Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 41

แผนการสอนทางสุขภาพ

แผนการสอนทางสุขภาพ เรื่อง ดูแลตา ด้วยการบริหารกล้ามเนื้อตา

ชื่อผู้สอน นางสาวสิรินภา หมื่นพล

วิธีการสอน การสอนแบบบรรยาย

กลุ่มเป้ าหมาย นักศึกษาพยาบาลชัน


้ ปี ที่ 2 จำนวน 10 คน

อาจารย์นิเทศการสอน อาจารย์จารุวรรณ ศุภศรี

สาระสำคัญ
ปั จจุบันเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารถือได้ว่าเป็ นตัวแทนของภาวะโลกาภิวัตน์ในยุคปั จจุบันที่แทรกซึมเป็ น
ส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ปั จจุบันความต้องการในการ ติดต่อสื่อสารที่มีมากขึน
้ และด้วยนวัตกรรมทาง
เทคโนโลยีที่ทันสมัยมากขึน
้ ทำให้การติดต่อสื่อสารในรูปแบบเดิมที่ได้เปลี่ยนแปลงไปในลักษณะของการหลอม
รวมสื่อและเทคโนโลยี (Convergence) ส่งผลให้พฤติกรรมการสื่อสารที่มิได้เป็ นเพียงการติดต่อกันทางเสียง
เท่านัน
้ หากแต่ประกอบไปด้วยการสื่อสารข้อมูล และการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต การสนทนาติดต่อสื่อสารผ่าน
ระบบเทคโนโลยีถือเป็ นการพูดคุยกันผ่านทางอุปกรณ์ส่ อ
ื สารที่มีคู่สนทนาไม่ได้พบปะหน้าตากันโดยตรง ปั จจุบัน
เป็ นที่นิยมใช้อย่างแพร่หลายเพราะมีความสะดวกรวดเร็วประหยัดจึงทำคนในสังคมหันมาเป็ นกลุ่มสังคมก้มหน้า
กันอย่างมากมายไม่ว่าจะเป็ นตัง้ แต่วัยเด็กไปถึงวัยผู้สูงอายุ ดังนัน
้ สังคมก้มหน้า หรือพฤติกรรมติดโทรศัพท์มือถือ
ที่มาพร้อมกับเทคโนโลยีทันสมัย นอกจากจะส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างคนรอบข้างแล้ว การเสพติด
การใช้โทรศัพท์มือถือมากเกินไปยังส่งผลกระทบต่อทัง้ สุขภาพร่างกายและจิตใจได้ด้วย ทัง้ นีก
้ ารช่วยลดอาการมี
หลายวิธีและวิธีที่เลือกมาคือ วิธีบริหารกล้ามเนื้อตา ซึ่งจะช่วยให้ตาได้ผ่อนคลายและลดอาการล้าของตาได้

วัตถุประสงค์ในการสอน (KAP)

1. เพื่อให้กลุ่มเป้ าหมายมีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้โทรศัพท์มือถือให้เหมาะสม
2. เพื่อให้กลุ่มเป้ าหมายตระหนักถึงความสาคัญเกี่ยวกับผลกระทบจากใช้โทรศัพท์มือถือมากเกินไป

3. เพื่อให้กลุ่มเป้ าหมายมีวิธีจัดการกับตนเองและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

ตารางแผนการสอนทางสุขภาพ

วัตถุประ
เนื้อหา กิจกรรมผู้ กิจกรรมผู้ สื่อการ การประเมินผล
สงค์เชิง
พฤติกรร สอน ฟั ง เรียนรู้ วิธี เครื่อง เกณฑ์
ม การ มือ การ
ประเมิน
ผล
เมื่อสิน
้ สุด บทนำ ขัน
้ นำ 5
การให้ความ - รับฟั งการ - - คำถาม - ผู้ฟังให้
ปั จจุบันเทคโนโลยีการติดต่อ นาที
รู้ทาง แนะนำตัว กระตุ้น เกี่ยวกับ ความ
สื่อสารถือได้ว่าเป็ นตัวแทนของ -กล่าวทักทาย
สุขภาพแล้ว ภาวะโลกาภิวัตน์ในยุคปั จจุบัน ของผู้สอ โดยวิธี การดูแล สนใจและ
แลแนะนำตัว
ผู้ฟัง พร้อมทำตาม ใช้ ตา ด้วย ฟั งการ
ที่แทรกซึมเป็ นส่วนหนึ่งของชีวิต พร้อมทักทายผู้
สามารถ ข้อตกลง ใน คำถาม การ แนะนำตัว
ประจำวัน ปั จจุบันความต้องการ ฟั ง
การทำการ บริหาร ของ
ในการติดต่อสื่อสารที่มีมากขึน
้ - บอกข้อตกลง
สอน กล้าม ผู้สอนให้
และด้วยนวัตกรรมทาง ในการทำ
เนื้อตา ความ
เทคโนโลยีที่ทันสมัยมากขึน
้ กิจกรรมในการ
ร่วมมือใน
ทำให้การติดต่อสื่อสารในรูปแบบ ทำการสอน
เข้า
เดิม
รับฟั ง
ที่ได้เปลี่ยนแปลงไปในลักษณะ
พร้อม
ของการหลอมรวมสื่อและ
เทคโนโลยี (Convergence) ส่งผล ทัง้ ปฏิบัติ
ให้ ตาม
พฤติกรรมการสื่อสารที่มิได้เป็ น ข้อตกลง
เพียงการติดต่อกันทางเสียง
เท่านัน
้ หากแต่ประกอบไปด้วย
การสื่อสารข้อมูล และการเชื่อม
ต่ออินเทอร์เน็ต การสนทนา
ติดต่อสื่อสารผ่านระบบ
เทคโนโลยีถือเป็ นการพูดคุยกัน
ผ่านทางอุปกรณ์ส่ อ
ื สารที่มีคู่
สนทนาไม่ได้พบปะหน้าตากัน
โดยตรง ปั จจุบันเป็ นที่นิยม

