Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 290

แผนการสอน

มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
วิชาโลจิสติกส์และซัพพลายเชน รหัสวิชา 30214-2001
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.) พุทธศักราช 2563

จัดทำโดย
นางกชมน เอียดแก้ว
แผนกวิชาการจัดการ

วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
แผนการสอน
รหัสวิชา 30214-2001 วิชาโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

จัดทำโดย
นางกชมน เอียดแก้ว
วุฒิ บธ.ม.(การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน)
คำนำ

เอกสารประกอบการสอนวิชาโลจิสติกส์และซัพพลายเชน (30214-2001) โดยจัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็น


แนวทางการสอนสำหรับ ครูผู้สอนวิชาโลจิสติกส์และซัพพลายเชน (30214-2001) หลักสูตรประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พ.ศ.2563 สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ผู้เขียนได้
วิเคราะห์เนื้อหาคำอธิบายรายวิชาตามกรอบของหลักสูตร โดยให้ผู้เรียนได้ศึกษาและตามคำอธิบายรายวิชา
สมรรถนะของรายวิชา จุดประสงค์รายวิชา ตลอดจนสังเคราะห์จัดลำดับความสำคัญ ตามความเหมาะสม
ทั้งตัวผู้เรียน และเนื้อหาของหลักสูตร
จากเหตุผลดังกล่าว ผู้เขียนเอกสารประกอบการสอนจึงได้สังเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ทั้งหมด โดยให้
สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาตามกรอบของหลักสูตรโดยแบ่งเนื้อหาในการสอนดังนี้ 1) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
โลจิสติกส์และซัพพลายเชน 2) บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3) การบริการ
ลูกค้า 4) การจัดซื้อ 5) การจัดการคลังสินค้า 6) การบริหารสินค้าคงคลัง 7) การขนส่ง 8) ระบบสารสนเทศ
เพื่ อ การจั ดการโลจิส ติก ส์แ ละซัพ พลายเชน 9) การประยุ กต์ ใช้ ระบบโลจิ สติ ก ส์แ ละซัพ พลายเชนในการ
ปฏิบัติงาน
ผู้เขียนเอกสารประกอบการสอนจึงหวังเป็น อย่างยิ่งว่า ผู้ที่รับผิดชอบการสอนวิชาโลจิสติกส์และ
ซั พ พลายเชน (30214-2001) หรื อ รั บ มอบหมายให้ ป ฏิ บั ติ ก ารสอนแทน สามารถใช้ เป็ น แนวทางและ
พัฒนาการเรียนการสอน
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คำนำ 2
สารบัญ 3
รายละเอียดของรายวิชา 4
การวิเคราะห์หัวข้อหลัก 5
การวิเคราะห์หัวข้อย่อย 8
ตารางวิเคราะห์จุดประสงค์ 9
การวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้และเวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ 12
โครงการสอน 13
หน่วยที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 14
หน่วยที่ 2 เรื่องบทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 49
หน่วยที่ 3 เรื่องการบริการลูกค้า 82
หน่วยที่ 4 เรื่องการจัดซื้อ 111
หน่วยที่ 5 เรื่องการจัดการคลังสินค้า 141
หน่วยที่ 6 เรื่องการบริหารสินค้าคงคลัง 174
หน่วยที่ 7 เรื่องการขนส่ง 220
หน่วยที่ 8 เรื่องระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 257
หน่วยที่ 9 เรื่องการประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน 283
รายละเอียดของหลักสูตรรายวิชา
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ทฤษฎี.....3.......ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ............-.....ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน.3.หน่วยกิต

จุดประสงค์รายวิชา
1. เข้าใจเกี่ยวกับหลักการและกระบวนการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
2. สามารถนำหลักการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนไปประยุกต์ใช้ในการทำงาน
3. มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และเจตคติที่ดีในวิชาชีพ
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและกระบวนการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
2. ประยุกต์ใช้กระบวนการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการดำเนินธุรกิจ
3. ประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในการปฏิบัติงานโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
คำอธิบายรายวิชา
ศึก ษาเกี่ ยวกับ หลั ก การและกระบวนการจัด การโลจิส ติ กส์ แ ละซั พ พลายเชน ความสำคั ญ ของระบบ
โลจิสติกส์และซัพพลายเชนต่อเศรษฐกิจและองค์กร บทบาทของโลจิ สติกส์ในการจัดการซัพพลายเชนกิจกรรมใน
ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ระบบสารสนเทศสำหรับการวางแผนและสถานการณ์โลจิสติกส์ในปัจจุบัน
การวิเคราะห์หัวข้อหลัก (ชื่อหน่วย)
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ทฤษฎี.....3.......ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ............-.....ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน.3.หน่วยกิต

หน่วย แหล่งข้อมูล
หัวข้อหลัก (ชื่อหน่วย)
ที่ A B C D E
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน / / / / /
2 บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน / / / / /
3 การบริการลูกค้า / / / / /
4 การจัดซื้อ / / / / /
5 การจัดการคลังสินค้า / / / / /
6 การบริหารสินค้าคงคลัง / / / / /
7 การขนส่ง / / / / /
8 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน / / / / /
9 การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน / / / / /

A :หลักสูตรรายวิชา (Course Description)


B :ตำราและเอกสาร (Literatures)
แหล่งข้อมูล C :ประสบการณ์ (Experiences)
D :ผู้เชี่ยวชาญ (Experts)
E :อื่นๆ (other)
การวิเคราะห์หัวข้อย่อย/หัวข้อสอน
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ทฤษฎี.....3.......ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ............-.....ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน.3.หน่วยกิต
หน่วย แหล่งข้อมูล
หัวข้อย่อย/หัวข้อสอน
ที่ A B C D E
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน / / / / /
1. ความหมายของโลจิสติกส์และซัพพลายเชน / / / / /
2. อรรถประโยชน์ของโลจิสติกส์ / / / / /
3. ประโยชน์ของการจัดการโลจิสติกส์ / / / / /
4. กิจกรรมต่าง ๆ ในระบบโลจิสติกส์ / / / / /
5. พัฒนาการของโลจิสติกส์ / / / / /
2 บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน / / / / /
1. บทบาทโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในธุรกิจ / / / / /
2. บทบาทของโลจิสติกส์และซัพพลายเชนต่อองค์กร / / / / /
3. การวางแผนในระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน / / / / /
4. ลักษณะพื้นฐานการจัดการซัพพลายเชนเชิงบูรณาการ / / / / /
5. การพัฒนาของระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน / / / / /
3 การบริการลูกค้า / / / / /
1. ความหมายการบริการลูกค้า / / / / /
2. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระดับการให้บริการลูกค้า / / / / /
3. ระดับการให้บริการลูกค้า / / / / /
4. หลักการหน่วยงานบริการลูกค้า / / / / /
5. กลยุทธ์การบริการลูกค้า / / / / /
A :หลักสูตรรายวิชา (Course Description)
B :ตำราและเอกสาร (Literatures)
แหล่งข้อมูล C :ประสบการณ์ (Experiences)
D :ผู้เชี่ยวชาญ (Experts)
E :อื่นๆ (other)
การวิเคราะห์หัวข้อย่อย/หัวข้อสอน
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ทฤษฎี.....3.......ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ............-.....ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน.3.หน่วยกิต
หน่วย แหล่งข้อมูล
หัวข้อย่อย/หัวข้อสอน
ที่ A B C D E
4 การจัดซื้อ / / / / /
1. ความหมายและความสำคัญของการจัดซื้อ / / / / /
2. หน้าที่และคุณสมบัติของฝ่ายจัดซื้อ / / / / /
3. กระบวนการเจรจาต่อรอง / / / / /
4. กลยุทธ์การเจรจาต่อรอง / / / / /
5. Value Chain กับการจัดซื้อ / / / / /
6. ซัพพลายเชนกับการจัดซื้อ / / / / /
7. วิธีการลดต้นทุนและการจัดซื้อกลยุทธ์ / / / / /
5 การจัดการคลังสินค้า / / / / /
1. ความหมายของคลังสินค้า / / / / /
2. วัตถุประสงค์ของคลังสินค้า / / / / /
3. ประโยชน์ของคลังสินค้า / / / / /
4. ประเภทของคลังสินค้า / / / / /
5. กิจกรรมหลักของคลังสินค้า / / / / /
6. วิธีการเลือกทำเลที่ตั้งคลังสินค้า / / / / /
7. ระบบโลจิสติกส์ในคลังสินค้า / / / / /
8. การวางแผนกลยุทธ์การจัดจำหน่าย / / / / /
A :หลักสูตรรายวิชา (Course Description)
B :ตำราและเอกสาร (Literatures)
C :ประสบการณ์ (Experiences)
D :ผู้เชี่ยวชาญ (Experts)
แหล่งข้อมูล E :อื่นๆ (other)
การวิเคราะห์หัวข้อย่อย/หัวข้อสอน
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ทฤษฎี.....3.......ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ............-.....ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน.3.หน่วยกิต
หน่วย แหล่งข้อมูล
หัวข้อย่อย/หัวข้อสอน
ที่ A B C D E
6 การบริหารสินค้าคงคลัง / / / / /
1. .ความหมายของการบริหารสินค้าคงคลัง / / / / /
2. ความสำคัญของการบริหารสินค้าคงคลัง / / / / /
3. วัตถุประสงค์ของการบริหารสินค้าคงคลัง / / / / /
4. ประเภทของสินค้าคงคลัง / / / / /
5. ประโยชน์ของการบริหารสินค้าคงคลัง / / / / /
6. ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด / / / / /
7. สินค้าคงคลังประเภท ABC / / / / /
7 การขนส่ง / / / / /
1. ความหมายของการขนส่ง / / / / /
2. ความสำคัญของการขนส่ง / / / / /
3. ประโยชน์ของการขนส่ง / / / / /
4. อรรถประโยชน์ของการขนส่ง / / / / /
5. รูปแบบวิธีการขนส่ง / / / / /
6. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการขนส่ง / / / / /
7. การคำนวณต้นทุนการขนส่ง / / / / /
A :หลักสูตรรายวิชา (Course Description)
B :ตำราและเอกสาร (Literatures)
แหล่งข้อมูล C :ประสบการณ์ (Experiences)
D :ผู้เชี่ยวชาญ (Experts)
E :อื่นๆ (other)
การวิเคราะห์หัวข้อย่อย/หัวข้อสอน
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ทฤษฎี.....3.......ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ............-.....ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน.3.หน่วยกิต
หน่วย แหล่งข้อมูล
หัวข้อย่อย/หัวข้อสอน
ที่ A B C D E
8 ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน / / / / /
1. บทบาทของการแข่งขันในระบบซัพพลายเชน / / / / /
2. ระบบสารสนเทศ / / / / /
3. การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ / / / / /
4. ระบบดึง และระบบผลัก / / / / /
5. การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในระบบซัพพลายเชน / / / / /
6. ความรู้เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ / / / / /
9 การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน / / / / /
1. การนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในด้านคลังสินค้า / / / / /
2. การนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในด้านการขนส่ง / / / / /
3. การนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในด้านข้อมูลข่าวสาร / / / / /
4. การตัดสินใจด้านต่างๆ ในระบบโลจิสติกส์ของซัพพลายเชน / / / / /
A :หลักสูตรรายวิชา (Course Description)
B :ตำราและเอกสาร (Literatures)
แหล่งข้อมูล C :ประสบการณ์ (Experiences)
D :ผู้เชี่ยวชาญ (Experts)
E :อื่นๆ (other)
การวิเคราะห์หน่วยการรู้และเวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ทฤษฎี.....3.......ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ............-.....ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน.3.หน่วยกิต
หน่วย สัปดาห์ ชั่วโมงที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
ที่ ที่ สอน
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 1-2 6
2 บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3-4 6
3 การบริการลูกค้า 5 3
4 การจัดซื้อ 6-7 6
5 การจัดการคลังสินค้า 8-9 6
6 การบริหารสินค้าคงคลัง 10-11 6
7 การขนส่ง 12-13 6
8 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 14-15 6
9 การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน 16-17 6
สอบปลายภาค 18 3

รวม 54
โครงการสอน
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ทฤษฎี.....3.......ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ............-.....ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน.3.หน่วยกิต
สัปดาห์ หน่วย เวลาการจัดการเรียนรู้
ชือ่ หน่วยการเรียนรู้/หัวข้อการเรียนรู้
ที่ ที่ ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม (ชม.)
1-2 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 6 - 6
1.1 ความหมายของโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
1.2 อรรถประโยชน์ของโลจิสติกส์
1.3 ประโยชน์ของการจัดการโลจิสติกส์
1.4 กิจกรรมต่าง ๆ ในระบบโลจิสติกส์
1.5 พัฒนาการของโลจิสติกส์
3-4 2 บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลาย 6 - 6
เชน
2.1 บทบาทโลจิสติกส์และซัพพลายเชนต่อเศรษฐกิจ
2.2 บทบาทของโลจิสติกส์และซัพพลายเชนต่อองค์กร
2.3 การวางแผนในระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
2.4 ลักษณะพื้นฐานการจัดการซัพพลายเชนเชิงบูรณาการ
2.5 การพัฒนาของระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
5 3 การบริการลูกค้า 3 - 3
3.1 ความหมายการบริการลูกค้า
3.2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระดับการให้บริการลูกค้า
3.3 ระดับการให้บริการลูกค้า
3.4 หลักการหน่วยงานบริการลูกค้า
3.5 กลยุทธ์การบริการลูกค้า
โครงการสอน
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ทฤษฎี.....3.......ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ............-.....ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน.3.หน่วยกิต
สัปดาห์ จำนวนชั่วโมง
หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้/หัวข้อการเรียนรู้
ที่ ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม (ชม.)
6-7 4 การจัดซื้อ 6 - 6
4.1 ความหมายและความสำคัญของการจัดซื้อ
4.2 หน้าที่และคุณสมบัติของฝ่ายจัดซื้อ
4.3 กระบวนการเจรจาต่อรอง
4.4 กลยุทธ์การเจรจาต่อรอง
4.5 Value Chain กับการจัดซื้อ
4.6 ซัพพลายเชนกับการจัดซื้อ
4.7 วิธีการลดต้นทุนและการจัดซื้อกลยุทธ์
8-9 5 การจัดการคลังสินค้า 6 - 6
5.1 ความหมายของคลังสินค้า
5.2 วัตถุประสงค์ของคลังสินค้า
5.3 ประโยชน์ของคลังสินค้า
5.4 ประเภทของคลังสินค้า
5.5 กิจกรรมหลักของคลังสินค้า
5.6 วิธีการเลือกทำเลที่ตั้งคลังสินค้า
5.7 ระบบโลจิสติกส์ในคลังสินค้า
10-11 6 การบริหารสินค้าคงคลัง 6 - 6
6.1 ความหมายของการบริหารสินค้าคงคลัง
6.2 ความสำคัญของการบริหารสินค้าคงคลัง
6.3 วัตถุประสงค์ของการบริหารสินค้าคงคลัง
6.4 ประเภทของสินค้าคงคลัง
6.5 ประโยชน์ของการบริหารสินค้าคงคลัง
6.6 ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด
6.7 สินค้าคงคลังประเภท ABC
โครงการสอน
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ทฤษฎี.....3.......ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบตั ิ............-.....ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน.3.หน่วยกิต
สัปดาห์ จำนวนชั่วโมง
หน่วยที่ ชือ่ หน่วยการเรียนรู้/หัวข้อการเรียนรู้
ที่ ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม (ชม.)
12-13 7 การขนส่ง 6 - 6
7.1 ความหมายของการขนส่ง
7.2 ความสำคัญของการขนส่ง
7.3 ประโยชน์ของการขนส่ง
7.4 อรรถประโยชน์ของการขนส่ง
7.5 รูปแบบวิธีการขนส่ง
7.6 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการขนส่ง
7.7 การคำนวณต้นทุนการขนส่ง
14-15 8 ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการโลจิสติกส์และ 6 - 6
ซัพพลายเชน
8.1 บทบาทของการแข่งขันในระบบซัพพลายเชน
8.2 ระบบสารสนเทศ
8.3 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
8.4 ระบบดึง และระบบผลัก
8.5 การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในระบบ
ซัพพลายเชน
8.6 ความรู้เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนข้อมูลทาง
อิเล็กทรอนิกส์
โครงการสอน
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ทฤษฎี.....3.......ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบตั ิ............-.....ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน.3.หน่วยกิต
สัปดาห์ จำนวนชั่วโมง
หน่วยที่ ชือ่ หน่วยการเรียนรู้/หัวข้อการเรียนรู้
ที่ ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม (ชม.)
16-17 9 การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนใน 6 - 6
การปฏิบัติงาน
9.1 การนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในด้านคลังสินค้า
9.2 การนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในด้านการขนส่ง
9.3 การนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในด้านข้อมูลข่าวสาร
9.4 การตัดสินใจด้านต่างๆ ในระบบโลจิสติกส์ของ
ซัพพลายเชน
18 สอบปลายภาค 3 - 3
รวม 54 - 54
การวิเคราะห์หัวข้อการสอนและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ทฤษฎี.....3.......ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ............-.....ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน…3…หน่วยกิต
ISL PSL
หน่วยที/่ ชื่อหน่วย รายการความรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
R A T I C A
1. ความรู้เบื้องต้น 1.ความหมายของโลจิสติกส์และซัพพลาย 1. บอกความหมายของโลจิสติกส์และซัพพลายเชนได้ /
เกี่ยวกับโลจิสติกส์ เชน
และซัพพลายเชน
2. อรรถประโยชน์ของโลจิสติกส์ 2. บอกอรรถประโยชน์ของโลจิสติกส์ได้ /
3. ประโยชน์ของการจัดการโลจิสติกส์ 3. อธิบายประโยชน์ของการจัดการโลจิสติกส์ได้ /
4. กิจกรรมต่าง ๆ ในระบบโลจิสติกส์ 4. จำแนกกิจกรรมต่าง ๆ ในระบบโลจิสติกส์ได้ /
5. พัฒนาการของโลจิสติกส์ 5. อธิบายพัฒนาการของโลจิสติกส์ได้ /
หมายเหตุ ISL= ระดับความรู้ความสามารถทางสติปัญญา (Intellectual skill Level) PSL=ระดับความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อทำงาน(Physical skill Level)
R:การฟื้นความรู้ (Recalled Knowledge) I : ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed)
A:การประยุกต์ความรู้ (Applied Knowledge) C : ทำได้ด้วยความถูกต้อง (Control is needed)
T:การส่งถ่ายความรู้ (Transferred Knowledge) A : ทำด้วยความชำนาญ (Automation is needed)
กรอบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
หน่วยที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

พอประมาณ
1. ผู้เรียนจัดสรรเวลาในการฝึกปฏิบัติตาม
ใบงานได้อย่างเหมาะสม
2. ผู้เรียนรู้จักใช้และจัดการวัสดุอุปกรณ์
ต่าง ๆ อย่างประหยัดและคุ้มค่า
3. ผู้เรียนปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4. ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มเพื่อน
มีภูมิคุ้มกันที่ดี

ความมีเหตุผล 1. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและการ
ปฏิบัติงาน
1. กล้าแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
2. กล้าซักถามปัญหาหรือข้อสงสัยต่าง ๆ อย่างถูก
2. กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ
กาลเทศะ
3. กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4. ไม่มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น 3. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเองอย่างเป็น
เหตุเป็นผล

4. ควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
ความรู้ + ทักษะ 5.ควบคุมกิคุรณิยธรรม
าอาการในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
1. ใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า 1. ปฏิบัติงานทีเป็่ได้นรอย่
ับมอบหมายเสร็
างดี จตามกำหนด
2. ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด
3. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ 3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและ
พอเพียง การปฏิบัติงาน
4. ให้ความร่วมมือกับการทำกิจกรรมของส่วนรวม อาสา
ช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น
นำไปสู่
สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม
สังคม ชุมชนมีคุณภาพชีวิต สภาพเศรษฐกิจมีความ มีการปลูกฝังกิจนิสัยการ ใช้สิ่งของอย่างรู้คุณค่า
ที่ดีขึ้น คล่องตัว มีรายได้และมี ประหยัด อดออม ใช้วัสดุธรรมชาติ ไม่ทำลาย
การใช้จ่ายในระบบเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม
แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จำนวน...6….ชั่วโมง

หัวข้อเรื่อง
1. ความหมายของโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
2. อรรถประโยชน์ของโลจิสติกส์
3. ประโยชน์ของการจัดการโลจิสติกส์
4. กิจกรรมต่าง ๆ ในระบบโลจิสติกส์
5. พัฒนาการของโลจิสติกส์

สาระสำคัญ
การจัดการโลจิสติกส์ เป็นกระบวนการที่เกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ วัตถุ ดิบจากจุด
กำเนิดไปยังจุดบริโภค เพื่อสร้างความพึง พอใจให้แก่ลูกค้า ซึ่งมีกิจกรรมที่สำคัญ ประกอบด้วย การบริการลูกค้า
การพยากรณ์อุปสงค์ กระบวนการสั่งซื้อ การจัดการคลังสินค้า การจัดการสินค้าคงคลัง การจัดซื้อ การขนส่ง
รวมถึ ง กิ จ กรรมที่ ส นั บ สนุ น กระบวนการโลจิ ส ติ ก ส์ เพื่ อ เป็ น การใช้ ป ระโยชน์ จ ากเวลา และสถานที่ ให้ มี
ประสิทธิภาพสูงสุด ในส่วนของการจัดการ ซัพพลายเชนจะเป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการเชื่อมโยงระหว่างสมาชิก
ทุกหน่วยภายในซัพพลายเชนให้เกิดประสิทธิภาพของการเลื่อนไหลของวัตถุดิบ สินค้า จากต้นทางจนถึงจุดหมาย
ปลายทาง โลจิสติกส์และซัพพลายเชนเป็นเสมือนสิ่งที่ต้องอยู่ร่วมกั นเพื่อให้การดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ทางธุรกิจ
สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ได้
จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพื่อให้มคี วามรู้และความเข้าใจแสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและกระบวนการโลจิสติกส์และซัพ
พลายเชน
2. เพื่อให้มีกจิ นิสัย ในการทางานที่ดี ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ รับผิดชอบ มีวินัย ตรงตาม
เวลา และตระหนักถึงความปลอดภัยในการทำงาน

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. บอกความหมายของโลจิสติกส์และซัพพลายเชนได้
2. บอกอรรถประโยชน์ของโลจิสติกส์ได้
3. อธิบายประโยชน์ของการจัดการโลจิสติกส์ได้
4. จำแนกกิจกรรมต่าง ๆ ในระบบโลจิสติกส์ได้
5. อธิบายพัฒนาการของโลจิสติกส์ได้

กิจกรรมการการจัดการเรียนรู้

เวลา (X นาที) 60 120 180


หมายเลขวัตถุประสงค์ 1,2,3,4,5,6,7
ขั้นสนใจปัญหา(.....10.... นาที)
บรรยาย
ขั้นให้ข้อมูล
ถามตอบ
(..120 นาที)
สาธิต
ขั้นพยายาม (........30....นาที)
ขั้นสำเร็จผล (.........20...นาที)
กระดานดำ
Power point
แผ่นใส
ของจริง
อุปกรณ์ช่วยสอน ใบเนื้อหา
ใบงาน
เฉลยใบงาน
ใบสั่งงาน
ใบประเมินผล
Pre test (10 นาที)
Post test (10นาที)
ใบทดสอบ ก่อนเรียน หลังเรียน

ใบเนื้อหาที่ 1 สื่อ Power point ชุดที่ 1 ใบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน หน่วยที่ 1


กิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู กิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน
1. ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน ขัน้ สนใจปัญหา (10 นาที
และทดสอบ 10 นาที) ผู้เรียนร่วมคิดและตอบคำถามและทำแบบทดสอบ
ครู ผู้ ส อนนำเข้ า สู่ บ ทเรี ย น เล่ า ถึ ง การจั ด การ ก่อนเรียน
โลจิสติกส์ เป็นกระบวนการที่เกี่ยวกับการเคลื่อนย้าย
สิ น ค้ า และบริ ก าร วั ต ถุ ดิ บ จากจุ ด กำเนิ ด ไปยั ง จุ ด
บริ โภค เพื่ อ สร้ า งความพึ ง พอใจให้ แ ก่ ลู ก ค้ า ซึ่ ง มี
กิจ กรรมที่ ส ำคั ญ ต่า งๆ เช่ น การบริก ารลู ก ค้า การ
พยากรณ์ อุ ป สงค์ กระบวนการสั่ ง ซื้ อ การจั ด การ
คลังสินค้ า การจัดการสิน ค้าคงคลัง การจัดซื้ อ การ
ขนส่ง รวมถึงกิจกรรมที่ สนั บสนุ นกระบวนการโลจิ
สติกส์ เพื่อเป็นการใช้ประโยชน์จากเวลา และสถานที่
ให้ มีป ระสิท ธิภ าพสูงสุด ในส่ วนของการจัด การ
ซัพพลายเชนจะเป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการเชื่อมโยง
ระหว่างสมาชิกทุกหน่วยภายในซัพพลายเชนให้เกิด
ประสิท ธิภ าพของการเลื่ อนไหลของวัต ถุดิ บ สิน ค้ า
จากต้ น ทางจนถึ ง จุ ด หมายปลายทาง โลจิ ส ติ ก ส์
และซั พ พลายเชนเป็ น เสมื อ นสิ่ ง ที่ ต้ อ งอยู่ ร่ ว มกั น
เพื่อให้การดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ
2. ขัน้ สอน (120 นาที)
ส อ น โด ย ก า ร บ ร ร ย า ย เกี่ ย ว กั บ ผู้เรียนฟั ง การบรรยาย และศึ กษาเอกสารประกอบ
ความหม ายของโลจิ ส ติ ก ส์ แ ละซั พ พ ลายเชน การเรี ยนตาม และร่วมตอบคำถามถึง ความหมาย
อรรถประโยชน์ ข องโลจิ ส ติ ก ส์ ประโยชน์ ข องการ ของโลจิ ส ติ ก ส์ แ ละซั พ พลายเชน อรรถประโยชน์
จัดการโลจิสติกส์ กิจกรรมต่าง ๆ ในระบบโลจิสติกส์ ของโลจิส ติก ส์ ประโยชน์ข องการจั ดการโลจิสติ กส์
พัฒนาการของโลจิสติกส์ กิจกรรมต่าง ๆ ในระบบโลจิสติกส์พัฒนาการของโลจิ
สติกส์
3. ขั้นพยายาม (60 นาที) แบ่งกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุม่ ให้แต่ละกลุ่มสรุปสาระสำคัญ
ครูผู้สอนผู้เรียนมีส่วนร่วม (แต่ละกลุ่มส่ง ตัวแทน ของแต่เรื่องตามจุดประสงค์ ผู้เรียน ศึกษาแล้วแบ่ง
กลุ่ม) วิเคราะห์เกี่ยวกับกรณีศึกษา และมอบหมายให้ หน้าที่รับผิดชอบในการร่วมปฏิบัติกิจกรรมร่วมกัน
ผู้เรียนนำกรณีศึกษามานำเสนอในชั้นเรียน
4. ขัน้ สรุป (30 นาที และทดสอบ 10 นาที)
และผู้สอนสรุปแต่ละเรื่องให้ผู้เรียนฟังจนเข้าใจ แต่ ล ะกลุ่ ม ส่ ง ตั ว แทนออกมาสรุป เพื่ อ นฟั ง หน้ า ชั้ น
มอบหมายให้ผู้เรียนกลับไปศึกษาเนื้อหาเรื่องบทบาท เรียน
และการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

สื่อสารเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้
สื่อสิ่งพิมพ์
1. ใบเนื้อหา
2. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
3. ใบมอบหมายงาน
4. หนังสือโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ของ อาจารย์ก่อเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา
5. หนังสือโลจิสติกส์และโซ่อปุ ทาน ของ อาจารย์ไตรเลิศ ครุฑเวโชและมนัสชัย กีรติผจญ

สื่อโสตทัศน์ (ถ้ามี)
1. ใช้สื่อ Power point
แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
1. ห้องสมุดวิทยาลัย
2. แหล่งข้อมูลจากระบบสารสนเทศ Internet

การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กับวิชาอื่น
1. บูรณาการกับวิชาหลักการจัดการการกระจายสินค้า
2. บูรณาการกับวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ
3. บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านความขยันหมัน่ เพียร ประหยัด อดออม

การวัดและประเมินผล
การประเมินผล
ก่อนเรียน
1. แบบทดสอบก่อนเรียน
ขณะเรียน
1. แบบประเมินพฤติกรรมรายกลุ่ม
2. แบบสังเกตพฤติกรรม
3. แบบประเมิน คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะพึงประสงค์
หลังเรียน
1. แบบทดสอบหลังเรียน

เกณฑ์ในการวัดและประเมินผล
การวัด (ใช้เครื่องมือ) การประเมินผล (นำผลเทียบกับเกณฑ์และแปล
ความหมาย)
1. แบบทดสอบก่อนเรียน (ไว้เปรียบเทียบกับคะแนนสอบหลังเรียน)
2. แบบสังเกตการทำงานกลุ่มและการ เกณฑ์ผ่าน 60 %
นำเสนอผลงานกลุ่ม
3. แบบฝึกหัดในหน่วย เกณฑ์ผ่าน 50 %
4. แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน 50 %
5. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม เกณฑ์ผ่าน 60 %
ตามสภาพจริง
บันทึกหลังสอน
1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

2. ผลการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

3. แนวทางการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
แบบฝึกหัดบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ตอนที่ 1 จงเติมคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. จงอธิบายความหมายคำว่า “โลจิสติกส์”
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
2. ศาสตร์ใดบ้างที่เกี่ยวข้องกับโลจิสติกส์และเกี่ยวข้องอย่างไร
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
3. โลจิสติกส์ประกอบด้วยสาระสำคัญกี่ส่วน อะไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
4. จงอธิบายความสำคัญของโลจิสติกส์ต่อระบบเศรษฐกิจ
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
5. จงอธิบายความหมายของซัพพลายเชน
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
ตอนที่ 2
จงจับคู่ข้อความที่มีความหมายตรงกันหรือสัมพันธ์กัน
1. สินค้าคงคลัง ก. Purchasing
2. ความเป็นเจ้าของ ข. Warehouse Management
3. การติดต่อสื่อสาร ค. Form
4. การจัดซื้อ ง. Transportation
5. การจัดการคลังสินค้า จ. Inventory
6. รูปร่าง ฉ. Supply Chain
7. การขนส่ง ช. Communication
8. โซ่อุปทาน ซ. Reengineering
9. ความพอใจ ฌ. Possession
10. การพัฒนาปรับระบบ ญ. Satisfaction
เฉลยบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ตอนที่ 1 จงเติมคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. จงอธิบายความหมายคำว่า “โลจิสติกส์”
ตอบ โลจิ ส ติก ส์ เป็ น ส่ วนหนึ่ งของการบริห ารจั ด การระบบโซ่ อุ ป ทานที่ มี ก ระบวนการในการวางแผน
ดำเนินการ และควบคุมประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการและสารสนเทศ รวมถึง
การเก็บรัก ษาสินค้า บริการ และข้อมูลจากจุดเริ่มต้นจนถึงจุดที่มีการใช้งาน โดยมีเป้าหมายที่สอดคล้องกับ
ความต้องการของผู้บริโภค

2. ศาสตร์ใดบ้างที่เกี่ยวข้องกับโลจิสติกส์และเกี่ยวข้องอย่างไร
ตอบ 1. วิศวกรรมศาสตร์ สาขาที่เกี่ยวข้อง คือ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering) และ
สาขาวิศวกรรมโยธา (Civil Engineering) โดยสาขานี้คำนึงถึงกิจกรรมในการเคลื่อนย้ายสินค้าเป็นหลัก
เพื่อให้การขนส่งสินค้ามีประสิทธิภาพมากที่สุด ใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเชื้อเพลิงหรือเวลาในการ
ขนส่งน้อยที่สุด
2. บริหารธุรกิจ เป็นสาขาที่มองด้านการขนส่งระหว่างประเทศโดยพิจารณาเรื่องภาษี กฎหมาย
ค่าระวาง นโยบายหรือยุทธศาสตร์ด้านโลจิสติกส์ของแต่ละประเทศ และการค้าระหว่างประเทศเพื่อนำมา
ประกอบการวางแผนการขนส่งไปยังประเทศต่าง ๆ
3. การจัดการสารสนเทศ เป็นการศึกษาในส่วนของ Software และ Hardware นำมาควบรวมกัน
เป็น Solution หรือบริการ ที่จะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมทางด้านโลจิสติกส์มีความสะดวก คล่องตัวมากขึ้น

3. โลจิสติกส์ประกอบด้วยสาระสำคัญกี่ส่วน อะไรบ้าง
ตอบ สาระสำคัญของโลจิสติกส์มี 6 ส่วน ประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 หัวใจสำคัญของการจัดการโลจิสติกส์ คือ ต้องมี “ระบบ” มีการวางแผนการทำกิจกรรม
ต่าง ๆ ไปปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ และต้องสามารถควบคุมปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้
ส่วนที่ 2 การจัดการโลจิสติ กส์เป็ นส่ว นหนึ่ ง ของการจัด การระบบโซ่อุ ปทาน โลจิสติ กส์เป็ นการ
จัดการระบบภายในองค์กร ส่วนการจัดการโซ่อุปทานเป็นการบริหารจัดการความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร
ส่วนที่ 3 การจัดการโลจิสติกส์ต้อ งมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ และข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล ส่งผลให้องค์กรสามารถควบคุม และลดต้นทุนต่าง ๆ ได้
ส่วนที่ 4 การเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ และข้อมูลในระบบ มีการไหลทั้งไป และกลับ
ส่วนที่ 5 ขอบเขตของการจัดการโลจิสติกส์ เริ่มตั้งแต่กิจกรรมที่เป็นจุดเริ่มต้นขององค์กร
“From Point of Origin” ไปจนถึง กิจกรรมที่สั้นสุดตามหน้าที่ขององค์กร “To Point of Consumption”
ส่วนที่ 6 สิ่งสำคัญที่สุดของการจัดการโลจิสติกส์จะต้องสามารถสนองตอบความต้องการของลูกค้า
และควบคุมได้
4. จงอธิบายความสำคัญของโลจิสติกส์ต่อระบบเศรษฐกิจ
ตอบ โลจิสติกส์มคี วามสำคัญในระบบเศรษฐกิจ 2 ประการ คือ
1. โลจิสติกส์เป็นรายจ่ายที่สำคัญ สำหรับธุรกิจต่าง ๆ ที่จะส่งผลกระทบ และได้รับผลกระทบจาก
กิจกรรมอื่น ๆ ของทุกภาคส่วนในระบบเศรษฐกิจ ดังนั้น การปรับปรุงประสิทธิผลของระบบการจัดการโลจิ
สติกส์ จะส่งผลโดยตรงต่อการปรับปรุงสภาพเศรษฐกิจโดยรวมให้ดีขึ้นได้
2. โลจิสติกส์เป็นกระบวนการที่รองรับการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการธุรกรรมทางเศรษฐกิจ และ
เป็นกิจกรรมสำคัญในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจ หากการจัดการระบบโลจิสติกส์ไม่ดี สินค้าถึงมือลูกค้าไม่
เป็นไปตามเวลาที่กำหนด ไม่ถูกสถานที่และอยู่ในสภาพที่ไม่เหมาะสม การซื้อขายสินค้าจะเกิดขึ้นไม่ได้ ดังนั้น
กิจกรรมทุกกิจกรรมในโซ่อุปทานจะได้รับผลกระทบด้วย

5. จงอธิบายความหมายของซัพพลายเชน
ตอบ ซัพพลายเชน หมายถึง การเชื่อมต่อของหน่วยงาน หรือจุดต่าง ๆในการผลิตสินค้าหรือบริการที่เริ่มต้น
จากวัตถุดิบไปยังผู้บริโภคคนสุดท้าย ซึ่งประกอบด้วย ผู้ขายปัจจัยการผลิต หรือผู้ส่งมอบ (Suppliers) โรงงาน
ผู้ผลิต (Manufacturers) ศูนย์กระจายสินค้า (Distribution Centers) ร้านค้าย่อย ลูกค้าและผู้บริโภค
(Retailers and Customers)

ตอนที่ 2
จงจับคู่ข้อความที่มีความหมายตรงกันหรือสัมพันธ์กัน
จ 1. สินค้าคงคลัง
ฌ 2. ความเป็นเจ้าของ
ช 3. การติดต่อสื่อสาร
ก 4. การจัดซื้อ
ข 5. การจัดการคลังสินค้า
ค 6. รูปร่าง
ง 7. การขนส่ง
ฉ 8. โซ่อุปทาน
ญ 9. ความพอใจ
ซ 10. การพัฒนาปรับระบบ
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....1..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน...............เวลา.............10.................นาที

คำสั่ง จงทำเครื่องหมายกากบาท (x) ลงหน้าข้อที่ถูกต้อง

1. จุดมุ่งหมายสำคัญของการนำระบบการจัดการโลจิสติกส์มาใช้ คือข้อใด

ก. เพื่อให้เกิดความสมดุลในระบบต้นทุน

ข. เพื่อให้การดำเนินธุรกิจมีประสิทธิภาพ

ค. เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพในการดำเนินงาน

ง. เพื่อสร้างความสามารถด้านการแข่งขันที่เหนือคู่แข่งขัน

2. ความหมายของโลจิสติกส์ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการเป็นกิจกรรมสนับสนุน คือข้อใด

ก. การบริหารวัตถุดิบที่ต้องมีการเคลื่อนย้าย และที่พัก

ข. การบริหารจัดการเสบียงสำหรับโรงงาน กระบวนการผลิต และการกระจายสินค้าไปยังลูกค้า

ค. การจัดส่งสินค้าให้กับลูกค้าอย่างถูกต้องทั้งจำนวน สภาพ สถานที่ และต้องคำนึงถึงต้นทุน

ง. การจัดการ การบำรุงรักษากองกำลัง การเคลื่อนย้าย ขนถ่าย การให้สวัสดิการแก่บุคลากร

3. ศาสตร์ด้านการจัดการโลจิสติกส์ มีจุดเริ่มต้นกับองค์กร รูปแบบใด

ก. องค์กรทางการทหาร ข. องค์กรด้านการผลิต

ค. องค์กรด้านการค้า ง. องค์กรด้านการจัดจำหน่าย
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....2..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน...............เวลา.............10.................นาที

4. การจัดการโลจิสติกส์ที่ดีต้องบรรลุเป้าหมายในข้อใด

ก. เพิ่มยอดขายให้ได้มากที่สุด ข. มีจำนวนลูกค้ามากกว่าคู่แข่งขัน

ค. มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น ง. สามารถควบคุมต้นทุนได้

5. กิจกรรมที่ช่วยให้องค์กรธุรกิจสามารถกำหนดทิศทางและจัดเตรียมปัจจัยในการดำเนินงานให้เหมาะสมถูกต้อง
ไม่มีส่วนขาด และส่วนเกิน คือข้อใด

ก. การคลังสินค้า ข. การบริการลูกค้า

ค. การพยากรณ์อุปสงค์ ง. กระบวนการสั่งซื้อทีด่ ี

6. ในขอบเขตของการจัดการโลจิสติกส์ ซึ่งเป็นการจัดการภายในองค์กร กิจกรรมที่เป็นจุดเริ่มต้นขององค์กรคือข้อ


ใด

ก. การผลิต ข. การจัดซื้อ

ค. การจัดจำหน่าย ง. ผู้ขายปัจจัยการผลิต

7. หัวใจสำคัญของโลจิสติกส์ คืออะไร

ก. คน ข. เงิน

ค. ระบบ ง. เครื่องจักร
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....3..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผูเ้ รียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน...............เวลา.............10.................นาที

