็ นัานวนเ100เ์นเ

3.4 เครื่ องมือในการเก็บข้ อมูล (Research Tools)


งานวนั ย นี้อาศย การเก็บขรอมูลปฐมภูมนัากหน่ ว อยวอ า่ งเผูวร นั ย ใชรเ์ร่อ องม่อในการเก็บ
ขรอมูลโด วนธีเแบบสอบุามเ(Questionnaires) ในลยกษณสของ์าุามปลา ปน ดเ(Closed-ended) เป็ น
์ าุามทีอ มีทางเล่ อกในการออบแลสใหรผูอร อบเล่อกเืี งเ1เ์ าออบเแลสลยก ษณส์ าุามเป็ นการ
เล่อกออบดดรมากกว่าเ1เขรอเอรงกยบ์วาม์นดเห็นของผูอร อบแบบสอบุามเปรสกอบดรว
ส่ ว นทีอ เ1เแบบสอบุามเกีอ วกยบ ขรอ มู ล ทยอว ดปของผู รอ อบแบบสอบุามเลยก ษณส
แบบสอบุามเป็ นแบบอรวัสอบรา การเ(Check List)
ส่ ว นทีอ เ2เแบบสอบุามปรสสบการณท ก ารเรี นผ่านเE-Learning ทีอ ผ่านมา ลยก ษณส
แบบสอบุามเป็ นแบบอรวัสอบรา การเ(Check List)
ส่ ว นทีอเ3เแบบสอบุามปย ััย ทีอ มีผลอ่อการใชรบรน ก ารหลยกสู อ รเE-Learning ลยก ษณส
์าุามเป็ นการเล่อกออบดดรมากกว่าเ1เขรอ
ส่วนทีอเ4เแบบสอบุามรู ปแบบการเรี นเE-Learningทีอส่งผลกรสทบอ่อ์วามืึงือใั
แก่ผใู ร ชร
21

ส่ ว นทีอ เ5เแบบสอบุามปย ั ัย ดราน์ป ณ ภาืของเplatform ์ป ณ ภาืของเcontent แลส


์ปณภาืของเtool ทีอมีผลอ่อการใชรงานรสบบแลส์วามืึงือใัของผูเร รี น
โด เส่ วนทีอเ4เแลสส่ วนทีอ เ5เเป็ น์ าุามแบบมาอราส่ วนปรสมาณ์่าเ(Rating Scale) 5เ
รสดยบเอามมาอราวยด ของเLinkert (Likert, 1967) โด กลป่มอยว อ ่างเล่อกหมา เลขทีอ อ รงกยบ์วาม
์นดเห็นมากทีอสปดเืี งขรอเดี วเดยงนี้
น้ าหนยกเป็ นเ5เแสดงว่ากลป่มอยวอ า่ งเห็นดรว กยบปรสเด็นนย้นเรสดยบมากทีอสปด
น้ าหนยกเป็ นเ4เแสดงว่ากลป่มอยวอ า่ งเห็นดรว กยบปรสเด็นนย้นเรสดยบมาก
น้ าหนยกเป็ นเ3เแสดงว่ากลป่มอยวอ า่ งเห็นดรว กยบปรสเด็นนย้นเรสดยบปานกลาง
น้ าหนยกเป็ นเ2เแสดงว่ากลป่มอยวอ า่ งเห็นดรว กยบปรสเด็นนย้นเรสดยบนรอ
น้ าหนยกเป็ นเ1เแสดงว่ากลป่มอยวอ า่ งเห็นดรว กยบปรสเด็นนย้นเรสดยบนรอ ทีอสปด

3.5 ขั้นตอนการเก็บข้ อมูล


1.เผูวร นั ย ดดรลองหาขรอมูลการเรี นการสอนเE-Learning เช่นเTUTOR ME,เMasterClassเ
แลส Chula MOOCเอ่ อมาดดร ล องเขร า ใชร ง าน เื บว่ า รู ปแบบ การใหร บ รน การเดร า น ทีอ รองรย บ
รสบบปฏนบอย นการเ(platform) ดราน์ปณภาืเน่้อหาเ(content) แลสดราน์ปณภาืเ์ร่อ องม่อเ(tool) แอกอ่าง
กยน
2.เผูวร นั ย นาขรอมูลทีอดดรดปวนเ์ราสหทเื่ออออบ์าุามอามวยอุปปรสสง์ทของงานวนั ย เโด มี
ขย้นออนในการสรรางแบบสอบุามเดยงนี้
2.1เสรรางแบบสอบุามใหรมี์วามสอด์ลรองกยบกรอบแนว์นดในการวนั ย เ
แลสนาแบบสอบุามทีอผวู ร นั ย สรรางขึ้ นดปเสนออ่ออาัาร ทท ีอปรึ กษาเเื่อออรวัสอบ์วามุูกอรองแลส
นา์าแนสนามาปรยบปรป งแกรดขใหรุูกอรองเหมาสสม
2.2เนาแบบสอบุามทีอดาเนน นการปรยบปรป งแกรดขเดปเก็บขรอมูลัากกลป่ม
อยวอ า่ งัานวนเ100เ์น

3.6 แบบสอบถามที่ใช้ ในงานวิจยั


ในการวนั ย ์รย้งนี้ เ์ร่อ องม่อทีอใชรในการเก็บขรอมูลเเป็ นแบบสอบุามปลา ปน ดเ(Close-
ended)เัานวน100เชปดเโด แบ่งเป็ นเ5เส่วนเดดรแก่
22

ส่ วนทีอ เ1เเป็ นแบบสอบุามเกีอ วกย บ สุานภาืส่ วนบป ์ ์ลหร่ อลยก ษณ สทาง


ปรสชากรศาสอรทของผูอร อบแบบสอบุามเลยกษณสแบบสอบุามเป็ นแบบอรวัสอบรา การเ(Check
List) มีขอร ์าุามัานวนเ5เขรอเดยงอารางทีอเ3.1
อารางทีอเ3.1เอยวแปรรสดยบการวยดขรอมูลแลสเกณฑทการแบ่งกลป่ม์าออบสาหรยบขรอมูลทยวอ ดปของผูอร อบ
แบบสอบุาม

อยวแปร เกณฑทการแบ่งกลป่ม
1. เืศเ เเหญนง
เเชา
2. อา ป เเนรอ กว่าเ20 ปี เ
20 – 30 ปี
31 – 40 ปี
41 – 50 ปี
50 ปี ขึ้นดป
3. เเเอาชีื เเขราราชการ
เเืนยกงานรยฐวนสาหกนั
เเเ เเืนยกงานบรน ษทย
เเธปรกนัส่วนอยว
เเรยบัราง/ลูกัราง
เเนนสนอ/นยกศึกษา
เเว่างงาน
เเอ่อนๆเ
4. เงนนเด่อน เนรอ กว่าเ15,000 บาท
เเ15,000 – 30,000 บาท
เเ30,001 – 50,000 บาท
เเ50,001 – 100,000 บาท
เเ100,000 บาทขึ้นดป
5. ปรสสบการณทการเรี นผ่านเ 1เเเเเ= ดม่เ์ เมีปรสสบการณท
E- Learning ทีอผา่ นมา 2เเเเเ= เเ์ เมีปรสสบการณทเ
23

เส่ วนทีอ เ2เแบบสอบุามเกีอ วปรสสบการณท ก ารเรี นผ่านเE-Learning ทีอ ผ่านมาเลยก ษณส


แบบสอบุามเป็ นแบบอรวัสอบรา การเ(Check List) มีขอร ์าุามัานวนเ2เขรอเขรอ์าุามัานวนเ2เ
ขรอเดยงอารางทีอเ3.2
อารางทีอเ3.2เอยวแปรรสดยบการวยดขรอมูลแลสเกณฑทการแบ่งกลป่ม์าออบสาหรยบปรสสบการณทการเรี น
ผ่านเE-Learning ทีอผา่ นมา

อยวแปร เกณฑทการแบ่งกลป่ม
1. ช่วงเวลาทีอมีปรสสบการณท เเเ์ เรี นผ่านเE-learning ในช่วงเ1 ปี
เเเ์ เรี นผ่านเE-learning มาแลรวมากกว่าเ
1 ปี
2. รสบบเE-learning ทีอเ์ ใชรบรน การ(ออบดดร TUTOR ME
มากกว่าเ1เขรอ) MasterClass
Chula MOOC
Thai MOOC
CMMU E-learning
FutureLearn
Coursera
iTunes U
TEDx
Khan Academy
DuoLingo
Udacity
Cognitive Class
EdX
อ่อนๆเ

ส่วนทีอเ3 แบบสอบุามปยััย ทีอมีผลอ่อการใชรบรน การหลยกสูอรเE-Learning ลยกษณส


แบบสอบุามเป็ นแบบอรวัสอบรา การเ(Check List) มีขอร ์าุามัานวนเ2เขรอเซึองแอ่ลสขรอ
สามารุออบ์าออบดดรมากกว่าเ1 ขรอเดยงอารางทีอเ3.3
24

อารางทีอเ3.3เอยวแปรรสดยบการวยดขรอมูลแลสเกณฑทการแบ่งกลป่ม์าออบสาหรยบปยััย ทีอมีผลอ่อการใชร
บรน การหลยกสูอรเE-Learning
อยวแปร เกณฑทการแบ่งกลป่ม
1. เหอปผลในการเรี นหลยกสูอรเE-Learning อรองการ์วามรู รเฉืาสทาง
(ออบดดรมากกว่าเ1 ขรอ) เป็ นเร่อ องทีอสนใัส่วนอยว
เรี นอามในชย้นเรี นดม่ทนย
อรองการใบรยบรองเ(Certificate)
ช่ออหยวขรอเรี น/เน่้ อหาน่าสนใั
ผูสร อนมีช่ออเสี ง/น่าสนใั
เรี นฆ่าเวลา/แกรเบ่ออ
ดดรแลกเปลีอ น์วามรู รกบย กลป่มทีอสนใัเร่อ องเเเ
เเเเเเเเเเเเเเเดี วกยน
อ่อนๆเโปรดรสบป
2. เน่้อหาทีอออร งการเรี นเ(ออบดดรมากกว่าเ1 อนวเขรมเเช่นเืนชนอเO-Net, GAT, PAT เป็ นเเเ
ขรอ) เเเเเเเเเเเเเเอรน
ภาษาอ่างๆเ
ธปรกนัเเช่นเอ่อ อดธปรกนั,เMoney Coach
เเเเเเเเเเเเเเเป็ นอรน
ดลฟสดอลท เช่นเกีฬา,เทาอาหาร,เดนอรี เเป็ น
เเเเเเเเเเเเเเอรน
อ่อนๆเโปรดรสบป

ส่วนทีอเ4 แบบสอบุามรู ปแบบการเรี นเE-Learning ทีอส่งผลกรสทบอ่อ์วามืึงือใั


แก่ผใู ร ชรเโด วยดรสดยบ์วามสา์ยญเป็ นมาอราส่ วนปรสมาณ์่าเ(Rating Scale) 5เรสดยบเ์่อเมากทีอ สปดเ
มากเปานกลางเนรอ เนรอ ทีอสปดเในการใหร์สแนนแอ่ลสขรอ์าุามเดยงนี้
อารางทีอเ3.4เเกณฑทในการวยดรสดยบ์วาม์นด เห็ น เกีอ วกยบปย ั ัย ทีอมีอนทธนืลอ่ อรู ปแบบการเรี นเE-
Learning ทีอส่งผลกรสทบอ่อ์วามืึงือใัแก่ผใู ร ชร
์าุามทีอใชรในการวนั ย
1. การดม่เสี ์่าใชรั่า ในการเรี น
2. การดม่ัากยดเน่้อหา
25

เอารางทีอเ3.4 เกณฑทในการวยดรสดยบ์วาม์นดเห็นเกีอ วกยบปยััย ทีอมีอนทธนืลอ่อรู ปแบบการเรี นเE-


Learning ทีอส่งผลกรสทบอ่อ์วามืึงือใัแก่ผใู ร ชร (อ่อ)
์าุามทีอใชรในการวนั ย
3. การดดรใบรยบรองเ(certificate)
4. หยวขรอ/เน่้อหาทีอเรี น
5. ผูสร อนมีช่ออเสี ง/น่าสนใั

ส่วนทีอเ5 แบบสอบุามปย ััย ทีอมีอ่ออนทธนืลอ่อการใชรงานเ(Use) บทเรี นเE-Learningเ


ในเ3เดรานเดดรแก่เดราน์ปณภาืของเplatform ์ปณภาืของเcontent แลส์ปณภาืของเtool ทีอมีอ่อการใชร
งานรสบบแลส์วามืึงือใัของผูเร รี นเโด วยด รสดยบ ์วามสา์ยญ เป็ นมาอราส่ วนปรสมาณ์่ าเ
(Rating Scale) 5เรสดยบเ์่อเมากทีอ สปดเมากเปานกลางเนรอ เนรอ ทีอ สปด เในการใหร์ สแนนแอ่ลสขรอ
์าุาม
แบบสอบุามส่ ว นทีอ เ5เขรอมูลปย ั ัย ทีอ มีอ่ ออนทธน ืลอ่ อการใชรงานเ(Use) บทเรี นเE-
Learning แบ่งเป็ นเ3 ดรานดยงนี้
1) ์ปณ ภาืของทีอรองรยบรสบบปฏนบอย น การเ(platform) แลส์วามืึงือใัของผูใร ชรงาน
บทเรี นเE-Learningเโด แสดงเกณฑทในการวยดรสดยบ์วาม์นดเห็นเ5เรสดยบเปรสกอบดรว ์าุามเ7
ขรอ อ่ เดยงอารางเ3.5
อารางทีอเ3.5 เกณฑทในการวยดรสดยบ์วาม์นดเห็นเกีอ วกยบปย ััย ทีอมีอนทธนืลอ่อการใชรงานเ(Use) แลส
์วามืึงือใัของผูใร ชรงานเ(Use Satisfaction) บทเรี นเE-Learningเดรานทีอรองรยบรสบบปฏนบอย นการเ
(platform)

์าุามทีอใชรในการวนั ย
1. หลยกสูอรเE-Learning ใชรงานดดรง่า
2. หลยกสูอรเE-Learning สามารุใชรงานดดรุูกอรอง
3. หลยกสูอรเE-Learning สามารุออบสนองดดรในรส สเวลาทีอ
เหมาสสม
4. หลยกสูอรเE-Learning สามารุใชรงานดดรอ า่ งอ่อเน่อองอลอดเวลา
หลยงการเขราสู่รสบบ
5. หลยกสูอรเE-Learning สามารุใชรงานดดรอลอดเวลาทีอออร งการ
26