วัตถุประส
เนื้อหา กิจกรรมผู้ กิจกรรมผู้ สื่อการ การประเมินผล
งค์เชิง
สอน ฟั ง เรียนรู้
พฤติกรรม
วิธีการ เครื่อง เกณฑ์การ
มือ ประเมิน
ผล
ใช้ อย่างแพร่หลายเพราะมีความ - ถามผู้ฟัง 3 - ผู้ฟัง 3 คน - power - - คำถาม - ผู้ฟัง 3 คน
สะดวกรวดเร็วประหยัด สามารถ คนเกี่ยวกับ เล่า point กระตุ้น เกี่ยวกับ ให้
สื่อสารกันได้เสมออยู่ใกล้ชิดกัน ประสบการณ์ เกี่ยวกัประ เรื่อง ดูแลตา โดยวิธี ดูแลตา ความร่วม
สอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้คนใน ผลที่เกิดจาก สบการณ์ผล ด้วยการ ใช้ ด้วยการ มือใน
สังคมสมัยใหม่ที่มีการใช้งาน การใช้ ที่เกิดจาก บริหารกล้าม คำถาม บริหาร การเล่า
อย่างทัน ท่วงทีทุกที่ทุกเวลาที่ เทคโนโลยีมาก การใช้ เนื้อตา กล้าม ประสบการ
ต้องการ อาจกล่าวได้ว่ามากกว่า เกินไป เทคโนโลยี เนื้อตา ณ์
ครึ่งหนึ่งของการสื่อสารระหว่าง มากเกินไป เกี่ยวกับผล
บุคคลที่เกิดขึน
้ ในชีวิตประจำวัน ที่เกิดจาก
คือการสื่อสารผ่านเทคโนโลยี (ชิ การใช้
ตาภา สุขพล , 2548) ซึ่งแตก เทคโนโลยี
ต่างกว่าเมื่อก่อนเพราะทุกวันนี ้ มากเกินไป
สังคมทยให้ความสนใจกับ
เทคโนโลยีเป็ นอย่างมาก ซึ่งก่อ
ให้เกิดการพัฒนาในด้านการ
สื่อสาร สร้างความเปลี่ยนแปลง
ต่อการดำเนินชีวิตและพฤติกรรม
ของผู้บริโภคอย่างต่อเนื่อง
นวัตกรรมใหม่ๆ ที่เกิดขึน
้ สร้าง
การรับรู้คุณค่าทางเทคโนโลยีที่มี
ผลต่อวิถีชีวิตของมนุษย์มากมาย
เช่น การสื่อสารแบบไร้พรมแดน
ด้วยเครือข่าย อินเทอร์เน็ต