8. ความหมายของ “ซัพพลายเชน” ตรงกับข้อใด

ก. การไหลของวัตถุดิบ ข้อมูล ระหว่างผู้ผลิต โรงงานประกอบและศูนย์กระจายสินค้า

ข. ขบวนการในการวางแผนดำเนินงานตั้งแต่การจัดซื้อ จัดส่ง เคลื่อนย้าย คลังสินค้าจนถึงตลาด

ค. เป็นการควบคุมประสิทธิภาพในการไหลเวียนของสินค้า บริหารต้นทุน การขนส่ง ตั้งแต่จุดเริ่มต้น ไป


จนถึงจุดที่มีการใช้งาน

ง. การบริหารความเปลี่ยนแปลงจากผลกระทบทางเศรษฐกิจในองค์กร

9. กิจกรรมด้านโลจิสติกส์ข้อใดที่เป็นการจัดการกับกระบวนการสินค้าส่งกลับคืน

ก. การบริการลูกค้า ข. โลจิสติกส์ย้อนกลับ

ค. การจัดซื้อ และจัดหา ง. การจัดการคลังสินค้า

10. ในการประกอบการธุรกิจ ผู้ประกอบการควรให้ความสำคัญกับสิ่งใดมากที่สุด

ก. ต้นทุน ข. เวลา

ค. การขนส่ง ง. คลังสินค้า

เฉลย
1. ง 2.ข 3.ก 4. ง 5. ค 6.ข 7. ค 8. ก 9. ข 10. ก
ใบเนื้อหา/ใบความรู้
หน่วยที่...1..เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
1. ความหมายของโลจิสติกส์
ตามพจนานุกรม กล่าวถึงโลจิสติกส์ (Logistics) เป็นศาสตร์สาขาหนึ่งด้านการทหารที่เกี่ยวข้องกับ
การจัดหา การส่งกำลังบำรุง การเคลื่อนย้ายขนถ่าย การให้สวัสดิการแก่บุคลากร และสิ่งอำนวยความสะดวก
ต่าง ๆ ภาคธุรกิจจึงได้มีการประยุกต์ใช้ในการดำเนินกิจกรรมทางธุรกิจเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า

นอกจากนี้ยังมีความหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการโลจิสติกส์ ด้านต่าง ๆ ดังนี้


ความหมายของการเป็นกิจกรรมสนับสนุน (Component Support)
หมายถึง วิธี การบริหารจัดการเสบี ยงสำหรับโรงงาน/กระบวนการผลิต (ขาเข้า) และการ
จัดการด้านการกระจายสินค้าไปยังบริษัทของลูกค้า (ขาออก)
ความหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการด้านการเงิน (Functional Management)
หมายถึ ง การจั ด หาวั ต ถุ ดิ บ การจั ด ซื้ อ การขนส่ ง การจั ด การสิ น ค้ าคงคลั ง การบริห าร
คลังสินค้า การเคลื่อนย้ายสินค้า การบรรจุหีบห่อ การวิเคราะห์ทำเลที่ตั้งโรงงาน การกระจายสินค้า การจัดส่ง
สินค้ากลับคืน การจัดการข้อมูลข่าวสาร และกิจกรรมอื่น ๆ โดยให้ความสำคัญกับการสนับสนุนลูกค้าภายใน
หรือส่วนของการผลิต และลูกค้าภายนอก ซึ่งหมายถึงลูกค้าในระดับต่าง ๆ
ความหมายที่เกี่ยวข้องกับสินค้าคงคลัง (Inventory)
หมายถึง การบริหารวัตถุดิบที่ต้องมีการเคลื่อนย้าย และสถานที่พักสินค้า
ความหมายในมุมมองของลูกค้า (Customer)
หมายถึง การส่งสินค้าที่ถูกต้องให้แก่ลูกค้าในจำนวน และสภาพที่ถูกต้อง โดยไม่ เกิดความ
เสียหาย โดยจะต้องนำส่งให้ถูกสถานที่ ตรงเวลา และต้องคำนึงถึงต้นทุนที่เหมาะสมที่สุด
The Council of Logistics Management (CLM) ซึ่ง เป็นองค์กรวิชาชีพทางด้า โลจิสติกส์
ของประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ให้ คำจำกัดความของ “การจัดการโลจิสติกส์ ” ไว้ว่า เป็ นส่วนหนึ่ งของการ
บริหารจัดการระบบโซ่อุปทานที่มีกระบวนการในการวางแผน ดำเนินการ และควบคุ มประสิทธิภาพ และ
ประสิทธิผลในการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ และสารสนเทศ รวมถึงการเก็บรักษาสินค้า บริการ และข้อมูล
จากจุดเริ่มต้นจนถึงจุดที่มีการใช้งาน โดยมีเป้าหมายที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค
ผู้ขายสินค้า/วัตถุดิบ คลังสินค้า
กระจายสินค้าให้แก่ลูกค้า

คลังสินค้า จัดเก็บผลิตภัณฑ์ โรงงานของผู้ผลิต

กระจายสินค้าให้แก่ลูกค้า ผูซ้ ื้อสินค้า/ผลิตภัณฑ์

ภาพที่ 1.1 แสดงการไหลของวัตถุดิบและสินค้าจากผู้ขายปัจจัยการผลิตไปยังลูกค้า


จากความหมายในด้านต่าง ๆ ข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า การจัดการโลจิสติกส์ คือ การบริหาร
กระบวนการไหล (Flow) ของสินค้า บริการ หรือวัตถุดิบจากจุดเริ่มต้นไปยังจุดที่มีการใช้สินค้า บริการ หรือ
วัตถุดิบนั้น และในบางกรณีก็ไปยังจุดที่มีการทำลายสินค้านั้น
เมื่อพิจารณาคำนิยามของโลจิสติกส์ พบว่า มีศาสตร์แขนงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3 ศาสตร์ โดยมี
มุมมองของศาสตร์ต่าง ๆ ดังนี้
1. วิ ศ วกรรมศาสตร์ สาขาที่ เ กี่ ย วข้ อ ง คื อ สาขาวิ ศ วกรรมอุ ต สาหการ (Industrial
Engineering) และสาขาวิศวกรรมโยธา (Civil Engineering) โดยสาขานี้คำนึงถึงกิจกรรมในการเคลื่อนย้าย
สินค้าเป็นหลัก เพื่อให้การขนส่งสินค้ามีประสิทธิภาพมากที่สุด ใช้ทรัพยากรต่าง ๆไม่ว่าจะเป็นเชื้อเพลิงหรือ
เวลาในการขนส่งน้อยที่สุด
2. บริ ห ารธุ รกิ จ เป็ น สาขาที่ ม องด้ านการขนส่ ง ระหว่ างประเทศโดยพิ จ ารณาเรื่ อ งภาษี
กฎหมาย ค่าระวาง นโยบายหรือยุทธศาสตร์ด้านโลจิสติกส์ของแต่ละประเทศ และการค้าระหว่างประเทศเพื่อ
นำมาประกอบการวางแผนการขนส่งไปยังประเทศต่าง ๆ
3. การจัดการสารสนเทศ เป็นการศึกษาในส่วนของ Software และ Hardware นำมาควบ
รวมกันเป็น Solution หรือบริการที่จะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมทางด้านโลจิสติกส์มีความสะดวก คล่องตัวมาก
ขึ้น
สาระสำคัญของโลจิสติกส์
โลจิสติกส์ประกอบด้วยสาระสำคัญ 6 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 หัวใจสำคัญของการจัดการโลจิสติกส์ คือ “ระบบ”
โดยมีการวางแผนการทำกิจกรรมต่าง ๆ และนำแผนงานดังกล่าวที่วางไว้ไปปฏิบัติ
ซึ่งต้องมีการวางระบบ เพื่อให้สามารถควบคุมปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้
ส่วนที่ 2 การจัดการโลจิสติกส์เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการระบบโซ่อุปทาน
โลจิสติกส์เป็นการจัดการระบบภายในองค์กร ให้สามารถเชื่อมโยงกับระบบภายนอกองค์กร
โดยใช้การจัดการโซ่อุปทานเป็นการบริหารจัดการความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร
ส่ ว นที่ 3 การจั ด การโลจิ ส ติ ก ส์ ต้ อ งมี ก ารเคลื่ อ นย้ า ยสิ น ค้ า บริ ก ารและข้ อ มู ล อย่ า งมี
ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ซึ่งจะส่งผลให้องค์กรสามารถควบคุม และลดต้นทุนต่าง ๆ ได้
ส่วนที่ 4 การเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ และข้อมูลในระบบ มีการไหลทั้งไป และกลับ เช่น
การขายสินค้า ต้องมีระบบที่สามารถรองรับกับสินค้าที่ถูกส่งคืนมาเพื่อซ่อมแซม หรือทำลาย เป็นต้น จึงจะทำ
ให้กระบวนการไหลของระบบเป็นไปอย่างสมบูรณ์
ส่วนที่ 5 ขอบเขตของการจัดการโลจิสติกส์ ซึ่งเป็นการจัดการภายในองค์กร
เริ่ ม ตั้ ง แต่ กิ จ กรรมที่ เ ป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ขององค์ ก รธุ ร กิ จ “From Point of Origin” เช่ น
การจั ด ซื้ อ จั ด หาวั ส ดุ อุ ป กรณ์ ต่ า ง ๆ จนถึ ง กิ จ กรรมที่ สิ้ น สุ ด ตามหน้ า ที่ ข ององค์ ก ร “To Point of
Consumption” เช่น การจัดจำหน่ายจนถึงจุดของการบริโภค
ส่วนที่ 6 สิ่ งสำคัญ ที่สุ ดของการจั ดการโลจิสติก ส์ ที่ ดีต้อ งบรรลุเป้ าหมาย 2 ประการ คื อ
สามารถสนองตอบความต้ อ งการของลูก ค้ าได้ (Meet Customer’s Requirement) และสามารถควบคุ ม
ต้นทุนได้ (Costs Control)

Internal Logistics

ภาพที่ 1.2 แสดงโครงสร้างของโลจิสติกส์ภายในองค์กร


External Logistics

suppliers

ภาพที่ 1.3 แสดงโครงสร้างของโลจิสติกส์ภายนอกองค์กร

ความหมายของซัพพลายเชน
The Council of Logistics Management (CLM) ซึ่งเป็นองค์กรวิชาชีพทางด้านโลจิสติกส์
ของประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ให้คำนิยามของซัพพลายเชนและการจัดการซัพพลายเชนไว้ว่า
โซ่อุปทาน (Supply Chain) เป็นความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนและการบริหารกิจกรรมต่าง
ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดหา การแปรรูปและกิจกรรมโลจิสติกส์ ทุก ๆ กิจกรรม รวมถึงการปฏิบัติการร่วมมือกัน
(Collaboration) และการประสานงาน (Coordination) กับผู้จำหน่ายวัตถุดิบ ตัวกลาง รวมทั้งผู้ให้บริการ
ขนส่งและลูกค้า
Stock และ Lambert กล่าวว่า ซัพพลายเชน เป็นการบูรณาการดัชนีการดำเนินธุรกิจ จาก
ลูกค้าคนสุดท้ายไปถึงผู้ผลิตรายแรกที่จัดหาสินค้าบริการ และข้อมูลที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ลูกค้า และผู้ มี
ส่ ว น ไ ด้ ส ่ ว น เ สี ย โ ด ย ดั ช น ี ก า ร ด ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย 8 กิ จ ก ร ร ม คื อ Customer
Relationship Management, Customer Service Management, Demand Management,
Order Fulfillment, Manufacturing Flow Management, Suppliers Relationship
Management, Product Development and Commercialization และ Return
Jones and Riley ให้คำนิยามซัพพลายเชนไว้ว่า เป็นการวางแผนและการควบคุม การไหลของ
วัตถุดิบทั้งหมดจากผู้จัดส่งวัตถุดิบ (Supplier) ไปยังผู้ผลิตและผู้กระจายสินค้าไปยังผู้บริโภค
Thomas and Griffin กล่าวว่าซัพพลายเชนเป็นการไหลของทั้งวัตถุดิบและข้อมูลระหว่าง
ผู้ค้ า (Vendors) ผู้ผลิตและโรงงานประกอบ (Assembly Plants) และศูนย์กระจายสินค้า ซึ่ง เป็นขั้นตอน
แบบดั้งเดิมที่เกี่ยวข้องกับซัพพลายเชน กล่าวคือ การจัดหา การผลิต การกระจายสินค้า
ดังนั้น สามารถสรุปความหมายของซัพพลายเชนได้ดังนี้
โซ่อุปทาน หมายถึง การเชื่อมต่อของหน่วยงาน หรือจุดต่าง ๆในการผลิตสินค้าหรือบริการที่
เริ่มต้นจากวัตถุดิบไปยังผู้บริโภคคนสุดท้าย ซึ่งประกอบด้วย ผู้ขายปัจจัยการผลิต หรือผู้ส่งมอบ (Suppliers)
โรงงานผู้ผลิต (Manufacturers) ศูนย์กระจายสินค้า (Distribution Centers) ร้านค้าย่อย ลูกค้าและผู้บริโภค
(Retailers and Customers)
2. อรรถประโยชน์ของโลจิสติกส์
อรรถประโยชน์ (Utility) คือ ความพึงพอใจที่ลูกค้าจะได้รับจากการบริโภคสินค้าและบริการ
ซึ่ง ธุรกิ จที่ท ำหน้ าที่ ในการผลิ ตสิน ค้ าจำเป็ น ต้องสร้างอรรถประโยชน์ ให้ เกิ ดขึ้น ในสิน ค้าและบริการเพื่ อ
ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าโดยผ่านทางกิจกรรมโลจิสติกส์ สามารถ แบ่งได้เป็น 4 ประเภท คือ
1. อรรถประโยชน์ ด้ านเวลา (Time Utility) คื อ การเพิ่ ม คุ ณ ค่ า ในสิ น ค้ าเพื่ อ สนองความ
ต้องการของลูกค้า ได้ถูกต้องตรงตามเวลาที่ลูกค้าต้องการ
2. อรรถประโยชน์ด้านสถานที่ (Place Utility) คือ การมีสินค้าและบริการในสถานที่ ที่ลูกค้า
ต้องการ
3. อรรถประโยชน์ด้านรูปลักษณ์ (Form Utility) คือ กระบวนการในการจัดรูปร่าง ลักษณะ
ของสินค้า หรือบริการ ให้ตรงกับความต้องการของลูกค้า
4. อรรถประโยชน์ด้านความเป็นเจ้าของ (Possession Utility) คือ คุณค่าที่เพิ่มเข้าไปใน
สินค้าและบริการ เพื่อให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงการเป็นเจ้าของได้สะดวก และง่ายขึ้น
3. ประโยชน์ของการจัดการโลจิสติกส์
คำนาย อภิปรัชญาสกุล (2547: 16) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของการจัดการโลจิสติกส์ไว้ใน
หนังสือโลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน กลยุทธ์สำหรับลดต้นทุนและกำไรไว้ดังนี้
1. เป็นเครื่องมือสำคัญในการแข่งขันทางธุรกิจในยุคปัจจุบัน
2. สามารถลดต้นทุนและเพิ่มกำไรทางธุรกิจ
3. ก่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรขององค์กรธุรกิจอย่างประหยัด และเกิดประโยชน์สูงสุด
4. เพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการลูกค้า และทำให้ธุรกิจสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าทั้ง
ภายในและภายนอกองค์กร
5. สามารถลดต้นทุนให้กับงานที่เกี่ยวข้องกับฝ่ายอื่น ๆ ที่ต้นทุนสูง
6. ประสานงานให้เป็นไปตามนโยบายและเป้าหมายขององค์กร
7. ก่อให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการสื่อสารเนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
8. เป็นพื้นฐานในการเจริญเติบโตของธุรกิจ

Interactive Activity

การขนส่ง การขนส่ง

suppliers

การเคลื่อนย้ายภายใน
องค์กร
การติดต่อสื่อสารที่เชื่อมโยงภายในและภายนอกองค์กร

ภาพที่ 1.4 แสดงส่วนของการเชื่อมโยงโครงสร้างของโลจิสติกส์และซัพพลายเชนให้มีความสมบูรณ์

4. กิจกรรมในระบบโลจิสติกส์ (Logistics Activities)

กิ จ กรรมต่ า ง ๆ ในกระบวนการโลจิ ส ติ ก ส์ เป็ น กิ จ กรรมเพื่ อ อำนวยความสะดวกในการ


เคลื่อนย้ายสินค้าจากจุดกำเนิดไปยังจุดบริโภค ซึ่งเป็นกิจกรรมที่เพิ่มคุณค่าในกระบวนการธุรกิจ กิจกรรมต่าง
ๆ 13 กิจกรรม ประกอบด้วย
1. การบริการลูกค้า (Customer Service) เป็นกิจกรรมที่ตอบสนองความต้องการของ
ลูกค้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของการส่งมอบสินค้าให้ถูกต้องตามความต้องการ ทั้งจำนวน และตรงเวลา
2. การพยากรณ์อุปสงค์ (Demand Forecasting) เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับการคาดการณ์
อุปสงค์หรือความต้องการซื้อในสินค้าและบริการของลูกค้าล่วงหน้า จะช่วยให้องค์กรธุรกิจสามารถกำหนด
ทิศทางและจัดเตรียมปัจจัยในการดำเนินงานให้เหมาะสม
3. กระบวนการสั่งซื้อ (Order Processing) เป็นกิจกรรมที่เชื่อมโยงจากการพยากรณ์
อุปสงค์ และนำมาใช้ในการวางแผนการสั่งซื้อสินค้าต่าง ๆ ให้สามารถตอบสนองกระบวนการผลิตสินค้า
4. คลังสินค้า (Warehousing) เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับการกำหนดทำเลที่ตั้งของ
คลังสินค้า การจัดพื้นที่ในคลังสินค้า การจัดเก็บสินค้า วัสดุ อุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องใช้ที่จำเป็นในการดำเนิน
กิจกรรมในคลังสินค้า
5. การจัดการสินค้าคงคลัง (Inventory Management) เป็นกิจกรรมในการควบคุม
ปริมาณสินค้าที่จะเข้าและออกในคลังสินค้าให้มีปริมาณที่เหมาะสมที่จะรองรับความต้องการในด้านต่าง ๆ
6. การจัดซื้อ (Purchasing) เป็ น การจั ด การให้ อ งค์ ก รมี สิ น ค้ า คงคลั ง ในปริ ม าณ
ที่ เ หมาะสม ไม่ ม ากหรื อ น้ อ ยเกิ น ไปเพราะจะมี ผ ลกระทบต่ อ ต้ น ทุ น สิ น ค้ า
7. โลจิสติกส์ย้อนกลับ (Reverse Logistics) เป็นกระบวนการจัดการสินค้าที่ถูก
ส่งกลับคืน ไม่ว่าจะเป็นสินค้าที่เสียหาย หรือหมดอายุการใช้งาน เป็นต้ น
8. การขนส่ง (Transportation) เป็นกิจกรรมในการเคลื่อนย้ายวัตถุดิบ และสินค้าจาก
จุดเริ่มต้นไปยังจุดที่มีการบริโภคให้มีประสิทธิภาพ
9. การติดต่อสื่อสาร (Communication) เป็นกิจกรรมที่เชื่อมโยงธุรกิจแต่ละหน่วย
เข้าด้วยกันโดยการแลกเปลี่ยนข้อมูลที่สำคัญซึ่งจะนำไปใช้ในการตัดสินใจด้านต่าง ๆ
10. การบรรจุหีบห่อ (Packaging) การบรรจุหีบห่อ ถือเป็นสิ่งปกป้องตัวสินค้าไม่ให้ เกิดความ
เสียหายระหว่างการขนส่งและการจัดเก็บ อีกทั้งยังช่วยให้กระบวนการเคลื่อนย้าย และการเก็บรักษามีความสะดวกมาก
ขึ้น สามารถลดต้นทุนด้านการเคลื่อนย้ายได้ด้วยการออกแบบที่เหมาะสมกับคลังสินค้าและเครื่องมือการขนย้าย
11. การเคลื่ อ นย้ า ยวั ต ถุ ดิ บ และสิ น ค้ า ระหว่ า งผลิ ต (Material Handling) เป็ นกิ จกรรมที่
เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายวัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิต รวมถึงการขนย้ายสินค้าสำเร็จรูป
12. การเลือกที่ตงั้ โรงงานและคลังสินค้า (Plant and Warehouse Site Selection) กิจกรรม
ทางด้านนี้เป็นการตัดสินใจด้านกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งของโรงงานและคลังสินค้า ที่สามารถสนองตอบความต้องการ
ของลูกค้า
13. การสนับสนุนอะไหล่และการให้บริการ (Part and Service Support) เป็นกิจกรรม
ขององค์กรธุรกิจที่ต้องรับผิดชอบต่อลูกค้าในการให้บริการหลังการขาย โดยการจัดเตรียม จัดหาชิ้นส่วน อะไหล่ และ
เครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ สำหรับการให้บริการที่รวดเร็ว และเกิดประสิทธิภาพแก่ลูกค้า

ความสำคัญของโลจิสติกส์และซัพพลายเชนต่อระบบเศรษฐกิจ
การดำเนินธุรกิจการค้าระหว่างประเทศได้มีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง และเป็นผลให้มีการ
ขยายตัวของรายได้มวลรวมประชาชาติในประเทศ (GDP) ต่าง ๆ ตลอดหลายทศวรรษที่ผ่านมา โดยแนวโน้ม
เกิดจากความต้องการของประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่พัฒนาแล้วพยายามที่จะแสวงหาตลาดใหม่ ๆ
รวมทั้งการลดหรือขจัดอุปสรรคทางการค้า โดยผ่านหน่ วยงานหรือองค์กรที่สำคัญ กิจการต่าง ๆ ได้มีการ
ขยายหรือย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศที่มีศักยภาพเพื่อให้สามารถผลิตสินค้าได้ในต้นทุนที่ต่ำที่สุด
การขยายตัวทางการค้าของโลกแม้จะมีอุปสรรคทางการค้าระหว่างประเทศลดน้อยลง แต่ก็ทำ
ให้เกิดการแข่งขันกันขึ้นอย่างรุนแรง มีการพัฒนาและเกิดอุตสาหกรรมใหม่ ๆ หลายประเภททำให้เกิดการนำ
เทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตมากขึ้น และเพื่อรักษาความได้เปรียบด้านการแข่งขัน กิจการ
ต่าง ๆ จึงต้องหาวิธีการที่จะทำให้กิจการมีต้นทุนที่ต่ำกว่าคู่แข่งขัน ดังนั้นจำเป็น ต้องมีการจัดกิจกรรมและ
กระบวนการต่าง ๆ ตลอดโซ่อุปทานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
5. พัฒนาการของโลจิสติกส์

การพัฒนาของโลจิสติกส์ โลจิสติกส์ด้านการทหาร โลจิสติกส์เริ่มเป็นที่รู้จักในครั้งแรกสืบเนื่องมาจาก


สงครามโลกครั้งที่ 2 และสงครามอ่าวเปอร์เซีย ในความสามารถกระจายและจัดเก็บยุทธภัณฑ์และกำลังพล
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป็นกุญแจสำคัญในชัยชนะของกองทัพสหรัฐในสมัยนั้น

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้ประมวลการพัฒนาระบบโลจิสติกส์
จากการศึกษาวิเคราะห์ระดับการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศต่างๆ ได้ 4 ขั้นตอน ดังนี้

1. Physical Distribution เป็นการให้ความสำคัญเฉพาะด้านของการขนส่งสินค้าจากผู้ผลิต


ไปยังผู้บริโภค โดยอาจครอบคลุมกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การขนส่ง การเก็บสินค้า การจัดการวัสดุ และการ
บรรจุหีบห่อเพื่อป้องกันการสูญเสียระหว่างการขนส่ง การพัฒนาระดับนี้ยังไม่มุ่งเน้นการลดต้นทุนในส่วนที่
เป็นสินค้าคงคลังที่เป็นวัตถุดิบและสินค้าระหว่างการผลิต

2. Internally Integrated Logistics เป็นการพัฒนาที่รวมกิจกรรมโลจิสติกส์ที่เกิดขึน้ ก่อน


กระบวนการผลิต มีการเชื่อมโยงการจัดการภายในบริษัทตั้งแต่การจัดซื้อวัตถุดิบจนถึงการจัดส่งถึงผู้บริโภค
โดยมีจุดมุ่งหมายในการเปลี่ยนจากการลดสินค้าคงคลังเป็นเพิ่มความถี่ในการระบายสินค้า การพัฒ นาใน
ขั้นตอนนี้จะมีการใช้ IT/Software จัดการกิจกรรมทั้งระบบ

3. Externally Integrated Logistics เป็ นการพั ฒ นาที่มีการเชื่อมโยงใช้รูป แบบ (Mode)


การขนส่งทุกรูปแบบ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การมีจุดขนถ่ายสินค้าที่มีมาตรฐาน มีระบบ IT ที่สามารถ
เชื่อมโยงข้อมูลระหว่างบริษัท นอกจากนี้ยังมีการใช้ผู้ชำนาญการด้านโลจิสติกส์ที่เป็นผู้ให้บริการเฉพาะด้าน

4. Global Logistics Management เป็นการพั ฒ นาที่เกิดจากการตื่น ตัวของบริษัท ข้าม


ชาติที่กำลังเผชิญกับปัญหากำไรลดลงในประเทศที่ตนตั้งอยู่ จึงเริ่มหาแหล่งจัดซื้อที่ถูกกว่าในแหล่งวัตถุดิบทั่ว
โลก ด้านการขนส่ง การเชื่อมต่อการขนส่งระหว่างประเทศที่มีประสิทธิภาพ

การพัฒ นาโลจิสติกส์ในประเทศไทย โลจิสติกส์ได้เข้ามามีบ ทบาทและความสำคัญ ในภาครัฐและ


เอกชน ซึ่งรัฐบาลเริ่มเห็นความสำคัญในการพัฒนาโลจิสติกส์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการแข่งขันทางการค้า
ของประเทศ เนื่องจากเมื่อต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP ของไทย สูงถึงร้อยละ 25-30 ขณะที่ประเทศพัฒนาแล้ว
จะอยู่ระหว่างร้อยละ 7-11 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ จึงได้
เสนอยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศ โดยมีแนวทาง ด้านโครงสร้างพื้นฐานและกฎหมาย
การพัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูล ฐานข้อมูลโลจิสติกส์ และการพัฒนาบุคลากรโลจิสติกส์

สรุป
ในบทนี้ได้ทราบถึงความหมายและสาระสำคัญ รวมทั้งกิจกรรมต่าง ๆ ของโลจิสติกส์ และโซ่
อุปทาน ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้าย การจัดเก็บวัตถุดิบ สินค้า จากผู้ขายไปยัง ผู้บริโภค คนสุดท้าย
เพื่อสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าและให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจ โดยโลจิสติกส์และ
โซ่อุปทานจะเป็นประโยชน์ต่อทั้งองค์กรธุรกิจ และต่อระบบเศรษฐกิจ ทั้งนี้เพราะโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
เป็นเครื่องมือในการจัดการส่งเสริม สนับสนุ นกลยุทธ์ขององค์กร ให้ส ามารถดำเนินงานให้ เป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ และควบคุมต้นทุนให้เป็นไปตามเป้าหมายขององค์กร ซึ่งเป็ นเหตุผลทำให้องค์กรธุรกิจต่าง ๆ
หัน มาให้ ความสำคัญ ในการลงทุ นด้ านโลจิส ติก ส์และโซ่อุป ทานอย่างกว้างขวางในปั จจุบั น นอกจากนี้ยั ง
กล่าวถึงแนวโน้มของโลจิสติกส์ต่อระบบเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อการเจริญ เติบโตและพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน
เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในอนาคตต่อไป
ใบมอบหมายงานที่ 1
ชื่อวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน เวลา 3 ชั่วโมง
ชื่อเรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายของโลจิสติกส์และซัพพลายเชนได้
2. บอกอรรถประโยชน์ของโลจิสติกส์ได้
3. อธิบายประโยชน์ของการจัดการโลจิสติกส์ได้
4. จำแนกกิจกรรมต่าง ๆ ในระบบโลจิสติกส์ได้
5. อธิบายพัฒนาการของโลจิสติกส์ได้
แนวทางการปฏิบัติงาน
1. แบ่งนักศึกษาออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กัน ตามความสมัครใจ
2 มอบหมายงานตามลำดับกลุ่มให้สอดคล้องจุดประสงค์การเรียนรู้
3. ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มไปศึกษา ค้นคว้าหาข้อมูล และร่วมกันจัดทำเป็นบอร์ดวิชาการเผยแพร่
ความรู้และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4. ครู นักศึกษาเยี่ยมชมบอร์ดวิชาการ
5. ครูเสนอแนะเพิ่มเติมและบรรยายสรุป
กำหนดระยะเวลาที่ส่งงาน ภายหลังการนำเสนอ

การประเมินผล
1. พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
2. การนำเสนอ
3. ชิ้นงาน
4. การตอบข้อซักถาม
5. การตรงต่อเวลา
แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม
1. ก่อเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน. กรุงเทพฯ : บริษัท วังอักษร จำกัด, 2563
2. ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์. การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน. กรุงเทพฯ : บริษัท เอ็กซเปอร์เน็ท
จำกัด, 2554
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....1..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน...............เวลา.............10.................นาที

คำสั่ง จงทำเครื่องหมายกากบาท (x) ลงหน้าข้อที่ถูกต้อง

1. ความหมายของโลจิสติกส์ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการเป็นกิจกรรมสนับสนุน คือข้อใด

ก. การบริหารวัตถุดิบที่ต้องมีการเคลื่อนย้าย และที่พัก

ข. การบริหารจัดการเสบียงสำหรับโรงงาน กระบวนการผลิต และการกระจายสินค้าไปยังลูกค้า

ค. การจัดส่งสินค้าให้กับลูกค้าอย่างถูกต้องทั้งจำนวน สภาพ สถานที่ และต้องคำนึงถึงต้นทุน

ง. การจัดการ การบำรุงรักษากองกำลัง การเคลื่อนย้าย ขนถ่าย การให้สวัสดิการแก่บุคลากร

2. จุดมุ่งหมายสำคัญของการนำระบบการจัดการโลจิสติกส์มาใช้ คือข้อใด

ก. เพื่อให้เกิดความสมดุลในระบบต้นทุน

ข. เพื่อให้การดำเนินธุรกิจมีประสิทธิภาพ

ค. เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพในการดำเนินงาน

ง. เพื่อสร้างความสามารถด้านการแข่งขันที่เหนือคู่แข่งขัน

3. ศาสตร์ด้านการจัดการโลจิสติกส์ มีจุดเริ่มต้นกับองค์กร รูปแบบใด

ก. องค์กรทางการทหาร ข. องค์กรด้านการผลิต

ค. องค์กรด้านการค้า ง. องค์กรด้านการจัดจำหน่าย
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....2..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน...............เวลา.............10.................นาที

4. กิจกรรมที่ช่วยให้องค์กรธุรกิจสามารถกำหนดทิศทางและจัดเตรียมปัจจัยในการดำเนินงานให้เหมาะสมถูกต้อง
ไม่มีส่วนขาด และส่วนเกิน คือข้อใด

ก. การคลังสินค้า ข. การบริการลูกค้า

ค. การพยากรณ์อุปสงค์ ง. กระบวนการสั่งซื้อทีด่ ี

5. การจัดการโลจิสติกส์ที่ดีต้องบรรลุเป้าหมายในข้อใด

ก. เพิ่มยอดขายให้ได้มากที่สุด ข. มีจำนวนลูกค้ามากกว่าคู่แข่งขัน

ค. มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น ง. สามารถควบคุมต้นทุนได้

6. หัวใจสำคัญของโลจิสติกส์ คืออะไร

ก. คน ข. เงิน

ค. ระบบ ง. เครื่องจักร

7. ในขอบเขตของการจัดการโลจิสติกส์ ซึ่งเป็นการจัดการภายในองค์กร กิจกรรมที่เป็นจุดเริ่มต้นขององค์กรคือข้อ


ใด

ก. การผลิต ข. การจัดซื้อ

ค. การจัดจำหน่าย ง. ผู้ขายปัจจัยการผลิต
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....3..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผูเ้ รียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน...............เวลา.............10.................นาที

8. ความหมายของ “ซัพพลายเชน” ตรงกับข้อใด

ก. การไหลของวัตถุดิบ ข้อมูล ระหว่างผู้ผลิต โรงงานประกอบและศูนย์กระจายสินค้า

ข. ขบวนการในการวางแผนดำเนินงานตั้งแต่การจัดซื้อ จัดส่ง เคลื่อนย้าย คลังสินค้าจนถึงตลาด

ค. เป็นการควบคุมประสิทธิภาพในการไหลเวียนของสินค้า บริหารต้นทุน การขนส่ง ตั้งแต่จุดเริ่มต้น ไป


จนถึงจุดที่มีการใช้งาน

ง. การบริหารความเปลี่ยนแปลงจากผลกระทบทางเศรษฐกิจในองค์กร

9. ในการประกอบการธุรกิจ ผู้ประกอบการควรให้ความสำคัญกับสิ่งใดมากที่สุด

ก. ต้นทุน ข. เวลา

ค. การขนส่ง ง. คลังสินค้า

10. กิจกรรมด้านโลจิสติกส์ข้อใดที่เป็นการจัดการกับกระบวนการสินค้าส่งกลับคืน

ก. การบริการลูกค้า ข. โลจิสติกส์ย้อนกลับ

ค. การจัดซื้อ และจัดหา ง. การจัดการคลังสินค้า

เฉลย
1. ข 2.ง 3.ก 4. ค 5. ง 6.ค 7. ข 8. ก 9. ก 10. ข
แบบประเมินผลพฤติกรรมรายบุคคล
ใบงานที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
กลุม่ ที่ ...................

ที่ คะแนน การรับฟัง การเสนอ การยอมรับ การสร้าง รวม ระดับการ


ความคิด ความคิด คนอื่น บรรยากาศ คะแนน มี
เห็น เห็น ในกลุ่ม ส่วนรวม
ชื่อสกุล 5 5 5 5 20
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ระดับของคะแนน
5 = มากที่สุด 4 = ค่อนข้างมาก
3 = ปานกลาง 2 = ค่อนข้างอ่อน
1 = น้อยที่สุด
เกณฑ์การประเมิน 15-20 = มาก
8-14 = ปานกลาง
1-7 = น้อย

ลงชือ่ ...........................................ผู้ประเมิน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
คะแนน การนำเสนอผลงาน การบันทึกผลงาน รวม
ขั้นนำ ขั้นสอน ขั้นสรุป ถูกต้อง เรียบร้อย คะแนน ระดับคุณภาพ
กลุ่มที่ ของผลงาน
10 10 10 10 10 50
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ระดับของคะแนน 8 - 10 = ดีมาก 7 - 8 = ดี
5 – 6 = พอใช้ 0 – 4 = ควรปรับปรุง
เกณฑ์การประเมิน 35 - 50 = ดี
17 - 34 = ปานกลาง
1 - 16 = ควรปรับปรุง

ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
แบบประเมินพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม จริยธรรม
วันที่......เดือน....................พ.ศ. ....................
ชื่อ...............................................นามสกุล.......................................ระดับชั้น.................เลขที่........
แผนก..................................................................คณะ......................................................................

ลำดับ พฤติกรรมที่ประเมิน ระดับคะแนน หมายเหตุ


3 2 1 ความหมายของระดับคะแนน
1 ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และงานที่ได้รับ 3= ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอโดยไม่
มอบหมาย ต้องมีการชี้นำหรือตักเตือน
2 กล้าคิด กล้าทำ และกล้าตัดสินใจด้วยเหตุผล 2= ปฏิบัติบ้างในบางครั้ง
3 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนๆ จากการเชิญชวนหรือชี้นำ
4 เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เสียสละเพื่อส่วนรวม 1= ต้องสั่งบังคับว่ากล่าวหรือ
5 มีวินัยซื่อสัตย์และประหยัด ตักเตือนจึงจะปฏิบัติ หรือมักจะ
6 รู้จักการให้โอกาส ให้อภัย ปฏิบัติในทางที่ผิดเสมอ
7 การยอมรับการปฏิบัติต่อมติของกลุ่ม
8 ไม่เอาเปรียบเพื่อนผู้เรียนด้วยกัน เกณฑ์การประเมิน
9 แสดงกิริยาวาจาสุภาพต่อทุกคน 26-30 คะแนน= ดีมาก
10 แสดงความมีน้ำใจต่อครู/อาจารย์ 21-25 คะแนน= ดี
รวม (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) 16-20 คะแนน= พอใช้
0-15 คะแนน= ควรปรับปรุง
บันทึก
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
........................

ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
การวิเคราะห์หัวข้อการสอนและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ทฤษฎี.....3.......ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ............-.....ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน…3…หน่วยกิต
ISL PSL
หน่วยที/่ ชื่อหน่วย รายการความรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
R A T I C A
2. บทบาทและการ 1. บทบาทโลจิสติกส์และซัพพลายเชนต่อระบบ 1. บอกบทบาทโลจิสติกส์และซัพพลายเชนต่อระบบ /
วางแผนระบบโลจิสติกส์ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจได้
และซัพพลายเชน
2. บทบาทของโลจิสติกส์และซัพพลายเชนต่อ 2. บอกบทบาทของโลจิสติกส์และซัพพลายเชนต่อองค์กรได้
องค์กร
3. การวางแผนในระบบโลจิสติกส์และซัพพลาย 3. อธิบายการวางแผนในระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนได้ /
เชน
4. ลักษณะพื้นฐานการจัดการซัพพลายเชนเชิง 4. อธิบายลักษณะพื้นฐานการจัดการซัพพลายเชนเชิงบูรณา /
บูรณาการ การได้
5. การพัฒนาของระบบโลจิสติกส์และซัพพลาย 5. อธิบายการพัฒนาของระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนได้ /
เชน
หมายเหตุ ISL= ระดับความรู้ความสามารถทางสติปัญญา (Intellectual skill Level) PSL=ระดับความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อทำงาน(Physical skill Level)
R:การฟื้นความรู้ (Recalled Knowledge) I : ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed)
A:การประยุกต์ความรู้ (Applied Knowledge) C : ทำได้ด้วยความถูกต้อง (Control is needed)
T:การส่งถ่ายความรู้ (Transferred Knowledge) A : ทำด้วยความชำนาญ (Automation is needed)
กรอบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
หน่วยที่ 2 เรื่อง บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

พอประมาณ
1. ผู้เรียนจัดสรรเวลาในการฝึกปฏิบัติตาม
ใบงานได้อย่างเหมาะสม
2. ผู้เรียนรู้จักใช้และจัดการวัสดุอุปกรณ์
ต่าง ๆ อย่างประหยัดและคุ้มค่า
3. ผู้เรียนปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4. ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มเพื่อน
มีภูมิคุ้มกันที่ดี

ความมีเหตุผล 1. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและการ
ปฏิบัติงาน
1. กล้าแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
2. กล้าซักถามปัญหาหรือข้อสงสัยต่าง ๆ อย่างถูก
2. กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ
กาลเทศะ
3. กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4. ไม่มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น 3. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเองอย่างเป็น
เหตุเป็นผล

4. ควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
ความรู้ + ทักษะ คุณธรรม
1. ใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า 1. ปฏิบัติงานที5.ควบคุ มกิริยาอาการในสถานการณ์
่ได้รับมอบหมายเสร็ จตามกำหนด ต่าง ๆ ได้
2. ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์
เป็นออย่
ย่าางคุงดี้มค่า ประหยัด
3. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ 3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและ
พอเพียง การปฏิบัติงาน
4. ให้ความร่วมมือกับการทำกิจกรรมของส่วนรวม อาสา
ช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น
สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม
สังคม ชุมชนมีคุณภาพชีวิต สภาพเศรษฐกิจมีความ มีการปลูกฝังกิจนิสัยการ ใช้สิ่งของอย่างรู้คุณค่า
ที่ดีขึ้น คล่องตัว มีรายได้และมี ประหยัด อดออม ใช้วัสดุธรรมชาติ ไม่ทำลาย
การใช้จ่ายในระบบเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม
แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 2 ชื่อหน่วย บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จำนวน...6….ชั่วโมง

หัวข้อเรื่อง
1. บทบาทโลจิสติกส์และซัพพลายเชนต่อระบบเศรษฐกิจ
2. บทบาทของโลจิสติกส์และซัพพลายเชนต่อองค์กร
3. การวางแผนในระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
4. ลักษณะพื้นฐานการจัดการซัพพลายเชนเชิงบูรณาการ
5. การพัฒนาของระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

สาระสำคัญ
ในปัจจุบันผู้ประกอบการให้ความสนใจกับการจัดการระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนมาก เนื่องจากเป็น
ระบบสนับสนุนในอุตสาหกรรมการผลิต ค้าปลีก และ บริการ โดยเป็นกระบวนการที่เชื่อมโยงระหว่างส่วนต่างๆ
ภายในองค์กรและระหว่างองค์กรเข้าด้วยกัน หากปราศจากระบบโลจิสติก ส์และซัพพลายเชนแล้ว องค์กรก็ไม่
สามารถจะดำเนินอยู่ได้ โลจิสติกส์ จึงเป็นปัจจั ยที่มีความสำคัญ ต่อการสนองตอบความต้องการของลูกค้า และ
คุณค่าของสินค้าหรือบริการ ส่งผลต่อระดับความพึงพอใจของลูกค้า และยังมีผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถใน
การแข่งขัน ยอดขาย หรือส่วนแบ่งในตลาด และผลกำไร (Profit) แก่องค์กร และสิ่งสำคัญ อีกประการหนึ่งคือ
ส่งผลต่อการประหยัดต้นทุนค่าใช้จ่ายขององค์กรเนื่องจากต้นทุนทางการจั ดการโลจิสติกส์ขององค์กรถือว่าเป็น
ต้นทุนที่มีความสำคัญต่อองค์กรมาก

จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจแสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและกระบวนการโลจิสติกส์และซัพ
พลายเชน
2. เพื่อให้มีกิจนิสัย ในการทางานที่ดี ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ รับผิดชอบ มีวินัย
ตรงตามเวลา และตระหนักถึงความปลอดภัยในการทำงาน
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. บอกบทบาทโลจิสติกส์และซัพพลายเชนต่อระบบเศรษฐกิจได้
2. บอกบทบาทของโลจิสติกส์และซัพพลายเชนต่อองค์กรได้
3. อธิบายการวางแผนในระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนได้
4. อธิบายลักษณะพื้นฐานการจัดการซัพพลายเชนเชิงบูรณาการได้
5. อธิบายการพัฒนาของระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนได้

กิจกรรมการการจัดการเรียนรู้

เวลา (X นาที) 60 120 180


หมายเลขวัตถุประสงค์ 1,2,3,4,5
ขั้นสนใจปัญหา(.....10.... นาที)
บรรยาย
ขั้นให้ข้อมูล
ถามตอบ
(..120 นาที)
สาธิต
ขั้นพยายาม (........30....นาที)
ขั้นสำเร็จผล (.........20...นาที)
กระดานดำ
Power point
แผ่นใส
ของจริง
อุปกรณ์ช่วยสอน ใบเนื้อหา
ใบงาน
เฉลยใบงาน
ใบสั่งงาน
ใบประเมินผล
Pre test (10 นาที)
Post test (10นาที)
ใบทดสอบ ก่อนเรียน หลังเรียน

ใบเนื้อหาที่ 2 สื่อ Power point ชุดที่ 2 ใบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน หน่วยที่ 2


กิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู กิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน
1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ขั้นสนใจปัญหา (10 นาที
และทดสอบ 10 นาที) ผู้เรียนร่วมคิดและตอบคำถามและทำแบบทดสอบ
ครู ผู้ ส อนนำเข้ า สู่ บ ทเรี ย น เล่ า ถึ ง การจั ด การ ก่อนเรียน
โลจิสติกส์และซัพพลายเชนที่มีประสิทธิภาพจะช่วย
สนับ สนุน ความพยายามทางการตลาดในของธุรกิ จ
และให้ผู้เรียนยกตัวอย่างแนวคิดการตลาดเกี่ยวกั บ
เรื่องนี้ คือ ปรัชญาการจัดการที่ก่อให้เกิดประสิทธิผล
ในการสร้างความพึงพอใจให้ลูกค้า
2. ขั้นสอน (120 นาที)
สอนโดยการบรรยาย เกี่ยวกับ กลยุทธ์บ ทบาท ผู้เรียนฟั ง การบรรยาย และศึก ษาเอกสารประกอบ
โลจิ ส ติ ก ส์ แ ละซั พ พลายเชนต่ อ ระบบเศรษฐกิ จ การเรี ย นตาม และร่ ว มตอบคำถามถึ ง กลยุ ท ธ์
บทบาทของโลจิ สติ ก ส์ แ ละซัพ พลายเชนต่ อองค์ ก ร บทบาทโลจิ ส ติ ก ส์ แ ละซั พ พลายเชนต่ อ ระบบ
การวางแผนในระบบโลจิ ส ติ ก ส์ แ ละซั พ พลายเชน เศรษฐกิจ บทบาทของโลจิสติกส์และซัพพลายเชนต่อ
ลักษณะพื้นฐานการจัดการโซ่อุปทานเชิงบูรณาการ องค์กร การวางแผนในระบบโลจิสติกส์และซัพพลาย
การพัฒนาของระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน เชน และแนวโน้ มของอุป สงค์ในซั พพลายเชน การ
วางแผนในระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ลักษณะ
พื้ นฐานการจัด การซัพ พลายเชนเชิง บู รณาการการ
พัฒนาของระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

3. ขั้นพยายาม (60 นาที) แบ่งกลุม่ ผู้เรียนเป็นกลุ่มให้แต่ละกลุ่มสรุปสาระสำคัญ


ครูผู้สอนผู้เรียนมีส่วนร่วม (แต่ละกลุ่มส่ง ตัวแทน ของแต่เรื่องตามจุดประสงค์ ผู้เรียน ศึกษาแล้วแบ่ง
กลุ่ม ) วิ เคราะห์ เกี่ ย วกั บ กรณี ศึ ก ษาของ 7-eleven หน้าที่รับผิดชอบในการร่วมปฏิบัติกิจกรรมร่วมกัน
และมอบหมายให้ผู้เรียนนำกรณีศึกษามานำเสนอใน
ชั้นเรียน
4. ขั้นสรุป (30 นาที และทดสอบ 10 นาที)
และผู้สอนสรุปแต่ละเรื่องให้ผู้เรียนฟังจนเข้าใจ แต่ ล ะกลุ่ ม ส่ ง ตั ว แทนออกมาสรุป เพื่ อ นฟั ง หน้ า ชั้ น
มอบหมายให้ผู้เรียนกลับไปศึกษาเนื้อหาเรื่องการ เรียน
บริการลูกค้า
สื่อสารเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้
สื่อสิ่งพิมพ์
1. ใบเนื้อหา
2. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
3. ใบมอบหมายงาน
4. หนังสือโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ของ อาจารย์ก่อเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา
5. หนังสือโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ของ อาจารย์ไตรเลิศ ครุฑเวโชและมนัสชัย กีรติผจญ
แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
1. แหล่งข้อมูลจากระบบสารสนเทศ Internet
2. เว็บไซต์ https://www.youtube.com/watch?v=UDmAC-6Tebs
3. เว็บไซต์ https://www.scribd.com/doc/289633892/

สื่อโสตทัศน์ (ถ้ามี)
1. ใช้สื่อ Power point

การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กับวิชาอื่น
1. บูรณาการกับวิชาหลักการจัดการ
2. บูรณาการกับวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ
3. บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านความขยันหมั่นเพียร ประหยัด อดออม

การวัดและประเมินผล
การประเมินผล
ก่อนเรียน
1. แบบทดสอบก่อนเรียน
ขณะเรียน
1. แบบประเมินพฤติกรรมรายกลุ่ม
2. แบบสังเกตพฤติกรรม
3. แบบประเมิน คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะพึงประสงค์
หลังเรียน
2. แบบทดสอบหลังเรียน
เกณฑ์ในการวัดและประเมินผล
การวัด (ใช้เครื่องมือ) การประเมินผล (นำผลเทียบกับเกณฑ์และแปล
ความหมาย)
1. แบบทดสอบก่อนเรียน (ไว้เปรียบเทียบกับคะแนนสอบหลังเรียน)
2. แบบสังเกตการทำงานกลุ่มและการ เกณฑ์ผ่าน 60 %
นำเสนอผลงานกลุ่ม
3. แบบฝึกหัดในหน่วย เกณฑ์ผ่าน 50 %
4. แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน 50 %
5. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม เกณฑ์ผ่าน 60 %
ตามสภาพจริง

บันทึกหลังสอน
1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

2. ผลการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

3. แนวทางการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
แบบฝึกหัดบทที่ 2 บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จงเติมคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. บทบาทของโลจิสติกส์ด้านการตลาดที่สำคัญมุ่งเน้นเรื่องใดบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
2. บทบาทของโลจิสติกส์กับทรัพย์สินทางปัญญา ใช้หลักการใดในการพิจารณา
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
3. กิจกรรมโลจิสติกส์ เกี่ยวข้องกับเรื่องใดบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
4. การจัดการระบบโลจิสติกส์จะส่งผลต่อสินค้าหรือบริการอย่างไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
5. ระบบโลจิสติกส์ หมายถึงอะไร
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
6. Supply Chain คืออะไร
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
7. การตรวจประเมินภายในองค์กร (Internal Audit) หมายถึงอะไร
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
8. จงอธิบายการวางแผนกลยุทธ์ทางโลจิสติกส์ (logistics Strategy) มาให้เข้าใจ
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
9. การเลือกสถานที่ตั้งคลังสินค้าควรมีหลักการอย่างไรบ้าง จงยกตัวอย่างประกอบมา 2 ข้อ
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
10. การจัดซื้อ (Procurement) หมายถึงอะไร
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 2 บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จงเติมคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. บทบาทของโลจิสติกส์ด้านการตลาดที่สำคัญมุ่งเน้นเรื่องใดบ้าง
ตอบ 1. ความพอใจของลูกค้า 2. การบูรณาการ 3. กำไรของกิจการ
2. บทบาทของโลจิสติกส์กับทรัพย์สินทางปัญญา ใช้หลักการใดในการพิจารณา
ตอบ ใช้หลักการของงบดุลควรบันทึกเป็นทรัพย์สินทางปัญญา เช่น สิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ และ
เครื่องหมายการค้า
3. กิจกรรมโลจิสติกส์ เกี่ยวข้องกับเรื่องใดบ้าง
ตอบ เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บและเคลื่อนย้ายสินค้าจากจุดกำเนิดจนถึงจุดการบริโภค
ตามความประสงค์ของมนุษย์
4. การจัดการระบบโลจิสติกส์จะส่งผลต่อสินค้าหรือบริการอย่างไรบ้าง
ตอบ 1. คุณค่าทางเวลา (Time Value) 2. ผลประกอบการ (Performance) หรือผลกำไร (Profit)
5. ระบบโลจิสติกส์ หมายถึงอะไร
ตอบ ระบบโลจิสติกส์ หมายถึง การจัดการกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการไหลของสินค้าตั้งแต่
จุดเริ่มต้นจนถึงจุดสุดท้ายของโซ่อุปทานโดยมีจุดประสงค์จัดส่งสินค้าให้ถึงมือลูกค้าตรงตามความต้องการใน
ด้านสถานที่เวลา และจำนวนที่ถูกต้องอย่างมีประสิทธิภาพ
6. Supply Chain คืออะไร
ตอบ คือ ห่วงโซ่ที่เชื่อมโยงระหว่างองค์กรกับองค์กรอื่นที่เกี่ยวกับข้องกับการไหลเวียนของสินค้า
ตั้งแต่เป็นวัตถุดิบจากจุดเริ่มต้นคือผู้ขายวัตถุดิบ จนถึงจุดสุดท้ายที่มีการปล่อยวางสินค้าคือลูกค้า
7. การตรวจประเมินภายในองค์กร (Internal Audit) หมายถึงอะไร
ตอบ การตรวจประเมินระบบการปฏิบัตงานที่เกี่ยวข้องกับโลจิสติกส์ ที่มีอยู่ภายในองค์กรเพื่อ
วิเคราะห์หาจุดบกพร่องหรือจุดที่ต้องการพัฒนาปรับปรุงในองค์กร
8. จงอธิบายการวางแผนกลยุทธ์ทางโลจิสติกส์ (logistics Strategy) มาให้เข้าใจ
ตอบ การวางแผนกลยุทธ์ทางโลจิสติกส์ คือการออกแบบระบบโลจิสติกส์ โดยแผนนั้นจะต้อง
เหมาะสมและสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ขององค์กร โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อลดต้นทุน ค่าใช้จ่าย และพัฒนา
ระดับความพึงพอใจของลูกค้า
9. การเลือกสถานที่ตั้งคลังสินค้าควรมีหลักการอย่างไรบ้าง จงยกตัวอย่างประกอบมา 2 ข้อ
ตอบ 1. ตรวจสอบแผนกลยุทธ์ทางโลจิสติกส์และแผนงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2. ตรวจสอบระบบโลจิสติกส์ที่มีอยู่
10. การจัดซื้อ (Procurement) หมายถึงอะไร
ตอบ การจัดซื้อ (Procurement) หมายถึง กระบวนการที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดหาวัตถุดิบ
ต่างๆ ตามความต้องการของหน่วยงานต่างๆ ขององค์กร และเป็นกระบวนการที่เชื่อมโยงระหว่างองค์กรต่างๆ
ในห่วงโซ่อุปทาน และทำหน้าที่ประสานงานในด้านการไหลของข้อมูลระหว่างองค์กรและผู้ขายวัตถุดิบ
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....1..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 2 ชื่อหน่วย บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน...............เวลา.............10.................นาที

คำสั่ง จงทำเครื่องหมายกากบาท (x) ลงหน้าข้อที่ถูกต้อง

1. ข้อใดถือเป็นบทบาทในการสนับสนุนการตลาดคือการสร้างความพอใจของลูกค้า

ก. เวลาและสถานที ข. ความต้องการซื้อ

ค. ต้นทุนของสินค้า ง. ราคาของสินค้า

2. ข้อใดเป็นกิจกรรมการตลาดที่ควรจะมีการบูรณาการ

ก. การขนส่ง ข. 4P’s

ค. ต้นทุน ง. การกระจายสินค้า

3. CRM เน้นการบริหารด้านใด

ก. สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า ข. สร้างความเชื่อมั่นในองค์กร

ค. สร้างตราสินค้า ง. สร้างระบบโลจิสติกส์

4. ข้อใดไม่ใช่คุณค่าทางเวลา (Time value)

ก. สินค้าส่งตามความต้องการของลูกค้า ข. สินค้าส่งตามเวลากำหนด

ค. สินค้าส่งในสถานที่ที่ลูกค้าต้องการ ง. สินค้าส่งผลให้กิจการมีกำไร
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....2..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 2 ชื่อหน่วย บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน................เวลา.............10.................นาที

5. ข้อใดคือปัญหาของการนำระบบโลจิสติกส์มาใช้กับธุรกิจในประเทศไทย

ก. ขาดเครือข่ายทางธุรกิจ ข. การสนับสนุนของรัฐมีความล่าช้า

ค. ขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ด้านโลจิสติกส์ ง. ถูกทุกข้อ

6. ข้อใดคือวัตถุประสงค์พื้นฐานของการจัดการโซ่อุปทาน

ก. สร้างความร่วมมือกับผู้จัดจำหน่าย ข. เพิ่มความสามารถในการทำกำไร

ค. ประมวลคำสั่งซื้อของลูกค้าได้ถูกต้อง ง. ถูกทุกข้อ

7. ข้อใดคือปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงในการบริหารโลจิสติกส์

ก. ผูข้ ายปัจจัยการผลิต ข. ผู้ผลิต

ค. ลูกค้า ง. ผู้จัดจำหน่าย

8. ข้อใดคือการนำสินค้าหรือบริการส่งให้ลูกค้าตรงตามเวลา

ก. Time value ข. Place value

ค. Sales ง. Competitive
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....2..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 2 ชื่อหน่วย บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน................เวลา.............10.................นาที

9. ผลการประกอบการ สามารถพิจารณาได้จากข้อใด

ก. Cost ข. Profit

ค. Customer ง. Business

10. ข้อใดเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการตัดสินใจทางธุรกิจ

ก. Call Center ข. E-mail

ค. Fax ง. ถูกทุกข้อ

เฉลย
1. ก 2.ข 3.ก 4. ข 5. ค 6. ง 7. ก 8. ก 9. ข 10. ง
ใบเนื้อหา/ใบความรู้
หน่วยที่...2..เรื่อง บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

1. บทบาทโลจิสติกส์และซัพพลายเชนต่อระบบเศรษฐกิจ ในปัจจุบันประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลง
ตามสภาวะเศรษฐกิ จ การเมื อ ง สั ง คม นโยบาย และเทคโนโลยี ส่ ง ผลให้ ทั้ ง ภาครัฐ ภาคเอกชน และ
ผู้ประกอบการธุรกิจต้องปรับตัวพัฒนาระบบรูปแบบในการดำเนินงานและการดำเนินธุรกิจ เพื่อให้สามารถ
แข่งขันกับภาคธุรกิจที่สำคัญ ได้ในระดับโลก ซึ่งปัจจุบันมีการแข่งขันในระดับที่สูง ทุกหน่วยงานจะต้องมีการ
ตื่นตัวและค้นหาแนวทางในการที่จะปรับกิจกรรมต่างๆ ที่มีอยู่ให้เป็นระบบมากขึ้น เช่น การจัดซื้อ การผลิต
การตลาด การวิจัยและพัฒนา การนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน ซึ่งสามารถตอบสนอง
ความต้องการของลูกค้าได้มากกว่าคู่แข่งขัน ดังนั้น หน่วยงานของภาครัฐที่รับผิดชอบในการส่งเสริมสนับสนุน
และพั ฒ นาภาคธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรม จึ ง ต้ อ งมี ก ารปรั บ ตั ว เพื่ อ ช่ ว ยให้ ธุ ร กิ จ สามารถดำเนิ น ไปได้ อ ย่ า งมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล แนวคิดด้านการจัดการโลจิสติกส์ และห่วงโซ่อุปทาน เป็นแนวคิดที่ช่วยในการ
ส่งเสริมอุตสาหกรรมด้านการนำเข้าและส่งออก การกระจายสินค้าของประเทศไทยและต่างประเทศได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ สะดวกรวดเร็ว จึง จำเป็นต้องปรับกระบวนการดำเนินงาน โดยพัฒนาองค์ความรู้ กระบวนการ
เรียนรู้ การกระจายความรู้ และการใช้ประโยชน์จากความรู้ทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ การวิจัยและ
พัฒนาเพื่ อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์ในการนไปพัฒนาระบบการดำเนินงาน ซึ่งจะส่งผลดีต่อ
การพัฒนาภาคอุตสาหกรรม ภาคการผลิต ให้มีการเจริญเติบโตรวมไปถึงการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศด้วย
ปัจจุบันต้นทุนของโลจิสติกส์ของประเทศไทยยังอยู่ในระดับสูง เมื่อเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้ว ซึ่ง
รัฐบาลได้ให้ความสำคัญเรื่องโลจิสติกส์มากขึ้น และพยายามที่จะตั้งเป้าหมายให้ต้นทุน โลจิสติกส์ลดลงต่ำลง
ในขณะที่ภาคธุรกิจมีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในการแข่งขันเป็นไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งส่งผลกระทบต่อ
การจัดการโลจิสติกส์ขององค์กรเอง ตั้งแต่การสร้างความได้เปรียบ 2 ด้าน คือ ความสามารถตอบสนองความ
ต้องการของลูกค้า และการลดต้นทุนขององค์กรซึ่งเป็นเรื่ องที่ต้องปฏิบัติคู่ขนานกันไป เพราะบางครั้งแม้จะ
เสนอสินค้าในราคาถูกให้ลูกค้าแล้ว แต่ลูกค้าสามารถเรียกร้องให้ลดราคาลงได้อีก ทำให้องค์กรต้องปรับปรุง
การทำงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดต้นทุนลงเรื่อยๆ นอกจากนี้อำนาจการต่อรองในช่องทางการจัดจำหน่าย ใน
ปัจจุบันนี้ธุรกิจที่ได้เปรียบมากที่สุดคือธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่ ซึ่งระบบบริหารจัดการ ขึ้นอยู่กับผู้บ ริหาร
สูงสุด และลูกค้า ซึ่งต้องมีการควบคุมมากขึ้น สินค้าและบริการมีวงจรชีวิตที่สั้นลง ความต้องการไม่ แน่นอน
มากขึ้น ทำให้การพยากรณ์ไม่ตอบสนองความต้องการได้
2. บทบาทของโลจิสติกส์และซัพพลายเชนต่อองค์กร ผู้บริหารควรมีแนวความคิดในการนำเอากล
ยุ ท ธ์ แผนงาน การจั ด ส่ ง สิ น ค้ า ที่ มี คุ ณ ภาพและบริ ก ารที่ เชื่ อ ถื อ ได้ ไ ปปฏิ บั ติ ใ นแนวทางที่ ถู ก ต้ อ งตาม
กระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับโลจิสติกส์ต่อระบบเศรษฐกิจ โลจิสติกส์เป็นการเพิ่มอรรถประโยชน์ (Utility) 4
ประเภท ได้ แ ก่ ด้ านเวลา (Time) ด้ า นสถานที่ (Place) ด้ า นรู ป ร่ าง (Form) และด้ า นความเป็ น เจ้ า ของ
(Possession) โดยให้มีการนำสินค้าที่ลูกค้าต้อ งการเพื่อบริโภคหรือเพื่อการผลิตไปยังสถานที่ที่ต้องการ ใน
เวลาที่ต้องการ ในรูปร่างที่ต้องการ และต้นทุนที่ต้องการ

3. การวางแผนในระบบโลจิสติกส์ และซัพพลายเชน เป็นการเชื่อมโยงระหว่างกิจกรรมตั้งแต่การ


จัดหาวัตถุดิบ (Raw Material) สินค้า (Goods) และบริการ (Services) การเคลื่อนย้ายจากต้นทาง (Source
of Origin) ไปยังผู้บริโภคปลายทาง (Final Destination) ได้ทัน เวลา (Just in Time) และมีป ระสิทธิภ าพ
โดยมีการสร้างระบบเครือข่าย การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ และการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่
ทันสมัย เพื่อช่วยในการบริหารจัดการ
ซึ่งการเคลื่อนย้ายสินค้าของโลจิสติกส์ครอบคลุมถึงการขนส่งสินค้า (Cargoes Carriage) การเก็บ
รักษาสินค้า (Warehousing) และการกระจายสินค้า (Cargoes Distribution) การจัดซื้อ (Procurement)
และการคาดคะเนทางการตลาด (Market Predict) โดยมีวัตถุประสงค์ คือ
1. ความรวดเร็วในการส่งมอบสินค้า (Speed Delivery)
2. การไหลลื่นของสินค้า (Physical Flow)
3. การไหลลื่นของข้อมูลข่าวสาร (Information Flow)
4. การสร้างมูลค่าเพิ่ม (Value Added)
5. การลดต้ น ทุ น การดำเนิ น การเกี่ ย วกั บ สิ น ค้ า การดู แ ลและขนส่ ง สิ น ค้ า (Cargo Handling &
Carriage Cost
4 . ลักษณะพื้นฐานการจัดการซัพพลายเชนเชิงบูรณาการ
การจัดการซัพพลายเชนเป็นการบูรณาการทำงานของกิจกรรมต่างๆ ที่สำคัญ ในซัพพลายเชนเข้า
ด้วยกัน ตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบโดยผ่านกระบวนการต่างๆ จนถึงผู้บริโภคคนสุดท้ายการดำเนินงานเพื่อบูรณา
การโซ่อุปทานจำเป็นต้องอาศัยการไหลของข้อมูลข่าวสารซึ่งจะช่วยให้เกิดการพัฒนาการไหลของสินค้าที่ดี
ตามไปด้ ว ย ซึ่ ง ถื อ ว่ า ลู ก ค้ า เป็ น ผู้ ที่ มี ค วามสำคั ญ ที่ สุ ด โดยข้ อ มู ล จะเริ่ ม ต้ น จากลู ก ค้ า จะต้ อ งได้ รั บ การ
ประมวลผลอย่างรวดเร็วและถูกต้อง ในขณะเดียวกันก็ต้องให้ความสำคัญของผู้จัดจำหน่าย เนื่องจากธุรกิจอยู่
ในตลาดที่ความต้องการสินค้าไม่แน่นอน ซึ่งความสามารถในการปรับตัวด้านการผลิตและความสามารถในการ
ทำงานร่วมกับผู้จัดจำหน่ ายถือเป็น จุดสำคัญ ต่อการจัดการซั พพลายเชนได้อย่างมีป ระสิท ธิภ าพ ซึ่ง มีการ
วิเคราะห์เพื่อพัฒนาการจัดการซัพพลายเชนเชิงบูรณาการดังนี้
1. การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relationship Management : CRM)
2. การให้บริการลูกค้า (Customer Service Management : CSM)
3. การจัดการอุปสงค์ (Demand Management)
4. การจัดการคำสั่งซื้อ (Order Fulfillment)
5. การไหลของการผลิต (Manufacturing Flow Management)
6. การจัดหา (Procurement)
4. บทบาทของโลจิสติกส์ต่อองค์กรต่างๆ การที่องค์กรจะนำโลจิสติกส์มาใช้ในการปฏิบัติเพื่อให้
องค์กรดำเนินไปอย่างมีระบบ และสนับสนุนด้านการตลาดให้เกิดประสิทธิภาพ ซึ่งจุดมุ่งหมายที่สำคัญ ของ
องค์กรขึ้นอยู่กับการประเมินความจำเป็น (Need) และความต้องการ (Want) ของตลาดเป้าหมาย และส่งผล
กระทบต่อความพึงพอใจให้กับองค์กรและลูกค้า
5. การพัฒนาของระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน โลจิสติกส์ด้านการทหาร โลจิสติกส์เริ่มเป็นที่รู้จัก
ในครั้งแรกสืบเนื่องมาจากสงครามโลกครั้งที่ 2 และสงครามอ่าวเปอร์เซีย ในความสามารถกระจายและ
จัดเก็บยุทธภัณฑ์และกำลังพลอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป็นกุญแจสำคัญในชัยชนะของกองทัพ
สหรัฐในสมัยนั้น

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้ประมวลการพัฒนาระบบโลจิสติกส์
จากการศึกษาวิเคราะห์ระดับการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศต่างๆ ได้ 4 ขั้นตอน ดังนี้

1. Physical Distribution เป็นการให้ความสำคัญเฉพาะด้านของการขนส่งสินค้าจากผู้ผลิต


ไปยังผู้บริโภค โดยอาจครอบคลุมกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การขนส่ง การเก็บสินค้า การจัดการวัสดุ และการ
บรรจุหีบห่อเพื่อป้องกันการสูญเสียระหว่างการขนส่ง การพัฒนาระดั บนี้ยังไม่มุ่งเน้นการลดต้นทุนในส่วนที่
เป็นสินค้าคงคลังที่เป็นวัตถุดิบและสินค้าระหว่างการผลิต

2. Internally Integrated Logistics เป็นการพัฒนาที่รวมกิจกรรมโลจิสติกส์ที่เกิดขึ้นก่อน


กระบวนการผลิต มีการเชื่อมโยงการจัดการภายในบริษัทตั้งแต่การจัดซื้อวัตถุดิบจนถึงการจัดส่งถึงผู้บริโภค
โดยมีจุดมุ่งหมายในการเปลี่ยนจากการลดสินค้าคงคลังเป็นเพิ่มความถี่ในการระบายสินค้า การพัฒ นาใน
ขั้นตอนนี้จะมีการใช้ IT/Software จัดการกิจกรรมทั้งระบบ
3. Externally Integrated Logistics เป็ นการพั ฒ นาที่มีการเชื่อมโยงใช้รูป แบบ (Mode)
การขนส่งทุกรูปแบบ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การมีจุดขนถ่ายสินค้าที่มีมาตรฐาน มีระบบ IT ที่สามารถ
เชื่อมโยงข้อมูลระหว่างบริษัท นอกจากนี้ยังมีการใช้ผู้ชำนาญการด้านโลจิสติกส์ที่เป็นผู้ให้บริการเฉพาะด้าน

4. Global Logistics Management เป็นการพั ฒ นาที่เกิดจากการตื่ น ตัวของบริษัท ข้าม


ชาติที่กำลังเผชิญกับปัญหากำไรลดลงในประเทศที่ตนตั้งอยู่ จึงเริ่มหาแหล่งจัดซื้อที่ถูกกว่าในแหล่งวัตถุดิบทั่ ว
โลก ด้านการขนส่ง การเชื่อมต่อการขนส่งระหว่างประเทศที่มีประสิทธิภาพ

ซึ่งการพัฒนาโลจิสติกส์ในประเทศไทย โลจิสติกส์ได้เข้ามามีบทบาทและความสำคัญในภาครัฐและ
เอกชน ซึ่งรัฐบาลเริ่มเห็นความสำคัญในการพัฒนาโลจิสติกส์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการแข่งขันทางการค้า
ของประเทศ เนื่องจากเมื่อต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP ของไทย สูงถึงร้อยละ 25-30 ขณะที่ประเทศพัฒนาแล้ว
จะอยู่ระหว่างร้อยละ 7-11 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ จึงได้
เสนอยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศ โดยมีแนวทาง ด้านโครงสร้างพื้นฐานและกฎหมาย
การพัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูล ฐานข้อมูลโลจิสติกส์ และการพัฒนาบุคลากรโลจิสติกส์
ใบมอบหมายงานที่ 2
ชื่อวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน สอนครั้งที่ 6
หน่วยที่ 2 ชื่อหน่วย บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน เวลา 3 ชั่วโมง
ชื่อเรื่อง บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกบทบาทโลจิสติกส์และซัพพลายเชนต่อระบบเศรษฐกิจได้
2. บอกบทบาทของโลจิสติกส์และซัพพลายเชนต่อองค์กรได้
3. อธิบายการวางแผนในระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนได้
4. อธิบายลักษณะพื้นฐานการจัดการซัพพลายเชนเชิงบูรณาการได้
5. อธิบายการพัฒนาของระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนได้
แนวทางการปฏิบัติงาน
1. แบ่งนักศึกษาออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กัน ตามความสมัครใจ
2 มอบหมายงานตามลำดับกลุ่มให้สอดคล้องจุดประสงค์การเรียนรู้
3. ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มไปศึกษา ค้นคว้าหาข้อมูล และร่วมกันจัดทำเป็นบอร์ดวิชาการเผยแพร่
ความรู้และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4. ครู นักศึกษาเยี่ยมชมบอร์ดวิชาการ
5. ครูเสนอแนะเพิ่มเติมและบรรยายสรุป
กำหนดระยะเวลาที่ส่งงาน ภายหลังการนำเสนอ

การประเมินผล
1. พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
2. การนำเสนอ
3. ชิ้นงาน
4. การตอบข้อซักถาม
5. การตรงต่อเวลา
แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม
1. ก่อเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน. กรุงเทพฯ : บริษัท วังอักษร จำกัด, 2563
2. ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์. การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน. กรุงเทพฯ : บริษัท เอ็กซเปอร์เน็ท
จำกัด, 2554
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....1..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่...2...ชื่อหน่วย บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน................เวลา.............10.................นาที

คำสั่ง จงทำเครื่องหมายกากบาท (x) ลงหน้าข้อที่ถูกต้อง

1. ข้อใดถือเป็นบทบาทในการสนับสนุนการตลาดคือการสร้างความพอใจของลูกค้า

ก. เวลาและสถานที ข. ความต้องการซื้อ

ค. ต้นทุนของสินค้า ง. ราคาของสินค้า

2. ข้อใดเป็นกิจกรรมการตลาดที่ควรจะมีการบูรณาการ

ก. การขนส่ง ข. 4P’s

ค. ต้นทุน ง. การกระจายสินค้า

3. CRM เน้นการบริหารด้านใด

ก. สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า ข. สร้างความเชื่อมั่นในองค์กร

ค. สร้างตราสินค้า ง. สร้างระบบโลจิสติกส์

4. ข้อใดไม่ใช่คุณค่าทางเวลา (Time value)

ก. สินค้าส่งตามความต้องการของลูกค้า ข. สินค้าส่งตามเวลากำหนด

ค. สินค้าส่งในสถานที่ที่ลูกค้าต้องการ ง. สินค้าส่งผลให้กิจการมีกำไร
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....2..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่...2...ชื่อหน่วย บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน.....เวลา.............10.................นาที

5. ข้อใดคือปัญหาของการนำระบบโลจิสติกส์มาใช้กับธุรกิจในประเทศไทย

ก. ขาดเครือข่ายทางธุรกิจ ข. การสนับสนุนของรัฐมีความล่าช้า

ค. ขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ด้านโลจิสติกส์ ง. ถูกทุกข้อ

6. ข้อใดคือวัตถุประสงค์พื้นฐานของการจัดการโซ่อุปทาน

ก. สร้างความร่วมมือกับผู้จัดจำหน่าย ข. เพิ่มความสามารถในการทำกำไร

ค. ประมวลคำสั่งซื้อของลูกค้าได้ถูกต้อง ง. ถูกทุกข้อ

7. ข้อใดคือปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงในการบริหารโลจิสติกส์

ก. ผู้ขายปัจจัยการผลิต ข. ผู้ผลิต

ค. ลูกค้า ง. ผู้จัดจำหน่าย

8. ข้อใดคือการนำสินค้าหรือบริการส่งให้ลูกค้าตรงตามเวลา

ก. Time value ข. Place value

ค. Sales ง. Competitive
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....3..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่...2...ชื่อหน่วย บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน.....เวลา.............10.................นาที

9. ผลการประกอบการ สามารถพิจารณาได้จากข้อใด

ก. Cost ข. Profit

ค. Customer ง. Business

10. ข้อใดเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการตัดสินใจทางธุรกิจ

ก. Call Center ข. E-mail

ค. Fax ง. ถูกทุกข้อ

เฉลย
1. ก 2.ข 3.ก 4. ข 5. ค 6. ง 7. ก 8. ก 9. ข 10. ง
แบบประเมินผลพฤติกรรมรายบุคคล
ใบงานที่ 2 เรื่อง บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
กลุ่มที่ ...................
ที่ คะแนน การรับฟัง การเสนอ การยอมรับ การสร้าง รวม ระดับการ
ความคิด ความคิด คนอื่น บรรยากาศ คะแนน มี
เห็น เห็น ในกลุ่ม ส่วนรวม
ชื่อสกุล 5 5 5 5 20
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ระดับของคะแนน
5 = มากที่สุด 4 = ค่อนข้างมาก
3 = ปานกลาง 2 = ค่อนข้างอ่อน
1 = น้อยที่สุด
เกณฑ์การประเมิน 15-20 = มาก
8-14 = ปานกลาง
1-7 = น้อย

ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
บทบาทและการวางแผนระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
คะแนน การนำเสนอผลงาน การบันทึกผลงาน รวม
ขั้นนำ ขั้นสอน ขั้นสรุป ถูกต้อง เรียบร้อย คะแนน ระดับคุณภาพ
กลุ่มที่ ของผลงาน
10 10 10 10 10 50
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ระดับของคะแนน 8 - 10 = ดีมาก 7 - 8 = ดี
5 – 6 = พอใช้ 0 – 4 = ควรปรับปรุง
เกณฑ์การประเมิน 35 - 50 = ดี
17 - 34 = ปานกลาง
1 - 16 = ควรปรับปรุง

ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
แบบประเมินพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม จริยธรรม
วันที่......เดือน....................พ.ศ. ....................
ชื่อ...............................................นามสกุล.......................................ระดับชั้น.................เลขที่........
แผนก..................................................................คณะ......................................................................

ลำดับ พฤติกรรมที่ประเมิน ระดับคะแนน หมายเหตุ


3 2 1 ความหมายของระดับคะแนน
1 ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และงานที่ได้รับ 3= ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอโดยไม่
มอบหมาย ต้องมีการชี้นำหรือตักเตือน
2 กล้าคิด กล้าทำ และกล้าตัดสินใจด้วยเหตุผล 2= ปฏิบัติบ้างในบางครั้ง
3 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนๆ จากการเชิญชวนหรือชี้นำ
4 เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เสียสละเพื่อส่วนรวม 1= ต้องสัง่ บังคับว่ากล่าวหรือ
5 มีวินัยซื่อสัตย์และประหยัด ตักเตือนจึงจะปฏิบัติ หรือมักจะ
6 รู้จักการให้โอกาส ให้อภัย ปฏิบัติในทางที่ผิดเสมอ
7 การยอมรับการปฏิบัติต่อมติของกลุ่ม
8 ไม่เอาเปรียบเพื่อนผู้เรียนด้วยกัน เกณฑ์การประเมิน
9 แสดงกิริยาวาจาสุภาพต่อทุกคน 26-30 คะแนน= ดีมาก
10 แสดงความมีน้ำใจต่อครู/อาจารย์ 21-25 คะแนน= ดี
รวม (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) 16-20 คะแนน= พอใช้
0-15 คะแนน= ควรปรับปรุง
บันทึก
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
........................

ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
การวิเคราะห์หัวข้อการสอนและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ทฤษฎี.....3.......ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ............-.....ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน…3…หน่วยกิต
ISL PSL
หน่วยที/่ ชื่อหน่วย รายการความรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
R A T I C A
3. การบริการลูกค้า 1. ความหมายการบริการลูกค้า 1. บอกความหมายการบริการลูกค้าได้ /
2. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระดับการให้บริการ 2. ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระดับการให้บริการลูกค้า /
ลูกค้า ได้
3. ระดับการให้บริการลูกค้า 3. อธิบายระดับการให้บริการลูกค้าได้ /
4. หลักการหน่วยงานบริการลูกค้า 4. บอกหลักการหน่วยงานบริการลูกค้าได้ /
5. กลยุทธ์การบริการลูกค้า 5. รวบรวมกลยุทธ์การบริการลูกค้าได้ /
หมายเหตุ ISL= ระดับความรู้ความสามารถทางสติปัญญา (Intellectual skill Level) PSL=ระดับความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อทำงาน(Physical skill Level)
R:การฟื้นความรู้ (Recalled Knowledge) I : ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed)
A:การประยุกต์ความรู้ (Applied Knowledge) C : ทำได้ด้วยความถูกต้อง (Control is needed)
T:การส่งถ่ายความรู้ (Transferred Knowledge) A : ทำด้วยความชำนาญ (Automation is needed)
กรอบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
หน่วยที่ 3 เรื่อง การบริการลูกค้า

พอประมาณ
1. ผู้เรียนจัดสรรเวลาในการฝึกปฏิบัติตาม
ใบงานได้อย่างเหมาะสม
2. ผู้เรียนรู้จักใช้และจัดการวัสดุอุปกรณ์
ต่าง ๆ อย่างประหยัดและคุ้มค่า
3. ผู้เรียนปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4. ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มเพื่อน
มีภูมิคุ้มกันที่ดี

ความมีเหตุผล 1. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและการ
ปฏิบัติงาน
1. กล้าแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
2. กล้าซักถามปัญหาหรือข้อสงสัยต่าง ๆ อย่างถูก
2. กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ
กาลเทศะ
3. กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4. ไม่มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น 3. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเองอย่างเป็น
เหตุเป็นผล

4. ควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
ความรู้ + ทักษะ คุณธรรม
1. ใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า 1. ปฏิบัติงานที่ได้5.ควบคุ มกิริยาอาการในสถานการณ์
รับมอบหมายเสร็ จตามกำหนด ต่าง ๆ ได้
2. ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์เป็
อย่นาอย่
งคุา้มงดี
ค่า ประหยัด
3. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ 3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและ
พอเพียง การปฏิบัติงาน
4. ให้ความร่วมมือกับการทำกิจกรรมของส่วนรวม อาสา
ช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น
สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม
สังคม ชุมชนมีคุณภาพชีวิต สภาพเศรษฐกิจมีความ มีการปลูกฝังกิจนิสัยการ ใช้สิ่งของอย่างรู้คุณค่า
ที่ดีขึ้น คล่องตัว มีรายได้และมี ประหยัด อดออม ใช้วัสดุธรรมชาติ ไม่ทำลาย
การใช้จ่ายในระบบเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม
แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 3 ชื่อหน่วย การบริการลูกค้า จำนวน...3….ชั่วโมง

หัวข้อเรื่อง
1. ความหมายการบริการลูกค้า
2. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระดับการให้บริการลูกค้า
3. ระดับการให้บริการลูกค้า
4. หลักการหน่วยงานบริการลูกค้า
5. กลยุทธ์การบริการลูกค้า

สาระสำคัญ
ในภาวการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง และเกิดการแข่งขันกันอย่างรุนแรงในการประกอบการธุรกิจหลาย
ๆ องค์กรต่างเสนอสินค้าที่มีความคล้ายคลึงกัน ไม่ว่าจะเป็นทางด้านรูปแบบ คุณภาพและราคา ดังนั้นการสร้าง
ความแตกต่างให้เกิดขึ้นในการให้บ ริการลูกค้าจะสามารถทำให้องค์กรมีความโดดเด่ นเหนือคู่แข่งขันได้ ในการ
ประกอบธุรกิจในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจรูปแบบใด ลูกค้ามีทางเลือกที่หลากหลาย กิจการก็สามารถสร้างความ
พอใจให้เกิดแก่ลูกค้าของตนได้ ไม่ว่าจะเป็นลูกค้ารายเก่าหรือลูกค้ารายใหม่ของกิจการ ซึ่งระดั บการบริการที่
ลูกค้าได้รับมอบนั้นจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อส่วนแบ่งตลาด ต้นทุนโลจิสติกส์ รวมถึงกำไรของกิจการ ดังนั้นการ
เอาชนะใจลูกค้าและการรักษาลูกค้าเอาไว้ได้ ถือเป็นกุญแจสำคัญไปสู่ ความสำเร็จของกิจการ ด้วยเหตุนี้ จึงเป็น
เรื่องสำคัญในการที่กิจการต้องรวมเอาการบริการลูกค้าไว้ในกระบวนการโลจิสติกส์
จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจแสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและกระบวนการโลจิสติกส์และซัพ
พลายเชน
2. เพื่อให้มีกจิ นิสัย ในการทางานที่ดี ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ รับผิดชอบ มีวินัย ตรงตาม
เวลา และตระหนักถึงความปลอดภัยในการทำงาน

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. บอกความหมายการบริการลูกค้าได้
2. ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระดับการให้บริการลูกค้าได้
3. อธิบายระดับการให้บริการลูกค้าได้
4. บอกหลักการหน่วยงานบริการลูกค้าได้
5. รวบรวมกลยุทธ์การบริการลูกค้าได้

กิจกรรมการการจัดการเรียนรู้

เวลา (X นาที) 60 120 180


หมายเลขวัตถุประสงค์ 1,2,3,4,5,6,7
ขั้นสนใจปัญหา(.....10.... นาที)
บรรยาย
ขั้นให้ข้อมูล
ถามตอบ
(..120 นาที)
สาธิต
ขั้นพยายาม (........30....นาที)
ขั้นสำเร็จผล (.........20...นาที)
กระดานดำ
Power point
แผ่นใส
ของจริง
อุปกรณ์ช่วยสอน ใบเนื้อหา
ใบงาน
เฉลยใบงาน
ใบสั่งงาน
ใบประเมินผล
Pre test (10 นาที)
Post test (10นาที)
ใบทดสอบ ก่อนเรียน หลังเรียน

ใบเนื้อหาที่ 3 สื่อ Power point ชุดที่ 3 ใบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน หน่วยที่ 3


กิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู กิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน
1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ขั้นสนใจปัญหา (10 นาที
และทดสอบ 10 นาที) ผู้เรียนร่วมคิดและตอบคำถามและทำแบบทดสอบ
ครูผู้สอนนำเข้าสู่บทเรียน เล่าถึงการสร้างความ ก่อนเรียน
แตกต่างให้เกิดขึ้นในการให้บริการลูกค้าจะสามารถ
ทำให้องค์กรมีความโดดเด่นเหนือคู่แข่งขันได้ ในการ
ประกอบธุรกิจในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจรูปแบบ
ใด ลูกค้ามีทางเลือกที่หลากหลาย กิจการก็สามารถ
สร้างความพอใจให้เกิดแก่ลูกค้าของตนได้ ไม่ว่าจะ
เป็นลูกค้ารายเก่าหรือลูกค้ารายใหม่ของกิจการ ซึ่ ง
ระดั บ การบริ ก ารที่ ลู ก ค้ า ได้ รั บ มอบนั้ น จะส่ ง ผล
กระทบโดยตรงต่อส่วนแบ่งตลาด ต้นทุน โลจิ สติกส์
รวมถึงกำไรของกิจการ
2. ขั้นสอน (120 นาที)
ส อ น โด ย ก า ร บ ร ร ย า ย เกี่ ย ว กั บ ผู้เรียนฟั ง การบรรยาย และศึ กษาเอกสารประกอบ
ความหมายการบริ ก ารลูก ค้ า ปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิพ ลต่ อ การเรี ยนตาม และร่วมตอบคำถามถึง ความหมาย
ระดับการให้บริการลูกค้า ระดับการให้บริการลูกค้า การบริ ก ารลู ก ค้ า ปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ระดั บ การ
หลักการหน่วยงานบริการลูกค้า กลยุทธ์การบริการ ให้บริการลูกค้า ระดับการให้บริการลูกค้าหลัก การ
ลูกค้า หน่วยงานบริการลูกค้า กลยุทธ์การบริการลูกค้า
3. ขั้นพยายาม (60 นาที) แบ่งกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่มให้แต่ละกลุ่มสรุปสาระสำคัญ
ครูผู้สอนผู้เรี ยนมีส่วนร่วม (แต่ละกลุ่มส่ง ตัวแทน ของแต่เรื่องตามจุดประสงค์ ผู้เรียน ศึกษาแล้วแบ่ง
กลุ่ม) วิเคราะห์เกี่ยวกับกรณีศึกษา และมอบหมายให้ หน้าที่รับผิดชอบในการร่วมปฏิบัติกิจกรรมร่วมกัน
ผู้เรียนนำกรณีศึกษามานำเสนอในชั้นเรียน
4. ขั้นสรุป (30 นาที และทดสอบ 10 นาที)
และผู้สอนสรุปแต่ละเรื่องให้ผู้เรียนฟังจนเข้าใจ แต่ ล ะกลุ่ ม ส่ ง ตั ว แทนออกมาสรุป เพื่ อ นฟั ง หน้ า ชั้ น
มอบหมายให้ผู้เรียนกลับไปศึกษาเนื้อหาเรื่องการ เรียน
จัดซื้อ
สื่อสารเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้
สื่อสิ่งพิมพ์
1. ใบเนื้อหา
2. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
3. ใบมอบหมายงาน
4. หนังสือโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ของ อาจารย์ก่อเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา
5. หนังสือโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ของ อาจารย์ไตรเลิศ ครุฑเวโชและมนัสชัย กีรติผจญ

สื่อโสตทัศน์ (ถ้ามี)
1. ใช้สื่อ Power point
แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
1. แหล่งข้อมูลจากระบบสารสนเทศ Internet
2. เว็บไซต์ https://www.youtube.com/watch?v=UDmAC-6Tebs
3. เว็บไซต์ https://www.scribd.com/doc/289633892/

การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กับวิชาอื่น
1. บูรณาการกับวิชาการบริหารการจัดซื้อ
2. บูรณาการกับวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ
3. บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านความขยันหมั่นเพียร ประหยัด อดออม

การวัดและประเมินผล
การประเมินผล
ก่อนเรียน
1. แบบทดสอบก่อนเรียน
ขณะเรียน
1. แบบประเมินพฤติกรรมรายกลุ่ม
2. แบบสังเกตพฤติกรรม
3. แบบประเมิน คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะพึงประสงค์
หลังเรียน
3. แบบทดสอบหลังเรียน

เกณฑ์ในการวัดและประเมินผล
การวัด (ใช้เครื่องมือ) การประเมินผล (นำผลเทียบกับเกณฑ์และแปล
ความหมาย)
1. แบบทดสอบก่อนเรียน (ไว้เปรียบเทียบกับคะแนนสอบหลังเรียน)
2. แบบสังเกตการทำงานกลุ่มและการ เกณฑ์ผ่าน 60 %
นำเสนอผลงานกลุ่ม
3. แบบฝึกหัดในหน่วย เกณฑ์ผ่าน 50 %
4. แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน 50 %
5. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม เกณฑ์ผ่าน 60 %
ตามสภาพจริง

บันทึกหลังสอน
1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

2. ผลการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

3. แนวทางการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
แบบฝึกหัดบทที่ 3 การบริการลูกค้า
จงเติมคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. ส่วนผสมการตลาด (Marketing Mix) ปัจจุบันได้ถูกเปลี่ยนจาก 4Ps เป็น 4c ประกอบด้วยอะไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
2. Marketing Development Process ถูกแบ่งออกเป็นยุคสมัยโดยเริ่มต้นจากอะไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
3. องค์ประกอบของการให้บริการแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่อะไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
4. ปัจจัยอะไรบ้างที่มีอิทธิพลต่อระดับการให้บริการลูกค้า
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
5. ระดับการให้บริการมีตัวชี้วัดหลัก 3 ตัว ได้แก่อะไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
6. บุคลากรในหน่วยงานบริการลูกค้าจำเป็นต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
7. กลยุทธ์การบริการลูกค้าเพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้าได้แก่อะไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
8. ความสำคัญของคุณภาพประกอบด้วยอะไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
9. CRM (Customer Relationship Management) หมายถึงอะไร
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
10. ERC (Efficient Consumer Response) หมายถึงอะไร
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 3 การบริการลูกค้า
จงเติมคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. ส่วนผสมการตลาด (Marketing Mix) ปัจจุบันได้ถูกเปลี่ยนจาก 4Ps เป็น 4c ประกอบด้วยอะไรบ้าง
ตอบ 1. Product - Customer เลือกให้ความสำคัญกับผู้บริโภคมากกว่าความสำคัญ ของสิ นค้าที่จะผลิต
ออกขาย
2. Price - Cost เปลี่ยนจากกลยุทธ์การกำหนดราคา สู่การลดต้นทุนด้านการผลิต ทั้งกระบวนการ
Supply Chain
3. Place - Convenience ช่องทางการจัดจำหน่ายภายในปัจจุบันต้องคำนึงถึง ความสะดวก
4. Promotion - Communications เนื่องจากการทำประชาสัมพันธ์มีหลากหลายวิธี จึงถูกเรียกรวม
ว่า “การสื่อสารทางการตลาด”

2. Marketing Development Process ถูกแบ่งออกเป็นยุคสมัยโดยเริ่มต้นจากอะไรบ้าง


ตอบ 1. Product Era: ยุคที่คุณภาพและรูปลักษณ์สินค้าเป็นปัจจัยสำคัญในการตัดสินใจซื้อ
2. Image Era: ยุคของการสร้างภาพลักษณ์ตราสินค้าเพื่อให้เกิดการยอมรับสินค้าของบริษัท
3. Positioning Era: ยุคของการมุ่งนำสินค้าวางไว้ในใจผู้บริโภค
4. Niche Marketing Era: ยุคของการเริ่มทำการตลาดแบบเฉพาะกลุ่มลูกค้า
5. Relationship Marketing Era: ยุคของการทำตลาดแบบหนึ่งต่อหนึ่ง

3. องค์ประกอบของการให้บริการแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่อะไรบ้าง


ตอบ 1. องค์ประกอบของการให้บริการก่อนการทำธุรกรรม
2. องค์ประกอบของการบริการในระหว่างการทำธุรกรรม
3. องค์ประกอบของการบริการภายหลังการทำธุรกรรม

4. ปัจจัยอะไรบ้างที่มีอิทธิพลต่อระดับการให้บริการลูกค้า
ตอบ 1. เวลาที่ใช้ในการขนส่ง
2. บทบาทในการให้บริการ
3. ข้อดีเด่นที่แตกต่างจากคู่แข่งและความซื่อสัตย์ของกิจการที่มีต่อลูกค้า
4. ต้นทุนที่ใช้ในการเสนอระดับการให้บริการ
5. ประเภท ชนิด รายการ จำนวน (ปริมาณ) เกรดชั้นคุณภาพของสินค้าถูกต้องตรงตามที่ลูกค้าสั่งซื้อ

5. ระดับการให้บริการมีตัวชี้วัดหลัก 3 ตัว ได้แก่อะไรบ้าง


ตอบ 1. ความพร้อมของการมีสินค้าเพื่อส่งมอบทันทีที่มีการสั่งซื้อเข้ามา
2. ผลของการปฏิบัติการ
3. ความเชื่อถือได้ของการบริการ

6. บุคลากรในหน่วยงานบริการลูกค้าจำเป็นต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้าง
ตอบ 1. มีประสบการณ์ในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับการบริการลูกค้าประมาณ 3 - 5 ปี
2. มีความสามารถในการติดต่อสื่อสาร
3. มีความรู้ความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์อย่างคล่องแคล่ว
4. มีอุปนิสัยรักการแก้ปัญหา (Enjoy Problem Solving) มีศิลปะในการพูด และมี ไหวพริบ
ปฏิภาณ
5. ความสามารถในการทำงานภายใต้ความกดดัน

7. กลยุทธ์การบริการลูกค้าเพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้าได้แก่อะไรบ้าง
ตอบ 1. ECR (Efficient Consumer Response)
2. CRM
3. TQM
4. ISO 9000

8. ความสำคัญของคุณภาพประกอบด้วยอะไรบ้าง
ตอบ 1. สร้างความพอใจให้กับลูกค้า (Customer Satisfaction)
2. ลดต้นทุน
3. ยกระดับความต้องการของลูกค้า
4. ส่งมอบได้ตามกำหนด
5. คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

9. CRM (Customer Relationship Management) หมายถึงอะไร


ตอบ การจัดการลูกค้าสัมพันธ์

10. ERC (Efficient Consumer Response) หมายถึงอะไร


ตอบ การตอบสนองผู้บริโภคอย่างมีประสิทธิภาพ
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....1..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 3 ชื่อหน่วย การบริการลูกค้า จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การบริการลูกค้า...............เวลา.............10.................นาที

คำสั่ง จงทำเครื่องหมายกากบาท (x) ลงหน้าข้อที่ถูกต้อง

1. องค์กรส่วนใหญ่ มีการตรวจสอบการบริการลูกค้าตลอดเวลาและต่อเนื่อง จึงรวมเรื่องอะไรไว้ในกระบวนการของ


ระบบโลจิสติกส์

ก. การตรวจสอบความถูกต้อง ข. การให้สินเชื่อลูกค้า

ค. การบริการหลังการขาย ง. การบริการลูกค้า

2. ข้อใดเป็นระบบการบริหารสมัยใหม่ที่เกี่ยวข้องกับลูกค้าโดยตรง และเป็นหัวใจของการดำเนินธุรกิจสมัยใหม่

ก. TQM ข. ECR

ค. CRM ง. TQM

3. หนึ่งในกระบวนการของระบบโลจิสติกส์จะต้องเข้าใจการเปลี่ยนแปลงในเรื่องอะไร

ก. ส่วนผสมการส่งเสริมการขาย

ข. ส่วนผสมการโฆษณาและประชาสัมพันธ์

ค. ส่วนผสมการฝึกอบรมและพัฒนา

ง. ส่วนผสมทางการตลาด

4. “Data Warehousing” มีความหมายสอดคล้องกับข้อใด

ก. การวิเคราะห์ข้อมูล ข. การสร้างคลังข้อมูล

ค. การสรรหาข้อมูล ง. การศึกษาพฤติกรรมของลูกค้า
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....2..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 3 ชื่อหน่วย การบริการลูกค้า จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การบริการลูกค้า...............เวลา.............10.................นาที

5. ปัจจัยอะไรที่มีอิทธิพลต่อระดับการให้บริการลูกค้า

ก. การบริการหลังการขาย

ข. การมีสินค้าให้เลือกมากกว่า

ค. การให้บริการที่แตกต่างจากคู่แข่งขันและความซื่อสัตย์ต่อลูกค้า

ง. การให้สินเชื่อระยะยาว

6. ECR เริ่มธุรกิจสินค้าประเภทใดเป็นธุรกิจ แรก

ก. สินค้าประเภทบริการ

ข. สินค้าประเภทอุตสาหกรรม

ค. สินค้าประเภทเกษตร

ง. สินค้าอุปโภคประเภทหีบห่อ

7. ข้อใดไม่ใช่หลักการของ 4C

ก. Customer

ข. Communications

ค. Convenience

ง. Conviction
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....3..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 3 ชื่อหน่วย การบริการลูกค้า จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การบริการลูกค้า...............เวลา.............10.................นาที

8. เป็นตัวเชื่อมระหว่างกระบวนการขาย กระบวนการซื้อและกระบวนการตอบสนองความต้องการของลูกค้า
เรียกว่าหน่วยงานอะไร

ก. หน่วยงานตรวจสอบ ข. หน่วยงานติดตามผล

ค. หน่วยงานจัดซื้อ ง. หน่วยงานบริการลูกค้า

9. Relationship Marketing Era มีความหมายสอดคล้องกับข้อใด

ก. ยุคการทำตลาดแบบเฉพาะกลุม่ ลูกค้า

ข. ยุคการทำตลาดแบบหนึ่งต่อหนึ่ง

ค. ยุคการมุ่งนำสินค้าวางไว้ในใจผู้บริโภค

ง. ยุคการสร้างภาพลักษณ์ตราสินค้า

10. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของ ECR

ก. การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ ข. การพัฒนาและประยุกต์เทคโนโลยี

ค. การจัดการด้านอุปสงค์ ง. การจัดการด้านอุปสงค์

เฉลย
1. ง 2.ค 3.ง 4. ข 5. ค 6.ง 7. ข 8. ง 9. ข 10. ก
ใบเนื้อหา/ใบความรู้
หน่วยที่...3..เรื่อง การบริการลูกค้า

การบริการ หมายถึง กระบวนการสร้างมูลค่าเพิ่มที่สามารถสร้างคุณประโยชน์ให้กับ ซัพพลายเชนด้วยวิธีที่


คุ้มค่าที่สุด คือ กระบวนการสร้างมูลค่าเพิ่มที่สามารถสร้างคุณประโยชน์ให้กับลูกค้าในโซ่อุป ทานด้วยวิธีที่
คุ้มค่าที่สุด โดยพัฒนา 4P สู่ 4C
Product Customer ให้ความสำคัญกับผู้บริโภคมากกว่าสินค้า
Price Cost เปลี่ยนกลยุทธ์ราคาเป็นการลดต้นทุนด้วย Supply Chain
Place Convenience ใช้การจัดจำหน่ายที่สนองความต้องการผู้บริโภคได้ ทุกเวลา ทุกสถานที่
Promotion Communication ใช้การสื่อสารทางการตลาด
ายุคของพัฒนาการทางการตลาด
- Product Era – ยุคเน้นคุณภาพและรูปลักษณ์สินค้า
- Image Era – ยุคการสร้างภาพลักษณ์ตราสินค้า
- Position Era – ยุคการนำสินค้าวางไว้ในใจผู้บริโภค
Niche Marketing Era – ยุคการทำตลาดเฉพาะกลุ่มลูกค้า
Relation Marketing Era – ยุคทำตลาดแบบรายบุคคล
องค์ประกอบของการให้บริการ แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน
1.องค์ประกอบของการให้บริการก่อนการทำธุรกรรม เช่น การกำหนดนโยบาย
2.องค์ประกอบของการบริการในระหว่างการทำธุรกรรม เช่น การกำหนดระดับการขาดสินค้า
3.องค์ประกอบของการบริการภายหลังการทำธุรกรรม เช่น การรับสินค้าคืน

ระดับการให้บริการ
คือ เป้าหมายในการปฏิบัติงาน มี 3 ตัวชี้วัด
1. ความพร้อมของการมีสินค้าเพื่อส่งมอบทันทีที่มีการสั่งซื้อ (Availability
2. ผลการปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับเวลา (Operational Performance
3. ความเชือ่ ถือได้ของการบริการ (Service Reliability)
หน่วยงานบริการลูกค้า
Customer Service เป็นตัวเชื่อมระหว่างกระบวนการขาย การซื้อและการตอบสนองความต้องการ
ของลูกค้า เป็นผู้รับเรื่องและดำเนินการให้ลูกค้าได้รับสินค้าที่ถูกต้องตามต้องการที่เปลี่ยนแปลง
- มีประสบการณ์ในการบริการลูกค้า 3-5 ปี
- มีความสามารถในการติดต่อสื่อสาร
- ใช้คอมพิวเตอร์ได้อย่างคล่องแคล่ว
- รักการแก้ปัญหา มีศิลปะการพูด มีไหวพริบ
- สามารถทำงานภายใต้ความกดดัน
กลยุทธ์การบริการลูกค้า
1.ECR Efficient Consumer Response
2.CRM Customer Relation Management
3.TQM Total Quality Management
4.ISO 9000
กลยุทธ์การบริการ ECR
การตอบสนองผู้บริโภคอย่างมีประสิทธิภาพ (Efficient Consumer Response : ECR) ใช้กันตั้งแต่ปี
2539 เรียกว่า “เทคนิคในการลดต้นทุนของระบบการจัดส่งสินค้าไปยังผู้บริโภค” มีหลักการ 3 ประการ
- การจัดการด้านอุปสงค์ เอื้อประโยชน์ต่อความต้องการของผู้บริโภค เช่น การแนะนำสินค้า
ส่งเสริมการขาย บริหารความหลากหลาย จัดให้มีสินค้ามีในเวลาที่ผู้บริโภคต้องการ
- การจัดการด้านอุปทาน เพิ่มประสิทธิภาพให้กับระบบการจัดส่งสินค้าไปยังผู้บริโภค เน้นบริการที่
มีคุณภาพ ต้นทุนต่ำที่สุด ปรับปรุงระบบการจัดหมวดหมู่สินค้าให้ง่ายขึ้น
- การพัฒนาและประยุกต์เทคโนโลยี เป็นเครื่องมือเสริมที่ช่วยให้การจัดการด้านอุปสงค์ และด้าน
อุปทานให้มีประสิทธิภาพ สะดวก รวดเร็ว แม่นยำมากขึ้น
กลยุทธ์การบริการ CRM
การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relationship Management : CRM) เป็นระบบบริหาร
สมัยใหม่ เพื่อสร้างสัมพันธภาพอันมั่นคงแน่นแฟ้นระหว่างผู้ขายกับผู้ซื้อ CRM เป็นยุทธศาสตร์ทางธุรกิจที่มุ่ง
ทำความเข้าใจและคาดคะเนวิธีการจัดการกับความต้องการที่หลากหลายของลูกค้าทั้งในปัจจุบันและใน
อนาคต โดยอาศัยคลังข้อมูลเป็นหัวใจสำคัญสำหรับการเจาะลึกเข้าสู่หัวใจของลูกค้า มีผลดีต่อธุรกิจคือ
- สามารถให้บริการลูกค้าได้ดีขึ้น
- ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบริการของ Call Center
- ช่วยเพิ่มยอดขาย (Up Sell) และขายสินค้าควบคู่ (Cross Sell) ได้มากขึ้น
- ปิดการขายได้เร็วขึ้น ด้วยเทคโนโลยีการสื่อสารต่าง ๆ
- การทำกิจกรรมทางการตลาดทุกอย่างสะดวกขึ้น
- ค้นหาลูกค้าใหม่ได้เพิ่มขึ้น ด้วยงบประมาณการโฆษณาที่ลดลง
ระดับความสัมพันธ์กับลูกค้า
- กลุ่มลูกค้าคาดหวัง (Prospect) เพื่อหาค้นหารายละเอียดเชิงลึกว่าใครจะมีพฤติกรรมการซื้อ
ประจำ ซึ่งคาดว่าจะเป็นลูกค้าในอนาคต
- กลุ่มผู้ซื้อ (Purchasers) เป็นกลุ่มลูกค้าคาดหวังที่สามารถตัดสินใจซื้อ บริษัทต้องสร้างกิจกรรม
สัมพันธ์ให้ลูกค้ากลุ่มนี้กลับมาซื้ออีกอย่างต่อเนื่อง
- กลุ่มลูกค้า (Clients) ผู้บริโภคหรือธุรกิจที่ซื้อสินค้าของบริษัทอย่างต่อเนื่องมาระยะเวลาหนึ่ง
แต่ยังอาจมีทัศนคติเชิงลบหรือเป็นกลาง
- กลุม่ ลูกค้าผู้สนับสนุน (Supporters) เป็นลูกค้าประจำที่ชอบและมีทัศนคติที่ดีต่อบริษัท แต่ยัง
ไม่ได้สนับสนุนอย่างจริงจัง จึงต้องเปลี่ยนลูกค้าให้มีความภักดีต่อตรายี่ห้อของเราตลอดเวลา
- ลูกค้าผู้มีอุปการคุณ (Advocates) สนับสนุนกิจกรรมของบริษัทมาตลอดและคอยแนะนำลูกค้า
รายใหม่ ๆ ต้องสร้างลูกค้ากลุ่มนี้มากๆจะทำให้ได้เปรียบในเชิงการแข่งขัน
- ลูกค้าที่มีหุ้นส่วนในธุรกิจ (Partners) ลูกค้าที่ซื้อสินค้าของบริษัทประจำ จนมีส่วนร่วมในผลกำไร
ของบริษัทและกลับมาซื้อทุกครั้ง เช่น สมาชิกสหกรณ์
กลุ่มลูกค้าเป้าหมายของ CRM มี 2 กลุ่ม คือ CRM Trader คือ กลุ่มคนกลางประเภทธุรกิจค้าส่ง ธุรกิจค้า
ปลีก
และ Consumer คือ กลุ่มผู้บริโภค
รูปแบบการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า (CRM) มี 2 รูปแบบ คือ
1. CRM เชิงรุก (Proactive Marketing) เป็นกลยุทธ์ที่มุ่งใช้สื่อมวลชนเป็นตัวกลางในการติดต่อกับ
ลูกค้า เพื่อสร้างภาพพจน์ให้ลูกค้าสนใจต่อผลิตภัณฑ์ของบริษัท รวมถึงสร้างความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้าใน
ระยะยาวต่อไป
2. CRM เชิงรับ (Reactive Marketing) เป็นกลยุทธ์ที่บริษัทเป็นฝ่ายตั้งรับเมื่อลูกค้าติดต่อมา ด้วย
การสร้างความพึงพอใจและความประทับใจให้กับลูกค้า ไม่ว่าลูกค้าจะติดต่อเรื่องใดที่เกี่ยวข้องกับบริษัท เช่น
สอบถาม สั่งซื้อ
กลยุทธ์การบริหาร TQM
การบริหารคุณภาพทั่วองค์กร (Total Quality Management : TQM)ระบบการปรับปรุงอย่าง
ต่อเนื่อง โดยพนักงานทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการบริหารจากทุกคนในองค์กรและมุ่งเน้นในการตอบสนองความ
ต้องการของลูกค้า”
- บทบาทภาวะผู้นำ ทำหน้าที่บริหาร “ระบบ” มีเป้าหมายเพื่อสนองความต้องการของลูกค้า
และปรับวัฒนธรรมองค์กรเพื่อสนับสนุนลูกค้า
- บริหารทุกขั้นตอนในกระบวนการทำงาน และปรับปรุงต่อเนื่อง
- การทำงานเป็นทีม ทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรม
- ผู้บริหารสนับสนุน และมีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
- วัดความพึงพอใจของลูกค้าได้ จากผลการประกอบการ
การบริหารด้วย ISO 9000
ISO 9000 เป็นมาตรฐานคุณภาพระดับสากลที่ยอมรับกันทั่วโลก ซึ่งผู้ผลิต ผู้ส่งมอบและพ่อค้าคน
กลาง มุ่งเน้นบรรลุเป้าหมาย “คุณภาพ”

การลดต้นทุน ความสำคัญของคุณภาพ (ต่อ)


ทำให้ถูกต้องแต่แรก ยกระดับความต้องการ ส่งมอบได้ตามกำหนด

ทิ้ง แก้ไข-เสียเวลา แรง ทุน ลูกค้าจ่ายเพื่อสิ่งที่ดีกว่า ส่งมอบสินค้าคุณภาพ

หมุนเวียนใช้ใหม่-เสียเวลา
สินค้าราคาเท่ากัน กระบวนการส่งมอบไม่ติดขัด
เสียแรงงาน ทุน

ขายเป็นของตำหนิ-ไม่ได้ราคา ลูกค้าจะเลือกสิ่งที่ต้องการ มีการตรวจสอบก่อนส่งมอบ

ตรวจสอบ-เสียเวลา เสียแรง
สินค้าราคาต่างกัน ส่งมอบลูกค้าภายนอก
ทุน

ลูกค้าไม่พอใจ – คืน เปลี่ยน ลูกค้าจะไม่รู้ว่าสินค้าที่ราคา กระบวนการภายใน ผลิตงานคุณภาพ


ลดความเชื่อถือ ซื้อคนอื่น สูงกว่าเป็นของแพง ส่งตามเวลา
ใบมอบหมายงานที่ 3
ชื่อวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 3 ชื่อหน่วย การบริการลูกค้า เวลา 3 ชั่วโมง
ชื่อเรื่อง การบริการลูกค้า
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายการบริการลูกค้าได้
2. ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระดับการให้บริการลูกค้าได้
3. อธิบายระดับการให้บริการลูกค้าได้
4. บอกหลักการหน่วยงานบริการลูกค้าได้
5. รวบรวมกลยุทธ์การบริการลูกค้าได้
แนวทางการปฏิบัติงาน
1. แบ่งนักศึกษาออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กัน ตามความสมัครใจ
2 มอบหมายงานตามลำดับกลุ่มให้สอดคล้องจุดประสงค์การเรียนรู้
3. ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มไปศึกษา ค้นคว้าหาข้อมูล และร่วมกันจัดทำเป็นบอร์ดวิชาการเผยแพร่
ความรู้และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4. ครู นักศึกษาเยี่ยมชมบอร์ดวิชาการ
5. ครูเสนอแนะเพิ่มเติมและบรรยายสรุป
กำหนดระยะเวลาที่ส่งงาน ภายหลังการนำเสนอ

การประเมินผล
1. พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
2. การนำเสนอ
3. ชิ้นงาน
4. การตอบข้อซักถาม
5. การตรงต่อเวลา
แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม
1. ก่อเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน. กรุงเทพฯ : บริษัท วังอักษร จำกัด, 2563
2. ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์. การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน. กรุงเทพฯ : บริษัท เอ็กซเปอร์เน็ท
จำกัด, 2554
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....1..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 3 ชื่อหน่วย การบริการลูกค้า จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การบริการลูกค้า...............เวลา.............10.................นาที

คำสั่ง จงทำเครื่องหมายกากบาท (x) ลงหน้าข้อที่ถูกต้อง

1. ข้อใดเป็นระบบการบริหารสมัยใหม่ที่เกี่ยวข้องกับลูกค้าโดยตรง และเป็นหัวใจของการดำเนินธุรกิจสมัยใหม่

ก. TQM ข. ECR

ค. CRM ง. TQM

2. องค์กรส่ วนใหญ่ มีการตรวจสอบการบริการลูกค้าตลอดเวลาและต่อเนื่อง จึงรวมเรื่องอะไรไว้ในกระบวนการของ


ระบบโลจิสติกส์

ก. การตรวจสอบความถูกต้อง ข. การให้สินเชื่อลูกค้า

ค. การบริการหลังการขาย ง. การบริการลูกค้า

3. หนึ่งในกระบวนการของระบบโลจิสติกส์จะต้องเข้าใจการเปลี่ยนแปลงในเรื่องอะไร

ก. ส่วนผสมการส่งเสริมการขาย

ข. ส่วนผสมการโฆษณาและประชาสัมพันธ์

ค. ส่วนผสมการฝึกอบรมและพัฒนา

ง. ส่วนผสมทางการตลาด

4. “Data Warehousing” มีความหมายสอดคล้องกับข้อใด

ก. การวิเคราะห์ข้อมูล ข. การสร้างคลังข้อมูล

ค. การสรรหาข้อมูล ง. การศึกษาพฤติกรรมของลูกค้า
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....2..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 3 ชื่อหน่วย การบริการลูกค้า จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การบริการลูกค้า...............เวลา.............10.................นาที

5. ปัจจัยอะไรที่มีอิทธิพลต่อระดับการให้บริการลูกค้า

ก. การบริการหลังการขาย

ข. การมีสินค้าให้เลือกมากกว่า

ค. การให้บริการที่แตกต่างจากคู่แข่งขันและความซื่อสัตย์ต่อลูกค้า

ง. การให้สินเชื่อระยะยาว

6. ECR เริ่มธุรกิจสินค้าประเภทใดเป็นธุรกิจแรก

ก. สินค้าประเภทบริการ

ข. สินค้าประเภทอุตสาหกรรม

ค. สินค้าประเภทเกษตร

ง. สินค้าอุปโภคประเภทหีบห่อ

7. ข้อใดไม่ใช่หลักการของ 4C

ก. Customer ข. Communications

ค. Convenience ง. Conviction
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....3..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 3 ชื่อหน่วย การบริการลูกค้า จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การบริการลูกค้า...............เวลา.............10.................นาที

8. เป็นตัวเชื่อมระหว่างกระบวนการขาย กระบวนการซื้อและกระบวนการตอบสนองความต้องการของลูกค้า
เรียกว่าหน่วยงานอะไร

ก. หน่วยงานตรวจสอบ ข. หน่วยงานติดตามผล

ค. หน่วยงานจัดซื้อ ง. หน่วยงานบริการลูกค้า

9. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของ ECR

ก. การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ ข. การพัฒนาและประยุกต์เทคโนโลยี

ค. การจัดการด้านอุปสงค์ ง. การจัดการด้านอุปสงค์

10. Relationship Marketing Era มีความหมายสอดคล้องกับข้อใด

ก. ยุคการทำตลาดแบบเฉพาะกลุม่ ลูกค้า

ข. ยุคการทำตลาดแบบหนึ่งต่อหนึ่ง

ค. ยุคการมุ่งนำสินค้าวางไว้ในใจผู้บริโภค

ง. ยุคการสร้างภาพลักษณ์ตราสินค้า

เฉลย
1. ค 2.ง 3.ง 4. ข 5. ค 6.ง 7. ข 8. ง 9. ก 10. ข
แบบประเมินผลพฤติกรรมรายบุคคล
ใบงานที่ 3 เรื่อง การบริการลูกค้า
กลุ่มที่ ...................

ที่ คะแนน การรับฟัง การเสนอ การยอมรับ การสร้าง รวม ระดับการ


ความคิด ความคิด คนอื่น บรรยากาศ คะแนน มี
เห็น เห็น ในกลุ่ม ส่วนรวม
ชื่อสกุล 5 5 5 5 20
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ระดับของคะแนน
5 = มากที่สุด 4 = ค่อนข้างมาก
3 = ปานกลาง 2 = ค่อนข้างอ่อน
1 = น้อยที่สุด
เกณฑ์การประเมิน 15-20 = มาก
8-14 = ปานกลาง
1-7 = น้อย

ลงชือ่ ...........................................ผู้ประเมิน
การบริการลูกค้า
คะแนน การนำเสนอผลงาน การบันทึกผลงาน รวม
ขั้นนำ ขั้นสอน ขั้นสรุป ถูกต้อง เรียบร้อย คะแนน ระดับคุณภาพ
กลุ่มที่ ของผลงาน
10 10 10 10 10 50
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ระดับของคะแนน 8 - 10 = ดีมาก 7 - 8 = ดี
5 – 6 = พอใช้ 0 – 4 = ควรปรับปรุง
เกณฑ์การประเมิน 35 - 50 = ดี
17 - 34 = ปานกลาง
1 - 16 = ควรปรับปรุง

ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
แบบประเมินพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม จริยธรรม
วันที่......เดือน....................พ.ศ. ....................
ชื่อ...............................................นามสกุล.......................................ระดับชั้น.................เลขที่........
แผนก..................................................................คณะ......................................................................