อารางทีอเ3.5 เกณฑทในการวยดรสดยบ์วาม์นดเห็นเกีอ วกยบปย ััย ทีอมีอนทธนืลอ่อการใชรงานเ(Use) แลส


์วามืึงือใัของผูใร ชรงานเ(Use Satisfaction) บทเรี นเE-Learningเดรานทีอรองรยบรสบบปฏนบอย นการเ
(platform) (อ่อ)

์าุามทีอใชรในการวนั ย
6. หลยกสูอรเE-Learning สามารุรองรยบการใชรงานดดรกบย
หลากหลา อปปกรณท
7. หลยกสูอรเE-Learning มีมาอรการรยกษา์วามปลอดภย เื่ออ ปกปรอง
ขรอมูลส่วนบป์์ลของผูเร รี น

2) ์ปณภาืของเน่้ อหาเ(content) แลส์วามืึงือใัของผูใร ชรงานบทเรี นเE-Learningเ


โด แสดงเกณฑทในการวยดรสดยบ์วาม์นดเห็นเ5เรสดยบเปรสกอบดรว ์าุามเ5 ขรอ อ่ เดยงอารางเ3.6
อารางทีอเ3.6 เกณฑทในการวยดรสดยบ์วาม์นดเห็นเกีอ วกยบปย ััย ทีอมีอนทธนืลอ่อการใชรงานเ(Use) แลส
์วามืึงือใัของผูใร ชรงานเ(Use Satisfaction) บทเรี นเE-Learningเดรานเน่้อหาเ(content)
์าุามทีอใชรในการวนั ย
1. เน่้อหาวนชาทีอท่านดดรรยบสรราง์วามเขราใัดดรมากขึ้น
2. เน่้อหารา วนชามี์วามน่าเช่ออุ่อ
3. เน่้อหารา วนชามี์วามน่าสนใั
4. เน่้อหารา วนชาอรงอามวยอุปปรสสง์ทการเรี น
5. เน่้อหารา วนชามี์วามทยนสมย แลสมีหวย ขรอหร่ อเน่้ อหาใหม่ๆเเสมอ

3) ์ปณ ภาืดรานเ์ร่อ องม่อเ(tool)เแลส์วามืึงือใัของผูใร ชรงานบทเรี นเE-Learningเ


โด แสดงเกณฑทในการวยดรสดยบ์วาม์นดเห็นเ5เรสดยบเปรสกอบดรว ์าุามเ5 ขรอ อ่ เดยงอารางเ3.7
อารางทีอเ3.7 เกณฑทในการวยดรสดยบ์วาม์นดเห็นเกีอ วกยบปย ััย ทีอมีอนทธนืลอ่อการใชรงานเ(Use) แลส
์วามืึงือใัของผูใร ชรงานเ(Use Satisfaction) บทเรี นเE-Learningเดรานเ์ร่อ องม่อเ(tool)
์าุามทีอใชรในการวนั ย
1. หลยกสูอรเE-Learningเมีช่องทางสาหรยบอนดอ่อส่ออสารกยบผูสร อน
รา วนชานี้ ทีอเขราุึงดดรง่า
2.เหลยกสูอรเE-Learning ัยดเอรี มช่องทางการช่ว เหล่อแลส
์าแนสนาการใชรงานรสบปดวรอ า่ งเหมาสสม
27

อารางทีอเ3.7เเกณฑทในการวยดรสดยบ์วาม์นดเห็นเกีอ วกยบปยััย ทีอมีอนทธนืลอ่อการใชรงานเ(Use) แลส


์วามืึงือใัของผูใร ชรงานเ(Use Satisfaction) บทเรี นเE-Learning ดรานเ์ร่อ องม่อเ(tool) (อ่อ)

์าุามทีอใชรในการวนั ย
3. ท่านสามารุเขราุึงช่องทางการช่ว เหล่อแลส์าแนสนาในการใชร
งานรสบบหลยกสูอรเE-Learning นี้ดดรง่า
4.เช่องทางการส่ออสารผ่านเSocial Media อ า่ งเFacebook Group
ภา ในหลยกสูอรเE-Learning ช่ว เืนอมช่องทางในการอนดอ่อส่ออสาร
กยบผูสร อนเเัราหนราทีอดูแลรสบบเแลสผูเร รี นดรว กยนดดรง่า
5. หลยกสูอรเE-Learning มี์ู่ม่อแลสเน่้ อหาปรสกอบการเรี นการ
สอน

3.7 ประเด็น ของความถูกต้ อง (Validity) และความน่ าเชื่ อถื อ (Reliability) ของข้ อมูล ที่
เก็บ
การวนั ย นี้ เป็ นการเก็บอยวอ า่ งโด อรงัากหน่ว อยวอ า่ งเผูวร นั ย ื า ามอ า่ งทีอสปดเื่ออทีอ
ใหรดดรข รอมูลทีอ ดี สาหรยบน าดปสู่ ผลสรป ปทีอ ุูกอรองเ(Valid) แลสเช่อ อุ่อดดรเ(Reliability) โด ขรอมูลทีอ
ุูกอรองเ์่อขรอมูลทีอมี์่าของอยวแปรอรงอามทีอนยดวนั ย อรองการเก็บเื่ออออบ์าุามวนั ย เกล่าว์่อเอรอง
เป็ นเ์ร่อ องม่อทีอ สามารุวยด ในสนอ งทีอ นยก วนั ย อรองการวยด ดดรเแลสขรอมูลทีอ เช่อ อุ่อดดรเ์่ อขรอมูลทีอ มี์่ า
อรงกยนในทปก์รย้งทีอวดย เ(กยล าเวานน ช บท ญ ย ชา,เ2554)เเเการออบวยอุปปรสสง์ทของงานวนั ย ใหรุูกอรอง
แลสน่าเช่ออุ่อัาเป็ นอรอง์วบ์ปมอยวแปรทีอเกีอ วขรองเดยงนี้
1) การเล่อกหน่ว วยดอยวอ า่ งเเื่ออใหรสอด์ลรองกยบงานวนั ย เผูวร นั ย เล่อกศึกษาปรสชากร
ทีอสามารุเขราุึงอนนเทอรท เน็อโด ผ่านเ์ร่อ องม่ออ า่ งเ์ร่อ อง์อมืนวเออรท หร่ อโทรศยืททม่อุ่อเซึองใน
ปยััปบนย มีกลป่ม์นหลา ช่ว อา แป ลสหลากหลา อาชีืทีอมี์ปณสมบยอนน้ ี เผูวร นั ย ัึงแ กกลป่มทีอออร งการวนั ย
ออกเป็ นเ2 กลป่มใหญ่ๆเ์่อเผูทร ีอมีปรสสบการณทในการเรี นผ่านเE-Learning เื่ออวนั ย ุึงปย ััย ์วามืึง
ือใัในการใชรงานแลสผลสยมฤทธน์แลส์วามืึงือใัทีอเกนดขึ้นเแลสกลป่มทีอดม่เ์ มีปรสสบการณทใน
การเรี นผ่านเE-Learningเเื่ออศึก ษาปย ััย แลสมูลเหอป ัูงใัในการเรนอ มอรน ในการเรี นเโด หน่ ว
อยวอ า่ งัสทาการออบแบบสอบุามเืี ง์รย้งเดี วเท่านย้นเแลสดม่อนป ญาอใหรหน่ ว อยวอ ่าง์นเดนม
ร่ วมใหรขอร มูลอีกเการทีอผวู ร นั ย ์วบ์ปมใหรเป็ นดปอามทีอกล่าวมานย้นเัสนาดปสู่ การดดรมาซึองขรอมูลทีอ มี
์วามุูกอรองแลสน่าเช่ออุ่อ งนอ ขึ้น
28

2) แบบสอบุามเงานวนั ย นี้ ัสวยด ์่ าอยว แปร 6 อยว เดดรแก่ เ(1)เ์ป ณ ภาืของทีอ รองรย บ
รสบบปฏนบอย นการเ(platform) (2)เ์ปณภาืเน่้อหาเ(content) (3)เ์ปณภาืเ์ร่อ องม่อเ(tool) (4)เการใชรงาน
รสบบเ(Use) (5)เ์วามืึงือใัของผูใร ชรงานเ(User Satisfaction) แลสเ(6)เผลสยมฤทธน์ทางการเรี นเ
(Learning Achievement)เโด ใชรแบบสอบุามเ(Questionnaires) ในลยก ษณสของ์ าุามปลา ปน ดเ
(Closed-ended) เป็ น์าุามทีอมีทางเล่อกในการออบแลสใหรผอู ร อบเล่อกเืี งเ1 ์าออบทีออรงกยบ์วาม
์น ด เห็ น ของผูอร อบแบบสอบุามมากทีอ สป ด เในงานวน ั ย นี้ แบบสอบุามเป็ นเ์ร่อ อ งม่ อ ส า์ยญ ทีอ
ผูวร นั ย ืยฒนาใหรมีปรสสน ทธนภาืเเื่ออทาใหรขอร มูลทีอเก็บมี์ปณ ภาืแลสนาดปสู่ การวนเ์ราสหทแลสผลทีอ
ุูกอรองเ(Validity) แลสมี์ วามน่ าเช่ออุ่อเ(Reliability) โด ขรอ์าุามแอ่ ลสขรอในแบบสอบุามนย้น
์วรทีอัสนาดปสู่ขอร มูลทีอสสทรอนุึง์าออบดดรอ า่ งุูกอรองเทางผูวร นั ย ศึกษางานวนั ย ในอดีอทีอเกีอ วขรอง
แลสทาการเล่อกขรอุามทีอ เหมาสสมัากงานวนั ย เหล่านย้นทีอมีการรา งาน์วามน่ าเช่ออุ่อแลส์วาม
ุูกอรองมาใชรหร่ อปรยบปรป งใหรเขรากยบหยวขรอทีอทาการศึกษา
3) การอรวัสอบ์ปณภาืเ์ร่อ องม่อเเป็ นการวยด์ปณภาืของแบบสอบุามก่อนนาดปใชร
ในการเก็บรวบรวมขรอมูลเเื่ออใหรแน่ ใัว่าผูอร อบแบบสอบุามัสมี์ วามเขราใัอรงกยน แลสออบ
์าุามดดรอาม์วามเป็ นัรน งทปกขรอเรวมทย้งขรอ์าุามมี์วามน่าเช่ออุ่อทางสุนอนเวนธีการทดสอบกรสทา
โด การทดลองนาแบบสอบุามทีอืฒย นาขึ้ นดปใชรเก็บขรอมูลกยบกลป่มอยวอ า่ งทีอมีลกย ษณสใกลรเ์ี งกยบ
กลป่มอยวอ ่างทีอใชรในงานวนั ย เหลยงัากนย้นนาแบบสอบุามทีอทดลองทาแลรวดปอรวัสอบ์าออบเื่ออ
วนเ์ราสหท

3.8 กรอบการวิเคราะห์ ข้อมูล


การวนเ์ราสหทขอร มูลเื่ออทดสอบสมมอนฐานแลสออบวยอุปปรสสง์ทของงานวนั ย เการเก็บ
รวบรวมขรอมูลของงานวนั ย เป็ นการเก็บขรอมูลัาหน่ว อยวอ า่ งโด หน่ว อยวอ า่ งออบแบบสอบุาม
แลสเล่อกเท์นน ์ การวนเ์ราสหทขอร มูลทางสุนอนทีอ สามารุออบวยอุปปรสสง์ทของงานวนั ย ทีออ้ ยงดวรดดรเ
(กยล าเวานนช บท ญย ชา, 2554)
การวนเ์ราสหทโด ใชรสุนอน เชน งืรรณนาเ(Descriptive Statistics) เื่ออวนเ์ราสหทก ารแัก
แังขรอมูลทีอดดรเโด มีสุนอนทีอใชรเดดรแก่เ์วามุีอเรรอ ลสเแลสการวนเ์ราสหทเชนงปรน มาณเดดรแก่เ์่าเฉลีอ เ์่า
เบีอ งเบนมาอรฐาน
29

บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

บทนี้เป็ นการนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล เพื่อตอบวัตถุประสงค์ที่ได้ระบุไว้ในบทที่


1 โดยอธิบายถึงการวิเคราะห์ความเชื่อถือได้ การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้ องต้น การวิเคราะห์ขอ้ มูลสถิติ
เชิงพรรณนา และการทดสอบสมมติบาน (Hypotheses Testing) โดยหลังจากการเก็บข้อมูลจากกลุ่ม
ตัวอย่าง เป็ นจ านวน 100 คน โดยเนื้ อหาในบทนี้ ประกอบด้ว ย การวิเคราะห์ความเชื่ อถือได้ การ
วิเคราะห์ ข ้อ มูล เบื้ อ งต้น การวิเคราะห์ข ้อมู ลสถิติ เชิ งพรรณนา (Descriptive Statistics) และการ
ทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)

4.1 การวิเคราะห์ ความเชื่ อถือได้


การวิเคราะห์ ค วามเชื่ อถื อได้ห รื อความเที่ ยงตรง เป็ นเทคนิ ค ที่ ใช้ว ัด คุ ณ ภาพของ
แบบสอบถามก่อนนาไปใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อให้แน่ใจว่าผูต้ อบแบบสอบถามจะมีความ
เข้าใจตรงกันและตอบคาถามได้ตรงความเป็ นจริ งทุกข้อรวมทั้งคาถามมีความน่าเชื่อถือทางสถิติ

4.2 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบื้องต้น


ในส่วนนี้ เป็ นการนาเสนิ ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้นของผูต้ อบแบบสอบถาม โดย
จะกล่าวถึงประเด็น เพศ อายุ อาชีพ เงินเดือน และประสบการณ์การเรี ยนผ่านระบบออนไลน์ที่ผา่ น
มา ผูว้ ิจยั ดาเนินการเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างทัว่ ไป เป็ นจานวน 100 คน ซึ่งเป็ นจานวนหน่วยตัวอย่างที่
ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามเพศ แสดงดังตารางที่ 4.1 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม
จาแนกตามอายุ แสดงดังตารางที่ 4.2 จานวนหน่ วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามอาชีพ
แสดงดังตารางที่ 4.3 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามเงินเดือน แสดงดังตาราง
ที่ 4.4 จ านวนหน่ วยตัวอย่างที่ ต อบแบบสอบถาม จาแนกตามประสบการณ์ ก ารเรี ยนผ่านระบบ
ออนไลน์ที่ผา่ นมา แสดงดังตารางที่ 4.5 และจานวนหน่ วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตาม
ช่วงเวลาที่เคยมีประสบการณ์การเรี ยนผ่านระบบออนไลน์ที่ผ่านมา แสดงดังตารางที่ 4.6
30