วัตถุประส
เนื้อหา กิจกรรมผู้ กิจกรรมผู้ สื่อการ การประเมินผล
งค์เชิง
สอน ฟั ง เรียนรู้
พฤติกรรม
วิธีการ เครื่อง เกณฑ์การ
มือ ประเมิน
ผล
ทำให้ระยะทางไม่เป็ นอุปสรรค - กล่าวสรุป - รับฟั งการ - ผู้ฟังให้
ต่อการติดต่อสื่อสารอีกต่อไป พร้อมเชื่อมโยง สรุป บทนำ ความ
การแบ่งปั นข้อมูล และการเข้าถึง บทนำเข้าสู่ เข้าสู่เนื้อหา สนใจและ
ข้อมูลทำได้สะดวกและรวดเร็ว เนื้อหา ฟั งการสรุป
สามารถส่งถึงกันได้ในทุกสถานที่ บทนำเข้าสู่
และไม่จำกัดเวลาขณะเดียวกัน เนื้อหา
การรับรู้เกี่ยวกับการใช้งาน
เทคโนโลยีใหม่ ๆ บนเครือข่าย
สังคมออนไลน์ของผู้บริโภคเพื่อ
การติดต่อสื่อสารมีหลากหลาย
ช่องทางมากขึน
้ เช่น แอพพลิ
เคชั่น เฟซบุ๊ค ไลน์ ทวิตเตอร์ อิน
สตราแกรม เป็ นต้น ซึ่งการใช้
งานส่วนใหญ่ใช้งานผ่านสมาร์ท
โฟน (หทัยรัตน์ หนูแดง, 2555)
ทัง้ นีเ้ ทคโนโลยีต่าง ๆ ได้มีความ
เจริญก้าวหน้าและพัฒนาอยู่
ตลอดเวลาโดยเฉพาะในด้าน
เครื่องมือสื่อสารหรือที่เราเรียก
กันว่าโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน
หรือแท็บเล็ตนั่นเอง มือถือสมา
ร์ทโฟนเป็ นเครื่องมือที่ช่วยในการ
ติดต่อสื่อสารที่สะดวกสบาย ซึ่ง
เป็ นเทคโนโลยีเหล่านีเ้ ข้ามา

วัตถุประส
เนื้อหา กิจกรรมผู้ กิจกรรมผู้ สื่อการ การประเมินผล
งค์เชิง
สอน ฟั ง เรียนรู้
พฤติกรรม
วิธีการ เครื่อง เกณฑ์การ
มือ ประเมิน
ผล
วัตถุประส การประเมินผล
เนื้อหา กิจกรรมผู้ กิจกรรมผู้ สื่อการ
งค์เชิง
สอน ฟั ง เรียนรู้
พฤติกรรม
วิธีการ เครื่อง เกณฑ์การ
มือ ประเมิน
ผล
จากสมัยก่อนที่ต้องมีการส่ง
จดหมายหากันกว่าจะได้รับ
จดหมายก็นานเป็ นอาทิตย์
แต่เมื่อมีการพัฒนา
นวัตกรรมและ
เทคโนโลยีชนิดนีข
้ น
ึ ้ มา จึง
ทำให้การติดต่อสื่อสาร
รวดเร็วสะดวกสบาย จน
ทำให้ติดเป็ นนิสัยในการใช้
มือถือสมาร์ทโฟนเหล่านี ้ (อดิ
สรณ์ อันสงคราม, 2558)
วัตถุประส เนื้อหา กิจกรรมผู้ กิจกรรมผู้ สื่อการ การประเมินผล
งค์เชิง สอน ฟั ง เรียนรู้
วิธีการ เครื่อง เกณฑ์การ
พฤติกรรม
มือ ประเมิน
ผล
วัตถุประส การประเมินผล
เนื้อหา กิจกรรมผู้ กิจกรรมผู้ สื่อการ
งค์เชิง
สอน ฟั ง เรียนรู้
พฤติกรรม
วิธีการ เครื่อง เกณฑ์การ
มือ ประเมิน
ผล
บอกถึง เนื้อหา ขัน
้ สอน 20
- ผู้ฟังรับฟั ง - ใจความ - - - ผู้ฟังรับ
ความสิง่ ที่ ทุกวันนีค
้ นเรามีสมาร์ท นาที
การอธิบาย สำคัญเกี่ยว กระตุ้ คำถาม ฟั ง การ
เกิดขึน
้ โฟนและแท็บเล็ตกันอย่าง - เริ่มเกี่ยวกับ
เกี่ยวกับ กับการใช้ น โดย เกี่ยว อธิบาย
จากการใช้ น้อยคนละเครื่อง หรือบาง อธิบาย
การใช้หน้า หน้าจอและ ใช้ วิธี กับ เกี่ยวกับ
หน้าจอ คนมากกว่าหนึ่งเครื่อง เรา การใช้หน้าจอ
จอและ ปั ญหาที่ การ การใช้ การใช้
จะพบเห็นคนเราไม่ค่อยใส่ใจ และปั ญหาที่
ปั ญหาที่ เกิดขึน
้ ตัง้ หน้าจอ หน้าจอ
คนรอบข้างหรือแม้แต่ใจลอย เกิดขึน

เกิดขึน
้ คำถา และ และ
เพราะว่าถูกสิ่งเร้าในจอสมา
ร์ทโฟน หรือว่าแท็บเล็ต ม ปั ญหา ปั ญหาที่
ดึงดูดความสนใจไปจนหมด เกี่ยว ที่เกิด เกิดขึน