ลำดับ พฤติกรรมที่ประเมิน ระดับคะแนน หมายเหตุ


3 2 1 ความหมายของระดับคะแนน
1 ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และงานที่ได้รับ 3= ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอโดยไม่
มอบหมาย ต้องมีการชี้นำหรือตักเตือน
2 กล้าคิด กล้าทำ และกล้าตัดสินใจด้วยเหตุผล 2= ปฏิบัติบ้างในบางครั้ง
3 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนๆ จากการเชิญชวนหรือชี้นำ
4 เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เสียสละเพื่อส่วนรวม 1= ต้องสั่งบังคับว่ากล่าวหรือ
5 มีวินัยซื่อสัตย์และประหยัด ตักเตือนจึงจะปฏิบัติ หรือมักจะ
6 รู้จักการให้โอกาส ให้อภัย ปฏิบัติในทางที่ผิดเสมอ
7 การยอมรับการปฏิบัติต่อมติของกลุ่ม
8 ไม่เอาเปรียบเพื่อนผู้เรียนด้วยกัน เกณฑ์การประเมิน
9 แสดงกิริยาวาจาสุภาพต่อทุกคน 26-30 คะแนน= ดีมาก
10 แสดงความมีน้ำใจต่อครู/อาจารย์ 21-25 คะแนน= ดี
รวม (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) 16-20 คะแนน= พอใช้
0-15 คะแนน= ควรปรับปรุง
บันทึก
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
การวิเคราะห์หัวข้อการสอนและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ทฤษฎี.....3.......ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ............-.....ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน…3…หน่วยกิต
ISL PSL
หน่วยที/่ ชื่อหน่วย รายการความรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
R A T I C A
4. การจัดซื้อ 1. ความหมายและความสำคัญของการจัดซื้อ 1. บอกความหมายและความสำคัญของการจัดซื้อได้ /
2. หน้าที่และคุณสมบัติของฝ่ายจัดซื้อ 2. ระบุหน้าที่และคุณสมบัติของฝ่ายจัดซื้อได้ /
3. กระบวนการเจรจาต่อรอง 3. อธิบายกระบวนการเจรจาต่อรองได้ /
4. กลยุทธ์การเจรจาต่อรอง 4. ระบุกลยุทธ์การเจรจาต่อรองได้ /
5. Value Chain กับการจัดซื้อ 5. อธิบาย Value Chain กับการจัดซื้อได้ /
6. ซัพพลายเชนกับการจัดซื้อ 6. อธิบายซัพพลายเชนกับการจัดซื้อได้ /
7. วิธีการลดต้นทุนและการจัดซื้อกลยุทธ์ 7. บอกวิธีการลดต้นทุนและการจัดซื้อกลยุทธ์ได้ /
หมายเหตุ ISL= ระดับความรู้ความสามารถทางสติปัญญา (Intellectual skill Level) PSL=ระดับความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อทำงาน(Physical skill Level)
R:การฟื้นความรู้ (Recalled Knowledge) I : ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed)
A:การประยุกต์ความรู้ (Applied Knowledge) C : ทำได้ดว้ ยความถูกต้อง (Control is needed)
T:การส่งถ่ายความรู้ (Transferred Knowledge) A : ทำด้วยความชำนาญ (Automation is needed)
กรอบการจัดการเรียนรูแ้ บบบูรณาการ
หน่วยที่ 4 เรื่อง การจัดซื้อ

พอประมาณ
1. ผู้เรียนจัดสรรเวลาในการฝึกปฏิบัติตาม
ใบงานได้อย่างเหมาะสม
2. ผู้เรียนรู้จักใช้และจัดการวัสดุอุปกรณ์
ต่าง ๆ อย่างประหยัดและคุ้มค่า
3. ผู้เรียนปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4. ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มเพื่อน
มีภูมิคุ้มกันที่ดี

1. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและการ
ความมีเหตุผล
ปฏิบัติงาน
1. กล้าแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
2. กล้าซักถามปัญหาหรือข้อสงสัยต่าง ๆ อย่างถูก
2. กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ
กาลเทศะ
3. กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4. ไม่มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น 3. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเองอย่างเป็น
เหตุเป็นผล

ความรู้ + ทักษะ 4. ควบคุ มอารมณ์ของตนเองได้


คุณธรรม
1. ใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า 1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกำหนด
5.ควบคุมกิริยาอาการในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2. ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด
เป็นอย่างดี
3. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ 3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและ
พอเพียง การปฏิบัติงาน
4. ให้ความร่วมมือกับการทำกิจกรรมของส่วนรวม อาสา
นำไปสู่ ช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น

สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม


สังคม ชุมชนมีคุณภาพชีวิต สภาพเศรษฐกิจมีความ มีการปลูกฝังกิจนิสัยการ ใช้สิ่งของอย่างรู้คุณค่า
ที่ดีขึ้น คล่องตัว มีรายได้และมี ประหยัด อดออม ใช้วัสดุธรรมชาติ ไม่ทำลาย
การใช้จ่ายในระบบเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม
แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 4 ชื่อหน่วย การจัดซื้อ จำนวน...6….ชั่วโมง

หัวข้อเรื่อง
1. ความหมายและความสำคัญของการจัดซื้อ
2. หน้าที่และคุณสมบัติของฝ่ายจัดซื้อ
3. กระบวนการเจรจาต่อรอง
4. กลยุทธ์การเจรจาต่อรอง
5. Value Chain กับการจัดซื้อ
6. ซัพพลายเชนกับการจัดซื้อ
7. วิธีการลดต้นทุนและการจัดซื้อกลยุทธ์

สาระสำคัญ
ในปัจจุบันความสำเร็จของธุรกิจหลายๆ ธุรกิจ มาจากกระบวนการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการ
จัดซื้อกระบวนการเจรจาต่อรอง กลยุทธ์การเจรจาต่อรอง และกระบวนการส่งมอบ เป็นส่วนสนับสนุนสำคัญใน
การวางแผนให้กับฝ่ายจัด ซื้อขององค์ กร ก่อให้เกิดการเพิ่มคุณค่าให้กั บธุรกิจ ในตลาดโลกมีการแข่ง ขันสูง ทุก
อุตสาหกรรม ต้องเน้นประสิทธิภาพ นักจัดซื้อยุคใหม่ต้องตื่นตัว ต้องตามกระแสการเปลี่ยนแปลงให้ทัน โดยใช้
กลยุทธ์ต่างๆ ในการแข่งขันเพื่อให้ธุรกิจประสบความสำเร็จ

จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจแสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและกระบวนการโลจิสติกส์และ
ซัพพลายเชน
2. เพื่อให้มีกิจนิสัย ในการทางานที่ดี ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ รับผิดชอบ มีวินัย ตรงตาม
เวลา และตระหนักถึงความปลอดภัยในการทำงาน

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. บอกความหมายและความสำคัญของการจัดซื้อได้
2. ระบุหน้าที่และคุณสมบัติของฝ่ายจัดซื้อได้
3. อธิบายกระบวนการเจรจาต่อรองได้
4. ระบุกลยุทธ์การเจรจาต่อรองได้
5. อธิบาย Value Chain กับการจัดซื้อได้
6. อธิบายซัพพลายเชนกับการจัดซื้อได้
7. บอกวิธีการลดต้นทุนและการจัดซื้อกลยุทธ์ได้

กิจกรรมการการจัดการเรียนรู้

เวลา (X นาที) 60 120 180


หมายเลขวัตถุประสงค์ 1,2,3,4,5,6,7
ขั้นสนใจปัญหา(.....10.... นาที)
บรรยาย
ขั้นให้ข้อมูล
ถามตอบ
(..120 นาที)
สาธิต
ขั้นพยายาม (........30....นาที)
ขั้นสำเร็จผล (.........20...นาที)
กระดานดำ
Power point
แผ่นใส
ของจริง
อุปกรณ์ช่วยสอน ใบเนื้อหา
ใบงาน
เฉลยใบงาน
ใบสั่งงาน
ใบประเมินผล
Pre test (10 นาที)
Post test (10นาที)
ใบทดสอบ ก่อนเรียน หลังเรียน

ใบเนื้อหาที่ 4 สื่อ Power point ชุดที่ 4 ใบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน หน่วยที่ 4


กิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู กิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน
1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ขั้นสนใจปัญหา (10 นาที
และทดสอบ 10 นาที) ผู้เรียนร่วมคิดและตอบคำถามและทำแบบทดสอบ
ครูผู้สอนนำเข้าสู่บทเรียน เล่าถึงความสำเร็จของ ก่อนเรียน
ธุรกิจหลายๆ ธุรกิจ มาจากกระบวนการโลจิส ติกส์
และซั พ พลายเชนในการจั ด ซื้ อ กระบวนการเจรจา
ต่อรอง กลยุทธ์การเจรจาต่อรอง และกระบวนการส่ง
มอบ เป็นส่วนสนับสนุนสำคัญในการวางแผนให้กับ
ฝ่ายจัดซื้อขององค์กร ก่อให้เกิดการเพิ่มคุณค่าให้กับ
ธุรกิจ ในตลาดโลกมีการแข่ งขันสูงทุกอุตสาหกรรม
ต้อ งเน้ น ประสิ ท ธิภ าพ นั ก จัด ซื้ อ ยุค ใหม่ ต้ อ งตื่ น ตั ว
ต้องตามกระแสการเปลี่ยนแปลงให้ทันโดยใช้ กลยุทธ์
ต่างๆ ในการแข่งขันเพื่อให้ธุรกิจประสบความสำเร็จ
2. ขั้นสอน (120 นาที)
สอนโดยการบรรยาย เกี่ยวกับ ความหมายและ ผู้เรียนฟั ง การบรรยาย และศึก ษาเอกสารประกอบ
ความสำคั ญของการจัดซื้อ หน้าที่และคุณสมบัติของ การเรี ยนตาม และร่วมตอบคำถามถึง ความหมาย
ฝ่ายจั ดซื้อ กระบวนการเจรจาต่อรอง กลยุท ธ์ การ และความสำคัญของการจัดซื้อ หน้าที่และคุณสมบัติ
เจรจาต่อรอง Value Chain กับการจัดซื้อ ซัพพลาย ของฝ่ายจัด ซื้อ กระบวนการเจรจาต่อรอง กลยุทธ์
เชนกับการจัดซื้อ ซัพพลายเชนกับการจัดซื้อ วิธีการ การเจรจาต่ อ รอ ง Value Chain กั บ ก ารจั ด ซื้ อ
ลดต้นทุนและการจัดซื้อกลยุทธ์ ซัพพลายเชนกับการจัดซื้อ ซัพพลายเชนกับการจัดซื้อ
วิธีการลดต้นทุนและการจัดซื้อกลยุทธ์

3. ขั้นพยายาม (60 นาที) แบ่งกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่มให้แต่ละกลุ่มสรุปสาระสำคัญ


ครูผู้สอนผู้เรี ยนมีส่วนร่วม (แต่ละกลุ่มส่ง ตัวแทน ของแต่เรื่องตามจุดประสงค์ ผู้เรียน ศึกษาแล้วแบ่ง
กลุ่ม) วิเคราะห์เกี่ยวกับกรณีศึกษา และมอบหมายให้ หน้าที่รับผิดชอบในการร่วมปฏิบัติกิจกรรมร่วมกัน
ผู้เรียนนำกรณีศึกษามานำเสนอในชั้นเรียน
4. ขั้นสรุป (30 นาที และทดสอบ 10 นาที)
และผู้สอนสรุปแต่ละเรื่องให้ผู้เรียนฟังจนเข้าใจ แต่ ล ะกลุ่ ม ส่ ง ตั ว แทนออกมาสรุป เพื่ อ นฟั ง หน้ า ชั้ น
มอบหมายให้ผู้เรียนกลับไปศึกษาเนื้อหาเรื่องการ เรียน
จัดการคลังสินค้า
สื่อสารเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้
สื่อสิ่งพิมพ์
1. ใบเนื้อหา
2. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
3. ใบมอบหมายงาน
4. หนังสือโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ของ อาจารย์ก่อเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา
5. หนังสือโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ของ อาจารย์ไตรเลิศ ครุฑเวโชและมนัสชัย กีรติผจญ

สื่อโสตทัศน์ (ถ้ามี)
1. ใช้สื่อ Power point
แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
1. แหล่งข้อมูลจากระบบสารสนเทศ Internet
2. เว็บไซต์ https://www.youtube.com/watch?v=UDmAC-6Tebs
3. เว็บไซต์ https://www.scribd.com/doc/289633892/

การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กับวิชาอื่น
1. บูรณาการกับวิชาการบริหารการจัดซื้อ
2. บูรณาการกับวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ

3. บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านความขยันหมัน่ เพียร ประหยัด อดออม

การวัดและประเมินผล
การประเมินผล
ก่อนเรียน
1. แบบทดสอบก่อนเรียน
ขณะเรียน
1. แบบประเมินพฤติกรรมรายกลุ่ม
2. แบบสังเกตพฤติกรรม
3. แบบประเมิน คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะพึงประสงค์
หลังเรียน
4. แบบทดสอบหลังเรียน
เกณฑ์ในการวัดและประเมินผล
การวัด (ใช้เครื่องมือ) การประเมินผล (นำผลเทียบกับเกณฑ์และแปล
ความหมาย)
1. แบบทดสอบก่อนเรียน (ไว้เปรียบเทียบกับคะแนนสอบหลังเรียน)
2. แบบสังเกตการทำงานกลุ่มและการ เกณฑ์ผ่าน 60 %
นำเสนอผลงานกลุ่ม
3. แบบฝึกหัดในหน่วย เกณฑ์ผ่าน 50 %
4. แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน 50 %
5. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม เกณฑ์ผ่าน 60 %
ตามสภาพจริง

บันทึกหลังสอน
1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

2. ผลการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

3. แนวทางการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
แบบฝึกหัดบทที่ 4 การจัดซื้อ
จงเติมคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. จงอธิบายความหมายการจัดซื้อ
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
2. การจัดซื้อมีความสำคัญอย่างไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
3. ฝ่ายจัดซื้อมีหน้าที่อย่างไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
4. ผู้บริหารฝ่ายจัดซื้อมีคุณลักษณะอย่างไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
5. จงอธิบายกระบวนการเจรจาต่อรอง มาให้เข้าใจ
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
6. จงอธิบายกลยุทธ์การเจรจาต่อรอง มาให้เข้าใจ
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
7. จงอธิบาย Value Chain กับงานจัดซื้อ มาให้เข้าใจ
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
8. จงบอกผลที่ได้จากการทำ Value Chain มา 5 ข้อ
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
9. การประยุกต์ซัพพลายเชนกับการจัดซื้อมีแนวทางอย่างไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
10. การลดต้นทุนมีวิธีการอย่างไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 4 การจัดซื้อ
จงเติมคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. จงอธิบายความหมายการจัดซื้อ
ตอบ กิจ กรรมของผู้ จัด ซื้ อโดยยึ ด หลัก 5 R’s พิ จ ารณาเลื อ กซื้ อ สิน ค้ าให้ ไ ด้คุ ณ สมบั ติ ที่ ถู กต้ อ ง (Right
Quality) จำนวนที่ถูกต้อง (Right Quantity) เลือกซื้อจากแหล่งที่ถูกต้อง (Right Source) ในราคาที่ถูกต้อง
(Right Price) และตรงต่อความต้องการของลูกค้ามากที่สุด (Right Want) โดยสามารถนำออกขายแล้วมี
กำไร

2. การจัดซื้อมีความสำคัญอย่างไรบ้าง
ตอบ การบริหารการจัดซื้อมีความสำคัญต่อการเพิ่มกำไรให้กับธุรกิจได้เช่นเดียวกันกับการขาย เพราะการ
จัดซื้ออย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่าจะช่วยให้สามารถลดต้นทุนลงได้ ทำให้ธุรกิจมีกำไรเพิ่มขึ้น

3. ฝ่ายจัดซื้อมีหน้าที่อย่างไรบ้าง
ตอบ 1. การจัดซื้อสินค้าและบริการ
2. การเจรจาต่อรอง
3. การเป็นตัวแทนของบริษัท
4. การติดตามงาน
5. การบริหารภายใน
6. กลยุทธ์การจัดซื้อ

4. ผู้บริหารฝ่ายจัดซื้อมีคุณลักษณะอย่างไรบ้าง
ตอบ 1. มองภาพรวมในกระบวนการทำงานในเชิงบูรณาการมากขึ้น
2. ผลักดันการลดต้นทุนรวม
3. บริหารความเสี่ยงที่อาจเกิดจากผู้ผลิตหรือผู้จัดหา
4. ให้ความสำคัญกับการบริหารค่าใช้จ่ายหมวดต่าง ๆ
5. ทำการเอาท์ซอสงานที่ไม่ใช่จุดแข่งขององค์กรออกไป
6. พัฒนาความสามารถในการตัดสินใจ
7. วัดผล วัดผล และวัดผล
8. คิดเหมือกับเป็นเจ้าของกิจการ
9. ต้องมีความคิดเชิงกลยุทธ์และพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา
10. สร้างความสัมพันธ์ที่ดี
11. ต้องเป็น Supply Manager
12. ต้องตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา

5. จงอธิบายกระบวนการเจรจาต่อรอง มาให้เข้าใจ
ตอบ การเจรจาต่อรอง หมายถึง การสนทนาเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การแสดงเหตุผลเพื่อหวังผล
โดยใช้ศิลปะการชักจูงใจให้ผู้สนทนาเห็นคล้อยตามด้วยความเต็มใจ
การเจรจาต่อรอง หมายถึง ความต้องการที่จะเร้าความพอใจให้เกิดขึ้นในการติ ดต่อ ไม่ว่าจะเพื่อ
วัต ถุประสงค์ทางด้ านธุรกิ จการค้าหรือ ด้านอื่ น ๆ ตราบใดก็ ตามที่มีการแลกเปลี่ยน ข้อคิด เห็ นเพื่ อสร้าง
สัมพันธภาพหรือกระชับสัมพันธภาพโดยอ้างข้อตกลงถือว่าเป็นการเจรจาต่อรอง

6. จงอธิบายกลยุทธ์การเจรจาต่อรอง มาให้เข้าใจ
ตอบ กลยุทธ์ในการเจรจาต่อรอง เป็นขั้นตอนที่ยากในการกำหนดและควบคุมเวลาเพราะขึ้นอยู่กับเนื้อหา
และความต้องการของคู่เจรจา ขั้นตอนนี้ ถือว่าเป็นขั้นตอนในการปฏิบั ติหรือเป็นงานสนาม หลังจากที่ได้
ไตร่ตรองและเตรียมตัวอย่างดี แล้ว ความสำเร็จจะเกิดขึ้ นหรือไม่อยู่ที่ขั้นตอนนี้ การเจรจาต่อรองทางธุรกิจ
หลังจากวางแผนและเตรียมตัวอย่างดีแล้วจะประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้
1. การหยั่งเชิง
2. การแลกเปลี่ยน
3. การชักจูง
4. การยินยอม

7. จงอธิบาย Value Chain กับงานจัดซื้อ มาให้เข้าใจ


ตอบ ห่วงโซ่แห่ งคุณ ค่า ซึ่งหมายถึงการสร้างกระแสและความสัมพั นธ์ของงานเพื่อเพิ่ม คุณค่าในแต่ ละ
ขั้นตอน โดยคุณค่าที่ดีที่สุดต้องเกิดจากทุกกระบวนการที่ผลิตสินค้านั้น ๆ แต่สิ่งที่พิเศษที่สุดจากทฤษฎีนี้ คือ
คุณค่าที่ดีที่สุดนั้นไม่ได้เกิดจากบริษัทของเราเท่านั้น แต่ต้องเกิดจากห่วงโซ่ทั้งหมดซึ่งต้องรวมไปถึงบรรดาซัพ
พลายเออร์ของเราด้วย เพราะฉะนั้น Value Chain จึงมุ่งเน้นให้ผู้ที่อยู่ในกระบวนการผลิตสินค้าไม่ว่าจะเป็น
ใครก็ตามต้องเห็นคุณค่าร่วมกัน และทำงานร่วมกันผลิตสินค้าที่มีคุณค่าสูงสุดให้แก่ลูกค้า โดยให้ลดความเป็น
อาณาเขตของตนเอง ไม่มีฝ่ายขาย ไม่มีฝ่ายผลิต ไม่มีซัพพลายเออร์แต่มีอยู่องค์กรเดียวเพื่อตอบสนองความ
ต้องการของลูกค้า
8. จงบอกผลที่ได้จากการทำ Value Chain มา 5 ข้อ
ตอบ ผลที่ได้จากการทำ Value Chain เช่น
- การเพิ่มกำไรให้กับบริษัทมากขึ้น
- มีต้นทุนที่ถูกลงเพราะได้สินค้าที่มีคุณค่าสูงขึ้น แม้ราคาไม่ได้ต่ำลงแต่เราได้สินค้าที่มีคุณค่ามากขึ้น
- มีระบบตรวจสอบวัดผลงานในแต่ละขั้นตอนที่เด่นชัดขึ้นหรือที่เรียกว่า ตัวบ่งชี้ป ระสิทธิภาพการ
ทำงาน (KPI)
- มีศักยภาพทางการแข่งขันเหนือคู่แข่งและยากต่อการเลียนแบบของคู่แข่งขัน
- เพิ่มลูกค้าใหม่ ๆ ให้แก่บริษัท

9. การประยุกต์ซัพพลายเชนกับการจัดซื้อมีแนวทางอย่างไรบ้าง
ตอบ การประยุกต์โซ่อุปทานกับการจัดซื้อมีแนวทาง ดังนี้
1. ลดการทำงานที่ซ้ำซ้อนในกระบวนการซัพพลายเชน
2. มอบงานที่สำคัญให้กับซัพพลายเออร์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด
3. รวบอำนาจการจัดซื้อ

10. การลดต้นทุนมีวิธีการอย่างไรบ้าง
ตอบ วิธีลดต้นทุนที่ดีที่สุดสำหรับเราก็คือ การมองหาวิธีการใหม่ ๆ ในการลดต้นทุนซึ่งพอสรุปได้ ดังนี้
1. คุณภาพ หมายถึงการซื้อวัตถุดิบที่มีคุณภาพสูงเข้ามาเพราะหากได้สินค้าที่มี คุณภาพก็ย่อมทำให้มี
ของเสียน้อย ทำให้ต้นทุนจากการมีของเสียต่ำ
2. ทำการวิเคราะห์คุณค่า (Value Analysis) หมายถึง การวิเคราะห์ถึงเรื่องคุณภาพและราคา
3. การทำ Sourcing
4. ตัดรายการที่ไม่จำเป็น
5. การเจรจาต่อรองราคาสินค้า
6. ลดสินค้าคงคลัง
7 .เปิดประมูล
8. การขนส่ง
9. เป็นผู้นำเรื่องต้นทุนการผลิตสินค้า
10. การรวมกิจการหรือการรวมองค์กร
11. การดำเนินธุรกิจที่ยึดมั่นกฎเกณฑ์ทางสังคมและสิ่งแวดล้อม
12. ยกเครื่องปรับปรุงการผลิตและบริการ
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....1..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 4 ชื่อหน่วย การจัดซื้อ จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การจัดซื้อ...............เวลา.............10.................นาที

คำสั่ง จงทำเครื่องหมายกากบาท (x) ลงหน้าข้อที่ถูกต้อง

1. กระบวนการของกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อรับผิดชอบในการจัดหาวัตถุดิบ อุปกรณ์ให้มีความรับผิดชอบพร้อมอยู่เสมอ

มีความหมายสอดคล้องกับข้อใด

ก. การต่อรองราคา ข. การจัดซือ้

ค. การประมูล ง. การเสนอราคา

2. ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ของการจัดซื้อ

ก. การซื้อสินค้าที่มีคุณภาพ ข. ราคาและความยุติธรรม

ค. การซื้อสินค้าจากหนีภาษี ง. การให้บริการด้วยความเต็มใจ

3. ข้อใดคืออำนาจหน้าที่ของฝ่ายจัดซื้อ

ก. การติดตามงาน ข. การเจรจาต่อรอง

ค. การเป็นตัวแทนของบริษัท ง. การจัดซื้อสินค้าและบริการ

4. ข้อใดที่ช่วยให้การปฏิบัติงานของฝ่ายจัดซื้อมีระบบข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ

ก. ระบบข้อมูลของสินค้า ข. ระบบการทำงานเป็นทีมงาน

ค. ระบบการประสานงาน ง. ระบบ IT
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....2..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 4 ชื่อหน่วย การจัดซื้อ จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การจัดซื้อ...............เวลา.............10.................นาที

5. การบริหารความเสี่ยงที่อาจเกิดจากผู้ผลิต/ผู้จัดหา มีความหมายสอดคล้องกับข้อใด

ก. การพิจารณาความสมดุลของต้นทุนกับผลประโยชน์

ข. การลดต้นทุนการผลิต

ค. การปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงาน

ง. การศึกษาวิจัยกระบวนการผลิต

6. แนวโน้มอะไรที่ผู้บริหารจัดซื้อจะประสบความสำเร็จ

ก. การพิจารณาเอาท์ซอสที่ไม่ใช่งานหลักของบริษัทออกไป

ข. การพิจารณาบริษัทที่ปรึกษา

ค. จัดหาผู้เชี่ยวชาญมาเป็นที่ปรึกษา

ง. การจัดตั้งบริษัทลูกในการจัดซื้อ

7. ข้อใดไม่ใช่วิธีการจัดการในการจัดซื้อเชิงกลยุทธ์

ก. การวิเคราะห์ต้นทุนรวม ข. การวิจยั และพัฒนาตลาด

ค. การเพิ่มอำนาจการต่อรอง ง. การวิเคราะห์อุตสาหกรรมของสินค้า
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....3..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 4 ชื่อหน่วย การจัดซื้อ จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การจัดซื้อ...............เวลา.............10.................นาที

8. ระบบแบบทันเวลา มีความหมายสอดคล้องกับข้อใด

ก. Just –in-Time ข. Just –in-Money

ค. Just –in-Sure ง. B Just –in-Bonus

9. ข้อใดคือบุคลิกที่สำคัญของผู้บริหารฝ่ายจัดซื้อ

ก. สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับซัพพลาย ข. มีความซื่อสัตย์

ค. มีความรู้เกี่ยวกับบริการจัดซื้อ ง. ประสานงานกับฝ่ายโลจิสติกส์

10. “การกระตุ้นและบุคลิกภาพ” เป็นทฤษฎีของนักจิตวิทยาท่านใด

ก. Nicrenbery ข. Maslow

ค. Deming ง. Kano

เฉลย
1. ข 2.ค 3.ข 4. ง 5. ก 6.ก 7. ข 8. ก 9. ก 10. ข
ใบเนื้อหา/ใบความรู้
หน่วยที่...4..เรื่อง การจัดซื้อ

1. ความหมาย “การจัดซื้อ”คือ กิจกรรมของผู้จัดซื้อ โดยยึดหลัก 5 R’s พิจารณาเลือกซื้อสินค้าให้ได้


คุ ณ สมบั ติ ที่ ถู ก ต้ อ ง (Right Quality) จำนวนที่ ถู ก ต้ อ ง (Right Quantity) ซื้ อ จากแหล่ ง ที่ ถู ก ต้ อ ง (Right
Source) ในราคาที่ถูกต้อง (Right Price) และตรงต่อความต้องการของลูกค้ามากที่สุด (Right Want) โดยนำ
ออกขายแล้วมีกำไร
2. วัตถุประสงค์ “การจัดซื้อ”
1. เพื่อให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพเหมาะสมกับผู้ซื้อและผู้ใช้
2. เพื่อให้ได้สินค้าตามจำนวนไม่ขาดตอน และการลงทุนในสต๊อคต่ำสุดสอดคล้องกั บจำนวน
สั่งซื้อที่ประหยัด และสภาวะความต้องการของตลาด
3. เพื่อ ให้ได้สิน ค้าในราคาต่ำสุด เมื่ อเปรียบเที ยบกั บคุณ ภาพบริก าร และคุณ สมบัติของ
สินค้า
4. เพื่อให้กิจการมีกำไร อยู่ในสภาวะการแข่งขันได้เป็นอย่างดี
5. เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาการซื้อสินค้าซ้ำซ้อน สินค้าชำรุด เสียหาย และล้าสมัย
6. เพื่อตอบสนองความต้องการของฝ่ายต่าง ๆ ในองค์การ และสอดคล้องกับนโยบายของ
องค์การ
3. หน้าที่ของการจัดซื้อ
จัดซื้อสินค้าและบริการ- ติดต่อประสานงาน ทำสัญญา
การเจรจาต่อรอง – ราคา ปริมาณ การส่งมอบ สเปค การชำระเงิน
เป็นตัวแทนบริษัท – ในการต่อรองกับซัพพลายเออร์
การติดตามงาน – ตรวจเยี่ยมโรงงาน ติดตามการส่งงานตามกำหนด
การบริหารภายใน – เก็บข้อมูลซัพพลายเออร์ ข้อมูลสินค้า ราคา ฯ
4. คุณสมบัติของพนักงานจัดซื้อ
▪ 1.มีความสามารถเข้าคุณค่าโดยรวมของซัพพลายเชนและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องอย่างลึกซึ้ง
▪ 2.ความรู้ทางด้านเทคนิค โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมการผลิต
▪ 3.ความสามารถในการวิเคราะห์ ก็คือ สามารถวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ
▪ 4.ความสามารถในการทำงานกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ โดยเฉพาะอินเตอร์เน็ต
▪ 5.มุมมองระดับโลก
▪ 6.ทักษะเฉพาะตัว
▪ 7.ความซื่อสัตย์
▪ 8.ความขยันและอดทนและ
▪ 9.การใฝ่ศึกษาหาความรู้ใหม่ ๆ
5. การเจรจาต่อรอง
การเจรจาต่อรอง คือ การสนทนาเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การแสดงเหตุผลเพื่อหวังผล โดยใช้ศิลปะการ
ชักจูงใจให้ผู้สนทนาเห็นคล้อยตามด้วยความเต็มใจ
หลักเกณฑ์พื้นฐานของการเจรจาต่อรอง คือ คู่เจรจามีความต้องการบางสิ่งบางอย่าง และพิจารณาความ
ต้องการอย่างรอบคอบ
เทคนิคการเจรจาต่อรองบนพื้นฐานของความต้องการ กระบวนการเจรจาต่ อรองประกอบด้วย การ
วางแผนและการเตรียมตัว การต่อรอง ผลเมื่อสิ้นสุดการเจรจา การเจรจาเรื่องการจัดซื้อสินค้าหรือวัตถุดิบ 5
เรื่อง
1. การเจรจาเงื่อนไข ราคา โดยใช้วิธีประกวดราคา หรือการประมูล การซื้อแบบวิธีพิเศษ
2. การเจรจาเรือ่ งเงื่อนไขการชำระเงิน ส่วนลดทางการค้า ส่วนลดเงินสด ระยะเวลาของการให้สินเชื่อ
3. การเจรจากำหนดระยะเวลาการจั ด ส่ ง สิ น ค้ า หรื อ วั ต ถุ ดิ บ สามารถวางแผนการจั ด ส่ ง ตรงตาม
กำหนดเวลา
4. การเจรจาเรื่องสถานที่จัดส่งหรือสถานที่รับสินค้า
5. การเจรจาการปรับปรุงคุณภาพ
กลยุทธ์การเจรจาต่อรอง ได้แก่ การหยั่งเชิง การแลกเปลี่ยน การชักจูง การยินยอม
6. Value Chain กับการจัดซื้อ
ห่วงโซ่แห่งคุณภาพ การสร้างความสัมพันธ์ของงานเพื่อเพิ่มคุณค่าที่ดีจากทุกกระบวนการ ต้องทำงานร่วมกัน
กับซัพพลายเออร์ เช่น
- การเพิ่มกำไรให้กับบริษัทมากขึ้น
- มีต้นทุนที่ถูกลงเพราะได้สินค้าที่มีคุณค่าสูงขึ้น
- มีระบบตรวจสอบวัดผลงานในแต่ละขั้นตอนที่เด่นชัดขึ้น หรือมีตัวบ่งชี้ระสิทธิภาพการทำงาน
(KPI)
- มีศักยภาพทางการแข่งขันเหนือคู่แข่ง และเลียนแบบยาก
- เพิ่มลูกค้าใหม่ ๆ ให้แก่บริษัท
- พัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างลูกค้าและซัพพลายเออร์ให้ดีขึ้น
- มีการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ของสินค้าให้ออกมาสู่ตลาดได้เร็วขึ้น
- มีส ถานะทางการเงิน ที่เข้ม แข็ง ขึ้ น ไม่ ต้อ งลงทุ น ในสิ่ ง ที่ ไ ม่ก่ อ ให้ เกิด คุ ณ ค่ าต่ อเป้ าหมายของ
กระบวนการ Value Chain
ข้อเสียของการทำ Value Chain
- อาจต้องสูญเสียส่วนแบ่งทางการตลาด ถ้าเปิดเผยข้อมูลของบริษัทมากเกินไป
- ไม่อาจตัดสินใจได้รวดเร็ว เพราะมีคนเข้ามาเกี่ยวข้องกับกระบวนการตัดสินใจ
- อาจต้องสูญเสียความยืดหยุ่นและความเป็นอิสระ
- ต้องใช้เวลานานมาก รวมถึงเงินจำนวนมาก หากต้องการให้กระบวนการ Value Chain ประสบ
ความสำเร็จ
7. ซัพพลายเชนกับการจัดซื้อ ลดการทำงานที่ซ้ำซ้อนในกระบวนการซัพพลายเชน มอบงานที่สำคัญให้กับซัพ
พลายเออร์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด
การจัดซื้อเชิงกลยุทธ์
1.การวิ เ คราะห์ อุ ต สาหกรรมของสิ น ค้ า – แนวโน้ ม อุ ป สงค์ อุ ป ทาน สภาวะการแข่ ง ขั น ทั้ ง
อุตสาหกรรม อำนาจต่อรอง ความหลากหลายในคุณภาพ บริการ ราคา
2.การเพิ่มอำนาจการต่อรอง – โดยรวมปริมาณ หรือรวมระยะเวลาของสัญญา
3.การวิเคราะห์ต้นทุนโดยรวมของการเป็นเจ้าของ – รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหา ติดตั้ง ปฏิบัติ การ
ผลิต บำรุงรักษา จัดเก็บ
ระบบ Just in Time ระบบการจัดซื้อแบบทันเวลา
- คุณภาพ – มีระบบควบคุมคุณภาพอย่างเข้มงวด
- ผู้ขายต้องมีความสามารถจัดส่งสินค้าได้บ่อยครั้งมากขึ้นและเชื่อถือได้
- ทำเลที่ตั้งใกล้กับลูกค้า สามารถส่งสินค้าได้ทันทีที่ลูกค้าต้องการ
- ระบบการติดต่อสื่อสาร ระบบ Just – in – Time
- ความต้องการสินค้าที่ชัดเจน
- พยายามซือ้ สินค้าจากแหล่งเดียว
เทคโนโลยีการจัดซื้อ
เทคโนโลยีการจัดซื้อทางอิเล็กทรอนิกส์ (E-Purchasing) ลดต้นทุน ลดเวลา เพิ่มประสิทธิภาพ โดย
ทำ Re-Engineering - ทำซัพพลายเชน ร่วมมือมือกับซัพพลายเออร์ ปรับปรุงกระบวนการทำงานทุกอย่าง
เทคโนโลยีพื้นฐาน 4 ส่วน 1. การเปลี่ยนแปลงกระบวนการทำงาน 2. การใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์เข้ามา
ทำงานในการจัดซื้อ 3. ความเข้ากันได้ของระบบ 4. ผสมผสานการทำงานระหว่างองค์กรและการใช้กลยุทธ์

การจัดซื้อ E – Procurement
E – Procurement ระบบจั ดซื้ อ จัด จ้า งออนไลน์ มี ขั้ น ตอนในระบบ ตั้ ง แต่ก ารคั ดเลือ กผู้ผ ลิต /ผู้
จำหน่าย ติดต่อขอใบเสนอราคา ขออนุมัติในการสั่งซื้อ ออกใบสั่งซื้อให้ผู้ผลิต/ผู้จำหน่าย ระบุจำนวนและ
กำหนดระยะเวลาส่งมอบ จัดส่งสินค้า ออกใบเรียกเก็บเงิน ชำระค่าสินค้าและบริการ
ประโยชน์ของ E – Procurement
1. ช่ วยให้ ก ารประสานงานกัน ระหว่า งผู้ ซื้อ และผู้ข ายเป็ น ไปได้ ร วดเร็ว ยิ่ ง ขึ้น จากการรับ -ส่ ง ในรูป แบบ
อิเล็กทรอนิกส์ ตั้งแต่การเสนอราคา การเลือกสินค้า การสั่งของ
2. ช่วยให้ผู้ซื้อได้สรรหาผู้ขายได้หลากหลายมากขึ้น เนื่องจากรายชื่อผู้ขายที่เหมาะสมจะถูกระบุชื่อไว้ในระบบ
เมื่อมีการค้นหา
3. ช่วยลดการใช้จ่ายที่ไม่ได้อยู่ในสัญญาการซื้อระยะยาว ระบบจะช่วยป้องกันไม่ให้ผู้ขอสั่งซื้อสั่งซื้อจากผู้ขาย
ที่ไม่ได้มีการต่อรองราคา
ใบมอบหมายงานที่ 4
ชื่อวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 4 ชื่อหน่วย การจัดซื้อ เวลา 3 ชั่วโมง
ชื่อเรื่อง การจัดซื้อ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายและความสำคัญของการจัดซื้อได้
2. ระบุหน้าที่และคุณสมบัติของฝ่ายจัดซื้อได้
3. อธิบายกระบวนการเจรจาต่อรองได้
4. ระบุกลยุทธ์การเจรจาต่อรองได้
5. อธิบาย Value Chain กับการจัดซื้อได้
6. อธิบายซัพพลายเชนกับการจัดซื้อได้
7. บอกวิธีการลดต้นทุนและการจัดซื้อกลยุทธ์ได้
แนวทางการปฏิบัติงาน
1. แบ่งนักศึกษาออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กัน ตามความสมัครใจ
2 มอบหมายงานตามลำดับกลุ่มให้สอดคล้องจุดประสงค์การเรียนรู้
3. ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มไปศึกษา ค้นคว้าหาข้อมูล และร่วมกันจัดทำเป็นบอร์ดวิชาการเผยแพร่
ความรู้และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4. ครู นักศึกษาเยี่ยมชมบอร์ดวิชาการ
5. ครูเสนอแนะเพิ่มเติมและบรรยายสรุป
กำหนดระยะเวลาที่ส่งงาน ภายหลังการนำเสนอ

การประเมินผล
1. พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
2. การนำเสนอ
3. ชิ้นงาน
4. การตอบข้อซักถาม
5. การตรงต่อเวลา
แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม
1. ก่อเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน. กรุงเทพฯ : บริษัท วังอักษร จำกัด, 2563
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....1..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 4 ชื่อหน่วย การจัดซื้อ จำนวน.....6....ชัว่ โมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การจัดซื้อ...............เวลา.............10.................นาที

คำสั่ง จงทำเครื่องหมายกากบาท (x) ลงหน้าข้อที่ถูกต้อง

1. ข้อใดคืออำนาจหน้าที่ของฝ่ายจัดซื้อ

ก. การติดตามงาน ข. การเจรจาต่อรอง

ค. การเป็นตัวแทนของบริษัท ง. การจัดซือ้ สินค้าและบริการ

2. กระบวนการของกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อรับผิดชอบในการจัดหาวัตถุดิบ อุปกรณ์ให้มีความรับผิดชอบพร้อมอยู่เสมอ

มีความหมายสอดคล้องกับข้อใด

ก. การต่อรองราคา ข. การจัดซื้อ

ค. การประมูล ง. การเสนอราคา

3. ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ของการจัดซื้อ

ก. การซื้อสินค้าที่มีคุณภาพ ข. ราคาและความยุติธรรม

ค. การซื้อสินค้าจากหนีภาษี ง. การให้บริการด้วยความเต็มใจ

4. ข้อใดที่ช่วยให้การปฏิบัติงานของฝ่ายจัดซื้อมีระบบข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ

ก. ระบบข้อมูลของสินค้า ข. ระบบการทำงานเป็นทีมงาน

ค. ระบบการประสานงาน ง. ระบบ IT
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....2..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 4 ชื่อหน่วย การจัดซื้อ จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การจัดซื้อ...............เวลา.............10.................นาที
5. แนวโน้มอะไรที่ผู้บริหารจัดซื้อจะประสบความสำเร็จ

ก. การพิจารณาเอาท์ซอสที่ไม่ใช่งานหลักของบริษัทออกไป

ข. การพิจารณาบริษัทที่ปรึกษา

ค. จัดหาผู้เชี่ยวชาญมาเป็นที่ปรึกษา

ง. การจัดตั้งบริษัทลูกในการจัดซื้อ

6. ข้อใดไม่ใช่วิธีการจัดการในการจัดซื้อเชิงกลยุทธ์

ก. การวิเคราะห์ต้นทุนรวม ข. การวิจัยและพัฒนาตลาด

ค. การเพิ่มอำนาจการต่อรอง ง. การวิเคราะห์อุตสาหกรรมของสินค้า

7. ระบบแบบทันเวลา มีความหมายสอดคล้องกับข้อใด

ก. Just –in-Time ข. Just –in-Money

ค. Just –in-Sure ง. B Just –in-Bonus


ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....3..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 4 ชื่อหน่วย การจัดซื้อ จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การจัดซื้อ...............เวลา.............10.................นาที
8. การบริหารความเสี่ยงที่อาจเกิดจากผู้ผลิต/ผู้จัดหา มีความหมายสอดคล้องกับข้อใด

ก. การพิจารณาความสมดุลของต้นทุนกับผลประโยชน์

ข. การลดต้นทุนการผลิต

ค. การปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงาน

ง. การศึกษาวิจัยกระบวนการผลิต

9. “การกระตุ้นและบุคลิกภาพ” เป็นทฤษฎีของนักจิตวิทยาท่านใด

ก. Nicrenbery ข. Maslow

ค. Deming ง. Kano

10. ข้อใดคือบุคลิกที่สำคัญของผู้บริหารฝ่ายจัดซื้อ

ก. สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับซัพพลาย ข. มีความซื่อสัตย์

ค. มีความรู้เกี่ยวกับบริการจัดซื้อ ง. ประสานงานกับฝ่ายโลจิสติกส์

เฉลย
1. ข 2ข 3.ค 4. ง 5. ก 6.ข 7. ก 8. ก 9. ข 10. ก
แบบประเมินผลพฤติกรรมรายบุคคล
ใบงานที่ 4 เรื่อง การจัดซื้อ
กลุ่มที่ ...................