ตารางที่ 4.1 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามเพศ


เพศ จานวน (คน) ร้อยละ
ชาย 38 38
หญิง 62 62
รวม 100 100
จากตารางที่ 4.1 แสดงข้อมูลส่วนบุคคลของหน่ วยตัวอย่างจากการตอบแบบสอบถาม
ในงานวิจยั นี้ พบว่า จากจานวยหน่วยตัวอย่างทั้งสิ้น 100 คน ส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
โดยเป็ นเพศหญิงร้อยละ 62 และเพศชายร้อยละ 38 ของหน่วยตัวอย่างทั้งหมด

ตารางที่ 4.2 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามอายุ


อายุ จานวน (คน) ร้อยละ
น้อยกว่า 20 ปี 0 0
20 – 30 ปี 18 18
31 – 40 ปี 37 37
41 – 50 ปี 20 20
50 ปี ขึ้นไป 25 25
รวม 100 100
จากตารางที่ 4.2 แสดงให้เห็ น ว่า หน่ ว ยตัว อย่างส่ ว นใหญ่ มีอายุ 31-40 ปี ร้อยละ 37
ลาดับรองลงมา ได้แก่ อายุ 50 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 25 อายุ 41 – 50 ปี ร้อยละ 20 และอายุ 20 – 30 ปี ร้อย
ละ 18 ของหน่วยตัวอย่างทั้งหมด โดยไม่มีหน่วยตัวอย่างที่อายุนอ้ ยกว่า 20 ปี

ตารางที่ 4.3 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามอาชีพ


อาชีพ จานวน (คน) ร้อยละ
ข้าราชการ 8 8
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 8 8
พนักงานบริ ษทั 54 54
ธุรกิจส่วนตัว 7 7
31

ตารางที่ 4.3 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามอาชีพ (ต่อ)


อาชีพ จานวน (คน) ร้อยละ
รับจ้าง/ลูกจ้าง 6 6
นิสิต/นักศึกษา 2 2
ว่างงาน 5 5
อื่นๆ 10 10
รวม 100 100
จากตารางที่ 4.3 แสดงให้เห็ นว่า หน่ วยตัวอย่างในงานวิจยั นี้ ส่ วนใหญ่ เป็ นพนัก งาน
บริ ษ ัท ร้ อยละ 54 รองลงมา ได้แ ก่ อาชี พอื่ น ๆ ร้ อ ยละ 10 ซึ่ งเป็ นอาชี พ พนัก งานมหาวิ ทยาลัย
จานวน 7 คน ที่ปรึ กษา จานวน 1 คน แม่บา้ น จานวน 1 คน ข้าราชการบานาญ 1 คน ข้าราชการ ร้อย
ละ 8 พนักงานรัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 8 ธุรกิจส่วนตัว ร้อยละ 7 รับจ้าง/ลูกจ้าง ร้อยละ 6 ว่างงาน ร้อยละ
5 และนิสิต/นักศึกษา ร้อยละ 2

ตารางที่ 4.4 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามเงินเดือน


เงินเดือน จานวน (คน) ร้อยละ
น้อยกว่า 15,000 บาท 5 5
15,000 – 30,000 บาท 40 40
30,001 – 50,000 บาท 34 34
50,001 – 100,000 บาท 16 16
100,000 บาทขึ้นไป 5 5
รวม 100 100
จากตารางที่ 4.4 แสดงให้เห็ น ว่า หน่ ว ยตัว อย่างในงานวิจ ัย นี้ ส่ ว นใหญ่ มี เงิน เดื อ น
ระหว่าง 15,000 – 30,000 บาท ร้อยละ 40 ลาดับรองลงมาได้แก่ เงินเดือน 30,001 – 50,000 บาท ร้อย
ละ 34 เงิน เดือน 50,001 – 100,000 บาท ร้อยละ 16 เงินเดือน น้อยกว่า 15,000 บาท ร้อยละ 5 และ
เงินเดือน 100,000 บาทขึ้นไป ร้อยละ 5
32

ตาราง 4.5 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามประสบการณ์การเรี ยนผ่าน E-


learning ที่ผา่ นมา
ประสบการณ์การเรี ยนผ่าน E- จานวน (คน) ร้อยละ
learning ที่ผา่ นมา
เคยมีประสบการณ์ 51 51
ไม่เคยมีประสบการณ์ 49 49
รวม 100 100
จากตารางที่ 4.5 แสดงข้อมูลไปประสบการณ์การเรี ยนผ่านระบบออนไลน์ ที่ผ่านมา
ของหน่ ว ยตัว อย่า ง จากการตอบแบบสอบถามในงานวิ จ ัย นี้ พบว่ า โดยส่ ว นใหญ่ ไ ม่ เคยมี
ประสบการณ์การเรี ยนผ่านระบบออนไลน์ที่ผา่ นมา ร้อยละ 49 และเคยมีประสบการณ์การเรี ยนผ่าน
ระบบออนไลน์ที่ผา่ นมา ร้อยละ 51 ของหน่วยตัวอย่างทั้งหมด

ตารางที่ 4.6 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามช่วงเวลาที่เคยมีประสบการณ์การ


เรี ยนผ่าน E-Learning ที่ผา่ นมา
ช่วงเวลาที่เคยมีประสบการณ์ จานวน (คน) ร้อยละ
เคยเรี ยนผ่าน E-learning ในช่วง 1 ปี 27 52.94
เคยเรี ยนผ่าน E-learning มาแล้วมากกว่า 1 ปี 24 47.06
รวม 51 100
จากตารางที่ 4.6 แสดงข้อมูลของหน่ วยตัวอย่างที่เคยมีประสบการณ์ในการเรี ยนผ่าน
E-Learning ที่ผ่านมา จานวนทั้งสิ้ น 51 คน ซึ่งเคยเรี ยนผ่าน E-Learning ในช่วง 1 ปี ร้อยละ 52.94
และเคยเรี ยนผ่าน E-learning มาแล้วมากกว่า 1 ปี ร้อยละ 47.06

ตารางที่ 4.7 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามระบบ E-learning ที่เคยใช้บริ การ


ระบบ E-learning ที่เคยใช้ จานวน (คน) ร้อยละ
บริ การ
TUTOR ME 5 6.67
MasterClass 3 4.00
Chula MOOC 17 22.67
Thai MOOC 5 6.67
33

ตารางที่ 4.7 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามระบบ E-learning ที่เคยใช้บริ การ


(ต่อ)
ระบบ E-learning ที่เคยใช้ จานวน (คน) ร้อยละ
บริ การ
CMMU E-learning 14 18.67
FutureLearn 0 0.00
Coursera 3 4.00
iTunes U 6 8.00
TEDx 5 6.67
Khan Academy 0 0.00
DuoLingo 1 1.33
Udacity 1 1.33
Cognitive Class 1 1.33
EdX 3 4.00
อื่นๆ 11 14.67
รวม 75 100
จากตารางที่ 4.7 แสดงให้เห็น ว่า หน่ วยตัว อย่างในงานวิจยั นี้ ส่ ว นใหญ่เคยใช้บริ ก าร
ระบบ E-learning ผ่านระบบ Chula MOOC ร้อยละ 22.67 รองลงมา ได้แก่ CMMU E-learning ร้อย
ละ 18.67 ระบบอื่น ๆ ร้อยละ 11 ระบบ iTunes U ร้อยละ 8 ระบบ Thai MOOC ร้อยละ 6.67 ระบบ
TEDx ร้ อยละ 6.67 ระบบ MasterClass ร้อยละ 4 ระบบ Coursera ร้ อยละ 4 ระบบ EdX ร้ อยละ 4
ระบบ TUTOR ME ร้อยละ 6.67 ระบบ DuoLingo ร้อยละ 1.33 ระบบ Udacity ร้อยละ 1.33 ระบบ
Cognitive Class ร้อยละ 1.33 ของหน่ วยตัวอย่างทั้งหมด โดยไม่มีหน่ วยตัว อย่างที่ เรี ยนผ่านระบบ
FutureLearn และ Khan Academy

ตารางที่ 4.8 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตาม เหตุผลในการเรี ยนหลักสูตร E-


Learning
เหตุผลในการเรี ยนหลักสูตร E-Learning จานวน (คน) ร้อยละ
ต้องการความรู ้เฉพาะทาง 57 25.56
เป็ นเรื่ องที่สนใจส่วนตัว 51 22.87
34

ตารางที่ 4.8 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตาม เหตุผลในการเรี ยนหลักสูตร E-


Learning (ต่อ)
เหตุผลในการเรี ยนหลักสูตร E-Learning จานวน (คน) ร้อยละ
เรี ยนตามในชั้นเรี ยนไม่ทนั 16 7.17
ต้องการใบรับรอง (Certificate) 21 9.42
ชื่อหัวข้อเรี ยน/เนื้ อหาน่าสนใจ 36 16.14
ผูส้ อนมีชื่อเสียง/น่าสนใจ 13 5.83
เรี ยนฆ่าเวลา/แก้เบื่อ 5 2.24
ได้แลกเปลี่ยนความรู ้กบั กลุ่มที่สนใจเรื่ อง
21 9.42
เดียวกัน
อื่นๆ 3 1.35
รวม 223 100
จากตารางที่ 4.8 แสดงให้เห็นว่า หน่ วยตัวอย่างในงานวิจยั นี้ส่วนใหญ่ มีเหตุผลในการ
เรี ยนเพราะต้องการความรู ้เฉพาะทาง ร้อยละ 25.56 รองลงมา ได้แก่ เป็ นเรื่ องที่สนใจส่วนตัว ร้อยละ
22.87 ชื่ อหัว ข้อเรี ย น/เนื้ อหาน่ าสนใจ ร้ อยละ 16.14 ได้แลกเปลี่ยนความรู ้ ก ับ กลุ่ม ที่ ส นใจเรื่ อ ง
เดียวกัน ร้อยละ 9.42 ต้องการใบรับรอง (Certificate) ร้อยละ 9.42 เรี ยนตามในชั้นเรี ยนไม่ทนั ร้อย
ละ 7.17 ผูส้ อนมีชื่อเสี ยง/น่ าสนใจ ร้อยละ 5.83 เรี ยนฆ่าเวลา/แก้เบื่อ ร้อยละ 2.24 และอื่นๆ ร้อยละ
1.35

ตารางที่ 4.9 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามเนื้ อหาที่ตอ้ งการเรี ยน


เนื้อหาที่ตอ้ งการเรี ยน จานวน (คน) ร้อยละ
ติวเข้ม เช่น พิชิต O-Net, GAT, PAT เป็ นต้น 11 6.25
ภาษาต่างๆ 56 31.82
ธุรกิจ เช่น ต่อยอดธุรกิจ, Money Coach
58 32.95
เป็ นต้น
ไลฟสไตล์ เช่น กีฬา, ทาอาหาร, ดนตรี
44 25.00
เป็ นต้น
อื่นๆ 7 3.98
รวม 176 100
35

จากตารางที่ 4.9 แสดงให้เห็น ว่า หน่ ว ยตัวอย่างในงานวิจยั นี้ ส่วนใหญ่ ตอ้ งการเรี ยน
เนื้ อหาธุรกิจ ร้อยละ 32.95 รองลงมา ได้แก่ ภาษาต่างๆ ร้อยละ 31.82 ไลฟสไตล์ ร้อยละ 25 ติวเข้ม
ร้อยละ 6.25 และ อื่นๆ ร้อยละ 3.98

ทัศนคติและความคิดเห็นในรูปแบบของผู้ใช้ บริการ E-Learning ที่มปี ั จจัยที่มีอทิ ธิพลต่อ ความพึง


พอใจแก่ผู้ใช้
การวิ เคราะห์ ทัศ นคติ แ ละความคิ ด เห็ น ของผูใ้ ช้บ ริ การ E-Learning ที่ มี ปั จ จัยที่ มี
อิทธิพลต่อความพึงพอใจแก่ผูใ้ ช้ เป็ นการวิเคราะห์ก ลุ่มตัวอย่างทั้งหมดของงานวิจยั รวมกัน โดย
วิเคราะห์ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) นาเสนอในรู ปตาราง
ประกอบความเรี ยง ปรากฏดังตารางที่ 4.10 โดยผูว้ ิจยั กาหนดเกณฑ์ในการตีความหมายจากค่ าเฉลี่ย
ของคะแนน โดยแบ่งออกเป็ น 5 ระดับดังต่อไปนี้
5.00 - 4.21 มากที่สุด
4.20 – 3.41 มาก
3.40 – 2.61 ปานกลาง
2.60 – 1.81 น้อย
1.80 – 1.00 น้อยที่สุด

ตาราง 4.10 จานวนหน่วยตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามรู ปแบบการเรี ยน E-learning ที่


ส่งผลกระทบต่อความพึงพอใจแก่ผใู ้ ช้
รู ปแบบการเรี ยน E-learning ที่ S.D. ระดับ
ส่งผลกระทบต่อความพึงพอใจแก่
ผูใ้ ช้
การไม่เสียค่าใช้จ่ายในการเรี ยน 4.29 0.80 มากที่สุด
การไม่จากัดเนื้อหา 4.27 0.69 มากที่สุด
การได้ใบรับรอง (certificate) 3.95 0.91 มาก
หัวข้อ/เนื้อหาที่เรี ยน 4.38 0.62 มากที่สุด
ผูส้ อนมีชื่อเสียง/น่าสนใจ 3.89 0.76 มาก
36

จากตาราง 4.10 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามมีค่ าเฉลี่ย รู ปแบบการเรี ยน E-learning ที่


ส่ งผลกระทบต่อความพึงพอใจแก่ผใู ้ ช้ ในด้านการไม่เสี ยค่าใช้จ่ายในการเรี ยน เท่ากับ 4.29 อยู่ใน
ระดับมากที่สุด มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.80 มีค่าเฉลี่ยในเรื่ องการไม่จากัดเนื้ อหา เท่ากับ
4.27 อยูใ่ นระดับมากที่สุด มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.69 มีค่าเฉลี่ยในเรื่ องการได้ใบรับรอง
(certificate) เท่ ากับ 3.95 อยู่ในระดับมาก มีส่ว นเบี่ ยงเบนมาตรฐาน เท่ ากับ 0.91 ค่าเฉลี่ยในเรื่ อง
หัวข้อ/เนื้ อหาที่เรี ยน เท่ากับ 4.38 อยูใ่ นระดับมากที่สุด มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.62 และ
ผูต้ อบแบบสอบถามมีค่าเฉลี่ยในเรื่ องผูส้ อนมีชื่อเสี ยง/น่ าสนใจ เท่ากับ 3.89 อยู่ในระดับมาก มีส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.76