ที่น่ากลัวคือ แม้แต่เวลาข้าม กับ ขึน

ถนนหรือ การใช้
อยู่กลางถนนก็ยังจ้องมองไป หน้า
ที่จอภาพ มากกว่าที่จะ จอ
ระมัดระวังตัวจากภยันตราย และ
รอบข้าง บางทีได้รับ ปั ญหา
สัญญาณก็ไม่รับรู้ เพราะชีวิต ที่เกิด
นีข
้ อกัมหน้า สิ่งที่สำคัญที่สุด ขึน

คือปฏิสัมพันธ์ที่อยู่บนโลก
ไซเบอร์

วัตถุประส การประเมินผล
เนื้อหา กิจกรรมผู้ กิจกรรมผู้ สื่อการ
งค์เชิง สอน ฟั ง เรียนรู้
พฤติกรรม
วิธีการ เครื่อง เกณฑ์การ
มือ ประเมิน
ผล
ไม่ใช่ปฏิสัมพันธ์กับโลกแห่ง
ความเป็ นจริง แม้แต่คนใน
ครอบครัวยังทำให้ความ
สัมพันธ์ที่ดีลดน้อยลงไป มอง
ข้ามสิง่ ที่อยู่ในโลกความจริง
ให้ความสำคัญกับโลก
ออนไลน์มากขึน
้ ซึ่งจะเห็น
ได้ว่าตัง้ แต่เริ่มมีเทคโนโลยี
โทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน
เข้ามาว่าพอไปถึงจุดหนึ่งคน
จะอยู่กับเทคโนโลยี
ที่ตอบสนองตัวเราเองมาก
ขึน
้ และสามารถทำอะไรได้
อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเรื่อง
การติดต่อสื่อสาร ซึ่งจะเป็ น
ส่วนที่ทำให้ดึงความสนใจให้
เราไปอยู่ที่หน้าจอโทรศัพท์
และตามมาด้วยคำที่ใช้กันว่า
"สังคมกัมหน้า

วัตถุประส การประเมินผล
เนื้อหา กิจกรรมผู้ กิจกรรมผู้ สื่อการ
งค์เชิง
สอน ฟั ง เรียนรู้
พฤติกรรม
วิธีการ เครื่อง เกณฑ์การ
มือ ประเมิน
ผล
เพราะว่าตัวหน้าจอโทรศัพท์
ทำให้เราต้องก้มลงไปดูอย่าง
ไม่มีทางเลือก (พรรณพิมล วิ
ปุลากร, 2558)
องค์ประกอบของความเป็ น
สังคมก้มหน้า
1. รู้สึกว่าต้องตอบโดย
ด่วนหรือ
ทันที หมายถึง ขณะที่ทำ
อะไรบางอย่าง
หากมีเสียงแจ้งเตือนดัง
ขึน
้ จะทิง้ ทุก
อย่างที่ทำและหันไป
สนใจกับสมาร์ท
โฟน (Smartphone)
ทันทีแม้ไม่ได้
ตัง้ ใจก็ตาม
2. คิดไปเองว่า
โทรศัพท์มีเสียงดัง
หรือเสียงเตือน อาการ
แบบนีเ้ ป็ น
สัญญาณที่บอกว่ากำลัง
เสพติด
เทคโนโลยี
3. กลัวถูกเพื่อนลืม
(FOMO หรือ
Fear to miss out) คือ
เมื่อโพสต์
(Post) รูปภาพหรือ
สถานะต่างๆ
หลังจากนัน
้ เพียงไม่กี่
นาทีก็เข้ามา
ตรวจสอบว่ามีใครเห็น
หรือมีโครกด
ไลค์ (Like)บ้างแต่ถ้า
ไม่มีใครกดไลค์
(Like) ก็จะเกิดอาการ
กังวลนั่นแสดง
ถึงเป็ นอาการของโรค
FOMO คือ
อาการกลัวถูกทิง้ หรือ
ถูกลืมจากเพื่อน
สังคมหรือโซเชียล
เน็ตเวิร์กทัง้ หลาย
4. ใช้สมาร์ทโฟนโดย
ไม่สนใจคน
รอบข้าง คือในขณะทำ
กิจกรรมกับ
เพื่อนหรือครอบครัวก็มี
การใช้สมาร์ท
โฟน จนกระทั่งไม่ทราบ
ว่าในกลุ่มมี
การสนทนาอะไรกัน
หรือบางครัง้ ก็หัน
หน้ามองและพยักหน้า
เพื่อบอกให้
ทราบว่ายังฟั งอยู่และก็
กลับไปใส่ใจ
หน้าจอสมาร์ทโฟนอีก
ครัง้ ที่
สำคัญจะทำให้สูญเสีย
บรรยากาศใน
การทำกิจกรรมร่วมกัน
วัตถุประส การประเมินผล
เนื้อหา กิจกรรมผู้ กิจกรรมผู้ สื่อการ
งค์เชิง
สอน ฟั ง เรียนรู้
พฤติกรรม
วิธีการ เครื่อง เกณฑ์การ
มือ ประเมิน
ผล
5. รู้สึกกังวลเมื่อห่าง
จากสมาร์ท
โฟน คือพยายามจะนำ
โทรศัพท์วางไว้
ใกล้มือตลอดเวลาแม้
กระทั่งขณะนอน
เข้าห้องน้ำ หรือบนโต๊ะ
อาหาร
ซึง่ องค์ประกอบดังกล่าว
มีความสอดคล้องกับพรรณ
พิมล วิปุลากร (2558) ที่
อธิบายถึงองค์ประกอบที่จะ
ก่อให้เกิดอาการใหม่ทาง
สุขภาพจิต เรียกว่า
nomophabia ซึ่งมาจากคำ
ว่า
No mobile phone
phobia หรือการขาด
โทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนไม่
ได้โดยมีอาการหรือ