ที่ คะแนน การรับฟัง การเสนอ การยอมรับ การสร้าง รวม ระดับการ


ความคิด ความคิด คนอื่น บรรยากาศ คะแนน มี
เห็น เห็น ในกลุ่ม ส่วนรวม
ชื่อสกุล 5 5 5 5 20
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ระดับของคะแนน
5 = มากที่สุด 4 = ค่อนข้างมาก
3 = ปานกลาง 2 = ค่อนข้างอ่อน
1 = น้อยที่สุด
เกณฑ์การประเมิน 15-20 = มาก
8-14 = ปานกลาง
1-7 = น้อย

ลงชือ่ ...........................................ผู้ประเมิน
การจัดซื้อ
คะแนน การนำเสนอผลงาน การบันทึกผลงาน รวม
ขัน้ นำ ขั้นสอน ขั้นสรุป ถูกต้อง เรียบร้อย คะแนน ระดับคุณภาพ
กลุ่มที่ ของผลงาน
10 10 10 10 10 50
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ระดับของคะแนน 8 - 10 = ดีมาก 7 - 8 = ดี
5 – 6 = พอใช้ 0 – 4 = ควรปรับปรุง
เกณฑ์การประเมิน 35 - 50 = ดี
17 - 34 = ปานกลาง
1 - 16 = ควรปรับปรุง

ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
แบบประเมินพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม จริยธรรม
วันที่......เดือน....................พ.ศ. ....................
ชื่อ...............................................นามสกุล.......................................ระดับชั้น.................เลขที่........
แผนก..................................................................คณะ......................................................................

ลำดับ พฤติกรรมที่ประเมิน ระดับคะแนน หมายเหตุ


3 2 1 ความหมายของระดับคะแนน
1 ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และงานที่ได้รับ 3= ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอโดยไม่
มอบหมาย ต้องมีการชี้นำหรือตักเตือน
2 กล้าคิด กล้าทำ และกล้าตัดสินใจด้วยเหตุผล 2= ปฏิบัติบ้างในบางครั้ง
3 มีมนุษยสัมพันธ์ทดี่ ีต่อเพื่อนๆ จากการเชิญชวนหรือชี้นำ
4 เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เสียสละเพื่อส่วนรวม 1= ต้องสั่งบังคับว่ากล่าวหรือ
5 มีวินัยซื่อสัตย์และประหยัด ตักเตือนจึงจะปฏิบัติ หรือมักจะ
6 รู้จักการให้โอกาส ให้อภัย ปฏิบตั ิในทางที่ผิดเสมอ
7 การยอมรับการปฏิบัติต่อมติของกลุ่ม
8 ไม่เอาเปรียบเพื่อนผู้เรียนด้วยกัน เกณฑ์การประเมิน
9 แสดงกิริยาวาจาสุภาพต่อทุกคน 26-30 คะแนน= ดีมาก
10 แสดงความมีน้ำใจต่อครู/อาจารย์ 21-25 คะแนน= ดี
รวม (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) 16-20 คะแนน= พอใช้
0-15 คะแนน= ควรปรับปรุง
บันทึก
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
การวิเคราะห์หัวข้อการสอนและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ทฤษฎี.....3.......ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ............-.....ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน…3…หน่วยกิต
ISL PSL
หน่วยที/่ ชื่อหน่วย รายการความรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
R A T I C A
5. การจัดการคลังสินค้า 1. ความหมายของคลังสินค้า 1. บอกความหมายของคลังสินค้าได้ /
2. วัตถุประสงค์ของคลังสินค้า 2. บอกวัตถุประสงค์ของคลังสินค้าได้ /
3. ประโยชน์ของคลังสินค้า 3. อธิบายประโยชน์ของคลังสินค้าได้ /
4. ประเภทของคลังสินค้า 4. จำแนกประเภทของคลังสินค้าได้ /
5. กิจกรรมหลักของคลังสินค้า 5. อธิบายกิจกรรมหลักของคลังสินค้าได้ /
6. วิธีการเลือกทำเลที่ตั้งคลังสินค้า 6. วิเคราะห์วิธีการเลือกทำเลที่ตั้งคลังสินค้าได้ /
7. ระบบโลจิสติกส์ในคลังสินค้า 7. อธิบายระบบโลจิสติกส์ในคลังสินค้าได้ /
หมายเหตุ ISL= ระดับความรู้ความสามารถทางสติปัญญา (Intellectual skill Level) PSL=ระดับความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อทำงาน(Physical skill Level)
R:การฟื้นความรู้ (Recalled Knowledge) I : ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed)
A:การประยุกต์ความรู้ (Applied Knowledge) C : ทำได้ดว้ ยความถูกต้อง (Control is needed)
T:การส่งถ่ายความรู้ (Transferred Knowledge) A : ทำด้วยความชำนาญ (Automation is needed)
กรอบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
หน่วยที่ 5 เรื่อง การจัดการคลังสินค้า

พอประมาณ
1. ผู้เรียนจัดสรรเวลาในการฝึกปฏิบัติตาม
ใบงานได้อย่างเหมาะสม
2. ผู้เรียนรู้จักใช้และจัดการวัสดุอุปกรณ์
ต่าง ๆ อย่างประหยัดและคุ้มค่า
3. ผู้เรียนปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4. ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มเพื่อน
มีภูมิคุ้มกันที่ดี

ความมีเหตุผล 1. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและการ
ปฏิบัติงาน
1. กล้าแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
2. กล้าซักถามปัญหาหรือข้อสงสัยต่าง ๆ อย่างถูก
2. กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ
กาลเทศะ
3. กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4. ไม่มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น 3. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเองอย่างเป็น
เหตุเป็นผล

4. ควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
ความรู้ + ทักษะ 5.ควบคุมกิคุรณิยธรรม
าอาการในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
1. ใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า 1. ปฏิบัติงานทีเป็่ได้นรอย่
ับมอบหมายเสร็
างดี จตามกำหนด
2. ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด
3. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ 3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและ
พอเพียง การปฏิบัติงาน
4. ให้ความร่วมมือกับการทำกิจกรรมของส่วนรวม อาสา
ช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น
นำไปสู่
สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม
สังคม ชุมชนมีคุณภาพชีวิต สภาพเศรษฐกิจมีความ มีการปลูกฝังกิจนิสัยการ ใช้สิ่งของอย่างรู้คุณค่า
ที่ดีขึ้น คล่องตัว มีรายได้และมี ประหยัด อดออม ใช้วัสดุธรรมชาติ ไม่ทำลาย
การใช้จ่ายในระบบเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม
แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 5 ชื่อหน่วย การจัดการคลังสินค้า จำนวน...6….ชั่วโมง

หัวข้อเรื่อง
1. ความหมายของคลังสินค้า
2. วัตถุประสงค์ของคลังสินค้า
3. ประโยชน์ของคลังสินค้า
4. ประเภทของคลังสินค้า
5. กิจกรรมหลักของคลังสินค้า
6. การวิเคราะห์ทำเลที่ตั้งคลังสินค้า
7. ระบบโลจิสติกส์ในคลังสินค้า

สาระสำคัญ
คลังสินค้ามีวิวัฒนาการที่ยาวนาน จุดเริ่มต้นเกิดจากการเก็บรักษาอาหาร วัตถุดิบที่ใช้ในการปรุงอาหาร
ของคนในสมัยโบราณที่ยังไม่มีที่เก็บสิน ค้าเพื่อถนอมรักษาอาหาร เหมือนยุคปัจจุ บันนอกจากนี้ยัง รวมถึงการ
จัดเก็บรักษาทรัพย์สินต่าง ๆ ที่จำเป็นไว้ใช้ในการดำรงชีวิต จนมีพัฒนาการมาสู่ระบบของการผลิต และการค้า
เรื่อยมาในแต่ละยุคแต่ละสมัย คลังสินค้าจึง กลายเป็นองค์ประกอบที่สำคัญและมีความจำเป็นอย่างยิ่งต่ อการ
ดำเนินธุรกิจการผลิตในด้านการจัดเก็บรักษาวัตถุดิบเพื่อรอการผลิต จนถึงสินค้าสำเร็จรูปที่รอการจำหน่าย ถึง
แม้ว่าจะมี ระบบของการจัดการด้านโลจิสติกส์เข้ามาเพื่อลดต้นทุนในด้านต่าง ๆ ก็ตาม ในส่วนหนึ่ งของต้นทุน
คลังสินค้ายังถือเป็นต้นทุนสำคัญที่ผู้ผลิตพยายามที่จะหาทางลดต้นทุนให้มากที่สุด ด้วยการจัดเก็บวัตถุดิบและ
สินค้าให้มีปริมาณที่เหมาะสม ไม่มากเกินไป หรือน้อยเกินไป เมื่อ คลังสินค้ามีบทบาทสำคัญ เช่นนี้จึงจำเป็นที่
ต้องมีการพัฒนาด้วยการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ เข้ามาจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการ
ในคลังสินค้าให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดในด้านต้นทุน
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจแสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและกระบวนการโลจิสติกส์และซัพ
พลายเชน
2. เพื่อให้มีกจิ นิสัย ในการทางานที่ดี ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ รับผิดชอบ มีวินัย ตรงตาม
เวลา และตระหนักถึงความปลอดภัยในการทำงาน
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. บอกความหมายของคลังสินค้าได้
2. บอกวัตถุประสงค์ของคลังสินค้าได้
3. อธิบายประโยชน์ของคลังสินค้าได้
4. จำแนกประเภทของคลังสินค้าได้
5. อธิบายกิจกรรมหลักของคลังสินค้าได้
6. วิเคราะห์วิธีการเลือกทำเลที่ตั้งคลังสินค้าได้
7. อธิบายระบบโลจิสติกส์ในคลังสินค้าได้
กิจกรรมการการจัดการเรียนรู้

เวลา (X นาที) 60 120 180


หมายเลขวัตถุประสงค์ 1,2,3,4,5,6,7
ขั้นสนใจปัญหา(.....10.... นาที)
บรรยาย
ขั้นให้ข้อมูล
ถามตอบ
(..120 นาที)
สาธิต
ขั้นพยายาม (........30....นาที)
ขั้นสำเร็จผล (.........20...นาที)
กระดานดำ
Power point
แผ่นใส
ของจริง
อุปกรณ์ช่วยสอน ใบเนื้อหา
ใบงาน
เฉลยใบงาน
ใบสั่งงาน
ใบประเมินผล
Pre test (10 นาที)
Post test (10นาที)
ใบทดสอบ ก่อนเรียน หลังเรียน
กิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู กิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน
1. ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน ขั้นสนใจปัญหา (10 นาที
และทดสอบ 10 นาที) ผู้เรียนร่วมคิดและตอบคำถามและทำแบบทดสอบ
ครูผู้สอนนำเข้าสู่บทเรียน เล่าถึง จุดเริ่มต้น เกิด ก่อนเรียน
จากการเก็ บ รั ก ษาอาหาร วั ต ถุ ดิ บ ที่ ใช้ ในการปรุ ง
อาหารของคนในสมัยโบราณที่ยังไม่มีที่เก็บสินค้าเพื่อ
ถนอมรักษาอาหาร เหมือนยุคปัจจุ บันนอกจากนี้ยัง
รวมถึงการจัดเก็บรักษาทรัพย์สินต่าง ๆ ที่จำเป็นไว้ใช้
ในการดำรงชีวิต จนมีพัฒ นาการมาสู่ระบบของการ
ผลิต จนถึงสิน ค้าสำเร็จรูปที่ ร อการจำหน่ าย และ
การนำระบบของการจัดการด้านโลจิสติกส์เข้ามาเพื่อ
ลดต้นทุนในด้านต่าง ๆ
2. ขั้นสอน (120 นาที)
ส อ น โด ย ก า ร บ ร ร ย า ย เกี่ ย ว กั บ ผู้เรียนฟั ง การบรรยาย และศึ กษาเอกสารประกอบ
ความหมายของคลั งสิน ค้า และศูน ย์ก ระจายสิ นค้ า การเรี ยนตาม และร่วมตอบคำถามถึง ความหมาย
วัตถุประสงค์ของคลังสินค้า ประโยชน์ของคลังสินค้า ของคลังสินค้า และศูนย์กระจายสินค้า วัตถุประสงค์
ประเภทของคลังสินค้า กิจกรรมหลักของคลัง สินค้า ของคลังสินค้า ประโยชน์ของคลังสินค้า ประเภทของ
วิธีการเลือกทำเลที่ ตั้งคลังสินค้า ระบบโลจิสติกส์ใน คลังสินค้า กิจกรรมหลักของคลังสินค้า วิธีการเลือก
คลังสินค้า ทำเลที่ตั้งคลังสินค้า ระบบโลจิสติกส์ในคลังสินค้า
3. ขั้นพยายาม (60 นาที) แบ่งกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่มให้แต่ละกลุ่มสรุปสาระสำคัญ
ครูผู้สอนผู้เรียนมีส่วนร่วม (แต่ละกลุ่มส่ง ตัวแทน ของแต่เรื่องตามจุดประสงค์ ผู้เรียน ศึกษาแล้วแบ่ง
กลุ่ม) วิเคราะห์เกี่ยวกับกรณีศึกษา และมอบหมายให้ หน้าที่รับผิดชอบในการร่วมปฏิบัติกิจกรรมร่วมกัน
ผู้เรียนนำกรณีศึกษามานำเสนอในชั้นเรียน
4. ขั้นสรุป (30 นาที และทดสอบ 10 นาที)
และผู้สอนสรุปแต่ละเรื่องให้ผู้เรียนฟังจนเข้าใจ แต่ ล ะกลุ่ ม ส่ ง ตั ว แทนออกมาสรุป เพื่ อ นฟั ง หน้ า ชั้ น
มอบหมายให้ผู้เรียนกลับไปศึกษาเนื้อหาเรื่องการ เรียน
บริหารสินค้าคลังสินค้า
สื่อสารเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้
สื่อสิ่งพิมพ์
1. ใบเนื้อหา
2. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
3. ใบมอบหมายงาน
4. หนังสือโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ของ อาจารย์ก่อเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา
5. หนังสือโลจิสติกส์และโซ่อปุ ทาน ของ อาจารย์ไตรเลิศ ครุฑเวโชและมนัสชัย กีรติผจญ

สื่อโสตทัศน์ (ถ้ามี)
1. ใช้สื่อ Power point
แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
1. ห้องสมุดวิทยาลัย
2. แหล่งข้อมูลจากระบบสารสนเทศ Internet

การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กับวิชาอื่น
1. บูรณาการกับวิชาหลักการจัดการการกระจายสินค้า
2. บูรณาการกับวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ
3. บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านความขยันหมัน่ เพียร ประหยัด อดออม

การวัดและประเมินผล
การประเมินผล
ก่อนเรียน
1. แบบทดสอบก่อนเรียน
ขณะเรียน
1. แบบประเมินพฤติกรรมรายกลุ่ม
2. แบบสังเกตพฤติกรรม
3. แบบประเมิน คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะพึงประสงค์
หลังเรียน
5. แบบทดสอบหลังเรียน
เกณฑ์ในการวัดและประเมินผล
การวัด (ใช้เครื่องมือ) การประเมินผล (นำผลเทียบกับเกณฑ์และแปล
ความหมาย)
1. แบบทดสอบก่อนเรียน (ไว้เปรียบเทียบกับคะแนนสอบหลังเรียน)
2. แบบสังเกตการทำงานกลุ่มและการ เกณฑ์ผ่าน 60 %
นำเสนอผลงานกลุ่ม
3. แบบฝึกหัดในหน่วย เกณฑ์ผ่าน 50 %
4. แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน 50 %
5. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม เกณฑ์ผ่าน 60 %
ตามสภาพจริง

บันทึกหลังสอน
1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

2. ผลการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

3. แนวทางการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
แบบฝึกหัดบทที่ 5 การจัดการคลังสินค้า
จงเติมคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. จงอธิบายความหมายคลังสินค้า
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
2. การจัดการคลังสินค้ามีองค์ประกอบอะไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
.......
3. ในคลังสินค้าประกอบด้วยกิจกรรมหลักอะไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
4. คลังสินค้ามีบทบาทความสำคัญอย่างไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
5. คลังสินค้ามีประโยชน์อย่างไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
6. จงอธิบายชนิด/ประเภทของคลังสินค้า
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
7. จงอธิบายการวิเคราะห์ทำเลที่ตั้งคลังสินค้า
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
8. การจัดเก็บสินค้าในคลังสินค้าแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่อะไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
9. หลักการเคลื่อนย้ายสินค้ามีวิธีการอย่างไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
10. จงอธิบายระบบโลจิสติกส์ในคลังสินค้า
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 5 การจัดการคลังสินค้า
จงเติมคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. จงอธิบายความหมายคลังสินค้า
ตอบ 1. คือ สถานที่ที่ใช้เก็บสำรองสินค้าที่ยังไม่ถึงเวลาที่จะนำมาใช้ หรือเป็นจุดพักสินค้าระหว่างผู้ผลิต
และผู้ค้าส่ง (Wholesale) หรือผู้ค้าปลีก (Retail Outlets)
2. เป็นส่วนงานของระบบโลจิสติกส์ที่ทำหน้าที่ในการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ (ได้แก่ วัตถุดิบ , ชิ้นส่วน,
ผลิตภัณฑ์ระหว่างผลิต, และผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป) ที่อยู่ระหว่างจุดเริ่มต้นของการผลิตและจุดสุดท้ายของการ
บริโภค หรือระหว่างต้นทางกับปลายทาง
3. ในบางสภาพเราอาจเรียกคลังสินค้าว่าเป็นศูนย์กระจายสินค้า (Distribution Center = DC)

2. การจัดการคลังสินค้ามีองค์ประกอบอะไรบ้าง
ตอบ 1. องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อระบบคลังสินค้า
2. องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจคลังสินค้า
3. องค์ประกอบของงานคลังสินค้า

3. ในคลังสินค้าประกอบด้วยกิจกรรมหลักอะไรบ้าง
ตอบ 1. การรับของ (Receiving)
2. การจัดเก็บ (Storing)
3. การเบิกจ่ายหรือการเลือกหยิบ (Picking)
4. การจัดส่ง (Shipping)

4. คลังสินค้ามีบทบาทความสำคัญอย่างไรบ้าง
ตอบ 1. พิจารณาจากส่วนที่เป็นตัวจักรสำคัญในระบบโลจิสติกส์และการบริการลูกค้า
2. พิจารณาจากมูลค่าสินค้าในความรับผิดชอบ
3. พิจารณาจากค่าใช้จ่ายรวมขององค์กร
4. พิจารณาจากวัตถุประสงค์หลักของกิจกรรมว่าคลังสินค้านั้น ๆ มุ่งเพื่อกิจกรรรมทางด้านไหน

5. คลังสินค้ามีประโยชน์อย่างไรบ้าง
ตอบ 1. เพื่อดำรงไว้ซึ่งแหล่งสนองสินค้า (สำหรับโรงงานก็คือวัตถุดิบและชิ้นส่วน)
2. เพื่อให้การสนับสนุนการทำงานแบบ Just – in – Time ของผู้สนองวัตถุดิบ ผู้ผลิตและผู้บริโภค
การสำรองวัตถุดิบเพียงพอย่อมจะทำให้รอบการผลิตเสียเวลาน้อยที่สุด
3. เพื่อแก้ปัญหาความแตกต่างในเรื่องเวลาและสถานที่ระหว่างการผลิตกับการบริโภค การผลิตนั้น
จะต้องทำตลอดปี แต่การขายนั้นขึ้นอยู่กับพฤติกรรมลูกค้าและปัจจัยอื่น ๆ
4. เพื่อความประหยัดในการผลิต
5. เพื่อเตรียมรับมือสภาพตลาดที่เปลี่ยนแปลง (ตัวอย่างเช่น ฤดูกาล, ความไม่แน่นอนของความ
ต้องการของตลาด การแข่งขัน เป็นต้น)
6. เพื่อความประหยัดในการขนส่ง
7. เพื่อความได้เปรียบในการสั่งซื้อจำนวนมาก และการสั่งซื้อล่วงหน้า
8. เพื่อให้มีค่าใช้จ่ายในด้านโลจิสติกส์ต่ำที่สุดในการให้บริการลูกค้าที่ดีที่สุด

6. จงอธิบายชนิด/ประเภทของคลังสินค้า
ตอบ คลังสินค้าสามารถจำแนกได้เป็นประเภทใหญ่ ๆ ตามชนิดของสต๊อก ดังนี้
- คลังวัตถุดิบ (Raw Materials Store)
- คลังเก็บผลิตภัณฑ์ระหว่างผลิต (Work in Process Store)
- คลังเก็บสินค้าสำเร็จรูปของโรงงาน (In Plant Warehouse)
- ศูนย์กระจายสินค้า (Distribution Center)
การจำแนกชนิดของคลังสินค้า สามารถพิจารณาได้จากปัจจัยต่าง ๆ คือ
1. ชนิดของตัวสินค้าหรือวัสดุที่เก็บ
2 .แหล่งที่มาและวิถีการไหลเวียนของสิ่งของที่จัดเก็บ
3. กิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในคลัง
4. จุดหมายสุดท้ายของเส้นทาง
ประเภทของคลังสินค้าแบ่งตามลักษณะความเป็นเจ้าของหรือตามลักษณะของการครอบครอง
1. คลังสินค้าเอกชน (Private Warehouse)
2. คลังสินค้าสาธารณะ (Public Warehouse)
ประเภทของคลังสินค้าแบ่งตามวัตถุประสงค์หลักของกิจกรรมคลังสินค้า สามารถแบ่งได้ดังนี้
1. คลังสินค้าแบบผสม (Mixing Warehouse)
2. คลังสินค้าแบบแบ่งแยกสินค้า (Breakbulk Warehouse)
3. คลังสินค้าแบบรวบรวมสินค้า (Consolidation Warehouse)

7. จงอธิบายการวิเคราะห์ทำเลที่ตั้งคลังสินค้า
ตอบ การเลือกทำเลที่ ตั้งของคลังสิน ค้าสามารถใช้ไ ด้ ทั้ง แนวทางมหภาค (Macro Approaches) และ
แนวทางจุลภาค (Micro Approaches) ซึ่งแนวทางมหภาคเป็นการวิเคราะห์เพื่อเลือกทำเลหรือพื้นที่ขนาด
ใหญ่ เช่น ประเทศต่าง ๆ ภาคต่าง ๆ ฯลฯ ส่วนแนวทางจุลภาคเป็นการเลือกทำเลที่ตั้งแบบเฉพาะเจาะจง
จากพื้นที่หรือประเทศที่ได้เลือกไว้แล้วจากแนวทางมหภาค

8. การจัดเก็บสินค้าในคลังสินค้าแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่อะไรบ้าง


ตอบ 1. การจัดเก็บแบบสุ่ม (Randomized Storage)
2. การจัดเก็บตามที่กำหนดไว้ (Dedicated Storage)

9. หลักการเคลื่อนย้ายสินค้ามีวิธีการอย่างไรบ้าง
ตอบ หลักทั่วไปในการหยิบและเคลื่อนย้ายของภายในคลังสินค้า มีดังนี้
1. Orientation Principle ทำการศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ของระบบจากแผนที่ ก ำลั ง ใช้ อ ยู่ เพื่ อ ที่ จ ะ
สามารถทราบถึงวิธีการจัดการและปัญหาที่เป็นอยู่
2. Planning Principle เริ่มวางแผนโดยรวมความต้องการพื้นฐาน
3. Systems Principle นำกิจกรรมด้านงานดูแลและการเก็บสินค้าเข้าไปในระบบ
4. Unit Load Principle จัดการสินค้าให้เป็นหน่วยใหญ่ที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
5. Space Utilization Principle บริหารพื้นที่ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด
6. Standardization Principle กำหนดวิธีการดูแลสินค้าและอุปกรณ์ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทุกที่
ที่ เป็นไปได้
7. Ergonomic Principle ต้องทราบถึงสมรรถนะขีดความสามารถและข้อจำกัดด้านสรีระของมนุษย์
8. Energy Principle รวมข้อมูลการใช้พลังงานของระบบดูแลวัสดุ และกระบวนการดูแลวัสดุทุกครั้ง
เมื่อมีการเปรียบเทียบหรือเตรียมการปรับปรุงให้เกิดประโยชน์คุ้มค่ามากที่สุด
9. Ecology Principle ทำให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด
10. Mechanization Principle นำเครื่ อ งจั ก รเข้ า มาใช้ ในกระบวนการ เมื่ อ พิ จ ารณาแล้ ว ว่ าเกิ ด
ประสิทธิภาพและคุ้มค่ากับเงินที่เสียไป
11. Flexibility Principle ใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่สามารถนำไปใช้กับงานหลาย ๆ งานภายใต้สภาพ
หรือเงื่อนไขที่หลากหลายได้
12. Simplification Principle ทำการเก็บรักษาดูแลให้ง่าย ๆ เข้าไว้
13. Gravity Principle ใช้ประโยชน์ของแรงดึงดูดโลกทุกเวลาเท่าที่เป็นไปได้
14. Safety Principle จั ด หาอุ ป กรณ์ ดู แ ลวั ส ดุ แ ละวิ ธี ก ารซึ่ ง เป็ น ไปตามข้ อ กำหนดด้ า นความ
ปลอดภัย
15. Computerization Principle พิจารณาการนำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้กับการเก็บและดูแลวัสดุ
16. System Flow Principle รวมการไหลเวียนข้อมูลเข้ากับการไหลของวัสดุในการดูแลและเก็บที่
เกิดขึ้นจริง
17. Layout Principle เตรียมขั้นตอนการปฏิบัติงานและการจัดตำแหน่งอุปกรณ์ในทุกทางเลือกที่
คิดว่าสามารถแก้ปัญหาได้
18. Cost Principle เปรียบเทียบความคุ้มด้านการเศรษฐศาสตร์ของทางเลือกอุปกรณ์และวิธีการ
19. Maintenance Principle เตรียมแผนการป้องกันและตารางการซ่อมแซมอุปกรณ์ทุกชิ้น
20. Obsolescence Principle เตรียมแผนระยะยาวเมื่อจำเป็นต้องทดแทนอุปกรณ์ที่ล้าสมัยและ
โดยพิจารณาค่าใช้จ่ายหลังรอบการเสียภาษีแล้ว

10. จงอธิบายระบบโลจิสติกส์ในคลังสินค้า
ตอบ 1. การหาแหล่งทำเลที่ตั้งคลังสินค้า
2. การออกแบบคลังสินค้า
3. การวางแผนผังกำหนดกิจกรรมขาเข้า – ขาออก
4. การจัดเก็บสินค้าตามรหัสควบคุม
5. การขนถ่ายการเคลื่อนย้ายสินค้าภายในคลังสินค้า
6. เครื่องมือและอุปกรณ์ในคลังสินค้า
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....1..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 5 ชื่อหน่วย การจัดการคลังสินค้า จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การจัดการคลังสินค้า...............เวลา.............10.................นาที
คำสั่ง จงทำเครื่องหมายกากบาท (x) ลงหน้าข้อที่ถูกต้อง

1. คลังสินค้าในกระบวนการของโลจิสติกส์เกี่ยวข้องกับเรื่องอะไร

ก. การบำรุงรักษาสินค้าคงคลังและการเคลื่อนย้าย

ข. การกำหนดงบประมาณ

ค. การลดต้นทุนในการบริการจัดการ

ง. การวางแผนผังกำหนดกิจกรรมขาเข้า – ออก

2. ขั้นตอนใดเป็นช่วงที่ใช้เวลาส่วนใหญ่ของการทำงานในคลังสินค้า

ก. การเบิกจ่าย/เลือกหยิบ ข. การรับของ

ค. การจัดส่ง ง. การจัดเก็บ

3. การไหลเวียนของระบบข้อมูลข่าวสารจะควบคู่ขนานไปกับกิจกรรมอะไร

ก. คลังสินค้า ข. การเคลื่อนย้ายสินค้า

ค. การควบคุม ง. การวางแผน

4. ลำดับการหยิบสินค้ามีความหมายสอดคล้องกับข้อใด

ก. FIFO ข. In Transit

ค. Whale ง. FOFI
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....2..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 5 ชื่อหน่วย การจัดการคลังสินค้า จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การจัดการคลังสินค้า...............เวลา.............10.................นาที

5. ข้อใดเป็นงานหลักที่ช่วยสนับสนุนการดำเนินงานขององค์กรให้เกิดประสิทธิผล

ก. งานกระจายสินค้า

ข. งานบำรุงรักษาสินค้า

ค. งานจัดวางสินค้า

ง. งานสินค้าคงคลัง

6. ข้อใดไม่ใช่ที่เก็บสินค้าตามลักษณะการใช้

ก. ที่เก็บเพื่อการหยิบสินค้า

ข. ที่เก็บสินค้าอย่างถาวร

ค. ที่เก็บสำรองสินค้า

ง. ที่เก็บสำรองระหว่างการดำเนินงาน

7. หน่วยซื้อ/จัดเก็บ/จัดหยิบ เรียกกันทั่วไปว่าอะไร

ก. กล่อง ข. พาลเลท

ค. คอนเทนเนอร์ ง. คาร์ตัน
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....3..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 5 ชื่อหน่วย การจัดการคลังสินค้า จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผูเ้ รียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การจัดการคลังสินค้า...............เวลา.............10.................นาที

8. ใช้อุปกรณ์รถยกประเภทต่าง ๆ ในการขนย้าย นำเข้าไปจัดเก็บตามชั้นต่าง ๆ ให้ถูกต้องตาม Location


หมายถึงข้อใด

ก. Picking ข. Storing

ค. Shipping ง. Receiving

9. สินค้าแต่ละชนิดประกอบด้วยรายละเอียดเฉพาะตัวหมายถึงข้อใด

ก. องค์กรที่เป็นเจ้าของสินค้า ข. รหัสสินค้า ชื่อสินค้า บาร์โค้ท

ค. รายละเอียดของบรรจุหีบห่อ ง. ถูกทุกข้อ

10. “ศูนย์กระจายสินค้า” มีความหมายสอดคล้องกับข้อใด

ก. Receive and Ship ข. Retail Outlets

ค. Distribution Center ง. Warehouse

เฉลย
1. ง 2.ก 3.ข 4. ก 5. ง 6.ข 7. ง 8. ข 9. ง 10. ค
ใบเนื้อหา/ใบความรู้
หน่วยที่...5..เรื่อง การจัดการคลังสินค้า

1. ความหมาย “คลั งสิ น ค้า ” คื อ สถานที่ เก็ บ สำรองสิน ค้ าที่ ยั ง ไม่ ถึง เวลาใช้ หรือ จุด พั ก สิ น ค้ า
ระหว่างผู้ผลิตและผู้ค้าส่ง หรือผู้ค้าปลีก เรียกว่า “ศูนย์กระจายสินค้า”
หน้าที่ของคลังสินค้า (WAREHOUSE) คืออะไร
หน้าที่ของคลังสินค้า (WAREHOUSE) มีหลายบทบาท เราสามารถแบ่งเป็น
หน้าที่ในการรับสินค้า (Receiving) ซึ่งประกอบด้วย การตรวจสอบจำนวน คุณลักษณะในการที่จะแยกแยะ
จัดเก็บ ให้ เป็น หมวดหมู่ โดยการจั ดการที่มีระบบการตรวจสอบและตรวจนับ ความถูก ต้องที่เกี่ยวข้องกั บ
ปริม าณ, จำนวน, สภาพ และคุณภาพ เป็น ต้น คลัง สิน ค้าทุ กประเภทจะมีสิทธิในความเป็ นเจ้าของสินค้ า
ชั่วคราว หมายถึง ความรับผิดชอบที่มีต่อตัวสินค้าในคลังให้เหมาะสมกับสินค้าแต่ละประเภท รวมถึงการใช้
ระบบและการจั ด การเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ไม่ ว่ า จะเป็ น ระบบ Automated Robot System (ระบบ
หุ่นยนต์), ระบบ Bar Code หรือ RFID เพื่อดูแลสินค้า
หน้าที่ในการควบคุมสินค้า ได้แก่การคัดแยกสินค้า, การบรรจุ, การแบ่งบรรจุ, การคัดเลือก, การติดป้าย และ
ที่สำคัญและเป็นหัวใจของคลังสินค้า คือ การควบคุมด้านเอกสาร ทั้งที่เกี่ยวกับรายงานการเคลื่อนไหว การรั บ
และการเบิก-จ่าย และการควบคุมทางบัญชี
หน้าที่ของคลังสินค้าในการส่งมอบสินค้า เป็นการส่งมอบสินค้าให้กับฝ่ายผลิตหรือลูกค้า หรือผู้ที่มาเบิกหรือ
ตามคำสั่งของผู้ฝากสินค้าซึ่งจะต้องส่งมอบสินค้าให้ตรงกับความต้องการของผู้รับ ทั้งจำนวน, สภาพ, สถานที่
และเวลาซึ่งจะต้องมีกระบวนการคัดเลือกสินค้าและระบบการจัดส่งให้กับลูกค้า
ดังนั้นสามารถแยกประเภทคลังสินค้าออกตามลักษณะความรับผิดชอบ ได้แก่ คลัง สินค้าเพื่อการ
จั ด เก็ บ (Storage Warehouse) ,คลั ง สิ น ค้ า สำหรั บ จำหน่ า ย , ศู น ย์ ข นส่ ง สิ น ค้ า , คลั ง สิ น ค้ า ทั ณ ฑ์ บ น
(Bonded) , ศู น ย์ เปลี่ ย นถ่ า ยสิ น ค้ า (Cross Dock Warehouse) และศู น ย์ ก ระจายสิ น ค้ า (Distribution
Center) เป็นต้น
หน้าที่หลักของคลังสินค้า 4 ขั้นตอน รับ เก็บ ส่ง และนำไปใช้
หน้าที่หลักของศูนย์กระจายสินค้า 2 ขั้นตอน รับ ส่ง
องค์ประกอบการจัดการคลังสินค้า
มีอิทธิพลต่อระบบคลังสินค้า
1. เวลา ต้องออกแบบให้ลดเวลามากที่สุด
2. คุณภาพ ตรงต่อเวลาได้คุณภาพ
3. ประโยชน์ของลิตภัณฑ์ ลดต้นทุน นำกลับมาใช้ใหม่ได้
4. ใช้กำลังคนที่มีให้เป็นประโยชน์มากที่สุด คนงาน ต้องทำงานได้หลายอย่าง

เกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจคลังสินค้า
1. โครงสร้างงวิศวกรรมของอาคาร แสงสว่าง ความแข็งแรงของพื้น
2. อุปกรณ์ที่จำเป็น ชั้นวางของ ถังบรรจุสินค้า และอุปกรณ์ขนลาก
3. บุคลากรในสำนักงาน และคนงาน
4. การขนส่งสินค้า
5. ระบบการส่งต่อเอกสารและการบันทึกบัญชีประจำวัน
องค์ประกอบของงานคลังสินค้า
1. โครงสร้างของคลังสินค้า คลังสินค้า ที่เก็บสินค้า ประเภทของที่เก็บสินค้า
2. เจ้าของสินค้า และผู้รับสินค้า พื้นที่วางของแต่ละเจ้าของ เส้นทางส่งสินค้า
3. สินค้า (Product) กลุ่มย่อยของสินค้า หน่วยนับ

2. วัตถุประสงค์ของคลังสินค้า
เพื่อทำหน้าที่รักษาระดับ สินค้าคงคลัง เพื่อสนับ สนุนการผลิต (Manufacturing support) เพื่อทำ
หน้าที่ผสมสินค้า (Product-mixing) เพื่อทำหน้าที่รวบรวมสินค้าก่อนจัดส่ง (Consolidation) เพื่อทำหน้าที่
แยกหีบห่อ (Break-bulk) หรือทำหน้าที่เป็นศูนย์กระจายสินค้า (Cross dock)
- เพื่อให้ประหยัดในการขนส่ง
- เพื่อให้ประหยัดในการผลิต
- เพื่อข้อได้เปรียบในการสั่งซื้อจำนวนมากๆ และการสั่งซื้อล่วงหน้า
- เพื่อคงไว้ซึ่งแหล่งที่มาของสินค้า
- เพื่อเป็นการสนับสนุนนโยบายการให้บริการกับลูกค้า

3. ประโยชน์ของคลังสินค้า
- เก็บวัตถุดิบ ชิ้นส่วน
- สนับสนุนการทำงานของโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
- ลดต้นทุน รองรับสภาพตลาดที่เปลี่ยนไป
- ทำให้ต้นทุนของสินค้าลดลง
- เป็นการป้องกันการขาดมือของสินค้าที่จะขาย
- ช่วยลดปัญหาอันจะเกิดขึ้นเนื่องจากการขนส่ง
- สามารถผลิตได้ในปริมาณเกินกว่าความต้องการตามฤดูกาล
- ช่วยให้ได้ใช้สินค้านั้นๆ ได้ทันเวลาตามต้องการ
- ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค
- ช่วยให้การผลิตดำเนินไปได้โดยปกติ

4. ประเภทของคลังสินค้า
คลังสินค้าสามารถจำแนกได้เป็นประเภทใหญ่ ๆ ตามชนิดของสต็อค ดังนี้
- คลังวัตถุดิบ (Raw Materials Store)
- คลังเก็บผลิตภัณฑ์ระหว่างผลิต (Work in Process Store)
- คลังเก็บสินค้าสำเร็จรูปของโรงงาน (In Plant Warehouse)
- ศูนย์กระจายสินค้า (Distribution Center)
ประเภทของคลังสินค้าแบ่งตามลักษณะความเป็นเจ้าของหรือตามลักษณะของการครอบครอง
1. คลังสินค้าสาธารณะ (Public warehouse) เช่น องค์การคลังสินค้า คลังสินค้าทัณฑ์บน เปิดให้บริการเช่า
โดยทำสัญญาเช่า มีหลายชนิด เช่น
1.1 คลังสินค้าสำหรับสินค้าทั่วไป (General merchandise warehouse)
1.2 คลังสินค้าพิเศษ (Special commodity warehouse) เช่น คลังสินค้าผลไม้ ลิ้นจี่ ลำไย เป็นต้น
1.3 คลังสินค้าทัณฑ์บน (Bonded warehouse) คลังสินค้านำเข้าจากต่างประเทศของศุลกากร จะ
ไม่เสียภาษีนำเข้า จนกว่าจะนำออกจากคลัง
2. คลังสินค้าเอกชน (Private warehouse)
คลังสินค้าที่เอกชนหรือธุรกิจต่าง ๆ สร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บรักษาสินค้าของตนโดยเฉพาะ เพื่อรอการ
จัดจำหน่ายและการกระจายสินค้า ซึ่งคลังสินค้าประเภทนี้จะควบคุมการดำเนิน งานและรับผิดชอบด้านการ
บริหารคลัง สินค้าที่มิได้แสวงหาประโยชน์จากการรับฝากสินค้าจากบุคคลภายนอก
3. คลังสินค้าเพื่อกิจกรรมพิเศษ (Special warehouse)
คลังสินค้าที่ใช้สำหรับเก็บรักษาผลผลิตทางการเกษตรกรรม เช่น คลังสิ นค้าผลไม้ ลิ้นจี่ ลำไย เป็น
ต้นประเภทของคลังสินค้า ตามลักษณะการครอบครอง
คลังสินค้าเอกชน Private Warehouse เป็นทรัพย์สินขององค์กรเจ้าของสินค้า Owner ซึ่งบริหาร
และการดำเนินการเองทั้งหมด เก็บเฉพาะสินค้าที่ต้องการ
คลังสินค้าสาธารณะ Public Warehouse เป็น คลัง สินค้ าที่ ผู้ประกอบการทำธุรกิจรับดำเนินการ
ติดตั้งระบบการ คลังสินค้าให้กับหลายองค์กรมาใช้บริการ