4.3 การวิเคราะห์ ข้อมูลของสถิตเิ ชิงพรรณนา


ผูว้ ิจยั ได้วิเคราะห์ขอ้ มูลสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) โดยวิเคราะห์ขอ้ มูล
จากแบบสอบถามของหน่วยตัวอย่าง นาเสนอในรู ปแบบการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่ วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Std. Deviation)
4.3.1 ข้อมูลค่าเฉลี่ยเกี่ยวกับด้านคุณภาพของที่รองรับระบบปฏิบตั ิการ (platform) ที่มี
อิทธิพลต่อการใช้งาน (Use) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์
โดยกาหนดอักษรย่อที่ใช้ในการนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ดังนี้
PQ1 หลักสูตร E-learning ใช้งานได้ง่าย
PQ2 หลักสูตร E-learning สามารถใช้งานได้ถูกต้อง
PQ3 หลักสูตร E-learning สามารถตอบสนองได้ในระยะเวลาที่เหมาะสม
PQ4 หลักสูตร E-learning สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลาหลังการ
เข้าสู่ระบบ
PQ5 หลักสูตร E-learning สามารถใช้งานได้ตลอดเวลาที่ตอ้ งการ
PQ6 หลักสูตร E-learning สามารถรองรับการใช้งานได้กบั หลากหลายอุปกรณ์
PQ7 หลักสูตร E-learning มีมาตรการรักษาความปลอดภัยเพื่อปกป้องข้อมูล
ส่วนบุคคลของผูเ้ รี ยน
37

ตารางที่ 4.11 ข้อมูล ค่ าเฉลี่ยเกี่ ยวกับ ด้านคุ ณ ภาพของที่ รองรั บ ระบบปฏิ บัติ ก าร (platform) ที่ มี
อิทธิพลต่อการใช้งาน (Use) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์

Item S.D. ระดับ

PQ1 4.31 0.63 มากที่สุด


PQ2 4.21 0.67 มากที่สุด
PQ3 4.27 0.60 มากที่สุด
PQ4 4.26 0.65 มากที่สุด
PQ5 4.3 0.69 มากที่สุด
PQ6 4.34 0.64 มากที่สุด
PQ7 4.26 0.69 มากที่สุด
เฉลี่ย 4.28 0.65 มากที่สุด
จากตาราง 4.11 แสดงถึงค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับเกี่ยวกับปัจจัยที่มี
อิทธิพลต่อการใช้งาน (Use) และความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน (User Satisfaction) ด้านคุณภาพของที่
รองรั บระบบปฏิบัติ ก าร (platform) บทเรี ยนออนไลน์ เพื่ อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลัก สู ต ร
ออนไลน์ พบว่า ค่ าเฉลี่ยโดยรวมเท่ ากับ 4.28 ส่ ว นเบี่ ยงเบนมาตรฐาน 0.65 จัด อยู่ในระดับความ
คิดเห็ นระดับมากที่ สุด เมื่อพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่า หลักสู ต ร E-Learning หลักสู ตร E-learning
สามารถรองรับการใช้งานได้กบั หลากหลายอุปกรณ์ (PQ6) มีค่าเฉลี่ยสู งที่ สุดเท่ ากับ 4.34 ลาดับ
รองลงมา ได้แก่ หลัก สู ต ร E-learning ใช้งานได้ง่าย (PQ1) มี ค่ าเฉลี่ ยเท่ ากับ 4.31 หลัก สู ต ร E-
learning สามารถใช้งานได้ตลอดเวลาที่ตอ้ งการ (PQ5) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.30 หลักสู ตร E-learning
สามารถตอบสนองได้ในระยะเวลาที่ เหมาะสม (PQ3) มีค่ าเฉลี่ยเท่ ากับ 4.27 หลักสู ตร E-learning
สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลาหลังการเข้าสู่ระบบ (PQ4) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.26 หลักสูตร
E-learning มีมาตรการรักษาความปลอดภัยเพื่อปกป้ องข้อมูลส่ วนบุคคลของผูเ้ รี ยน (PQ7) มีค่าเฉลี่ย
เท่ า กับ 4.26 และหลัก สู ตร E-learning สามารถใช้ง านได้ถู ก ต้ อ ง (PQ2) ค่ า เฉลี่ ย เท่ า กับ 4.21
ตามลาดับ

4.3.2 ข้อมูลค่าเฉลี่ยเกี่ยวกับข้อมูลค่าเฉลี่ยเกี่ยวกับด้านคุณภาพของเนื้อหา (content) ที่


มีอิทธิพลต่อการใช้งาน (Use) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์
38

โดยกาหนดอักษรย่อที่ใช้ในการนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ดังนี้


CQ1 เนื้อหาวิชาที่ท่านได้รับสร้างความเข้าใจได้มากขึ้น
CQ2 รายวิชามีความน่าเชื่อถือ
CQ3 เนื้อหารายวิชามีความน่าสนใจ
CQ4 เนื้อหารายวิชาตรงตามวัตถุประสงค์การเรี ยน
CQ5 เนื้อหารายวิชามีความทันสมัยและมีหวั ข้อหรื อเนื้ อหาใหม่ๆ เสมอ
ตาราง 4.12 ข้อมูล ค่ าเฉลี่ยเกี่ ยวกับ ข้อมู ลค่ าเฉลี่ย เกี่ ยวกับด้านคุ ณ ภาพของเนื้ อ หา (content) ที่ มี
อิทธิพลต่อการใช้งาน (Use) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์
Item S.D. ระดับ
CQ1 4.32 0.62 มากที่สุด
CQ2 4.25 0.66 มากที่สุด
CQ3 4.28 0.64 มากที่สุด
CQ4 4.35 0.59 มากที่สุด
CQ5 4.18 0.69 มาก
เฉลี่ย 4.28 0.64 มากที่สุด
จากตาราง 4.12 แสดงถึงค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับเกี่ยวกับปัจจัยที่มี
อิทธิพลต่อการใช้งาน (Use) และความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน (User Satisfaction) ด้านคุณภาพของ
เนื้อหา (content) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์ พบว่า ค่าเฉลี่ย
โดยรวมเท่ากับ 4.28 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.64 จัดอยูใ่ นระดับความคิดเห็นระดับมากที่สุด เมื่อ
พิ จ ารณาเป็ นรายข้อ พบว่ า หน่ ว ยตัว อย่างมี ค วามคิ ด เห็ น ตรงกัน ว่ า เนื้ อหารายวิ ช าตรงตาม
วัตถุประสงค์การเรี ยน (CQ4) โดยมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดเท่ากับ 4.35 ลาดับรองลงมา ได้แก่ เนื้อหาวิชาที่
ท่านได้รับสร้างความเข้าใจได้มากขึ้น (CQ1) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.32 เนื้ อหารายวิชามีความน่ าสนใจ
(CQ3) ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.28 รายวิชามีความน่าเชื่อถือ (CQ2) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.25 และเนื้ อหารายวิชา
มีความทันสมัยและมีหวั ข้อหรื อเนื้ อหาใหม่ๆ เสมอ (CQ5) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.18

4.3.2 ข้อมูลค่าเฉลี่ยเกี่ยวกับข้อมูลค่าเฉลี่ยเกี่ยวกับด้านคุณภาพของเครื่ องมือ (tool) ที่มี


อิทธิพลต่อการใช้งาน (Use) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์
โดยกาหนดอักษรย่อที่ใช้ในการนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ดังนี้
TQ1 หลักสูตร E-learning มีช่องทางสาหรับติดต่อสื่อสารกับผูส้ อนรายวิชานี้ ที่
39

เข้าถึงได้ง่าย
TQ2 หลักสูตร E-learning จัดเตรี ยมช่องทางการช่วยเหลือและคาแนะนาการใช้
งานระบุไว้อย่างเหมาะสม
TQ3 ท่านสามารถเข้าถึงช่องทางการช่วยเหลือและคาแนะนาในการใช้งาน
ระบบหลักสูตร E-learning นี้ได้ง่าย
TQ4 ช่องทางการสื่อสารผ่าน Social Media อย่าง Facebook Group ภายใน
หลักสูตร E- learning ช่วยเพิ่มช่องทางในการติดต่อสื่อสารกับผูส้ อน
เจ้าหน้าที่ดูแลระบบ และผูเ้ รี ยนด้วยกันได้ง่าย
TQ5 หลักสูตร E-learning มีคู่มือและเนื้ อหาประกอบการเรี ยนการสอน
ตาราง 4.13 ข้อมูลค่าเฉลี่ยเกี่ยวกับข้อมูลค่าเฉลี่ยเกี่ยวกับด้านคุณภาพของเครื่ องมือ (tool) ที่มีอิทธิพล
ต่อการใช้งาน (Use) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์
Item S.D. ระดับ
TQ1 4.01 0.76 มาก
TQ2 4.13 0.63 มาก
TQ3 4.09 0.66 มาก
TQ4 4.1 0.69 มาก
TQ5 4.13 0.68 มาก
เฉลี่ย 4.09 0.68 มาก
จากตาราง 4.13 แสดงถึงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับเกี่ยวกับปัจจัยที่มี
อิทธิพลต่อการใช้งาน (Use) และความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน (User Satisfaction) ด้านคุณภาพของ
เครื่ องมือ (tool) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์ พบว่า ค่าเฉลี่ย
โดยรวมเท่ ากับ 4.09 ส่ ว นเบี่ ยงเบนมาตรฐาน 0.68 จัด อยู่ในระดับ ความคิ ด เห็ น ระดับ มาก เมื่ อ
พิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่า หลักสูตร E-learning จัดเตรี ยมช่องทางการช่วยเหลือและคาแนะนาการ
ใช้งานระบุไว้อย่างเหมาะสม (TQ2) โดยมีค่าเฉลี่ยสู งที่สุดเท่ากับ 4.35 และ หลักสู ตร E-learning มี
คู่มือและเนื้ อหาประกอบการเรี ยนการสอน (TQ5) มีค่ าเฉลี่ยสู งที่ สุด เท่ ากับ 4.35 เช่ น กัน ลาดับ
รองลงมา ได้แก่ ช่องทางการสื่ อสารผ่าน Social Media อย่าง Facebook Group ภายในหลักสู ตร E-
learning ช่วยเพิ่มช่องทางในการติดต่อสื่ อสารกับผูส้ อนเจ้าหน้าที่ดูแลระบบ และผูเ้ รี ยนด้วยกันได้
ง่าย (TQ4) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.10 ท่านสามารถเข้าถึงช่องทางการช่วยเหลือและคาแนะนาในการใช้
40

งานระบบหลักสู ตร E-learning นี้ ได้ง่าย (TQ3) มีค่าเฉลี่ยเท่ ากับ 4.09 และหลักสู ตร E-learning มี
ช่ องทางส าหรั บติ ด ต่ อสื่ อสารกับ ผูส้ อนรายวิชานี้ ที่ เข้าถึงได้ง่าย (TQ1) ) มีค่ าเฉลี่ยเท่ ากับ 4.01
ตามลาดับ

4.4 สรุปผลการวิจยั
4.4.1 ข้ อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่เป็ นเพศหญิงจานวน 62 คน คิดเป็ นร้อยละ 62 เป็ นเพศ
ชาย 38 คน คิด เป็ นร้ อยละ 38 มีอายุช่วง 31-40 ปี จ านวน 37 คน คิ ด เป็ นร้อยละ 37 มีอาชี พเป็ น
พนักงานบริ ษทั จานวน 54 คน คิดเป็ นร้อยละ 54 มีเงินเดือนระหว่าง 15,000 – 30,000 บาท จานวน
40 คน คิดเป็ นร้อยละ 40

4.4.2 พฤติกรรมการเรียน E-learning ของผู้ตอบแบบสอบถาม


ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เคยมีประสบการณ์การเรี ยนผ่าน E-Learning จานวน 51
คนคิดเป็ นร้อยละ 51 และไม่เคยมีประสบการณ์การเรี ยนผ่าน E-Learning จานวน 49 คน คิดเป็ นร้อย
ละ 49 โดยคนที่ มี ประสบการณ์ ก ารเรี ยนผ่าน E-Learning เคยเรี ยนผ่าน E-Learning ในช่ ว ง 1 ปี
จานวน 27 คน คิดเป็ นร้อยละ 42.94 และส่วนใหญ่เคยใช้บริ การระบบ E-Learning ผ่านระบบ Chula
MOOC จานวน 17 คน คิดเป็ นร้อยละ 22.67

4.4.3 ปัจจัยที่มผี ลต่อการเรียนหลักสู ตร E-Learning


ผลการวิจยั พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่ มีเหตุผลในการเรี ยนเพราะต้องการ
ความรู ้ เฉพาะทาง จานวน 57 คน คิ ด เป็ นร้อยละ 25.56 และเนื้ อหาที่ ตอ้ งการเรี ย นมากที่ สุด เป็ น
เนื้อหาเรื่ องธุรกิจ เช่น ต่อยอดธุรกิจ, Money Coach เป็ นต้น จานวน 58 คน คิดเป็ นร้อยละ 32.95

4.4.4 ทัศนคติและความคิดเห็นในรูปแบบของผู้ใช้ บริการ E-Learning ที่มปี ัจจัยต่อ


ความพึงพอใจแก่ผู้ใช้
เมื่อพิจารณาด้านทัศนคติและความคิดเห็นของผูใ้ ช้บริ การ E-Learning ที่มีอิทธิพลต่อ
ความพึ งพอใจแก่ ผูใ้ ช้ ผลการวิจ ัย พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่ ว นใหญ่ ให้ค วามส าคัญ ในเรื่ อ ง
หัว ข้อ/เนื้ อหาที่ เรี ย น ( = 4.38) รองลงมาด้ว ยปั จจัยการไม่เสี ยค่าใช้จ่ ายในการเรี ยน ( = 4.29)
41

การไม่จากัดเนื้อหา ( = 4.27) การได้ใบรับรอง (certificate) ( = 3.95) ผูส้ อนมีชื่อเสี ยง/น่าสนใจ