วัตถุประส การประเมินผล
เนื้อหา กิจกรรมผู้ กิจกรรมผู้ สื่อการ
งค์เชิง สอน ฟั ง เรียนรู้
พฤติกรรม
วิธีการ เครื่อง เกณฑ์การ
มือ ประเมิน
ผล
สามารถสังเกตได้จากการที่พก
โทรศัพท์มือถือติดตัวอยู่ตลอด
เวลาโดยมีองค์ประกอบดังนี ้
1) จะรู้สึกกังวลใจหาก
โทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนไม่
ได้อยู่กับตัว
2) มีการหมกมุ่นอยู่กับ
การเช็คข้อมูลในสมาร์ทโฟน
3) เมื่อได้ยินเสียงเตือนจะ
วางงานหรือสิง่ ที่ทำอยู่ ณ
ขณะนัน
้ เพื่อมาเช็ค
4) โทรศัพท์มือถือจะใช้
ก่อนเข้านอนและหลังตื่นนอน
ในทุกๆ วัน
5) พฤติกรรมดังกล่าวอาจ
ส่งผลต่อการทำงานการเรียน
และการใช้ชีวิตประจำวัน

วัตถุประส การประเมินผล
เนื้อหา กิจกรรมผู้ กิจกรรมผู้ สื่อการ
งค์เชิง
สอน ฟั ง เรียนรู้
พฤติกรรม
วิธีการ เครื่อง เกณฑ์การ
มือ ประเมิน
ผล
ปั ญหา ปั ญหาสุขภาพที่อาจเกิดขึน

-ผูฟ
้ ั งรับ
จากพฤติกรรมสังคมก้มหน้า
มีดังนี ้ - เริ่มอธิบาย -ผูฟ
้ ั งรับฟั ง ฟั งการ
1.การติดเชื้อโรค หลาย เกี่ยวกับ การอธิบาย อธิบาย
คนนำโทรศัพท์มือถือติดตัว ปั ญหาสุขภาพ เกี่ยวกับ เกี่ยวกับ
ไปเล่นในทุกที่ ไม่เว้นแม้แต่ ที่เกิดจาก ปั ญหา ปั ญหา
ห้องน้ำ ซึ่งพฤติกรรมดัง พฤติกรรม สุขภาพที่ สุขภาพที่
กล่าวจะยิ่งเสี่ยงทำให้ สังคมก้มหน้า เกิดจาก เกิดจาก
โทรศัพท์สัมผัสกับเชื้อโรค พฤติกรรม พฤติกรรม
ต่าง ๆ และหากไม่รักษา สังคมก้ม สังคมก้ม
ความสะอาด เชื้อโรคเหล่า หน้า หน้าอย่าง
นัน
้ อาจเข้าสู่ร่างกายได้โดย ตัง้ ใจ
ไม่ร้ต
ู ัว
2.กลุ่มอาการไหล่ห่อ
คอตก (Text Neck
Syndrome) การก้มหน้า
จ้องโทรศัพท์นาน ๆ อาจ
ทำให้กล้ามเนื้อบริเวณคอ
เกร็งตัวมากเกินไป และอาจ
เกิดการกดทับเส้นประสาท
ได้ นอกจากนี ้ อาจทำให้เสีย
บุคลิกภาพ และกลายเป็ นคน
ที่มีท่าทางไหล่ห่อคอตกได้
3.นิว้ ล็อก การเล่น
โทรศัพท์ติดต่อกันเป็ นเวลา
นานอาจทำให้เกิดพังผืด
บริเวณข้อนิว้ หัวแม่มือที่ต้อง
งออยู่ตลอดเวลาในขณะเล่น
โทรศัพท์ จนกระทั่งเกิด
อาการนิว้ ล็อก
4.ข้อนิว้ อักเสบเรื้อรัง แม้จะ
ยังไม่อาจสรุปได้ว่าการเล่น
โทรศัพท์มือถือทำให้ข้อนิว้
อักเสบได้หรือไม่ แต่สำหรับ
ผู้ที่มีอาการข้อนิว้ อักเสบ
เรื้อรังอยู่แล้วนัน
้ การเล่น
โทรศัพท์มือถือติดต่อกันเป็ น
เวลานานอาจยิ่งทำให้อาการ
รุนแรงขึน
้ ซึง่ โรคนีไ้ ม่
สามารถรักษาให้หายขาดได้
แต่บรรเทาอาการได้โดยพัก
การใช้นว
ิ ้ มือและการใช้ยา
รักษา