5. กิจกรรมในคลังสินค้า
- การรับ ของ จากรถขนส่ง เข้ าคลั ง จำแนก คั ด แยก ตรวจนั บ การคืน ของและให้ ร หั ส กำหนด
ตำแหน่งที่เก็บ
- การจัดเก็บ (Storing) ใช้อุปกรณ์ รถยก ขนย้ าย เก็บ ตามชั้น วาง ให้ถูกต้อง ตามแผนการจัดเก็ บ
เพื่อให้การเบิกจ่ายทำได้รวดเร็ว แม่นยำ
- การเบิกจ่ายหรือการเลือกหยิบ (Picking) ขึ้นอยู่กับระบบจัดเก็บ จำนวนรายการ จำนวนออร์เดอร์
ในการเบิกจ่ายต่อวัน ความถี่และปริมาณการเบิกจ่ายมากน้อยแค่ไหน ควรใช้อุปกรณ์แบบอัตโนมัติที่ควบคุม
ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ประสิทธิภาพโดยรวมของคลังสินค้า
- การจั ดส่ ง ขั้ น นำสิ น ค้าที่ เบิ กจ่ ายแล้ วมากองรวมเพื่ อ เตรีย มจัด ส่ ง มี ก ารตรวจนั บ เช็ค ยอดกั บ
เอกสาร จุดพัก เรียงกองสินค้าสำหรับแต่ละเที่ยวรถ การขึ้นของบนรถหรือ ตู้คอนเทนเนอร์ และปล่อยรถไป
ตามเส้นทางที่ได้มีการวางแผนกำหนดไว้

6. การวิเคราะห์ทำเลที่ตั้งคลังสินค้า
- กลยุทธ์ทำเลใกล้ตลาด -ใกล้กับลูกค้าคนสุดท้ายให้มากที่สุด เพื่อสนองความต้องการในการบริการ
ลูกค้า
- กลยุ ท ธ์ท ำเลใกล้ แ หล่งผลิต แหล่ ง วัต ถุดิ บ โรงงาน – แยกสิ น ค้า เป็ น ของเน่ า เสีย ง่าย หรื อเป็ น
ส่วนผสมหลักในผลิตภัณฑ์
- กลยุทธ์ทำเลระหว่างกลาง – ระหว่างแหล่งผลิตและตลาด เหมาะกับการต้องการบริการลูกค้าให้ดี
และมีโรงงานหลายแห่ง
การพิจารณาเลือกทำเลที่ตั้งคลังสินค้าต้องคำนึงถึงความเหมาะสมเพื่อประโยชน์ของธุรกิจ อันจะ
ก่อ ให้ เกิ ดยอดขาย และกำไร โดยมี ค่าใช้จ่ ายที่ ต่ ำ คลัง สิ นค้ าจัด เป็ น ธุรกิ จหนึ่ ง ที่ มีก ารแข่ ง ขัน สู ง มี ความ
หลากหลายในด้านรูปแบบ วิธีการ รวมทั้งอาจมีลูกค้า ผู้ใช้บริการ หรือผู้เกี่ยวข้องกับคลังสินค้ามีจำนวนมาก
เพื่อให้สามารถบริการแก่องค์กรต่าง ๆ ได้อย่างทั่วถึง และมีประสิทธิภาพให้สามารถตอบสนองการดำเนินการ
ของแต่ละองค์กรที่เกี่ยวข้องได้จะมีปัจจัยสำคัญในการเลือกทำเลที่ตั้ง 3 ประการ คือ
1. ปัจจัยพิจารณาในเชิงคุณภาพ
ปัจจัยพิจารณาในเชิงคุณภาพในการเลือกทำเลที่ตั้งคลังสินค้าหมายถึงปัจจัยที่ไม่อาจวัดออกมาในรูป
ของประมาณเป็นตัวเลขได้อย่างชัดเจน เป็นปัจจัยที่ไม่มีตัวตน แต่ก็มีอิทธิพลอย่างสำคัญ โดยเฉพาะสำหรับ
ภาครายได้ของกิจการ ปัจจัยพิจารณาในเชิงคุณภาพมีความสำคัญต่อการเปรียบเทียบทำเลที่ตั้งหลาย ๆ แห่ง
อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาปัจจัยเหล่านี้แล้วก็อาจช่วยในการตัดสินใจเลือกทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมในขั้นต้น แม้
จะเป็นสิ่งที่วัดได้ยากและการเปรียบเทียบกระทำได้ไม่ค่อยชัดเจนนักก็ตาม
2. ปัจจัยพิจารณาในเชิงปริมาณ
ปัจจัยพิจารณาในเชิงปริมาณ หมายถึงปัจจัยเกี่ยวกับทำเลที่ตั้งที่สามารถวัดได้เป็นตัวเลข ซึ่งมักแสดง
ในรูปของตัวเงินที่เรียกว่าต้นทุนเป็นปัจจัยทางเศรษฐกิจนั่นก็หมายถึงการวิเคราะห์ต้นทุนเปรียบเทียบระหว่าง
ทำเลที่ตั้งแต่ละแห่งเพื่อหาทำเลที่ ตั้งซึ่งมีต้นทุนต่ำที่สุด แล้วนำเอาการวิเคราะห์ปั จจัยเชิงคุณภาพที่กล่าว
มาแล้วเข้ามาเป็นส่วนประกอบเพื่อการเลือกทำเลที่ตั้งคลังสินค้าที่อำนวยประโยชน์ต่อการดำเนินธุรกิจ มาก
ที่สุด
3. การเลือกทำเลที่ตั้งในกระแสโลกาภิวัตน์
การขนส่งและการติดต่อสื่อสารเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วด้วยเทคโนโลยีอันทันสมัย ทำให้โลกมีขอบเขตแคบลง
และสามารถรับรู้ข่าวสารกันได้ง่ายดายยิ่งขึ้น ประกอบกับนโยบายค้าระหว่างประเทศที่เปิดเสรีปราศจาก
กำแพงภาษีนำเข้าซึ่งใช้กีดกันทางการค้า ทำให้ก ารเลือกทำเลที่ตั้งกว้างไกลไป สู่ระดับนานาชาติ การเลือก
ทำเลที่ตั้งในต่างประเทศนำมาซึ่งประโยชน์หลายประการ เช่นลดต้นทุนการผลิตเนื่องจากค่าแรงที่ต่ำกว่า เพิ่ม
ความรู้สึกยอมรับผลิตภัณฑ์ของประเทศลูกค้าถ้าใช้ฐานการผลิตในประเทศนั้น
4. การเลือกทำเลที่ตั้งในระดับสากล
ในกรณีที่ต้องขยายการลงทุนไปยังประเทศอื่น ซึ่งมีความเสี่ยงสูง ถ้าไม่ได้ทำการศึกษาปัจจัยทุกอย่าง
ให้ถี่ถ้วน การลงทุนอาจสูญเปล่า ปัจจัยที่สำคัญมีดังนี้
4.1 ภาครัฐบาล ระบบเศรษฐกิจ และการเมือง
4.2 กฎหมาย และระเบียบข้อบังคับ
4.3 สภาพแวดล้อมและชุมชน
4.4 การส่งเสริมการลงทุน
4.5 ผู้ขายปัจจัยการผลิต และลูกค้า
4.6 สาธารณูปโภค การขนส่งและการกระจายสินค้า
7. ระบบโลจิสติกส์ในคลังสินค้า
ในการกำหนดโลจิสติกส์คลังสินค้าเราต้องเข้าใจความหมายของโลจิสติกส์ก่อน ในแง่ที่ง่ายที่สุดที่
เป็นไปได้โลจิสติกส์อาจถูกกำหนดเป็นรายละเอียดการวางแผนองค์กรการจัดการและการดำเนินงานที่ซับซ้อน
ในหลายอุตสาหกรรมรวมถึงคลังสินค้าโลจิสติกส์ยังขยายไปถึงการไหลเวียนของสินค้าและข้อมูลทางกายภาพ
โลจิสติกส์ของคลังสินค้าจึงครอบคลุมทุกปัจจัยที่ซับซ้อนและหลากหลายไม่ว่าจะเป็นองค์กรการ
เคลื่อนไหวและการจัดการที่เกี่ ยวข้องกับคลังสินค้า ซึ่งรวมถึงการไหล (การจัดส่งและการรับ) ของสินค้าคง
คลังทางกายภาพรวมถึงสินค้าที่เป็นนามธรรมมากขึ้นรวมถึงข้อมูลและเวลา
โลจิสติกส์คลังสินค้าอาจขยายไปถึงอะไรก็ได้ตั้งแต่การควบคุมอุปสรรคไปจนถึงการจัดการสินค้าที่
เสีย หายนโยบายความปลอดภั ย การจั ดการทรัพ ยากรมนุ ษ ย์ก ารส่ง คื น ลูก ค้า กล่าวอีก นัย หนึ่ง โลจิ สติ กส์
คลังสินค้าเกี่ยวข้องกับนโยบายขั้นตอนและเครื่องมือขององค์กรทั้งหมดที่จำเป็นต่อการดำเนินงานคลังสินค้า
ของคุณให้ราบรื่น
โลจิสติกส์ของคลังสินค้าจึงครอบคลุมทุกปัจจัยที่ซับซ้อนและหลากหลายไม่ว่าจะเป็นองค์กรการ
เคลื่อนไหวและการจัดการที่เกี่ยวข้องกับคลังสินค้า ซึ่งรวมถึ งการไหล (การจัดส่งและการรับ) ของสินค้าคง
คลังทางกายภาพรวมถึงสินค้าที่เป็นนามธรรมมากขึ้นรวมถึงข้อมูลและเวลา
ดังนั้นในระบบโลจิสติกส์ในคลังสินค้าหรือคลังสินค้าในกระบวนการของโลจิสติกส์จึงเกี่ยวข้องกับ
1. การหาแหล่งทำเลที่ตั้งคลังสินค้า
2. การออกแบบคลังสินค้า
3. การวางแผนผังกำหนดกิจกรรมขาเข้า – ขาออก
4. การจัดเก็บสินค้าตามรหัสควบคุม
5. การขนถ่ายการเคลื่อนย้ายสินค้าภายในคลังสินค้า
6. เครื่องมือและอุปกรณ์ในคลังสินค้า
วิธีการปรับปรุง Warehouse Logistics
เป็นเรื่องที่เถียงไม่ได้ผู้จัดการคลังสินค้ามีจำนวนมากบนจานของพวกเขา โชคดีที่คุณยังมีเครื่องมือที่มี
ประโยชน์และมีประสิทธิภาพมากขึ้นเพื่อช่วยให้คุณตอบสนองความต้องการของคลั งสินค้าความต้องการของ
พนักงานของคุณและความคาดหวังของลูกค้าของคุณ พิจารณาจากการ รับสร้างโกดัง
ระบบการจัดการคลังสินค้าขั้นสูง (WMS) ให้ข้อมูลเชิงลึกแบบเรียลไทม์ในคลั งสินค้าของคุณ และ
จั ด หาคุ ณ – และพนั ก งานของคุ ณ – ด้ ว ยเครื่ อ งมื อ ที่ จ ำเป็ น ในการจั ด การคลั ง สิ น ค้ า ของคุ ณ อย่ า งมี
ประสิทธิภาพประสิทธิผลและเป็นประโยชน์
อันที่จริง WMS ไม่เพียง แต่เป็นวิธีที่แน่น อนในการปรับปรุงระบบโลจิสติกส์คลัง สินค้า แต่ยัง เป็น
สิ่งจำเป็นในการจัดการคลังสินค้าในปัจจุบัน มากกว่าระบบควบคุมสินค้าคงคลังระบบการจัดการคลังสินค้าจะ
ควบคุมการขนส่งของคลังสินค้าทั้งหมดตั้งแต่การควบคุมและการจัดการสินค้าคงคลังไปจนถึง การปฏิบัติตาม
คำสั่งซื้อ WMS จำนวนมากในปัจจุบันได้รวมเครื่องมือพกพาไว้ดังนั้นผู้จัดการคลัง สินค้าและพนักงานของคุณ
สามารถปรึกษาระบบได้ทุกที่ผ่านสมาร์ทโฟน
WMS ที่ครอบคลุมยังรวมเครื่องมือการจัดการแบบดั้งเดิมเข้ากับระบบควบคุมคลังสินค้า (WCS) เพื่อ
สร้างการทำงานร่วมกันของคลังสินค้าทั้งหมดเพื่อ ปรับปรุงการขนส่งโดยรวมของคุณตั้ง แต่การรับสินค้าไป
จนถึงการจัดส่ง
ประโยชน์ของ Warehouse Logistics
ประโยชน์ของการควบคุมคลังสินค้าโลจิสติกส์นั้นง่าย – เพิ่มรายได้
คิดอย่างนี้: เมื่อการดำเนินการคลังสินค้าของคุณดำเนินไปอย่างราบรื่นสินค้าคงคลังถูกนำมาใช้อย่าง
เหมาะสมรายการที่ถูกต้องจะถูกส่งในเวลาที่เหมาะสมมีการเติมสต็อกเมื่ อจำเป็นเกิดข้อผิดพลาดในการหยิบ
น้ อ ยลงและคนกระบวนการและระบบทั้ ง หมดตก เข้า ที่ อ ย่ างที่ ค วรคลั ง สิ น ค้ าของคุ ณ ทำงานได้ อ ย่ างมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น มีข้อผิดพลาดน้อยลงและมีปัญ หาน้อ ยลงนั่นหมายถึงรายได้สูงสุด ตามโครงสร้าง รับ
สร้างโกดัง

เมื่อคุณใช้ WMS ที่มั่นคงเพื่อควบคุมโลจิสติกส์คลังสินค้า:


ตรวจสอบจำนวนสินค้าคงคลังที่ถูกต้องแม่นยำแบบเรียลไทม์: รู้ว่าคุณมีสินค้าคงคลังมากน้อยเพียงใด
และที่ตั้งเฉพาะภายในคลังสินค้าของคุณ การออกแบบขึ้นอยู่กับการ รับสร้างโกดัง ของผู้รับเหมา
ผลตอบแทนลดลง: การดูคลังโฆษณาของคุณอย่างถูกต้องหมายถึงการส่งรายการที่ถูกต้องเป็นครั้งแรก
เติมสินค้าอัตโนมัติ: อย่ารอจนกว่าคุณจะหมดสต๊อก (หรือเกือบหมด) เพื่อสั่งซื้อเพิ่ม ปล่อยให้ WMS ของคุณ
เติมสินค้าคงคลังอัตโนมัติเมื่อระดับสต็อกลดต่ำลง
เพิ่มพื้นที่คลังสินค้าให้ใหญ่ที่สุด: WMS บางระบบจะทำกิจวัตรคลังสินค้าโดยอัตโนมัติ (เช่นการหมุน
และการหยิบสินค้า) ซึ่งหมายความว่าคุณจะต้องใช้พื้นที่สำหรับพนักงานน้อยลงซึ่งหมายความว่าจะเพิ่มพื้นที่
คลังสินค้าให้มากที่สุดเพื่อเก็บสินค้าคงคลังมากขึ้น
ผลประโยชน์ WMS อื่น ๆ ขยายไปสู่การวางแผนความต้องการที่ดีขึ้นการมองเห็นที่ดีขึ้นและความ
โปร่งใสการตรวจสอบย้อนกลับของสต็อกข้อผิดพลาดในการเลือกน้อยลงกระบวนการที่เหมาะสมการจัดสรร
แรงงานที่มีประสิทธิภาพและการบริการลูกค้าที่ดีขึ้น

ข้อควรพิจารณาเกี่ยวกับ Warehouse Logistics


ไม่ ต้ อ งสงสั ย เลยว่ า WMS ที่ มี ค วามสามารถนั้ น สามารถเปลี่ ย นการปฏิ บั ติ ง านของคุ ณ และเพิ่ ม
ประสิท ธิภ าพการขนส่ งได้ แต่เครื่อ งมือ ซอฟต์แ วร์ไ ม่ว่ าจะมี ป ระสิ ท ธิภ าพเพี ยงใดก็ สามารถไปได้ไ กลถึ ง
ข้อผิดพลาดของมนุษย์ ในการตั้งค่าในชีวิตจริงการพิจารณาคลังสินค้าจะมีอิทธิพลอย่างมากต่อการขนส่งของ
คุณ
ผู้จัดการคลังสินค้าของคุณและในระดับหนึ่งพนักงานที่เกี่ ยวข้องทั้ง หมดจะต้องได้รับการฝึกอบรม
อย่างดีในการใช้อุปกรณ์และ WMS ของคุณ การขนส่ง 3PL และผู้รับเหมาและซัพพลายเออร์ที่เกี่ยวข้องต้อง
ประสานงานกับความพยายามด้านโลจิสติกส์ของคุณ การเปลี่ยนแปลงใด ๆ ที่เกิดขึ้นกับคลังสินค้าของคุณ –
การจัดชั้นวางใหม่การปรับปรุงองค์กร ฯลฯ – จะต้องนำมาพิจารณาในระบบมิฉะนั้นปัญหาจะปรากฏขึ้นอย่าง
รวดเร็ว
ใบมอบหมายงานที่ 5
ชื่อวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 5 ชื่อหน่วย การจัดการคลังสินค้า เวลา 3 ชั่วโมง
ชื่อเรื่อง การจัดการคลังสินค้า
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายของคลังสินค้า และศูนย์กระจายสินค้าได้
2. บอกวัตถุประสงค์ของคลังสินค้าได้
3. อธิบายประโยชน์ของคลังสินค้าได้
4. จำแนกประเภทของคลังสินค้าได้
5. อธิบายกิจกรรมของคลังสินค้าได้
6. วิเคราะห์วิธีการเลือกทำเลที่ตั้งคลังสินค้าได้
7. อธิบายระบบโลจิสติกส์ในคลังสินค้าได้
แนวทางการปฏิบัติงาน
1. แบ่งนักศึกษาออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กัน ตามความสมัครใจ
2 มอบหมายงานตามลำดับกลุ่มให้สอดคล้องจุดประสงค์การเรียนรู้
3. ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มไปศึกษา ค้นคว้าหาข้อมูล และร่วมกันจัดทำเป็นบอร์ดวิชาการเผยแพร่
ความรู้และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4. ครู นักศึกษาเยี่ยมชมบอร์ดวิชาการ
5. ครูเสนอแนะเพิ่มเติมและบรรยายสรุป
กำหนดระยะเวลาที่ส่งงาน ภายหลังการนำเสนอ

การประเมินผล
1. พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
2. การนำเสนอ
3. ชิ้นงาน
4. การตอบข้อซักถาม
5. การตรงต่อเวลา
แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม
1. ก่อเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน. กรุงเทพฯ : บริษัท วังอักษร จำกัด, 2563
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....1..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 5 ชื่อหน่วย การจัดการคลังสินค้า จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การจัดการคลังสินค้า...............เวลา.............10.................นาที

คำสั่ง จงทำเครื่องหมายกากบาท (x) ลงหน้าข้อที่ถูกต้อง

1. คลังสินค้าในกระบวนการของโลจิสติกส์เกี่ยวข้องกับเรื่องอะไร

ก. การบำรุงรักษาสินค้าคงคลังและการเคลื่อนย้าย

ข. การกำหนดงบประมาณ

ค. การลดต้นทุนในการบริการจัดการ

ง. การวางแผนผังกำหนดกิจกรรมขาเข้า – ออก

2. การไหลเวียนของระบบข้อมูลข่าวสารจะควบคู่ขนานไปกับกิจกรรมอะไร

ก. คลังสินค้า ข. การเคลื่อนย้ายสินค้า

ค. การควบคุม ง. การวางแผน

3. ขั้นตอนใดเป็นช่วงที่ใช้เวลาส่วนใหญ่ของการทำงานในคลังสินค้า

ก. การเบิกจ่าย/เลือกหยิบ ข. การรับของ

ค. การจัดส่ง ง. การจัดเก็บ

4. ลำดับการหยิบสินค้ามีความหมายสอดคล้องกับข้อใด

ก. FIFO ข. In Transit

ค. Whale ง. FOFI
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....2..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 5 ชื่อหน่วย การจัดการคลังสินค้า จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผูเ้ รียน................................ระดับชัน้ ................................
เรื่อง....การจัดการคลังสินค้า...............เวลา.............10.................นาที

5. ข้อใดไม่ใช่ที่เก็บสินค้าตามลักษณะการใช้

ก. ที่เก็บเพื่อการหยิบสินค้า

ข. ที่เก็บสินค้าอย่างถาวร

ค. ที่เก็บสำรองสินค้า

ง. ที่เก็บสำรองระหว่างการดำเนินงาน

6. ข้อใดเป็นงานหลักที่ช่วยสนับสนุนการดำเนินงานขององค์กรให้เกิดประสิทธิผล

ก. งานกระจายสินค้า

ข. งานบำรุงรักษาสินค้า

ค. งานจัดวางสินค้า

ง. งานสินค้าคงคลัง

7. หน่วยซื้อ/จัดเก็บ/จัดหยิบ เรียกกันทั่วไปว่าอะไร

ก. กล่อง ข. พาลเลท

ค. คอนเทนเนอร์ ง. คาร์ตัน
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....3..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 5 ชื่อหน่วย การจัดการคลังสินค้า จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผูเ้ รียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การจัดการคลังสินค้า...............เวลา.............10.................นาที

8. ใช้อุปกรณ์รถยกประเภทต่าง ๆ ในการขนย้าย นำเข้าไปจัดเก็บตามชั้นต่าง ๆ ให้ถูกต้องตาม Location


หมายถึงข้อใด

ก. Picking ข. Storing

ค. Shipping ง. Receiving

9. สินค้าแต่ละชนิดประกอบด้วยรายละเอียดเฉพาะตัวหมายถึงข้อใด

ก. องค์กรที่เป็นเจ้าของสินค้า ข. รหัสสินค้า ชื่อสินค้า บาร์โค้ท

ค. รายละเอียดของบรรจุหีบห่อ ง. ถูกทุกข้อ

10. “ศูนย์กระจายสินค้า” มีความหมายสอดคล้องกับข้อใด

ก. Receive and Ship ข. Retail Outlets

ค. Distribution Center ง. Warehouse

เฉลย
1. ง 2.ข 3.ก 4. ก 5. ข 6.ง 7. ง 8. ข 9. ง 10. ค
แบบประเมินผลพฤติกรรมรายบุคคล
ใบงานที่ 5 เรื่อง การจัดการคลังสินค้า
กลุม่ ที่ ...................

ที่ คะแนน การรับฟัง การเสนอ การยอมรับ การสร้าง รวม ระดับการ


ความคิด ความคิด คนอื่น บรรยากาศ คะแนน มี
เห็น เห็น ในกลุ่ม ส่วนรวม
ชื่อสกุล 5 5 5 5 20
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ระดับของคะแนน
5 = มากที่สุด 4 = ค่อนข้างมาก
3 = ปานกลาง 2 = ค่อนข้างอ่อน
1 = น้อยที่สุด
เกณฑ์การประเมิน 15-20 = มาก
8-14 = ปานกลาง
1-7 = น้อย

ลงชือ่ ...........................................ผู้ประเมิน
การจัดการคลังสินค้า
คะแนน การนำเสนอผลงาน การบันทึกผลงาน รวม
ขั้นนำ ขั้นสอน ขั้นสรุป ถูกต้อง เรียบร้อย คะแนน ระดับคุณภาพ
กลุ่มที่ ของผลงาน
10 10 10 10 10 50
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ระดับของคะแนน 8 - 10 = ดีมาก 7 - 8 = ดี
5 – 6 = พอใช้ 0 – 4 = ควรปรับปรุง
เกณฑ์การประเมิน 35 - 50 = ดี
17 - 34 = ปานกลาง
1 - 16 = ควรปรับปรุง

ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
แบบประเมินพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม จริยธรรม
วันที่......เดือน....................พ.ศ. ....................
ชื่อ...............................................นามสกุล.......................................ระดับชั้น.................เลขที่........
แผนก..................................................................คณะ......................................................................

ลำดับ พฤติกรรมที่ประเมิน ระดับคะแนน หมายเหตุ


3 2 1 ความหมายของระดับคะแนน
1 ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และงานที่ได้รับ 3= ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอโดยไม่
มอบหมาย ต้องมีการชี้นำหรือตักเตือน
2 กล้าคิด กล้าทำ และกล้าตัดสินใจด้วยเหตุผล 2= ปฏิบัติบ้างในบางครั้ง
3 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนๆ จากการเชิญชวนหรือชี้นำ
4 เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เสียสละเพื่อส่วนรวม 1= ต้องสั่งบังคับว่ากล่าวหรือ
5 มีวินัยซื่อสัตย์และประหยัด ตักเตือนจึงจะปฏิบัติ หรือมักจะ
6 รู้จักการให้โอกาส ให้อภัย ปฏิบัติในทางที่ผิดเสมอ
7 การยอมรับการปฏิบัติต่อมติของกลุ่ม
8 ไม่เอาเปรียบเพื่อนผู้เรียนด้วยกัน เกณฑ์การประเมิน
9 แสดงกิริยาวาจาสุภาพต่อทุกคน 26-30 คะแนน= ดีมาก
10 แสดงความมีน้ำใจต่อครู/อาจารย์ 21-25 คะแนน= ดี
รวม (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) 16-20 คะแนน= พอใช้
0-15 คะแนน= ควรปรับปรุง
บันทึก
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
........................

ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
การวิเคราะห์หัวข้อการสอนและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ทฤษฎี.....3.......ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ............-.....ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน…3…หน่วยกิต
ISL PSL
หน่วยที/่ ชื่อหน่วย รายการความรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
R A T I C A
6. การบริหารสินค้าคง 1.ความหมายของการบริหารสินค้าคงคลัง 1. บอกความหมายของการบริหารสินค้าคงคลังได้ /
คลัง
2. ความสำคัญของการบริหารสินค้าคงคลัง 2. บอกความสำคัญของการบริหารสินค้าคงคลังได้ /
3. วัตถุประสงค์ของการบริหารสินค้าคงคลัง 3. อธิบายวัตถุประสงค์ของการบริหารสินค้าคงคลังได้ /
4. ประเภทของสินค้าของคลัง 4. จำแนกประเภทของสินค้าของคลังได้ /
5. ประโยชน์ของการบริหารสินค้าคงคลัง 5. อธิบายประโยชน์ของการบริหารสินค้าคงคลังได้ /
6. ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด 6. คำนวณปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุดได้ /
7. สินค้าคงคลังประเภท ABC 7. อธิบายสินค้าคงคลังประเภท ABC ได้ /
หมายเหตุ ISL= ระดับความรู้ความสามารถทางสติปัญญา (Intellectual skill Level) PSL=ระดับความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อทำงาน(Physical skill Level)
R:การฟื้นความรู้ (Recalled Knowledge) I : ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed)
A:การประยุกต์ความรู้ (Applied Knowledge) C : ทำได้ดว้ ยความถูกต้อง (Control is needed)
T:การส่งถ่ายความรู้ (Transferred Knowledge) A : ทำด้วยความชำนาญ (Automation is needed)
กรอบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
หน่วยที่ 6 เรื่อง การบริหารสินค้าคลังสินค้า

พอประมาณ
1. ผู้เรียนจัดสรรเวลาในการฝึกปฏิบัติตาม
ใบงานได้อย่างเหมาะสม
2. ผู้เรียนรู้จักใช้และจัดการวัสดุอุปกรณ์
ต่าง ๆ อย่างประหยัดและคุ้มค่า
3. ผู้เรียนปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4. ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มเพื่อน
มีภูมิคุ้มกันที่ดี

ความมีเหตุผล 1. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและการ
ปฏิบัติงาน
1. กล้าแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
2. กล้าซักถามปัญหาหรือข้อสงสัยต่าง ๆ อย่างถูก
2. กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ
กาลเทศะ
3. กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4. ไม่มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น 3. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเองอย่างเป็น
เหตุเป็นผล

4. ควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
ความรู้ + ทักษะ 5.ควบคุมกิคุรณิยธรรม
าอาการในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
1. ใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า 1. ปฏิบัติงานทีเป็่ได้นรอย่
ับมอบหมายเสร็
างดี จตามกำหนด
2. ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด
3. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ 3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและ
พอเพียง การปฏิบัติงาน
4. ให้ความร่วมมือกับการทำกิจกรรมของส่วนรวม อาสา
ช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น
นำไปสู่
สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม
สังคม ชุมชนมีคุณภาพชีวิต สภาพเศรษฐกิจมีความ มีการปลูกฝังกิจนิสัยการ ใช้สิ่งของอย่างรู้คุณค่า
ที่ดีขึ้น คล่องตัว มีรายได้และมี ประหยัด อดออม ใช้วัสดุธรรมชาติ ไม่ทำลาย
การใช้จ่ายในระบบเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม
แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 6 ชื่อหน่วย การบริหารสินค้าคงคลัง จำนวน...6….ชั่วโมง

หัวข้อเรื่อง
1. ความหมายของการบริหารสินค้าคงคลัง
2. ความสำคัญของการบริหารสินค้าคงคลัง
3. วัตถุประสงค์ของการบริหารสินค้าคงคลัง
4. ประเภทของสินค้าของคลัง
5. ประโยชน์ของการบริหารสินค้าคงคลัง
6. ปริมาณการสัง่ ซื้อที่ประหยัดที่สุด
7. สินค้าคงคลังประเภท ABC

สาระสำคัญ
การบริหารสิ นค้ าคงคลั ง เป็ น กิจกรรมหนึ่ งที่ จำเป็น และสำคั ญ อย่ างยิ่ง ของกิ จการทุก ประเภท เป็ น
กิจกรรมที่ต้องดูแลกิจการให้มีสิน ค้าคงคลังในขนาดและปริมาณที่เหมาะสม เนื่องจากการมีสินค้าคงคลังถือเป็น
การลงทุนที่สำคัญอย่างหนึ่ง หากกิจการจัดการสินค้าคงคลังที่ดี สามารถช่วยปรับปรุงด้านสภาพคล่องและผลการ
ตอบแทนจากการลงทุน (Return On Investment) ของกิจการได้ อย่างไรก็ตามกิจการทุกประเภท มักจะมี
ปัญหาเกี่ยวกับการจัดการสินค้าคงคลังเสมอ แม้ว่าบางกิจการจะมีการนำโปรแกรมสำเร็จรูปต่าง ๆ เข้ามาช่วยใน
การจัดการสินค้าคงคลังก็ตาม แต่ผู้บริหารกิจการยังขาดความเข้าใจในเทคนิคการจัดการสินค้าคงคลังที่แท้จริง
ทำให้ระดับการบริการลูกค้าลดลง และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ถูกยกเลิกไปในที่สุด ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่ง ที่ต้อง
ศึกษาและทำความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการบริหารสินค้าคงคลัง
จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจแสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและกระบวนการโลจิสติกส์และซัพ
พลายเชน
2. เพื่อให้มีกจิ นิสัย ในการทางานที่ดี ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ รับผิดชอบ มีวินัย ตรงตาม
เวลา และตระหนักถึงความปลอดภัยในการทำงาน

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. บอกความหมายของการบริหารสินค้าคงคลังได้
2. บอกความสำคัญของการบริหารสินค้าคงคลังได้
3. อธิบายวัตถุประสงค์ของการบริหารสินค้าคงคลังได้
4. จำแนกประเภทของสินค้าของคลังได้
5. อธิบายประโยชน์ของการบริหารสินค้าคงคลังได้
6. คำนวณปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุดได้
7. อธิบายสินค้าคงคลังประเภท ABC ได้
กิจกรรมการการจัดการเรียนรู้

เวลา (X นาที) 60 120 180


หมายเลขวัตถุประสงค์ 1,2,3,4,5,6,7
ขั้นสนใจปัญหา(.....10.... นาที)
บรรยาย
ขั้นให้ข้อมูล
ถามตอบ
(..120 นาที)
สาธิต
ขั้นพยายาม (........30....นาที)
ขั้นสำเร็จผล (.........20...นาที)
กระดานดำ
Power point
แผ่นใส
ของจริง
อุปกรณ์ช่วยสอน ใบเนื้อหา
ใบงาน
เฉลยใบงาน
ใบสั่งงาน
ใบประเมินผล
Pre test (10 นาที)
Post test (10นาที)
ใบทดสอบ ก่อนเรียน หลังเรียน

ใบเนื้อหาที่ 6 สื่อ Power point ชุดที่ 6 ใบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน หน่วยที่ 6


กิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู กิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน
1. ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน ขั้นสนใจปัญหา (10 นาที
และทดสอบ 10 นาที) ผู้เรียนร่วมคิดและตอบคำถามและทำแบบทดสอบ
ครู ผู้ ส อนนำเข้ า สู่ บ ทเรี ย น เล่ า ถึ ง การบริ ห าร ก่อนเรียน
สินค้ าคงคลัง เป็ น กิจกรรมหนึ่ งที่ จำเป็น และสำคั ญ
อย่างยิ่ง ของกิ จการทุกประเภท เป็ นกิจกรรมที่ต้อ ง
ดูแลกิจการให้มีสินค้าคงคลังในขนาดและปริมาณที่
เหมาะสม เนื่ อ งจากการมี สิน ค้ าคงคลั งถือ เป็ น การ
ลงทุ น ที่ ส ำคั ญ อย่ างหนึ่ ง อย่ า งไรก็ ต ามกิ จ การทุ ก
ประเภท มักจะมีปัญหาเกี่ยวกับการจัดการสินค้าคง
คลั ง เสมอ แม้ ว่ า บางกิ จ การจะมี ก ารนำโปรแกรม
สำเร็จรูปต่าง ๆ เข้ามาช่วยในการจัดการสินค้าคงคลัง
ก็ตาม แต่ผู้บริหารกิจการยังขาดความเข้าใจในเทคนิค
การจั ด การสิ น ค้ าคงคลั งที่ แ ท้ จ ริ ง ทำให้ ร ะดั บ การ
บริ ก ารลู ก ค้ าลดลง ดั ง นั้ น จึ ง จำเป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ ต้ อ ง
ศึกษาและทำความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการ
บริหารสินค้าคงคลัง
2. ขั้นสอน (120 นาที)
ส อ น โด ย ก า ร บ ร ร ย า ย เกี่ ย ว กั บ ผู้เรียนฟั ง การบรรยาย และศึ กษาเอกสารประกอบ
ความหมายของการบริหารสินค้าคงคลัง ความสำคัญ การเรียนตาม และร่วมตอบคำถามถึง ความสำคั ญ
ของการบริหารสิน ค้าคงคลัง วัตถุ ประสงค์ ของการ ของการบริหารสิน ค้าคงคลัง วัตถุ ประสงค์ ของการ
บริ ห ารสิ น ค้ า คงคลั ง ประเภทของสิ น ค้ า ของคลั ง บริ ห ารสิ น ค้ า คงคลั ง ประเภทของสิ น ค้ า ของคลั ง
ประโยชน์ของการบริหารสินค้าคงคลัง ปริมาณการ ประโยชน์ของการบริหารสินค้าคงคลัง ปริมาณการ
สั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด สินค้าคงคลังประเภท ABC สั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด สินค้าคงคลังประเภท ABC
3. ขั้นพยายาม (60 นาที) แบ่งกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุม่ ให้แต่ละกลุ่มสรุปสาระสำคัญ
ครูผู้สอนผู้เรียนมีส่วนร่วม (แต่ละกลุ่มส่ง ตัวแทน ของแต่เรื่องตามจุดประสงค์ ผู้เรียน ศึกษาแล้วแบ่ง
กลุ่ม) วิเคราะห์เกี่ยวกับกรณีศึกษา และมอบหมายให้ หน้าที่รับผิดชอบในการร่วมปฏิบัติกิจกรรมร่วมกัน
ผู้เรียนนำกรณีศึกษามานำเสนอในชั้นเรียน
4. ขั้นสรุป (30 นาที และทดสอบ 10 นาที)
และผู้สอนสรุปแต่ละเรื่องให้ผู้เรียนฟังจนเข้าใจ แต่ ล ะกลุ่ ม ส่ ง ตั ว แทนออกมาสรุป เพื่ อ นฟั ง หน้ า ชั้ น
มอบหมายให้ผู้เรียนกลับไปศึกษาเนื้อหาเรื่องการ เรียน
ขนส่ง

สื่อสารเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้
สื่อสิ่งพิมพ์
1. ใบเนื้อหา
2. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
3. ใบมอบหมายงาน
4. หนังสือโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ของ อาจารย์ก่อเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา
5. หนังสือโลจิสติกส์และโซ่อปุ ทาน ของ อาจารย์ไตรเลิศ ครุฑเวโชและมนัสชัย กีรติผจญ

สื่อโสตทัศน์ (ถ้ามี)
1. ใช้สื่อ Power point
แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
1. ห้องสมุดวิทยาลัย
2. แหล่งข้อมูลจากระบบสารสนเทศ Internet

การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กับวิชาอื่น
1. บูรณาการกับวิชาหลักการจัดการการกระจายสินค้า
2. บูรณาการกับวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ
3. บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านความขยันหมั่นเพียร ประหยัด อดออม

การวัดและประเมินผล
การประเมินผล
ก่อนเรียน
1. แบบทดสอบก่อนเรียน
ขณะเรียน
1. แบบประเมินพฤติกรรมรายกลุ่ม
2. แบบสังเกตพฤติกรรม
3. แบบประเมิน คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะพึงประสงค์
หลังเรียน
1. แบบทดสอบหลังเรียน

เกณฑ์ในการวัดและประเมินผล
การวัด (ใช้เครื่องมือ) การประเมินผล (นำผลเทียบกับเกณฑ์และแปล
ความหมาย)
1. แบบทดสอบก่อนเรียน (ไว้เปรียบเทียบกับคะแนนสอบหลังเรียน)
2. แบบสังเกตการทำงานกลุ่มและการ เกณฑ์ผ่าน 60 %
นำเสนอผลงานกลุ่ม
3. แบบฝึกหัดในหน่วย เกณฑ์ผ่าน 50 %
4. แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน 50 %
5. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม เกณฑ์ผ่าน 60 %
ตามสภาพจริง

บันทึกหลังสอน
1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

2. ผลการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

3. แนวทางการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
แบบฝึกหัดบทที่ 6 การบริหารสินค้าคงคลัง
ตอนที่ 1 จงเติมคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. จงอธิบายความหมายการจัดการสินค้าคงคลัง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
2. ทำไมกิจการต้องมีสินค้าคงคลัง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
3. จงบอกและอธิบายวัตถุประสงค์ของการจัดการสินค้าคงคลัง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
4. สินค้าคงคลังแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง อธิบาย
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
5. ต้นทุนที่เกิดจากการมีสินค้าคงคลัง มีกี่ประเภท อะไรบ้าง อธิบาย
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
6. ต้นทุนหลักในตัวแบบปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดมีกี่ประเภท อะไรบ้าง มีลักษณะอย่างไร
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
ตอนที่ 2
คำชี้แจง : จงคำนวณหาผลลัพธ์จากโจทย์ที่กำหนดให้

1. แรงงานผลิตเครื่องหนัง แห่งหนึ่ง มีความต้องการใช้ หนังคุณภาพดี ตลอดทั้งปี (360 วัน) จำนวน