( = 3.89) ตามลาดับ
ในด้านปัจจัยด้านคุณภาพของที่รองรับระบบปฏิบตั ิการ (platform) คุณภาพของเนื้อหา
(content) และคุณภาพของเครื่ องมือ (tool) ที่มีผลต่อการใช้งานระบบและความพึงพอใจของผูเ้ รี ยน
โดยเมื่อพิจารณาแต่ละปัจจัยพบว่า
1. ด้ า นคุ ณ ภาพที่ รองรั บ ระบบปฏิ บั ติ ก าร (platform) ผู ้ต อบแบบสอบถามให้
ความสาคัญกับตัวแปร 3 ลาดับแรก ดังนี้ หลัก สู ต ร E-learning สามารถรองรับการใช้งานได้ก ับ
หลากหลายอุปกรณ์ ( = 4.34) หลักสูตร E-learning ใช้งานได้ง่าย ( = 4.31) หลักสูตร E-learning
สามารถใช้งานได้ตลอดเวลาที่ตอ้ งการ ( = 4.30) ตามลาดับ
2. ด้านคุณภาพของเนื้ อหา (content) ผูต้ อบแบบสอบถามให้ความสาคัญกับตัวแปร 3
ลาดับแรก ดังนี้ เนื้ อหารายวิชาตรงตามวัตถุประสงค์ก ารเรี ยน ( = 4.35) เนื้ อหาวิชาที่ท่านได้รับ
สร้างความเข้าใจได้มากขึ้น ( = 4.32) เนื้อหารายวิชามีความน่าสนใจ ( = 4.28) ตามลาดับ
3. ด้านคุ ณภาพของเครื่ องมือ (tool) ผูต้ อบแบบสอบถามให้ความสาคัญกับตัว แปร 3
ลาดับแรก ดังนี้ หลักสูตร E-learning จัดเตรี ยมช่องทางการช่วยเหลือและคาแนะนาการใช้งานระบุ
ไว้อย่างเหมาะสม ( = 4.13) หลักสู ตร E-learning มีคู่มือและเนื้ อหาประกอบการเรี ยนการสอน
( = 4.13) ช่ อ งทางการสื่ อ สารผ่า น Social Media อย่า ง Facebook Group ภายในหลัก สู ต ร E-
learning ช่วยเพิ่มช่องทางในการติดต่อสื่อสารกับผูส้ อน เจ้าหน้าที่ดูแลระบบ และผูเ้ รี ยนด้วยกันได้
ง่าย ( = 4.10)

4.5 อภิปรายผลการศึกษา
4.5.1 ผลการวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ ระหว่างปั จจัยทางประชากรศาสตร์ ต่อพฤติกรรม
การเรียน E-Learning
ปัจจัยทางประชากรศาสตร์
1. ปั จจัยเพศ พบว่าไม่มีอิทธิพลต่อการตัดสิ นใจเรี ยน E-Learning นอกจากนี้ จากการ
วิจยั แสดงให้เห็นว่าจานวนผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่ เป็ นเพศหญิง เป็ นร้อยละ 62 ซึ่งมากกว่า
ครึ่ งของจานวนผูต้ อบแบบสอบถามทั้งหมด
2. ปั จ จัยอายุ พบว่ามีอิทธิพลต่อการตัดสิ นใจเรี ยน E-Learning จากการวิจ ัยแสดงให้
เห็นว่า จานวนผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีอายุในช่วงระหว่าง 31 – 40 ปี ร้อยละ 37 ของผูต้ อบ
42

แบบสอบถามทั้งหมด ซึ่งเป็ นวัยทางานและต้องการหาความรู ้เพิ่มเติมเพื่อเสริ มทักษะในการทางาน


หรื อหาความรู ้เพื่อเสริ มทักษะความรู ้ในด้านที่ตวั เองสนใจหรื อต้องการที่จะต่อยอด
3. ปัจจัยอาชีพ พบว่าไม่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเรี ยน E-Learning นอกจากนี้ จากการ
วิจยั แสดงให้เห็ นว่าจานวนผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็ นพนักงานบริ ษทั ร้อยละ 54 ของผูต้ อบ
แบบสอบถามทั้งหมด แต่ ท้ ังนี้ จากแบบสอบถามยังมีอีก หลายอาชี พที่ ตอบแบบสอบถาม ซึ่ งไม่
สามารถกาหนดค่าตัวแปรจากข้อมูลดังกล่าวได้
4. ปัจจัยด้านเงินเดือน พบว่าไม่มีอิทธิพลต่อการตัดสิ นใจเรี ยน E-Learning นอกจากนี้
จากการวิจยั แสดงให้เห็ น ว่าจ านวนผูต้ อบแบบสอบถามส่ ว นใหญ่ มีเงิน เดื อนอยู่ในช่ ว งระหว่าง
15,000 – 30,000 บาท เป็ นร้อยละ 40 ของจานวนผูต้ อบแบบสอบถามทั้งหมด แสดงให้เห็นว่าส่ วน
ใหญ่มีเงินเดือนในระดับที่สามารถจับจ่ายสิ นค้าและบริ การได้ในระดับกลาง และจะสามารถมีกาลัง
จ่ายเงินเพิ่มได้ในสินค้าที่พวกเค้ามีความต้องการ

4.5.2 ข้ อมู ล ทั่ ว ไปและพฤติ ก รรมพฤติ ก รรมการเรี ย น E-learning ของผู้ ตอบ


แบบสอบถาม
ผูว้ ิจยั สามารถอภิปรายผลได้ดงั นี้
1. ผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่ เคยมีประสบการณ์การเรี ยนผ่าน E-Learning ร้อยละ
51 ของผูต้ อบแบบสอบถามทั้งหมด ซึ่ งมากกว่าครึ่ งของจ านวนผูต้ อบทั้งหมด สอดคล้อ งกับ
แนวโน้มการศึกษาผ่านออนไลน์ที่เข้ามามีอิทธิพลต่อการเรี ยนรู ้ของคนในยุค 4.0 มากขึ้น และเป็ น
สิ่งที่ทุกคนสามารถเรี ยนรู ้และเข้าถึงได้ง่ายมากยิง่ ขึ้น
2. ผูต้ อบแบบสอบถามที่ เคยมี ประสบการณ์การเรี ยนผ่าน E-Learning ประสบการณ์
การเรี ยนผ่าน E-Learning เคยเรี ยนผ่าน E-Learning ในช่วง 1 ปี จานวน 27 คน คิดเป็ นร้อยละ 52.94
แสดงให้เห็น ว่าผูเ้ รี ยนมีประสบการณ์ก ารเรี ยนในระยะเวลาไม่น าน เนื่ องจากว่าแหล่งเรี ยนรู ้ก าร
เรี ยน E-Learning เริ่ มมี ม ากขึ้ นและเป็ นที่ รู้ จ ัก ในระยะเวลา 1 ปี ที่ ผ่ า นมา รวมถึ ง เริ่ มมี ก าร
ประชาสัมพันธ์แหล่งเรี ยนรู ้ E-Learning และแข่งขันการให้บริ การเพื่อให้เป็ นที่รู้จกั อย่างแพร่ หลาย
ภายในระยะ 1 ปี ที่ผา่ นมา
3. ผูต้ อบแบบสอบถามส่ ว นใหญ่ เคยใช้บริ ก ารระบบ E-Learning ผ่านระบบ Chula
MOOC ร้อยละ 22.67 แสดงให้เห็นว่า ผูใ้ ช้บริ การ E-Learning ส่ วนใหญ่เรี ยนรู ้จากแหล่งการเรี ยน
ออนไลน์ แบบเปิ ดและจากแหล่งสถานศึ ก ษาที่ ทาเปิ ดหลัก สู ต รการเรี ยนรู ้ โดยตรง โดยคาดว่ า
เนื่องจากมีอาจารย์ที่มีประสบการณ์การสอนโดยตรงซึ่งส่งผลต่อความน่าเชื่อถือของเนื้ อหา มีเนื้อหา
43

ที่ น่ าสนใจและเป็ นที่ ต ้องการของผูเ้ รี ยน เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ ที่ไม่ เสี ยค่ าใช้จ่ าย และได้ใบรั บ รอง
(certificate) หลังจากที่เรี ยนครบเนื้ อหาตามหลักสูตรแล้ว
ในส่วนของแหล่งเรี ยนรู ้ E-Learning อื่นๆ ที่ผตู ้ อบแบบสอบถามเคยได้เรี ยนมีท้ งั ของ
สถาบันการศึกษาและแหล่งเรี ยนรู ้ออนไลน์แบบเปิ ด ทั้งแบบเสียค่าใช้จ่ายและไม่เสียค่าใช้จ่าย แต่ที่
น่ าสนใจและน่ าสังเกตคือ ยังมีแหล่งเรี ยนรู ้ของทางองค์กรที่ผตู ้ อบแบบสอบถามได้ทางานอยู่ ซึ่ ง
เป็ น E-Learning ขององค์กรนั้นๆ จัดทาเพื่อเป็ นแหล่งความรู ้ที่ให้พนักงานได้เรี ยนรู ้ทกั ษะต่างๆ ที่
จะเป็ นประโยชน์ในการทางานให้กบั องค์กรต่อไป
4. ผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่ เรี ยน E-Learning เพื่อต้องการความรู ้เฉพาะทาง เป็ น
ร้ อ ยละ 25.56 ของผูต้ อบแบบสอบถามทั้ง หมด แสดงให้ เห็ น ว่ า จุ ด ประสงค์ข องการเรี ย น E-
Learning ของผูต้ อบแบบสอบถามต้องการความรู ้ เฉพาะด้านที่ ต นเองสนใจ กล่าวคื อมีผูเ้ รี ยนมี
จุดประสงค์ที่ตอ้ งการความรู ้ในเรื่ องที่ตนเองต้องการรู ้ กล่าวคือต้องมีแรงจูงใจหรื อจุด ประสงค์ที่
เรี ยนรู ้เรื่ องนั้นๆ จึงค่อยมีการเรี ยนตามมา
5. ผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่ที่เรี ยน E-Learning มีความต้องการที่จะเรี ยนเนื้ อหา
ในเรื่ อง ธุรกิจ เช่น ต่อยอดธุรกิจ , Money Coach เป็ นต้น เป็ นร้อยละ 32.95 ของผูต้ อบแบบสอบถาม
ทั้งหมด แสดงให้เห็นว่า เนื้ อหาที่ตอ้ งการเรี ยนของผูเ้ รี ยนเป็ นเรื่ องของการดาเนิ นธุรกิจที่เป็ นเรื่ อง
สาคัญและกาลังเป็ นที่นิยมในยุค 4.0 รวมถึงในปั จจุบนั คนส่ วนใหญ่นิยมหันมาทาธุรกิจส่วนตัวกัน
มากขึ้น รวมถึงเนื้อหาในเรื่ องการดาเนินธุรกิจไม่มีแหล่งการสอนที่แพร่ หลาย

4.5.3 รูปแบบการเรียน E-learning ที่ส่งผลกระทบต่อความพึงพอใจแก่ผ้ใู ช้


ผูว้ ิจยั สามารถอภิปรายผลได้ดงั นี้
ตาราง 4.14 ข้อมูลสรุ ปรู ปแบบการเรี ยน E-learning ที่ส่งผลกระทบต่อความพึงพอใจแก่ผใู ้ ช้
รูปแบบการเรียน E-learning ที่ส่งผลกระทบต่อความพึง S.D. ระดับ
พอใจแก่ผู้ใช้
การไม่เสียค่าใช้จ่ายในการเรี ยน 4.29 0.80 มากที่สุด
การไม่จากัดเนื้อหา 4.27 0.69 มากที่สุด
การได้ใบรับรอง (certificate) 3.95 0.91 มาก
หัวข้อ/เนื้อหาที่เรี ยน 4.38 0.62 มากที่สุด
ผูส้ อนมีชื่อเสียง/น่าสนใจ 3.89 0.76 มาก
44

1. ในด้านการไม่เสี ยค่ าใช้จ่ายในการเรี ยน ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของคะแนน อยู่ใน


ระดับ มากที่ สุด โดยผูว้ ิจยั มองว่า การไม่เสี ยค่าใช้จ่ายในการเรี ยนเป็ นการไม่ผูกมัด การใช้บริ การ
จนเกินไป ผูเ้ รี ยนสามารถเปลี่ยนแปลงการเรี ยนได้หากไม่พึงพอใจในเนื้ อหาที่เรี ยนหรื อไม่มีเวลา
เรี ยนจนจบหลักสูตร
2. การไม่จากัดเนื้ อหา ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของคะแนน อยู่ในระดับ มากที่สุด โดย
ผูว้ ิจยั มองว่า ผูเ้ รี ยนต้องการเรี ยนรู ้ไม่จากัดเฉพาะเนื้อหาที่ตนเองสนใจแค่บางเรื่ อง อาจะมีสาระหรื อ
หลักสูตรที่กาลังเป็ นเรื่ องสาคัญหรื อเรื่ องใหม่ที่ผเู ้ รี ยนอาจต้องการเรี ยนรู ้เพิ่มเติม
3. การได้ใบรับรอง (certificate) อยู่ในระดับ มาก โดยผูว้ ิจยั มองว่า การได้ใบรับรอง
ไม่ใช่ส่ิ งที่ผเู ้ รี ยนต้องการเสมอไป ใบรับรองอาจมีความจะเป็ นเพื่อยืนยันการเรี ยนจบหลักสู ตรกับ
เฉพาะบางรายเท่านั้น
4. หัวข้อ/เนื้ อหาที่เรี ยน ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของคะแนน อยูใ่ นระดับ มากที่สุด โดย
ผูว้ ิจยั มองว่า การเริ่ มต้นของการเรี ยน E-Learning เกิดจากหัวข้อ/เนื้อหาที่ตรงตามความต้องการของ
ผูเ้ รี ยน เพื่อดึงดูดความต้องการที่จะเรี ยนเนื้ อหาต่อไป
5. ผูส้ อนมีชื่อเสียง/น่ าสนใจ ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของคะแนน อยู่ในระดับ มาก โดยผูว้ ิจยั มองว่า
ผูส้ อนไม่จาเป็ นต้องมีชื่อเสี ยงแต่หากเป็ นเนื้ อหาที่อยู่ในความสนใจที่ผูส้ อนท่ านนั้น ได้สอน การ
ผูส้ อนมีชื่อเสียง/น่าสนใจจึงเป็ นเพียงปัจจัยบางส่วน

4.5.4 ปัจจัยที่มตี ่ออิทธิพลต่อการใช้ งาน (Use) บทเรียนออนไลน์ เพื่อเสริมการเรียน


ผ่านหลักสู ตรออนไลน์
ผูว้ ิจ ัยแบ่ งการอภิ ป รายเป็ น 3 ด้าน ได้แ ก่ ด้านคุ ณ ภาพของ platform คุ ณ ภาพของ content และ
คุณภาพของ tool ที่มีต่อการใช้งานระบบและความพึงพอใจของผูเ้ รี ยน
1. ด้านคุณภาพของ platform ผูว้ ิจยั สามารถอภิปรายผลได้ดงั นี้
ตาราง 4.15 ข้อมูลสรุ ปปัจจัยที่มีต่ออิทธิพลต่อการใช้งาน (Use) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยน
การสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์ ด้านคุณภาพของ platform
Item S.D. ระดับ
หลักสูตร E-learning ใช้งานได้ง่าย 4.31 0.63 มากที่สุด
หลักสูตร E-learning สามารถใช้งานได้ถูกต้อง 4.21 0.67 มากที่สุด
หลักสูตร E-learning สามารถตอบสนองได้ในระยะเวลาที่ 4.27 0.60 มากที่สุด
เหมาะสม
45