วัตถุประส การประเมินผล
เนื้อหา กิจกรรม้ผู้ กิจกรรมผู้ สื่อการ
งค์เชิง สอน ฟั ง เรียนรู้
พฤติกรรม
วิธีการ เครื่อง เกณฑ์การ
มือ ประเมิน
ผล
5.กลุ่มอาการกดทับเส้น
ประสาทบริเวณ
ข้อศอก(Cubital Tunnel
Syndrome) การงอศอกเพื่อ
จับโทรศัพท์เป็ นเวลานาน
อาจส่งผลต่อเส้นประสาท
บริเวณข้อศอก จนเป็ นเหตุ
ให้เกิดอาการเหน็บชาบริเวณ
ปลายนิว้ นางและนิว้ ก้อย
นอกจากนี ้ อาจส่งผลให้เกิด
อาการเจ็บที่ข้อศอกหรือต้น
แขนได้ด้วย
6.ปวดคอ การเอียงคอ
เพื่อหนีบโทรศัพท์กับไหล่ใน
ระหว่างการคุยบ่อยครัง้ หรือ
ครัง้ ละนาน ๆ อาจทำให้เกิด
อาการปวดคอหรือคอเคล็ด
ตามมา จึงควรคุยโทรศัพท์
ในท่าทางที่เหมาะสม

วัตถุประส การประเมินผล
เนื้อหา กิจกรรมผู้ กิจกรรมผู้ สื่อการ
งค์เชิง
สอน ฟั ง เรียนรู้
พฤติกรรม
วิธีการ เครื่อง เกณฑ์การ
มือ ประเมินผล
7.ปั ญหาสายตา การ
เล่นมือถือส่งผลให้ได้รับแสง
สีฟ้าจากหน้าจอโทรศัพท์ได้
โดยแสงดังกล่าวสามารถ
ทำให้ตาล้าและเกิดอาการ
ปวดตา ในระยะยาวก็อาจ
ทำให้เสียสายตาได้ด้วย
8.ปั ญหาในการนอน
หลับ การเล่นโทรศัพท์ในช่วง
เวลากลางคืนหรือก่อนนอน
สามารถส่งผลต่อการนอน
ทำให้นอนไม่หลับและรู้สึก
เหนื่อยล้าในวันถัดไป ส่งผล
ให้นาฬิกาชีวิตผิดเพีย
้ น และ
นำไปสู่โรคเรื้อรังต่าง ๆ ได้
เช่น โรคเบาหวาน โรคอ้วน
โรคหัวใจ เป็ นต้น
วัตถุประส การประเมินผล
เนื้อหา กิจกรรมผู้ กิจกรรมผู้ สื่อการ
งค์เชิง
สอน ฟั ง เรียนรู้
พฤติกรรม
วิธีการ เครื่อง เกณฑ์การ
มือ ประเมินผล
สังคมก้มหน้า ส่งผลต่อ
- - -ผูฟ
้ ัง
สุขภาพจิตอย่างไร ?
-ผู้สอน - ผู้ฟัง 2
กระตุ้ คำถาม 2 คน
พฤติกรรมติดโทรศัพท์ก็ สอบถามถึง คน
น โดย เกี่ยว ตอบค
ส่งผลต่อสุขภาพจิตได้เช่นกัน ความคิดเห็น ตอบ
ใช้วิธี กับผลก ถาม เกี่ยว
โดยมีการศึกษาพบว่าการใช้ ของผูฟ
้ ัง คำถาม
การ ระทบ กับผลกระ
โทรศัพท์มากเกินไปอาจนำ เกี่ยวกับ
ตัง้ ต่อ ทบ
ไปสู่ปัญหาสุขภาพจิตอย่าง ผลกระทบ
คำถา สุขภาพ ต่อสุขภาพ
โรคย้ำคิดย้ำทำ หรือทำให้ ต่อสุขภาพ
ม จิต จิต
จิต
เกิดความรู้สึกบกพร่องใน
การติดต่อกับผู้อ่ น
ื รวมทัง้
ทำให้เสี่ยงต่อโรควิตกกังวล
และโรคซึมเศร้าสูงขึน

วัตถุประส การประเมินผล
เนื้อหา กิจกรรมผู้ กิจกรรมผู้ สื่อการ
งค์เชิง
สอน ฟั ง เรียนรู้
พฤติกรรม
วิธีการ เครื่อง เกณฑ์การ
มือ ประเมินผล
ผู้ฟัง วิธีบริหารกล้ามเนื้อตา
สามารถรู้ 1.การกรอกลูกตาซ้าย- -ผู้บ รรยาย - ผู้ฟังทุก - ผู้ฟังทุก
วิธีบริหาร ขวา ใบหน้าตัง้ ตรง กรอกลูกตา ว ิธ ีก า ร คนฟั งการ คน รับฟั ง
กล้ามเนื้อ ไปทางซ้ายและขวาไปกลับ บ ร ิห า ร บรรยายวิธี เกี่ยวกับวิธี
ตา ติดต่อกัน 10 ครัง้ โดยไม่หัน ก ล ้า ม เ น ้อ
ื การบริหาร การ
ตามทิศทางทางซ้ายตา ตา กล้ามเนื้อ บริหาร
2.การกรอกลูกตาขึน
้ - ตา กล้ามเนื้อ
ลง ใบหน้าตัง้ ตรง กรอกลูกตา ตา
ไปทางข้างบนและกรอกลงล่าง
ไปกลับติดต่อกัน 10 ครัง้ โดยไม่
หันตามทิศทางทางซ้ายตา
3.การกรอกลูกตาเฉียงขึน
้ -
ลง ใบหน้าตัง้ ตรง กรอกลูกตา
เฉียงไปตามคิว้ ซ้ายหรือขวา
หลังจากนัน
้ แล้วกรอกตาลงตัง้
ฉากกับส่วนของ
แก้มฝั่ งตรงข้ามติดต่อกัน 10
ครัง้ โดยไม่หันตามทิศทางทาง
ซ้ายตา