ตาราง 4.15 ข้อมูลสรุ ปปัจจัยที่มีต่ออิทธิพลต่อการใช้งาน (Use) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยน


การสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์ ด้านคุณภาพของ platform (ต่อ)
Item S.D. ระดับ
หลักสูตร E-learning สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 4.26 0.65 มากที่สุด
หลังการเข้าสู่ระบบ
หลักสูตร E-learning สามารถใช้งานได้ตลอดเวลาที่ตอ้ งการ 4.3 0.69 มากที่สุด
หลักสูตร E-learning สามารถรองรับการใช้งานได้กบั หลากหลาย 4.34 0.64 มากที่สุด
อุปกรณ์
หลักสูตร E-learning มีมาตรการรักษาความปลอดภัยเพื่อปกป้อง 4.26 0.69 มากที่สุด
ข้อมูลส่วนบุคคลของผูเ้ รี ยน
เฉลี่ย 4.28 0.65 มากที่สุด

1.หลักสู ตร E-learning ใช้งานได้ง่าย ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของคะแนน อยู่ในระดับ


มากที่ สุด โดยผูว้ ิจยั มองว่า การเรี ยน E-Learning ต้องมีก ารใช้งานที่ ไม่ซับซ้อน ไม่ยุ่งยากหลาย
ขั้นตอนในการเรี ยน เพื่อเป็ นการสนับสนุนการเข้าใช้
2. หลักสู ตร E-learning สามารถใช้งานได้ถูกต้อง ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของคะแนน
อยูใ่ นระดับ มากที่สุด โดยผูว้ ิจยั มองว่า ความแม่นยาของการปฏิบตั ิการมีความจะเป็ นมาก เช่น ความ
ถูกต้องของขั้นหลักสู ตรที่ ผเู ้ รี ยนดาเนิ นการเรี ยนถึงจะสร้างความพึงพอใจและความถูก ต้องของ
ความเสถียรของระบบ
3. หลักสู ตร E-learning สามารถตอบสนองได้ในระยะเวลาที่เหมาะสม ค่าเฉลี่ยความ
พึ งพอใจของคะแนน อยู่ในระดับ มากที่ สุ ด โดยผูว้ ิจ ัยมองว่า ผูเ้ รี ย นมี ค วามต้องการเรี ยนใน
ระยะเวลาเรี ยนที่แตกต่างตามแต่ละสถานการณ์ การตอบสนองของระบบจึงควรสามารถตอบสนอง
ได้ทุกเวลาที่ผเู ้ รี ยนต้องการ
4. หลักสู ตร E-learning สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลาหลังการเข้าสู่ระบบ
ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของคะแนน อยู่ในระดับ มากที่ สุด โดยผูว้ ิจยั มองว่า ผูเ้ รี ยนต้องการความ
เสถียรของระบบระหว่างเรี ยนเพื่อให้สามารถเรี ยนได้ต่อเนื่อง ไม่สะดุด และไม่เกิดความติดขัดจน
ตลอดระยะเวลาที่ผเู ้ รี ยนกาลังเรี ยน
5. หลักสู ตร E-learning สามารถใช้งานได้ตลอดเวลาที่ตอ้ งการ ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ
ของคะแนน อยูใ่ นระดับ มากที่สุด โดยผูว้ ิจยั มองว่า ความต้องการของผูเ้ รี ยนมีความต้องการเรี ยนใน
46

หลากหลายเวลาและหลายรู ปแบบ ดังนั้นระบบควรให้มีก ารเข้าเรี ย นได้ตลอดเวลาตามที่ผูเ้ รี ย น


ต้องการ
6. หลักสูตร E-learning สามารถรองรับการใช้งานได้กบั หลากหลายอุปกรณ์ ค่าเฉลี่ย
ความพึงพอใจของคะแนน อยู่ในระดับ มากที่สุด โดยผูว้ ิจยั มองว่า ปั จจุบันอุปกรณ์ที่ผเู ้ รี ยนใช้ใน
การเรี ยนมี น อกเหนื อจากคอมพิ ว เตอร์ โดยเฉพาะโทรศัพท์มื อถือคื อ อุปกรณ์ ที่ ค นนิ ยมใช้เป็ น
สื่อกลางในการเรี ยน E-Learning ในปัจจุบนั เนื่ องจากเป็ นสิ่ งที่เกือบทุกคนมีและเป็ นเครื่ องมือที่ทา
ให้ผเู ้ รี ยนสามารถเรี ยนได้ทุกที่ ทุกเวลา ตามความต้องการ
7. หลักสู ตร E-learning มีมาตรการรักษาความปลอดภัยเพื่อปกป้ องข้อมูลส่วนบุคคล
ของผูเ้ รี ยน ค่ าเฉลี่ยความพึงพอใจของคะแนน อยู่ในระดับ มากที่ สุด โดยผูว้ ิจ ัยมองว่า ปั จ จุบัน
platform การเรี ยน E-Learning มีการเชื่อมต่อกับ social media อย่าง Facebook เพื่อการยืนยันตัวตน
ของผูเ้ รี ยน ดังนั้นข้อมูลอาจมีโอกาสที่จะถูกแทรกแซงได้ ดังนั้นการรักษามาตรการความปลอดภัย
เพื่อปกป้องข้อมูลส่วนบุคคลจึงเป็ นสิ่งที่ผเู ้ รี ยนตระหนักและให้ความสาคัญมาก

2. ด้านคุณภาพของ content ผูว้ ิจยั สามารถอภิปรายผลได้ดงั นี้


ตาราง 4.16 ข้อมูลสรุ ปปัจจัยที่มีต่ออิทธิพลต่อการใช้งาน (Use) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยน
การสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์ ด้านคุณภาพของ content
Item S.D. ระดับ
เนื้อหาวิชาที่ท่านได้รับสร้างความเข้าใจได้มากขึ้น 4.32 0.62 มากที่สุด
เนื้อหารายวิชามีความน่าเชื่อถือ 4.25 0.66 มากที่สุด
เนื้อหารายวิชามีความน่าสนใจ 4.28 0.64 มากที่สุด
เนื้อหารายวิชาตรงตามวัตถุประสงค์การเรี ยน 4.35 0.59 มากที่สุด
เนื้อหารายวิชามีความทันสมัยและมีหวั ข้อหรื อเนื้ อหาใหม่ๆ 4.18 0.69 มาก
เสมอ
เฉลี่ย 4.28 0.64 มากที่สุด
1. เนื้ อหาวิชาที่ ท่านได้รั บ สร้ างความเข้าใจได้ม ากขึ้ น ค่ าเฉลี่ยความพึ งพอใจของ
คะแนน อยูใ่ นระดับ มากที่สุด โดยผูว้ ิจยั มองว่า จุดประสงค์ของผูเ้ รี ยนคือการได้เข้าใจเนื้ อหาของ
หลักสูตรที่ได้เรี ยนซึ่งเป็ นวัตถุประสงค์ของผูเ้ รี ยนตั้งแต่เริ่ มแรกที่ตอ้ งการเรี ยน
2. เนื้อหารายวิชามีความน่าเชื่อถือ ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของคะแนน อยูใ่ นระดับ มาก
ที่สุด โดยผูว้ ิจยั มองว่า ความน่ าเชื่อถือและความถูกต้องของเนื้ อหาจะเป็ นสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนคาดหวังและ
47

เป็ นสิ่ งที่ ผูผ้ ลิต สื่ อการสอนให้ค วามสาคัญ เป็ นอัน ดับแรก ที่จ ะสะท้อนคุ ณ ภาพของการเรี ย น E-
Learning ออกมาได้ชดั เจน
3. เนื้อหารายวิชามีความน่าสนใจ ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของคะแนน อยู่ในระดับ มาก
ที่สุด โดยผูว้ ิจยั มองว่า ความน่ าสนใจของเนื้ อหาจะเป็ นแรงผลักดันให้ผเู ้ รี ยนเข้ามาเรี ยน E-Learning
และดึงดูดให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนจนจบหลักสูตรได้อย่างไม่น่าเบื่อ
4. เนื้อหารายวิชาตรงตามวัตถุประสงค์การเรี ยน ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของคะแนน อยู่
ในระดับ มากที่สุด โดยผูว้ ิจยั มองว่า ผูเ้ รี ยนมีค วามคาดหวังเนื้ อหาการเรี ยนตั้งแต่ เริ่ มเรี ยนจนจบ
หลักสูตรเป็ นไปตามเป้าประสงค์ที่ได้ระบุไว้
5. เนื้อหารายวิชามีความทันสมัยและมีหวั ข้อหรื อเนื้ อหาใหม่ๆ เสมอ ค่าเฉลี่ยความพึง
พอใจของคะแนน อยูใ่ นระดับ มาก โดยผูว้ ิจยั มองว่า ผูเ้ รี ยนมีความคาดหวังในเนื้ อหาใหม่ๆ ขององค์
ความรู ้ที่ตนต้องการเรี ยนรู ้เพื่อให้ทนั ต่อยุคสมัยที่เปลี่ยนไป แต่ท้งั นี้บางองค์ความรู ้เป็ นทฤษฎีที่ไม่มี
การเปลี่ยนแปลงใดๆ ผูเ้ รี ยนจึงไม่ได้มองว่าเป็ นสิ่งที่เป็ นปัจจัยมากที่สุด

3. ด้านคุณภาพของ tool ผูว้ ิจยั สามารถอภิปรายผลได้ดงั นี้


ตาราง 4.17 ข้อมูลสรุ ปปัจจัยที่มีต่ออิทธิพลต่อการใช้งาน (Use) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยน
การสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์ ด้านคุณภาพของ tool
Item S.D. ระดับ
หลักสูตร E-learning มีช่องทางสาหรับติดต่อสื่อสารกับผูส้ อนรายวิชานี้ ที่
4.01 0.76 มาก
เข้าถึงได้ง่าย
หลักสูตร E-learning จัดเตรี ยมช่องทางการช่วยเหลือและคาแนะนาการใช้
4.13 0.63 มาก
งานระบุไว้อย่างเหมาะสม
ท่านสามารถเข้าถึงช่องทางการช่วยเหลือและคาแนะนาในการใช้งานระบบ
4.09 0.66 มาก
หลักสูตร E-learning นี้ได้ง่าย
ช่องทางการสื่อสารผ่าน Social Media อย่าง Facebook Group ภายใน
หลักสูตร E-learning ช่วยเพิ่มช่องทางในการติดต่อสื่อสารกับผูส้ อน 4.1 0.69 มาก
เจ้าหน้าที่ดูแลระบบ และผูเ้ รี ยนด้วยกันได้ง่าย
หลักสูตร E-learning มีคู่มือและเนื้ อหาประกอบการเรี ยนการสอน 4.13 0.68 มาก
เฉลี่ย 4.09 0.68 มาก
48

1. หลักสู ตร E-learning มีช่องทางสาหรับติดต่อสื่ อสารกับผูส้ อนรายวิชานี้ ที่เข้าถึงได้


ง่าย ค่ าเฉลี่ ยความพึงพอใจของคะแนน อยู่ในระดับ มาก โดยผูว้ ิจ ัยมองว่า ผูเ้ รี ยนอาจไม่มีค วาม
จาเป็ นในการติดต่อสื่ อสารกับผูส้ อนรายวิชานี้ หากมีความเข้าใจเนื้อหารายวิชาที่ได้รับการสอน การ
ติดต่อสื่อสารอาจเป็ นเครื่ องมือประกอบในความจะเป็ น
2. หลักสู ตร E-learning จัดเตรี ยมช่องทางการช่วยเหลือและคาแนะนาการใช้งานระบุ
ไว้อย่างเหมาะสม ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของคะแนน อยูใ่ นระดับ มาก โดยผูว้ ิจยั มองว่า ผูเ้ รี ยนอาจ
ไม่มีความจ าเป็ นในการติ ด ต่ อหรื อต้องมีช่องทางการช่ วยเหลือและค าแนะน าหากมีค วามเข้าใจ
เนื้อหารายวิชาที่ได้รับการสอน การติดต่อสื่อสารอาจเป็ นเครื่ องมือประกอบในความจะเป็ น
3. ท่ านสามารถเข้าถึ ง ช่ อ งทางการช่ ว ยเหลื อ และค าแนะน าในการใช้ง านระบบ
หลักสู ตร E-learning นี้ ได้ง่าย ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของคะแนนอยูใ่ นระดับ มาก โดยผูว้ ิจยั มองว่า
ผูเ้ รี ยนอาจไม่มีความจาเป็ นในการติดต่อหรื อต้องมีช่องทางการช่วยเหลือและคาแนะนาหากมีความ
เข้าใจเนื้อหารายวิชาที่ได้รับการสอน การติดต่อสื่อสารอาจเป็ นเครื่ องมือประกอบในความจะเป็ น
4. ช่องทางการสื่ อสารผ่าน Social Media อย่าง Facebook Group ภายในหลัก สู ต ร E-
learning ช่วยเพิม่ ช่องทางในการติดต่อสื่อสารกับผูส้ อน เจ้าหน้าที่ดูแลระบบ และผูเ้ รี ยนด้วยกันได้
ง่าย ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของคะแนนอยูใ่ นระดับ มาก โดยผูว้ ิจยั มองว่า ช่องทางสื่อสารผ่าน Social
Media มีความจาเป็ นกับเฉพาะบางกลุ่มเรี ยนที่ต ้องการแบ่งปั นเนื้ อหาซึ่ งกันและกัน แต่ผเู ้ รี ยน E-
Learning ส่วนใหญ่อาจต้องการความเป็ นส่วนตัวและไม่เห็นว่าการแบ่งปันเนื้อหาเป็ นสิ่งจาเป็ น
5. หลักสูตร E-learning มีคู่มือและเนื้อหาประกอบการเรี ยนการสอน ค่าเฉลี่ยความพึง
พอใจของคะแนนอยู่ในระดับ มาก โดยผูว้ ิจยั มองว่า ผูเ้ รี ยนอาจไม่มีความจาเป็ นที่ตอ้ งใช้คู่มือและ
เนื้ อ หาประกอบการสอนหากมี ค วามเข้าใจเนื้ อหารายวิ ช าที่ ได้ รั บ การสอน คู่ มื อ และเนื้ อหา
ประกอบการสอนอาจเป็ นเครื่ องมือประกอบในความจะเป็ น
49