วัตถุประส การประเมินผล
เนื้อหา กิจกรรมผู้ กิจกรรมผู้ สื่อการ
งค์เชิง
สอน ฟั ง เรียนรู้
พฤติกรรม
วิธีการ เครื่อง เกณฑ์การ
มือ ประเมินผล
4.การกรอกลูกตาเป็ น
วงกลมแบบตามเข็ม-ทวนเข็ม ใ
บหน้าตัง้ ตรง หมุนลูกตากรอก
ตามเข็มและทวนเข็มนาฬิกาๆ
ติดต่อกัน 10 ครัง้ แบบช้า ๆ
โดยไม่หันตามทิศทางทางซ้าย
ตา
5.การปรับโฟกัสสายตา 3
ระดับ โดยชูนว
ิ ้ ชีข
้ ้างซ้ายออก
ไปสุดแขน แล้วเลื่อนนิว้ ใกล้เข้า
มาให้ห่างจากใบหน้า 3 นิว้ ทุก
ๆ ว วินาทีแล้วสลับติดต่อกัน
10 ครัง้ โดยใบหน้ายังคงตัง้ ตรง
ไม่เอียงและงอตัวตามนิว้
6.การนวดบริเวณ
ดวงตา การปิ ดตาแล้วใช้มือทัง้
สองข้างนวดบริเวณหัวคิว้ จนไป
ถึงหัวตา จะช่วยให้กล้ามเนื้อ
ดวงตาผ่อนคลาย โดยจำนวน
ครัง้ การนวดคลึงควรนวดตาม
เข็มและทวนเข็มไปกลับสลับ
ติดต่อกัน 10 ครัง้
วัตถุประส การประเมินผล
เนื้อหา กิจกรรมผู้ กิจกรรมผู้ สื่อการ
งค์เชิง
สอน ฟั ง เรียนรู้
พฤติกรรม
วิธีการ เครื่อง เกณฑ์การ
มือ ประเมิน
ผล
สรุป ขัน
้ สรุป 5
- ผู้ฟัง 2 - power - - - ผูฟ
้ ัง
การเป็ นบุคคลสังคมกัม นาที
คน point สรุป กระตุ้ คำถาม ทัง้ หมด
หน้าไม่ใช่ว่าจะ - ให้ผฟ
ู้ ั ง 2
สามารถ เรื่อง การ น เกี่ยว ให้ความ
ไม่ดี เราต้องพึงระลึกไว้ คน
สรุป ลดจอเพื่อ โดยใช้ กับ สนใจ
เสมอว่าสิ่งใดที่มีคุณ สรุป
ความสำคัญ สุขภาพ วิธีการ ความ และตัง้ ใจ
สิ่งนัน
้ ก็ย่อยมีโทษในการ ความ
และ ตัง้ สำคัญ ฟั ง
เป็ นบุคคลสังคม สำคัญ
สามารถ คำถา เกี่ยว ผู้ฟัง 2 คน
ก้มหน้านัน
้ ทำให้เราทันต่อ เกี่ยวกับ
สรุปเกี่ยว ม กับ กล่าวสรุป
เหตุการณ์ การลดจอ
ข่าวสารบ้านเมืองเป็ น เพื่อ กับ การลด ความ
ประโยชน์ในการทำ สุขภาพ การลดจอ จอเพื่อ สำคัญ
ธุรกิจ ประโยชน์ในการ เพื่อสุขภาพ สุขภาพ และ
ประชาสัมพันธ์ สามารถ
การนัดแนะเนื่องในวัน สรุปเกี่ยว
สำคัญต่าง ๆ กับ
แต่ด้วยประโยชน์ที่กล่าวมา การลดจอ
ข้างต้นก็ย่อมมี เพื่อ
โทษตามมาเช่นเดียวกัน ทัง้ สุขภาพ
เป็ นต้นเหตุใน
การเป็ นโรคแทรกซ้อนต่าง
ๆ เช่น โรคตา
แพ้แสง โรคนิว้ ล็อก
เป็ นต้น
วัตถุประส การประเมินผล
เนื้อหา กิจกรรมผู้ กิจกรรมผู้ สื่อการ
งค์เชิง
สอน ฟั ง เรียนรู้
พฤติกรรม
วิธีการ เครื่อง เกณฑ์การ
มือ ประเมินผล
ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นโรคที่เกิด
จากการเป็ น
บุคคลสังคมก้มหน้า และ
เนื่องจากเราอยู่ใน
วัยเรียนอาจส่งผลกระทบ
ต่อการเรียนของ
เราด้วยวิธีป้องกันและ
แก้ไขปั ญหาสังคม
ก้มหน้า ผู้ปกครองควรให้
คำแนะนำแก่บุตร
หลานในการใช้มือถือสมา
ร์ทโฟนให้ถูกต้อง
ถูกเวลา ควรใช้เวลาว่างให้
เป็ นประโยชน์
ไม่จ้องหน้าจอเป็ นเวลา
นานพักสายตา
นอนหลับพักผ่อนให้เต็มที่
รับประทาน
อาหารที่มีประโยชน์ และที่
สำคัญอย่า
หลงเชื่อคนแปลกหน้าที่คุย
ผ่านแชทออน
ไลน์เนื่องจากอาจโดน
หลอกลวงได้ ส่งผลไป
ถึงการมาตรกรรมถึงแก่
ชีวิต
อ้างอิง

ขรรค์ชัย วิทู. (2557 มีนาคม 1). พฤติกรรมสังคมก้มหน้า. (Online). 29 พฤศจิกายน 2560.


www.mepswis.mcp.ac.th

คมชัดลึกออนไลน์. (2556 มกราคม 10). เด็กล็อกระบาด! เหตุเสพติดเทคโนโลยี นักวิชาการสะท้อนปั ญหาเด็ก


ไทยปี 2556 ชีเ้ ด็กล็อคระบาด เหตุเสพติดเทคโนโลยี

ขาดปฎิสัมพันธ์กับคนรอบข้าง. (Online). 29 พฤศจิกายน 2560.


www.komchadluek.net/detail/20130110/149109

ชลธิชา ศรีอุบล. (2553). วัยโ ธัญบุรี สะกิตต่อมสำนึกฮัลโหลผ่านมือถือ. นิตยสารไทยรัฐการประชาสัมพันธ์ มทร.


ธัญบุรี, 34(1),12-4.

ชิตาภา สุขพลำ. (2548). การสื่อสารระหว่างบุคคล. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

ฐิตินันท์ ศรีสถิติ และอวยพร แซ่ตระกลู . (2552). มือถือในมือเด็ก. กรุงเทพฯ : สถาบันคุ้มครองผูบ


้ ริโภคใน
กิจการโทรคมนาคม สำนักงานคณะกรรมการกิจการ
โทรคมนาคมแห่งชาติ.

ดิเรก มั่นมนัส. (2553 เมษายน 18). การพัฒนาตัวตนบนสังคมออนไลน์. (Online).29 พฤศจิกายน 2560.


www.gotoknow.org/posts/247662

เดลินิวส์ออนไลน์. (2557 พฤษภาคม 12). ชีวิตเด็กไทยเสื่อมเสพติดเทคโนโลยีมากเกินไป. (Online). 29


พฤศจิกายน 2560.

www.dailynews.co.th/Content /education/236876

You might also like