บทที่ 5
สรุปผลการวิจยั และข้ อเสนอแนะ

บทนี้ เป็ นการนาเสนอสรุ ปผลการวิจยั เพื่อตอบวัตถุประสงค์ของงานวิจยั อภิปรายถึง


ประเด็น ต่ างๆ ที่ เกิด ขึ้ น ในงานวิจ ัย ข้อเสนอแนะสาหรั บการน าผลไปใช้ และข้อเสนอแนะของ
งานวิจยั ครั้งต่อไป เพื่อเป็ นโอกาสในการศึกษาต่อยอดงานวิจยั ในอนาคต

5.1 การวิจยั และลักษณะของหน่ วยตัววัด


งานวิจยั นี้ เป็ นงานวิจยั เชิงปริ มาณ (Quantitative Research) ที่มุ่งอธิบายเหตุการณ์ หรื อ
สิ่งต่างๆ โดยใช้ตวั เลขประกอบการวิเคราะห์และสรุ ปผล โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็ น
เครื่ องมือในการเก็บข้อมูล เพื่อศึก ษาปั จจัยที่ มีต่ อผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการ
เรี ยนการสอน ซึ่งใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากหน่ วยตัวอย่างโดยตรง โดยทาการเก็บข้อมูลหน่ วยตัวอย่าง
จากกลุ่มคนที่เคยมีประสบการณ์การเรี ยนผ่าน E-Learning และผูท้ ี่ไม่เคยมีประสบการณ์การเรี ยน
ผ่าน E-Learning เป็ นจานวนทั้งสิ้น 100 คน
โดยงานวิจยั นี้ มีประเด็นที่จะศึกษา ดังนี้ (1) เพื่อศึกษาปัจจัย 3 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณภาพ
ของที่รองรับระบบปฏิบตั ิการ (platform) ด้านคุณ ภาพเนื้ อหา (content) และด้านคุ ณภาพเครื่ องมือ
(tool) ที่ มี ผลต่ อการใช้งาน (Use) บทเรี ยนออนไลน์ เพื่ อ เสริ ม การเรี ยนการสอนผ่านหลัก สู ต ร
ออนไลน์ (2) เพื่ อ ศึ ก ษาปั จจัย 3 ด้า น ได้แ ก่ ด้า นคุ ณ ภาพของด้า นคุ ณ ภาพของที่ ร องรั บ
ระบบปฏิบัติ ก าร (platform) ด้านคุ ณ ภาพเนื้ อหา (content) และด้านคุ ณ ภาพเครื่ องมือ (tool) ที่ มี
อิทธิพลต่อความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน (User Satisfaction) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการ
สอนผ่านหลักสู ตรออนไลน์ (3) เพื่อศึกษาความสัมพัน ธ์ระหว่างการใช้งาน (Use) และความพึง
พอใจของผูใ้ ช้งาน (User Satisfaction) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสู ตร
ออนไลน์ (4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการใช้งาน (Use) และความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน (User
Satisfaction) กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน (Learning Achievement) ของผูใ้ ช้งานบทเรี ยนออนไลน์
การเก็บข้อมูลแบบสอบถามใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม (Questionnaires) ใน
ลัก ษณะของคาถามปลายปิ ด (Closed-ended) ผูท้ ี่ตอบแบบสอบถามสามารถแสดงความคิดเห็น ได้
50

อย่างอิสระ ประกอบด้วย 4 ส่ วน ได้แก่ ส่ วนที่ 1 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพส่ วนบุคคล


หรื อลักษณะทางประชากรศาสตร์ ของผูต้ อบแบบสอบถาม ส่ วนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ ยวกับปั จจัย
ด้านประสบการณ์ ก ารเรี ยนรู ้ ท าง E-Learning ส่ ว นที่ 3 ได้แ ก่ เหตุ ผ ลในการเรี ยนของผูต้ อบ
แบบสอบถาม และส่วนที่ 4 ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยด้านคุณภาพของความสาเร็ จของ 1) ที่
รองรับระบบปฏิบตั ิการ (platform) 2) คุณภาพของเนื้อหา (content) และคุณภาพของเครื่ องมือ (tool)

5.2 การสรุปผลที่ได้ จากงานวิจยั และอภิปรายผล


5.2.1 ปั จจัย 3 ด้ าน ได้ แก่ คุณภาพของที่รองรับระบบปฏิบัติการ (platform) คุณภาพ
ของเนื้อหา (content) คุณภาพของเครื่ องมือ (tool) มีอิทธิพลต่ อการใช้ งาน (Use) และ ความพอใจ
ของผู้ ใช้ งาน (User Satisfaction) บทเรี ย นออนไลน์ เ พื่ อ เสริ ม การเรี ย นการสอนผ่ านหลัก สู ต ร
ออนไลน์
จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรภายในกรอบแนวคิดของงานวิจยั พบว่า
1) คุ ณ ภาพของที่ รองรับระบบปฏิบัติ ก าร (platform) มีอิทธิ พลต่ อการใช้งาน (Use)
และ ความพอใจของผูใ้ ช้งาน (User Satisfaction) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่าน
หลักสูตรออนไลน์ ในระดับที่มากที่สุด
2) คุณ ภาพของเนื้ อหา (content) มีอิทธิพลต่ อการใช้งาน (Use) และ ความพอใจของ
ผูใ้ ช้งาน (User Satisfaction) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์ ใน
ระดับที่มากที่สุด
3) คุ ณ ภาพของเครื่ องมือ (tool) มีอิทธิ พลต่ อการใช้งาน (Use) และ ความพอใจของ
ผูใ้ ช้งาน (User Satisfaction) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์ ใน
ระดับที่มาก
ผูว้ ิจยั จึงสรุ ปได้ว่า ปัจจัยทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ คุณภาพที่รองรับระบบปฏิบตั ิการ (platform)
คุณภาพของเนื้ อหา (content) และคุณภาพของเครื่ องมือ (tool) มีอิทธิ พลต่อการใช้งาน (Use) และ
ความพอใจของผูใ้ ช้งาน (User Satisfaction) บทเรี ยนออนไลน์ เพื่ อเสริ ม การเรี ยนการสอนผ่าน
หลักสู ตรออนไลน์ ซึ่ งสอดคล้องกับวรรณกรรมที่มีก ารตรวจสอบอิทธิพลของปั จจัยแต่ ละด้านที่
ส่ ง ผลต่ อ การใช้ง านและความพึ ง พอใจของผู ้ใ ช้ง าน อาทิ งานวิ จ ัย Lwoga (2013) ได้ศึ ก ษา
ความสาเร็ จของคุณภาพของระบบเทคโนโลยี Library 2.0 ในบริ บทแอฟริ กนั พบว่า คุณภาพของ
ระบบ และคุ ณ ภาพสารสนเทศ มีอิทธิ พลเชิ งบวกต่อความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน (Tandi Lwoga,
2013) ในขณะที่งานวิจยั เรื่ องโมเดลแห่ งความสาเร็ จระบบสารสนเทศการบริ หารโครงการในงาน
51

ก่ อสร้ างของ Lee และ Yu (2012) พบว่า คุ ณ ภาพสารสนเทศในมิติ เนื้ อหา ความสมบู ร ณ์ ความ
ถูกต้อง รู ปแบบ และความทันเวลามีอิทธิพลทางบวกต่อความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน

5.2.2 ความสั มพันธ์ ระหว่ างการใช้ งาน (Use) และความพึงพอใจของผู้ใช้ งาน (User
Satisfaction) บทเรียนออนไลน์ เพื่อเสริมการเรียนการสอนผ่านหลักสู ตรออนไลน์
จากผลการวิเคราะห์ค วามสัมพัน ธ์ระหว่างการใช้งาน (Use) และความพึงพอใจของ
ผูใ้ ช้งาน (User Satisfaction) บทเรี ยนออนไลน์ เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสู ตรออนไลน์
พบว่า การใช้งาน (Use) มีค วามสัม พัน ธ์ก ับ ความพึ งพอใจของผูใ้ ช้งาน (User Satisfaction) ซึ่ ง
สอดคล้องกับการศึกษาของ Petter และคณะ (2008) ที่ กล่าวว่า ความพึงพอใจของผูใ้ ช้งานเป็ นตัว
แปรคั่น กลางที่ มีอิทธิ พ ลต่ อการใช้งาน หากผูใ้ ช้งานมีค วามพึ งพอใจหรื อไม่ พึง พอใจในระบบ
สารสนเทศจะส่ งผลโดยตรงต่อการใช้งานระบบไม่ทางบวกก็ทางลบ (Petter et al., 2008) ทานอง
เดี ยวกับ ผลงานวิจ ัยของ Aggelidis และ Chatzoglou (2012) ที่ แสดงให้เห็ น ว่ า การใช้งานระบบ
สารสนเทศมีอิทธิ พลทางบวกต่ อความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน (Aggelidis & Chatzoglou, 2012) ซึ่ ง
เป็ นไปตามแนวคิ ดของ DeLone และ McLean (2003) ที่กล่าวว่า การใช้งาน (Use) เป็ นทางเลือกใน
การใช้ว ัด การใช้ง านที่ ดี ที่ สุด กล่ าวคื อ ความตั้ง ใจที่ จ ะใช้งานคื อ ทัศนคติ ส่ ว นการใช้ง านคื อ
พฤติ ก รรม ซึ่ งทั้ง 2 ส่ ว นล้ว นส่ งเสริ ม ซึ่ งกัน และกัน โดยตัว แปรการความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน
(User Satisfaction) มีค วามสัมพัน ธ์ก ัน อย่างใกล้ชิด ต่างส่ งผลต่ อกันและกัน แสดงให้เห็ นว่าหาก
ผูใ้ ช้งานบทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสู ตรออนไลน์ มีการใช้งานบทเรี ยน
ออนไลน์ เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสู ต รออนไลน์ มากจะส่ งผลให้ผใู ้ ช้งานเกิดความพึง
พอใจต่อบทเรี ยนออนไลน์เพิ่มขึ้นตามไปด้วย

5.2.3 ความสัมพันธ์ ของการใช้ งาน (Use) และความพึงพอใจของผู้ใช้ งาน (User


Satisfaction) กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Learning Achievement) ของผู้ใช้ งานบทเรียนออนไลน์
เพื่อเสริมการเรียนการสอนผ่านหลักสู ตรออนไลน์
จากผลการวิเคราะห์ ค วามสั ม พัน ธ์ข องการใช้งาน (Use) และความพึ งพอใจของ
ผูใ้ ช้งาน (User Satisfaction) กับ ผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ยน (Learning Achievement) ของผูใ้ ช้ง าน
บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสู ตรออนไลน์ พบว่า การใช้งาน (Use) และ
ความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน (User Satisfaction) มีความสัมพัน ธ์ก ับผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ย น แต่ มี
ความสัมพัน ธ์ในระดับ ที่ น้อย นอกจากนี้ ผูว้ ิจ ัย ได้พ บอี ก ว่า การใช้งาน (Use) ไม่ มี อิท ธิ พ ลกับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน (Learning Achievement) ซึ่งมีเพียงความพึงพอใจของผูใ้ ช้งานเท่ านั้นที่ มี
52

อิท ธิ พ ลต่ อ ผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ยนของผูใ้ ช้งานบทเรี ยนออนไลน์ ดังที่ Seddon (1997) ได้ต้ ัง
ข้อสังเกตไว้ว่า ผูใ้ ช้งานจะใช้งานสารสนเทศก็ต่อเมื่อระบบมีประโยชน์ บางกรณี การไม่ใช้งานไม่ได้
หมายความว่าระบบไม่ดีหรื อไม่มีประสิ ทธิภาพ การไม่ใช้งานอาจจะเกิดขึ้นได้ในกรณี ที่ผใู ้ ช้งานอื่น
ที่ไม่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศ ดังนั้นการวัดปัจจัยการใช้งานระบบไม่สามารถทาได้ชดั เจนเท่ากับการ
วัดประโยชน์ที่ได้รับจากระบบสารสนเทศไม่ว่าระบบจะถูกใช้งานหรื อไม่ (Seddon, 1997)
จากการสรุ ปผลการศึกษาปั จจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการ
เรี ยนการสอนข้าต้น พบว่า ตัว แปรทั้ง 6 ตัว ที่ ผูว้ ิจ ัยได้น ามาศึก ษา ได้แก่ คุ ณ ภาพของที่ รองรั บ
ระบบปฏิบตั ิการ (platform) คุณภาพของเนื้ อหา (content) คุณภาพของเครื่ องมือ (tool) การใช้งาน
(Use) ความพอใจของผู ้ใ ช้ ง าน (User Satisfaction) และผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ยน (Learning
Achievement) มีความสัมพันธ์กนั ในขณะที่การใช้งาน (Use) และความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน (User
Satisfaction) มี ค ว าม สั ม พั น ธ์ ก ั บ ผ ลสั ม ฤท ธิ์ ท างก ารเรี ย น (Learning Achievement) แต่ มี
ความสั ม พัน ธ์ก ัน น้อ ย และจากการสรุ ปผลยัง พบว่ า คุ ณ ภาพ ของที่ ร องรั บ ระบบปฏิ บัติ ก าร
(platform) คุณภาพของเนื้อหา (content) คุณภาพของเครื่ องมือ (tool) มีอิทธิพลต่อการใช้งาน (Use)
และความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน (User Satisfaction) ในขณะที่ มีเพียงความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน
(User Satisfaction) เท่านั้นที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน (Learning Achievement) แต่การ
ใช้งาน (Use) ไม่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน (Learning Achievement)

5.3 ข้ อเสนอแนะสาหรับการนาผลไปใช้
1. จากการศึกษางานวิจยั ครั้ งนี้ ผูจ้ ดั การเรี ยนการสอนหรื อผูด้ ูแลระบบสามารถนาไป
เป็ นแนวทางในการพัฒนาบทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสู ตรออนไลน์ ทั้ง
สาหรั บ สถานศึก ษาและในเชิ งพาณิ ชย์ โดยต้องค านึ งถึงคุ ณ ภาพการบริ ก ารเป็ นหลัก เนื่ องจาก
คุณภาพการบริ การเป็ นสิ่ งจาเป็ นในการใช้งานและสร้างความพึงพอใจให้กบั ผูใ้ ช้งาน เพราะหากมี
คุณภาพการบริ การที่ดี ผูใ้ ช้งานระบบก็จะมีความรู ้สึกที่อยากกลับมาใช้งานซ้ าในครั้งต่อไป และมี
ความพึงพอใจที่ดีตามไปด้วย
2. จากการศึ ก ษางานวิ จ ัย ครั้ งนี้ ผูจ้ ัด การเรี ยนการสอนหรื อผูด้ ู แ ลระบบควรให้
ความสาคัญกับความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน (User Satisfaction) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยน
การสอน เนื่องจากมีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน (Learning Achievement)
3. จากการศึ ก ษางานวิ จ ัย ครั้ งนี้ ผูจ้ ัด การเรี ยนการสอนหรื อผูด้ ู แ ลระบบควรให้
ความสาคัญกับการใช้งาน (Use) บทเรี ยนออนไลน์ เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอน เพื่อให้ผูใ้ ช้งาน
53

กลับมาใช้ง านบทเรี ย นออนไลน์ เพื่ อ เสริ มการเรี ย นการสอนซ้ าในคราวต่ อ ไป โดยเรี ย งลาดับ
ความส าคัญ ของปั จ จัย ทั้ง 3 ด้านจากมากไปน้อ ย ดังนี้ คุ ณ ภาพของที่ รองรั บ ระบบปฏิ บัติ ก าร
(platform) คุณภาพของเนื้อหา (content) คุณภาพของเครื่ องมือ (tool)
4. จากการศึกษางานวิจยั ครั้ งนี้ ผูจ้ ดั การเรี ยนการสอนหรื อผูด้ ูแลระบบสามารถทาให้
ผูใ้ ช้งานเกิ ดความพึงพอใจในการเรี ยนบทเรี ยนออนไลน์ เพื่อเสริ ม การเรี ยนการสอนได้ โดยให้
ความสาคัญ กับปั จจัยทั้ง 3 ด้าน เรี ยงจากมากไปน้อย ดังนี้ คุณ ภาพของที่ รองรับระบบปฏิบตั ิก าร
(platform) คุณภาพของเนื้อหา (content) คุณภาพของเครื่ องมือ (tool)

5.4 ข้ อเสนอแนะสาหรับงานวิจยั ในอนาคต


1. งานวิ จ ัย นี้ ศึ ก ษาเฉพาะปั จจัย ที่ ส่ งผลต่ อ ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ยน (Learning
Achievement) ของผูใ้ ช้งานบทเรี ยนออนไลน์ เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลัก สู ต รออนไลน์
เท่านั้น ในอนาคตหากมีผสู ้ นใจที่จะศึกษาเพิ่มเติมถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อบทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการ
เรี ยนการสอนตามแบบจาลองความสาเร็ จของระบบสารสนเทศของ DeLone และ McLean (2003)
อาจทาการศึกษาปัจจัยด้านประโยชน์ที่ผใู ้ ช้ได้รับ (Net Benefits) ในรู ปแบบอื่นเพิ่มเติม
2. งานวิจยั นี้ ศึกษาเฉพาะบทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอนผ่านหลักสู ตร
ออนไลน์เท่านั้น ในอนาคตหากมีผสู ้ นใจที่จะศึกษาเพิ่มเติม เช่น บทเรี ยนที่ให้ผเู ้ รี ยนสามารถเลือก
เรี ยนรู ้ได้ดว้ ยตัวเอง เป็ นต้น ซึ่งสรุ ปที่ได้อาจมีความแตกต่างกับงานวิจยั นี้
3. เนื่ องจากงานวิจยั นี้ ศึกษาเฉพาะปั จจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน (Learning
Achievement) บทเรี ยนออนไลน์เพื่อเสริ มการเรี ยนการสอน ซึ่งได้ศึกษา 6 ปัจจัย ได้แก่ คุณภาพของ
ที่รองรับระบบปฏิบตั ิการ (platform) คุณภาพของเนื้อหา (content) คุณภาพของเครื่ องมือ (tool) การ
ใช้งาน (Use) ความพอใจของผูใ้ ช้งาน (User Satisfaction) และประโยชน์ที่ผใู ้ ช้ได้รับ (Net Benefits)
ตามแบบจ าลองความสาเร็ จของระบบสารสนเทศของ DeLone และ McLean (2003) ที่ได้รับการ
ยอมรับเพื่อเป็ นต้นแบบในการวัดความสาเร็ จของเทคโนโลยีสารสนเทศ ผูส้ นใจอาจทาการศึกษา
ปั จจัยในรู ปแบบอื่น เพิ่มเติม อาทิ รู ปแบบการสอน เทคนิ ค การสอน สื่ อการสอน เป็ นต้น เพื่อหา
ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน (Learning Achievement) ต่อไป
54

บรรณานุกรม

โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย (2560) Thai MOOC: การศึกษาแบบเปิ ดเพื่อการเรี ยนรู ้ตลอด


ชีวิต. Retrieved from https://www.thaimooc.org
ถนอมพร (ตันพิพฒั น์) เลาหจรัสแสง. (2545) Designing e-Learning. หลักการออกแบบและการ
สร้างเว็บเพื่อการเรี ยนการสอน. เชียงใหม่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทิศนา แขมมณี (2547) ศาสตร์การสอน องค์ความรู ้เพื่อการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ที่มีประสิทธิภาพ.
กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
น้ าทิพย์ วิภาวิน. & รุ จเรขา วิทยาวุฑฒิกุล. (2557). Massive Open Onlone Course (MOOC) กับความ
ท้าทายของห้องสมุดมหาวิทยาลัย. วารสารวิจยั สังคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย. 7(1),
78-89
น้ ามนต์ เรื องฤทธิ์. (2558). สภาพและความต้องการแหล่งทรัพยากรการเรี ยนรู ้ออนไลน์ในระบบเปิ ด
สาหรับมหาชน “ด้านครุ ศาสตร์/ศึกษาศาสตร์” วารสารวิชาการ Veridian E-Journal
Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ,
8(2), 124-140
ปิ ยวิทย์ เอี่ยมพริ้ ง. (2547). การพัฒนาระบบการเรี ยนรู ้แบบออนไลน์ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ
ชีวิต ตามหลักสูตรสภาสถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2543 : กรณี ศกึ ษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
รายวิชาสื่อสารภาษาอังกฤษธุรกิจ โดยการใช้การสอนแบบ E-learning กรุ งเทพฯ
มหาวิทยาลัยศรี ปทุม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. (2556). รายงานการวิจยั เรื่ อง การศึกษาวิจยั เพื่อพัฒนา
รู ปแบบ การเรี ยนการสอนผ่านสื่อออนไลน์. Retrieved from
http://www.bmamedia.in.th/researchdownload/cai/Fulltext.pdf
วัฒน์ พลอยศรี . (2553) . การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักศึกษาระดับปริ ญญาตรี สาขาวิชา
เทคโนโลยีการพิมพ์ เรื่ อง วัสดุทางการพิมพ์ โดยใช้บทเรี ยนออนไลน์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสวนสุนนั ทา
วิชุดา รัตนเพียร. (2542). การเรี ยนการสอนผ่านเว็บ ทางเลือกใหม่ของเทคโนโลยีการศึกษาไทย.
วารสารครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Journal of Education Studies). 27(3). 29-35
55

วิภา เจริ ญภัณฑารัตน์. (2558). MOOC: การศึกษาฟรี แบบเปิ ดในยุคดิจิตอล. วารสารศึกษาศาสตร์


มสธ., S(2), 1-15.
ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา. (2547). รายงานการวิจยั เรื่ องการศึกษารู ปแบบของ E-Learning
เหมาะสมกับการศึกษานอกโรงเรี ยน. In. กรุ งเทพฯ: ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา
สานักบริ หารงานการศึกษานอกโรงเรี ยน
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2558). การพัฒนาสื่อการศึกษาสาหรับ
MOOCs จาก 6 Best practices. Retrieved from www.nstda.or.th/nstda-
knowledge/289-ict/20736-moocs-6-best-practices
อัครพล จีนาคม. สนุก, อ.ช., & วราไกรสวัสดิ์, ว. (2558). อิทธิพลของคุณภาพสารสนเทศต่อการใช้
งานความพึงพอใจและประโยชน์ที่ได้รับของผูใ้ ช้งานเว็บ OPAC ห้องสมุด
สถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขต กรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล. RMUTT Global
Business and Economics Review, 10(2)
56

ภาคผนวก ก
แบบสอบถาม
57

แบบสอบถาม
เรื่ อง กลยุทธ์ การพัฒนาการเรียนรู้ E-Learning เพื่อตอบสนองความต้องการในยุค
ศตวรรษที่ 21

คาชี้แจง โปรดทาเครื่ องหมาย √ ลงในช่องที่ท่านเห็นว่าตรงกับความคิดเห็นของท่านมากที่สุดเพียง


ช่องเดียว
ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลทั่วไป
1. เพศ หญิง ชาย
2. อายุ น้อยกว่า 20 ปี
20 – 30 ปี
31 – 40 ปี
41 – 50 ปี
50 ปี ขึ้นไป
3. อาชีพ ข้าราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริ ษทั
ธุรกิจส่วนตัว
รับจ้าง/ลูกจ้าง
นิสิต/นักศึกษา
ว่างงาน
อื่นๆ โปรดระบุ _______________________________________
4. เงินเดือน น้อยกว่า 15,000 บาท
15,000 – 30,000 บาท
30,001 – 50,000 บาท
50,001 – 100,000 บาท
100,000 บาทขึ้นไป
5. ประสบการณ์การเรี ยนผ่าน E-learning ที่ผา่ นมา
ไม่เคยมีประสบการณ์ (ข้ามไปส่วนที่ 2)
เคยมีประสบการณ์
58

ส่ วนที่ 2 ประสบการณ์การเรียนผ่าน E-Learning ที่ผ่านมา


1. ช่วงเวลาที่มีประสบการณ์
เคยเรี ยนผ่าน E-learning ในช่วง 1 ปี
เคยเรี ยนผ่าน E-learning มาแล้วมากกว่า 1 ปี
2. ระบบ E-learning ที่เคยใช้บริ การ(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
TUTOR ME MasterClass
Chula MOOC Thai MOOC
CMMU E-learning FutureLearn
Coursera iTunes U
TEDx Khan Academy
DuoLingo Udacity
Cognitive Class EdX
อื่นๆ โปรดระบุ ____________________________________________

ส่ วนที่ 3 ปัจจัยที่มผี ลต่อการใช้ บริการหลักสู ตร E-Learning


1. เหตุผลในการเรี ยนหลักสูตร E-Learning (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ต้องการความรู ้เฉพาะทาง
เป็ นเรื่ องที่สนใจส่วนตัว
เรี ยนตามในชั้นเรี ยนไม่ทนั
ต้องการใบรับรอง (Certificate)
ชื่อหัวข้อเรี ยน/เนื้ อหาน่ าสนใจ
ผูส้ อนมีชื่อเสียง/น่าสนใจ
เรี ยนฆ่าเวลา/แก้เบื่อ
ได้แลกเปลี่ยนความรู ้กบั กลุ่มที่สนใจเรื่ องเดียวกัน
อื่นๆ โปรดระบุ _______________________________________
2. เนื้อหาที่ตอ้ งการเรี ยน (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ติวเข้ม เช่น พิชิต O-Net, GAT, PAT เป็ นต้น
ภาษาต่างๆ
ธุรกิจ เช่น ต่อยอดธุรกิจ, Money Coach เป็ นต้น
ไลฟสไตล์ เช่น กีฬา, ทาอาหาร, ดนตรี เป็ นต้น
59

อื่นๆ โปรดระบุ ________________________________________

ส่ วนที่ 4 รูปแบบการเรียน E-learning ที่ส่งผลกระทบต่อความพึงพอใจแก่ผ้ใู ช้


ระดับคะแนน
หัวข้อ
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
1. การไม่เสียค่าใช้จ่ายในการเรี ยน
2. การไม่จากัดเนื้อหา
3. การได้ใบรับรอง (certificate)
4. หัวข้อ/เนื้อหาที่เรี ยน
5. ผูส้ อนมีชื่อเสียง/น่าสนใจ

ส่ วนที่ 5 ปัจจัยด้ านคุณภาพของ platform คุณภาพของ content และคุณภาพของ tool ที่มผี ลต่อ
การใช้ งานระบบและความพึงพอใจของผู้เรียน
ระดับความคิดเห็น
หัวข้อ
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
คุณภาพของระบบปฏิบัตกิ าร (platform)
1. หลักสูตร E-learning ใช้งานได้ง่าย
2. หลักสูตร E-learning สามารถใช้งานได้ถูกต้อง
3. หลักสูตร E-learning สามารถตอบสนองได้ใน
ระยะเวลาที่เหมาะสม
4. หลักสูตร E-learning สามารถใช้งานได้อย่าง
ต่อเนื่องตลอดเวลาหลังการเข้าสู่ระบบ
5. หลักสูตร E-learning สามารถใช้งานได้
ตลอดเวลาที่ตอ้ งการ
6. หลักสูตร E-learning สามารถรองรับการใช้
งานได้กบั หลากหลายอุปกรณ์
7. หลักสูตร E-learning มีมาตรการรักษาความ
ปลอดภัยเพื่อปกป้องข้อมูลส่วนบุคคลของผูเ้ รี ยน
60

ระดับความคิดเห็น
หัวข้อ
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
คุณภาพของเนื้อหา (content)
8. เนื้อหาวิชาที่ท่านได้รับสร้างความเข้าใจได้มาก
ขึ้น
9. เนื้อหารายวิชามีความน่าเชื่อถือ
10. เนื้อหารายวิชามีความน่าสนใจ
11. เนื้อหารายวิชาตรงตามวัตถุประสงค์การเรี ยน
12. เนื้อหารายวิชามีความทันสมัยและมีหวั ข้อ
หรื อเนื้อหาใหม่ๆ เสมอ
คุณภาพของเครื่ องมือ (tool)
13. หลักสูตร E-learning มีช่องทางสาหรับ
ติดต่อสื่อสารกับผูส้ อนรายวิชานี้ ที่เข้าถึงได้ง่าย
14. หลักสูตร E-learning จัดเตรี ยมช่องทางการ
ช่วยเหลือและคาแนะนาการใช้งานระบุไว้อย่าง
เหมาะสม
15. ท่านสามารถเข้าถึงช่องทางการช่วยเหลือและ
คาแนะนาในการใช้งานระบบหลักสูตร E-
learning นี้ได้ง่าย
16. ช่องทางการสื่อสารผ่าน Social Media อย่าง
Facebook Group ภายในหลักสูตร E-learning
ช่วยเพิ่มช่องทางในการติดต่อสื่อสารกับผูส้ อน
เจ้าหน้าที่ดูแลระบบ และผูเ้ รี ยนด้วยกันได้ง่าย
17. หลักสูตร E-learning มีคู่มือและเนื้ อหา
ประกอบการเรี ยนการสอน

You might also like