14,400 ผืน ถ้าหนังดังกล่าวมีราคาต้นทุนผืนละ 56 บาท ต้นทุนการสั่งซื้อครั้งละ 28 บาท ต้นทุนในการเก็บ
รักษาต่อหน่วยต่อปีร้อยละ 25 ของราคาและการสั่ง ซื้อในแต่ละครั้ง ต้องเสียเวลา รอคอย 3 วัน Safety
Stock = 30 ผืน จงหา
1. ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด
2. ต้นทุนรวม
3. ปริมาณสินค้าในช่วง Lead Time
4. ปริมาณสินค้าคงคลัง ณ จุดสั่งซื้อใหม่
5. ปริมาณสินค้าต่ำสุด
6. ปริมาณสินค้าสูงสุด
7. จำนวนครั้งในการสั่งซื้อ
8. สินค้าที่สั่งซื้อจะใช้หมดภายในกี่วัน
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
2. จงคำนวณและจัดสินค้าคงคลังเข้าเป็นกลุ่ม A, B และ C จากข้อมูลที่กำหนดให้

หมายเลขสินค้าคงคลัง จำนวนที่ต้องใช้ต่อปี (หน่วย) ราคาต่อหน่วย


D101 15,500 0.10
H310 2,600 10.00
E227 750 0.65
G400 50,000 0.14
A201 30 255.00
F789 200 3.35
B025 400 2.40
C150 300 0.36
I504 15,000 1.18
J889 30,000 0.25

............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 6 การบริหารสินค้าคงคลัง
ตอนที่ 1 จงเติมคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. จงอธิบายความหมายการจัดการสินค้าคงคลัง
ตอบ การบริหารสินค้าคงคลัง หมายถึง การจัดการต่างๆ ในสินค้าคงคลัง เพื่อไว้ใช้ในปัจจุบันหรืออนาคต
เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่น ตั้งแต่การรวบรวม การควบคุมให้สินค้าคงคลังในปริมาณที่
เหมาะสมเป็นระเบียบแบบแผน

2. ทำไมกิจการต้องมีสินค้าคงคลัง
ตอบ 1. เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องของการผลิต ลดต้นทุนในการติดตั้งเครื่องจักร
2. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการขนส่ง กรณีจัดซื้อในปริมาณมาก ส่งผลให้ต้นทุนต่ำ
3. สามารถส่งสินค้าให้แก่ลูกค้าได้รวดเร็ว ตรงตามเวลา และทันต่อความต้องการของลูกค้ า
4. สร้างความพอใจให้เกิดแก่ลูกค้า ไม่เกิดการเสียโอกาสในการผลิต และการขายของลูกค้า เป็นการรักษา
ลูกค้าและส่วนแบ่งตลาด

3. จงบอกและอธิบายวัตถุประสงค์ของการจัดการสินค้าคงคลัง
ตอบ 1. เพื่อสร้างความสมดุลของอุปสงค์และอุปทาน
2. เพื่อให้เกิดการประหยัด
3. เพื่อป้องกันสถานการณ์ที่มีความผันแปรในการซื้อขาย

4. สินค้าคงคลังแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง อธิบาย


ตอบ สินค้าคงคลังแบ่งได้ 6 ประเภท ได้แก่
1. สินค้าคงคลังที่เก็บตามรอบเพื่อรองรับความต้องการตามวัฏจักรและความต้องการในช่วงเวลาปกติ
2. สินค้าคงคลังที่อยู่ระหว่างขนส่ง
3. สินค้าคงคลังเพิ่มเติมหรือสินค้าปลอดภัย
4. สินค้าคงคลังที่เก็บไว้เพื่อเก็งกำไร
5. สินค้าคงคลังที่เก็บไว้ตามฤดูกาล
6. สินค้าไม่เคลื่อนไหวหรือสินค้าที่ไม่เป็นที่ต้องการ

5. ต้นทุนที่เกิดจากการมีสินค้าคงคลัง มีกี่ประเภท อะไรบ้าง อธิบาย


ตอบ ต้นทุนที่เกิดจาการมีสินค้าคงคลังมี 4 ประเภท ได้แก่
1. ต้นทุนในการจัดหาพื้นที่จัดเก็บสินค้าคงคลัง
2. ต้นทุนในการจัดการทุนหมุนเวียน
3. ต้นทุนในการป้องกันความเสี่ยงต่อสินค้าคงคลัง
4. ต้นทุนที่เกิดจากความเสี่ยงในตัวสินค้าที่จัดเก็บ

6. ต้นทุนหลักในตัวแบบปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดมีกี่ประเภท อะไรบ้าง มีลักษณะอย่างไร


ตอบ ต้นทุนหลักในการกำหนดขนาดของการสั่งซื้อที่ประหยัด มี 2 ประเภทคือ
1. ต้นทุนหลักในการสั่งซื้อ (Ordering Cost) เป็นต้นทุนที่เกิดขึ้นจากการสั่งซื้อสินค้าซึ่งขึ้นกับจำนวน
ครั้งในการสั่งซื้อ ถ้าจำนวนครั้งในการสั่งซื้อบ่อยครั้ง ต้นทุนประเภทนี้จะสูง ดังนัน้ ต้นทุนในการสั่งซือ้ ไม่ขึ้นกับ
ปริมาณการสั่งซื้อ เพราะไม่ว่าจะซื้อสินค้าในปริมาณมากหรือน้อย ต้นทุนในการสั่งซื้อจะคงที่
2. ต้นทุนในการเก็บรักษา(Carrying Cost) เป็นต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้าคงคลังให้อยู่ในสภาพที่
ใช้งานได้ ต้นทุนประเภทนี้เป็นต้นทุนที่ขึ้นอยู่กับปริมาณสินค้าคงคลัง ยิ่งมีปริมาณสินค้าคงคลังจำนวนมาก
ต้นทุนประเภทนี้จะสูง เนื่องจากปริมาณสินค้าคงคลังมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพราะบางครั้ง
สินค้าคงคลังอาจถูกเบิกใช้หรือไปขาย

ตอนที่ 2
1. จงคำนวณ
แรงงานผลิตเครื่องหนังแห่งหนึ่งมีความต้องการใช้หนังคุณภาพดี ตลอดทั้งปี (360 วัน) จำนวน
14,400 ผืน ถ้าหนังดังกล่าวมีราคาต้นทุนผืนละ 56 บาท ต้นทุนการสั่งซื้อครั้งละ 28 บาท ต้นทุนในการเก็บ
รักษาต่อหน่วยต่อปีร้อยละ 25 ของราคาและการสั่งซื้อในแต่ละครั้งต้องเสียเวลา รอคอย 3 วัน Safety
Stock = 30 ผืน จงหา
1. ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด
2. ต้นทุนรวม
3. ปริมาณสินค้าในช่วง Lead Time
4. ปริมาณสินค้าคงคลัง ณ จุดสั่งซื้อใหม่
5. ปริมาณสินค้าต่ำสุด
6. ปริมาณสินค้าสูงสุด
7. จำนวนครั้งในการสั่งซื้อ
8. สินค้าที่สั่งซื้อจะใช้หมดภายในกี่วัน
2 DO
1) ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด Q =
C

2 x14,400 x28
Q =
0.25 x56
2 x14,400 x28
Q =
14
Q = 57,600
Q = 240 ผืน

2) ต้นทุนรวม = ต้นทุนในการสั่งซื้อ + ต้นทุนในการเก็บรักษา


= DO
+ CQ
Q 2
(14,400)(28) (14)(240)
= +
240 2
= 1,680 + 1,680
= 3,360 บาท

3) ปริมาณสินค้าช่วง Lead Time = ปริมาณหน้าที่ใช้ต่อวัน x ช่วงเวลา Lead Time


14,400
= x3
360
4) ปริมาณสินค้าคงคลัง ณ จุดสั่งใหม่ = สินค้าในช่วง Lead Time + Safety Stock
= 120 + 30
= 150 ผืน

5) ปริมาณสินค้าต่ำสุด = Safety Stock


= 30 ผืน

6) ปริมาณสินค้าสูงสุด = EOQ + Safety Stock


= 240 + 30
= 270 ผืน

D
7) จำนวนครั้งในการสั่งซื้อ =
EOQ
14,400
=
240
= 60 ครั้ง
8) สินค้าที่สั่งซื้อจะใช้หมดภายในกี่วัน = จำนวนวันตลอดระยะเวลา
จำนวนครั้งในการสั่งซื้อ
360
=
60
= 6 วัน
2. จงคำนวณและจัดสินค้าคงคลังเข้าเป็นกลุ่ม A, B และ C จากข้อมูลที่กำหนดให้

หมายเลข จำนวนที่ต้องใช้
ราคาต่อหน่วย ต้นทุนรวม คิดเป็นร้อยละ
สินค้าคงคลัง ต่อปี (หน่วย)
D101 15,500 0.10 15,500.00 2.23
H310 2,600 10.00 26,000.00 37.34
E227 750 0.65 487.50 0.70
G400 50,000 0.14 7,000.00 10.05
A201 30 255.00 7,650.00 10.99
F789 200 3.35 670.00 0.96
B025 400 2.40 960.00 1.38
C150 300 0.36 108.00 0.16
I504 15,000 1.18 17,700.00 25.42
J889 30,000 0.25 7,500.00 10.77
69,625.50 100.00

กลุ่ม หมายเลขสินค้า จำนวนร้อยละของรถยนต์ จำนวนร้อยละของต้นทุน


A H310 I504 20 62.76
B A201 J889 G400 30 31.81
C D101 E227 F789 B025 C150 50 5.43
100
100.00
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....1..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 6 ชื่อหน่วย การบริหารสินค้าคงคลัง จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การบริหารสินค้าคงคลัง...............เวลา.............10.................นาที
คำสั่ง จงทำเครื่องหมายกากบาท (x) ลงหน้าข้อที่ถูกต้อง

1. ข้อใดเป็นวัตถุประสงค์ของการจัดการสินค้าคงคลัง

ก. เพื่อสร้างความสมดุลระหว่างอุปสงค์ของผู้ซื้อ และอุปสงค์ของผู้ขาย

ข. เพื่อให้มีสินค้าในปริมาณที่สูง ป้องกันการขาดแคลน โดยไม่คำนึงถึงต้นทุน

ค. เพื่อเป็นการป้องกันความผันผวนของราคาเมื่อภาวะเศรษฐกิจเกิดการเปลี่ยนแปลง

ง. เพื่อจะได้ไม่มีการสั่งซื้อบ่อยครั้ง เพราะต้นทุนในการสั่งซื้อมักจะมากกว่าต้นทุนในการเก็บรักษา

2. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการควบคุมสินค้าคงคลัง โดยจำแนกเป็นประเภท ABC

ก. สินค้ากลุ่ม A เป็นสินค้าที่มีจำนวนมาก ประมาณร้อยละ 80 ของจำนวนรายการสินค้าคงคลังทั้งหมด

ข. สินค้ากลุ่ม B เป็นสินค้าจำนวนมากเป็นอันดับสอง ประมาณร้อยละ 15 ของจำนวนรายการสินค้าคง


คลังทั้งหมด

ค. สินค้ากลุ่ม C เป็นสินค้าจำนวนน้อยที่สุด ประมาณร้อยละ 5 ของจำนวนรายการสินค้าคงคลังทั้งหมด

ง. เป็นการแบ่งประเภทสินค้าโดยจัดลำดับความสำคัญของสินค้าคงคลังตามมูลค่าของเงินทุนที่ต้องจัดสรร
เงินทุนไปรองรับ เพื่อให้สามารถจัดการสินค้าคงคลังได้ถูกต้อง

3. กิจการซื้อสินค้ามาเพื่อขาย เช่น กิจการค้าปลีก – ค้าส่ง สินค้าคงคลังคือข้อใด

ก. สินค้าผิดประเภท ข. สินค้าชำรุด

ค. สินค้าที่ซื้อมาเพื่อขาย ง. สินค้าคงเหลือ
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....2..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 6 ชื่อหน่วย การบริหารสินค้าคงคลัง จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การบริหารสินค้าคงคลัง...............เวลา.............10.................นาที

4. “เป็นสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสามารถเปลี่ยนเป็นเงินสดได้ในเวลาที่รวดเร็ว” มีความหมายสอดคล้องกับข้อใด

ก. สินค้าระหว่างผลิต ข. สินค้าสำเร็จรูป

ค. สินค้าที่เป็นเครื่องมือในการผลิต ง. สินค้าวัตถุดิบและชิ้นส่วนประกอบ

5. ต้นทุนสินค้าคงคลังในข้อใดที่มุ่งพิจารณาบางส่วนที่เป็นสินค้าสำเร็จรูปที่เก็บไว้ในสต็อก

ก. ต้นทุนในการสั่งซื้อ (Ordering Cost)

ข. ต้นทุนในการจัดหาพื้นที่จัดเก็บสินค้าคงคลัง (Storage Space Costs)

ค. ต้นทุนในการจัดหาพื้นที่จัดเก็บสินค้าคงคลัง (Storage Space Costs)

ง. ต้นทุนที่เกิดจากความเสี่ยงในตัวสินค้าที่จัดเก็บ (Inventory Risk Costs)

6. การเก็บสินค้าคงคลังโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมสนองความต้องการของลูกค้าในปัจจุบัน รวมทั้งมีการ
คาดการณ์ว่าสินค้าจะขาดแคลนในอนาคตและมีราคาเพิ่มสูงขึ้น เป็นความหมายของสินค้าคงคลังประเภทใด

ก. สินค้าคงคลังที่เก็บไว้ตามฤดูกาล (Seasonal Stock)

ข. สินค้าคงคลังที่เก็บไว้เพื่อเก็งกำไร (Speculative Stock)

ค. สินค้าคงคลังระหว่างการขนส่ง (In – transit Inventories)

ง. สินค้าคงคลังเพิ่มเติมหรือสินค้าคงคลังปลอดภัย (Buffer or Safety Stock)


ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....3..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 6 ชื่อหน่วย การบริหารสินค้าคงคลัง จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผูเ้ รียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การบริหารสินค้าคงคลัง...............เวลา.............10.................นาที
7. ต้นทุนในข้อใดที่แปรผกผันกับปริมาณสินค้าคงคลัง

ก. ต้นทุนในการสั่งซื้อ ข. ต้นทุนในการเก็บรักษา

ค. ต้นทุนในการจัดหาเงินทุนหมุนเวียน ง. ต้นทุนความเสี่ยงในตัวสินค้าที่จัดเก็บ

8. ข้อใดถูกต้องเกีย่ วกับประโยชน์ของการจัดการสินค้าคงคลัง

ก. ช่วยให้ระดับการผลิตของธุรกิจเพิ่มขึ้นในอัตราเพิ่มขึ้นตลอดเวลา เป็นการลดต้นทุน

ข. สามารถสนองตอบความต้องการของลูกค้าเฉพาะในฤดูกาลเท่านั้น

ค. ทำให้ธุรกิจได้รับส่วนลดการค้า แม้เป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายในการขนส่งเนื่องจากการสั่งซื้อบ่อยครั้งก็ตาม

ง. สามารถขับเคลื่อนกระบวนการผลิตให้เป็นไปอย่างต่อเนื่องในภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ

9. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (EOQ)

ก. ต้นทุนในการเก็บรักษาเท่ากับต้นทุนในการสั่งซื้อ

ข. ต้นทุนรวมต่ำสุดอยู่ที่ต้นทุนในการเก็บรักษาสูงกว่าต้นทุนในการสั่งซื้อ

ค. ต้นทุนรวมต่ำสุดอยู่ที่ต้นทุนในการเก็บรักษาสูงกว่าต้นทุนเงินทุนหมุนเวียน

ง. ต้นทุนรวมต่ำสุดอยู่ที่ต้นทุนในการเก็บรักษาเท่ากับต้นทุนเงินทุนหมุนเวียน
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....4..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 6 ชื่อหน่วย การบริหารสินค้าคงคลัง จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การบริหารสินค้าคงคลัง...............เวลา.............10.................นาที

10. ข้อใดคือสมมติฐานที่ถูกต้องของตัวแบบปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (EOQ)

ก. เวลานำ (Lead Time) ในการสั่งซื้อไม่คงที่

ข. ไม่มีสินค้าระหว่างทางและไม่มีสินค้าขาดสต็อก

ค. ต้องมีการสั่งซื้อสินค้าในแต่ละครั้งไม่ต่ำกว่า 2 ชนิด

ง. ราคาสินค้าที่สั่งซื้อจะเปลี่ยนแปลงตามปริมาณการสั่งซื้อ

เฉลย
1. ค 2.ง 3.ค 4. ข 5. ง 6.ข 7. ก 8. ง 9. ก 10. ข
ใบเนื้อหา/ใบความรู้
หน่วยที่...6..เรื่อง การบริหารสินค้าคงคลัง
สินค้าคงคลัง (Inventory) หมายถึง ปริมาณสินค้าหรือบริการที่ธุรกิจมีสำรองไว้เพื่อการ
ใช้งาน เพื่อบริการ เพื่อการผลิต เพื่อการจำหน่ายในอนาคต เช่น อุปกรณ์สำนักงาน ชิ้นส่วน
ของอะไหล่ วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป เป็นต้น (ก่อเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา. 2549 : 135)
สินค้าคงคลัง หมายถึง ของที่เราเก็บรักษาไว้ใช้ประโยชน์ต่อไปในอนาคต
(มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 : 14)
จากความหมายข้างต้นกล่าวสรุปได้ว่า สินค้าคงคลัง (Inventory) จัดเป็นสินทรัพย์
หมุนเวียนชนิดหนึ่งซึ่งกิจการต้องมีไว้เพือ่ ขายหรือผลิต ซึ่งจะหมายถึงข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ คือ
1. วัตถุดิบ คือ สิ่งของหรือชิ้นส่วนที่ซื้อมาเพื่อใช้ในการผลิต
2. งานระหว่างผลิต คือ ชิ้นส่วนงานที่อยู่ในขั้นตอนการผลิตหรือรอ
คอยที่จะผลิตในขั้นตอนต่อไปโดยที่ยังผ่านกระบวนการผลิตไม่ครบทุกขั้นตอน
3. วัสดุซ่อมบำรุง คือ ชิ้นส่วนหรืออะไหล่เครื่องจักรที่สำรองไว้เผื่อ
เปลี่ยนเมื่อชิ้นส่วนเดิมเสียหายหรือหมดอายุการใช้งาน
4. สินค้าสำเร็จรูป คือ ปัจจัยการผลิตที่ผ่านทุกกระบวนการผลิต
ครบถ้วนพร้อมที่จะนำไปขายให้ลูกค้าได้
การบริหารสินค้าคงคลัง หมายถึง การจัดการต่างๆ ในสินค้าคงคลัง เพื่อไว้ใช้ในปัจจุบนั
หรืออนาคต เพื่อให้การดำเนินงานของกิจการเป็นไปอย่างราบรื่น ตั้งแต่การรวบรวม การ
ควบคุมให้สินค้าคงคลังในปริมาณที่เหมาะสมเป็นระเบียบแบบแผน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้
กิจการมีสินค้าคงคลังในปริมาณที่เพียงพอและทันต่อความต้องการของลูกค้าเสมอ เป็นการสร้าง
ยอดขายและรักษาระดับของส่วนแบ่งตลาดไว้รวมทั้งสามารถลดระดับการลงทุนในสินค้าคงคลัง
ให้ต่ำที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพื่อทำให้ต้นทุนการผลิตของกิจการลดลง
เหตุผลที่ต้องมีสินค้าคงคลัง
ดังที่กล่าวมาแล้วว่า วัตถุประสงค์หนึ่งในการจัดการโลจิสติกส์ คือ การให้บริการที่สร้างความพึงพอใจต่อลูกค้า
โดยมีต้นทุนในการดำเนินงานในระดับที่เหมาะสมในสภาพแวดล้อมการดำเนินงาน จะเห็นได้ว่ามีปัจจัยต่าง ๆ
ที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานและบริการลูกค้าของกิจการเกิดปัญหาและอุปสรรค ไม่บรรลุวัตถุประสงค์
เช่น การจัดส่งวัตถุดิบของสินค้าที่ล่าช้า ปัญหาเครื่องจักรขัดข้องหรือปริมาณความต้องการของลูกค้าเพิ่มขึ้น เป็น
ต้น สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ จัดเป็ นความเสี่ยงในการดำเนินงานที่ จะส่ งผลต่ อการบริการลู กค้า และนำไปสู่ต้ นทุ นที่
เพิ่มขึ้น ดังนั้นหากกิจการต้องการให้บริการอยู่ในระดับที่ลูกค้าพอใจ เช่น การเร่งรัดจัดส่งสินค้าให้แก่ลูกค้าเร็ว
กว่าหรือเป็นตามกำหนดเวลา หรืออาจจะไม่ต้องเสียโอกาสในการขายสินค้าและหากมีการจัดการเกี่ยวกับการ
จัดเตรียมสินค้าตามเวลาที่ลูกค้าต้องการ เหตุผลต่างๆ เหล่านี้เป็นสิ่งที่ผลักดันให้ระบบการผลิตจำเป็นต้องมี
สินค้าคงคลังในปริมาณหนึ่ง ที่จะสามารถตอบสนองความต้องการลูกค้าได้โดยไม่ ได้รับผลกระทบจากความ
เสี่ยงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
ถ้า พิจ ารณาด้า นการผลิต ของกิจ การต่า ง ๆ จะเห็น ได้ว่า การมีสิน ค้า คงคลัง ในปริม าณ
หนึ่ง จะช่วยให้เราทำการผลิตเป็นไปอย่างต่อเนื่องและเกิดความคุ้มค่าของต้นทุนการผลิต ทั้งนี้เนื่องจากการ
ผลิตเป็นไปอย่างต่อเนื่องจะช่วยลดต้น ทุนในด้านการจัดตั้งเครื่องจักร ค่าใช้จ่ายจากเวลารอคอยในการผลิต
รวมถึงการประหยัดค่าขนส่งวัตถุดิบกรณีที่การจัดซื้อในปริมาณมากจะส่งผลต่อต้นทุน ที่ต่ำกว่า และสามารถ
ทำการผลิตได้อย่างต่อเนื่องด้วย
อย่างไรก็ตามการมีสินค้าคงคลังในระดับสูงเพื่อผลิตหรือส่งให้ลูกค้าได้เพียงพอและทันเวลา
เสมอ ก็จะส่งผลให้ เกิดต้นทุนสินค้าคงคลังสูงขึ้นแต่ถ้ามีการกำหนดระดับสินค้าคงคลังในระดับต่ำ แม้จะ
เป็น การลดต้น ทุน ลงแต่ ระดับ สินค้ าคงคลัง ที่ ต่ำเกิ นไปก็ ท ำให้บ ริการลูก ค้าไม่ เพี ยงพอหรือ ไม่ ทัน ใจลูกค้ า
ดังนั้นการจัดการสินค้าคงคลังจึงควรรักษาระดับของสินค้าคงคลังกับต้นทุนของสินค้าคงคลังให้อยู่ในระดับที่
สมดุล ซึ่งไม่ใช่เรื่องง่ายและเนื่องจากการบริการการผลิตในปัจจุบันจะต้องคำนึงถึงคุณภาพเป็นหลักสำคัญ
ซึ่งการบริการลูกค้าที่ดีก็เป็นส่วนหนึ่งของการสร้างคุณภาพที่ดี ซึ่งทำให้ลูกค้ามีความพึงพอใจสูงสุดด้วย จึงดู
เหมือนว่าการมีสินค้าคงคลังในระดับสูงจะเป็นประโยชน์กับกิจการในระยะยาวมากกว่า เพราะจะรักษาลูกค้า
และส่วนแบ่งตลาดได้ดี แต่อันที่จริงแล้วต้นทุนสินค้าคงคลังที่สูงเป็นผลให้ต้นทุนการผลิตสูงด้วย ทำ
ให้ธุรกิจไม่สามารถต่อสู้กับคู่แข่งขันในด้านราคาได้จึงต้องทำให้ต้นทุนให้ต่ำโดยยังคงคุณภาพและบริการที่ดี
ด้วยในขณะเดียวกัน

วัตถุประสงค์ของการจัดการสินค้าคงคลัง
องค์ ก รธุ ร กิ จ ที่ มี ก ารผลิ ต และจำหน่ า ยสิ น ค้ า และบริ ก ารทุ ก แห่ ง จำเป็ น ต้ อ งมี
การจัดการเกี่ยวกับสินค้าคงคลัง โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้
1. เพื่อสร้างความสมดุลของอุปสงค์และอุปทาน ความต้องการซื้อสินค้าและ
บริการของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ทำให้ผู้บริหารสินค้าคงคลั งขององค์กรธุรกิจต้องมี การ
คาดคะเนความต้องการเหล่านี้ เพื่อเตรียมจัดซื้อวัตถุดิบให้เพียงพอต่อ เพื่อ ให้สินค้ามีปริมาณเพียงพอในการ
เสนอขาย และบริการของธุรกิจ เช่น น้ำอัดลมจะขายได้มากที่สุดในช่วงฤดูร้อน ดัง นั้นก่อนเข้าสู่ฤดูร้อน
ผู้ผลิตจะต้องเตรียมวัตถุดิบและกำลังการผลิตให้พร้อม
2. เพื่อให้เกิดการประหยัด โดยปกติองค์กรธุรกิจที่สั่งซื้อวัตถุดิบและสินค้ามาทำการ
ผลิตหรือขาย จะมีต้นทุนเรื่องการขนส่ง การเก็บรักษา ดอกเบี้ยค่าสินค้า ดังนั้น องค์กรธุรกิจจะต้องมีการ
พิจารณาเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นว่าวิธีใดจึงจะทำให้เกิดการประหยัดมากที่สุด หากองค์กรธุรกิจ
สั่งซื้อวัตถุดิบและสินค้าในปริมาณที่มากกว่าระดับที่เหมาะสมแม้จะเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในการขนส่ง
แต่จะเกิดค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามมานั้นคือค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา ต้นทุนจม สินค้าล้าสมัย ในทางตรงกันข้าม
หากสั่งซื้อวัตถุดิบหรื อสินค้าในปริมาณที่น้อย จะทำให้ต้องมีการสั่งซื้อบ่อย ๆ เสียค่าใช้จ่ายในการขนส่ง
เพิ่มขึ้น แม้จะประหยัดในเรื่องค่าใช้จ่ายการเก็บรักษาก็ตาม นอกจากนี้อาจทำให้เกิดการชะงักงันของการ
ผลิตรวมถึงการเสียโอกาสในการขาย และไม่สามารถสนองตอบให้ทันตามต้องการของลูกค้าได้
3. เพื่อป้องกันสถานการณ์ที่มีความผันแปรในการซื้อขาย การจัดการสินค้าคงคลัง
โดยการวางแผนจัดเตรียมสินค้าคงคลังให้พร้อมก่อนฤดูกาลขาย จะเป็นผลให้องค์กรธุรกิจสามารถรักษา
ลูกค้าไว้ได้ และสามารถทำกำไรให้แก่องค์กรธุ รกิจได้เช่นเดิม ในขณะเดียวกันก็ทำให้เกิดความมั่นใจในของ
สินค้าหรือวัตถุดิบ หากมีความผันแปรของภาวะเศรษฐกิจ เช่น การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ำมันในตลาดโลก
การเกิดภาวะสงคราม เป็นต้น ดังนั้นองค์กรธุรกิจต้องจัดการสินค้าคงคลังให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสม เพื่อ
เป็นการป้องกันความผันผวนของราคา
ประโยชน์ของการจัดการสินค้าคงคลัง
1. รั ก ษาระดั บ การผลิ ต ให้ มี อั ต ราคงที่ ส ม่ ำ เสมอ หมายถึ ง การรั ก ษาระดั บ
การว่าจ้างแรงงาน มีการใช้เครื่องจักรอย่างสม่ำเสมอโดยจะเก็บสินค้าที่ขายไม่หมดไว้ขายในอีกช่วงเวลาหนึ่ง
ที่สินค้าขายดีซึ่งในช่วงเวลานั้นอาจจะผลิตไม่ทันขาย
2. การจัดการสินค้าคงคลัง สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ตรงตาม
เวลาทั้งในฤดูกาลและนอกฤดูกาล
3. ป้องกันสินค้าขาดมือในกรณีที่เกิดการล่าช้าของการรอคอยหรือเกิดกรณีมีคำ
สั่งซื้อเพิ่มขึ้นกะทันหัน
4. ทำให้ธุรกิจได้รับประโยชน์จากการจัดซื้อในปริมาณมาก คือ การได้รับส่วนลด
การค้าพร้อมทั้งเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการขนส่ง รวมถึงเป็นการป้องกันการเปลี่ยนแปลงราคาและผลกระทบจาก
ภาวะเงินเฟ้อในระบบเศรษฐกิจ
5. สามารถขั บ เคลื่ อนกระบวนการผลิ ตให้ เป็ น ไปอย่ างต่ อ เนื่ อง ไม่ ห ยุ ดชะงั ก
จนเกิดผลเสียหายกระทบต่อกระบวนการผลิตซึ่งจะทำให้เกิดการว่างงาน เครื่องจักรถูกปิด ผลิต
สินค้าไม่ทันตามคำสั่งซื้อของลูกค้า
ประเภทของสินค้าคงคลัง
สินค้าคงคลังที่เก็บไว้สามารถแบ่งได้เป็น 6 ประเภท คือ
1. สินค้าคงคลังที่เก็บตามรอบเพื่อรองรับความต้องการตามวัฏจักร และความ
ต้องการในช่วงเวลาปกติ (Cycle / Regular Stock) เป็นสินค้าคงคลังที่มีไว้เติมสินค้าที่ขายไปหรือวัตถุดิบที่
ไปใช้ในการผลิต เป็นการสำรองสินค้าเพื่อรองรั บความต้องการสินค้าในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ให้เพียงพอกับ
ความต้องการของลูกค้าจนถึงเวลาที่จะได้รับสินค้าอีกครั้ง ซึ่งสินค้าประเภทนั้นจะเก็บไว้ภายใต้เงื่อนไขที่มี
ความแน่นอน กล่าวคื อ อยู่ภ ายใต้สมมติฐานที่ว่าความต้อ งการสิน ค้าและเวลาในการสั่ง คงที่และทราบ
ล่วงหน้า ซึ่งจะต้องสามารถพยากรณ์ความต้องการสินค้าและเวลาของการสั่งซื้อที่แน่นอน เช่ น ในการขาย
สิน ค้าชนิ ดหนึ่ ง ถ้าเจ้าของร้านมี ข้อ มูล แน่ น อนว่าความต้อ งการสิน ค้ าเป็ น จำนวน 40 หน่ว ยต่ อวัน และ
ระยะเวลาในการสั่งซื้อเท่ากับ 10 วันต่อครั้ง ดังนั้นปริมาณสินค้าคงคลังที่ร้านนี้ จะมีได้สูงสุดไม่เกินจำนวน
สินค้าที่เก็บไว้ในแต่ละรอบ คือ จำนวนเท่ากับ 400 หน่วย
เนื่องจากมีการกำหนดความต้องการสินค้าและเวลาในการสั่งซื้อสินค้าคงที่และ
ทราบล่วงหน้า ดังนั้น การกำหนดวันให้สินค้ าแต่ล ะรอบมาถึง จะตรงกับ เวลาที่ สินค้ า หน่ วย
สุดท้ายหมดพอดี ซึ่งปริมาณสินค้าคงคลังสูงสุดจะไม่เกินปริมาณที่ สั่งซื้อไปในแต่ละครั้ง โดยที่ปริมาณสินค้า
คงคลังเฉลี่ยจะเท่ากับครึ่งหนึ่งของปริมาณที่สั่งซื้อ จากตัวอย่างข้างต้น สินค้าคงคลังสูงสุดต้องไม่
เกิน 400 หน่วย และปริมาณสินค้าคงคลังเฉลี่ยจะเท่ากับ 200 หน่วย
2. สินค้าคงคลังที่อยู่ระหว่างขนส่ง (In – transit Inventories) เป็นสินค้าที่
อยู่ระหว่างการลำเลียงจากสถานที่แห่งหนึ่งไปยั งอีกแห่งหนึ่ง ที่อยู่ในระยะต่างๆ ของเส้นทาง การ
ขนส่ง เช่น การลำเลียงจากผู้จัดส่งวัตถุดิบมายังโรงงานผลิตหรือสำเลียงจากโรงงานยังลูกค้า ซึ่งเราเรียก
รวมสถานะต่างๆ ตลอดเส้นทางการลำเลียงว่า Logistics Pipeline ดังนั้นในการคำนวณต้นทุนในการเก็บ
รักษาสินค้าของต้นทางควรจะรวมต้นทุนของสินค้าคงคลังระหว่างทางไว้ด้วย เนื่องจากสินค้าเหล่านี้ยังไม่สมา
รถขายหรือใช้ เพราะยังไม่ถึงจุดหมายปลายทาง
3. สิน ค้าคงคลัง เพิ่ มเติ มหรือ สิน ค้าปลอดภัย (Buffer or Safety Stock) ลัก ษณะ
สินค้าคงคลังประเภทนี้เป็นสินค้าจำนวนหนึ่ง ที่เก็บไว้เก็บจากจำนวนที่เก็บไว้ตามรอบ ในการพัฒนาความ
ต้องการตามวัฏจักรปกติเพื่อแก้ปัญหาความแตกต่างหรือความผันแปรของกำลังการผลิตในกระบวนการผลิตที่
ต่อเนื่องกันอันเป็นจุดที่เกิดคอขวดของกระบวนการ ซึ่งจะช่วยให้กระบวนการที่เป็นคอขวดนี้ทำการผลิตเต็ม
กำลัง เพื่อสำรองไว้ป้อนให้กระบวนการถัดไปได้อย่างต่อเนื่อง ด้วยการสำรองในรูปของ Buffer or Safety
Stock ป้องกันความเสี่ยงจากความแปรเปลี่ยนไปในการจัดส่งจากผู้ส่งวัตถุดิบหรือการเปลี่ยนความต้องการของ
ลูกค้า
4. สินค้าคงคลังที่เก็บไว้เพื่อเก็งกำไร
(Speculative Stock) สินค้าคงคลังประเภทนี้มิได้มีเหตุผลเพียงแค่การเตรียมไว้เพื่อสนองความต้องการของ
ลูกค้าในปัจจุบันเท่านั้น แต่การมีสินค้าคงคลังประเภทนี้เพื่อต้องการส่วนลดหรือการคาดการณ์ว่าในอนาคต
สินค้าอาจจะ
ขาดแคลนหรือมีราคาเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจจะเป็นผลดีต่อกิจการในการทำกำไร จึงจำเป็นต้องผลิตสินค้า
ในปริมาณที่มากกว่าความต้องการในเวลาดังกล่าว และเก็บสำรองไว้ดังกล่าว
5. สินค้าคงคลังที่เก็บไว้ ตามฤดูกาล (Seasonal Stock) สินค้าคงคลังที่เก็บไว้ตาม
ฤดูกาลส่วนใหญ่จะเป็นผลผลิตด้านการเกษตร หรือผลผลิตตามฤดูกาล โดยจัดเป็นรูปแบบหนึ่ งของสินค้าเพื่อ
เก็งกำไร เป็นการเก็บสะสมสินค้าจำนวนหนึ่งในช่วงที่ยังไม่ถึงฤดูกาลของการขาย รวมไปถึงสินค้าที่เกี่ยวกับ
แฟชั่น จัดเป็นส่วนหนึ่งของการขายสินค้าคงคลังตามฤดูกาลโดยจะมีการเก็บสินค้าคงคลังไว้สนองตอบความ
ต้องการของลูกค้าในฤดูกาลที่กำลังจะมาถึง
6. สินค้าไม่เคลื่อนไหวหรือสินค้าที่ไม่เป็นที่ต้องการ (Dead Stock) สินค้าประเภทนี้
เป็นสินค้าที่ตกค้างอยู่ในคลังสินค้าแห่งใดแห่ ง หนึ่ง ซึ่ง เป็นผลทำให้สินค้าเหล่านี้
อาจหมดอายุ เสื่ อ มสภาพและล้ าสมั ย ได้ ซึ่ ง ก็ เป็ น ปั ญ หาต่ อ กิ จ การไม่ น้ อ ย ดั ง นั้ น อาจแก้ ปั ญ หาโดย
การนำออกมาขายลดราคา นอกจากนี้สินค้าประเภทนี้ยังรวมไปถึงสินค้าที่กิจการธุรกิจเก็บไว้และในช่วงเวลา
ใดเวลาหนึ่งไม่มีความต้องการสินค้าเกิดขึ้น ซึ่งอาจจะเป็นสินค้าที่เสื่อมสภาพและล้าสมัย
ต้นทุนที่เกิดจากการมีสินค้าคงคลัง
การที่กิจการมีสินค้าคงคลังเกิ ดขึ้นจำนวนหนึ่ง ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายขึ้นอย่างต่ อเนื่องในการ
จัดเก็บดู แ ลรัก ษาสินค้าคงคลังเหล่ านั้ นให้ อยู่ในสภาพที่ เหมาะสมต่อการใช้ง าน ค่าใช้จ่ายเหล่านี้สามารถ
แบ่งแยกเป็นค่าใช้จ่ายหลักๆ ได้ดังนี้
1. ต้นทุนในการจัดหาพื้นที่จัดเก็บสินค้าคงคลัง (Storage Space Costs) ในการ
จัดเก็บสินค้าคงคลังกิจการจำเป็นต้องจัดหาพื้นที่ให้เพียงพอกับปริมาณสินค้าคงคลังที่มีอยู่ ซึ่งอาจจะเป็นพื้นที่
ของกิจการที่มีอยู่แล้ว หรือหากพื้นที่ของกิจการมีไม่เพียงพอกับปริมาณสินค้าคงคลังที่มีอยู่ อาจจะต้องจัดหา
สถานที่เพิ่มเติม โดยการเช่าพื้นที่จากคลังสินค้าอื่นๆ ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายในการเช่าพื้นที่ ค่าใช้จ่ายในการ
ขนส่งสินค้าไปจัดเก็บ นอกจากนี้กิจการต้องพิจารณาเกี่ยวกับการเสียโอกาสในกรณีที่นำพื้นที่ของโรงงานมา
ใช้เป็นพื้นที่จัดเก็บก่อให้เกิดการเสียโอกาสใช้ประโยชน์จากพื้นที่นั้นไปใช้ในกิจกรรมการผลิตเพื่อสร้างรายได้
ให้กับกิจการ ดังนั้นกิจการต้องมีการเปรียบเทียบระหว่างต้นทุนที่จะสร้างคลังสินค้าเองหรือเช่าคลังสินค้าอื่น
2. ต้นทุนในการจัดการทุนหมุนเวียน
(Capital Costs) เป็นต้นทุนที่เรียกว่า เงินทุนหมุนเวียนของกิจการ ในกรณีกิจการที่มีเงินลงทุนในส่วนนี้ กิจการ
จำเป็นต้องใช้วิธีการกู้ยืมระยะสั้นเพื่อให้กิจการมีสินค้าสำรอง ดังนั้นจะเกิดมีค่าใช้จ่ายขึ้นก็คือดอกเบี้ยเงิน
กู้ยืม
3. ต้นทุนในการป้องกันความเสี่ยงต่อสินค้าคงคลัง (Inventory Service Costs) เป็น
ต้นทุนที่เกิดจากการทำประกันภัยในสินค้าคงคลังที่มีอยู่ของกิจการ เพื่อเป็นการป้องกัน ความ
เสี่ยงที่เกิดจากอุบัติเหตุต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสินค้าคงคลังที่มีมูลค่าสูง
4. ต้นทุนที่เกิดจากความเสี่ยงในตัวสินค้าที่จัดเก็บ (Inventory Risk Costs) เป็น
ต้นทุนประเภทหนึ่งที่มุ่งพิจารณาในส่วนที่เป็นสินค้าสำเร็จรูปเก็บไว้ในสต็อก ซึ่งจะมีการจัดเก็บเป็นเวลา
ยาวนานนั้นอาจก่อให้เกิดความเสี่ยงในเรื่องการเสื่อมสภาพของสินค้า ความเสียหาย และการล้าสมัยของ
สินค้า (Obsolescence) โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ ส่วนสินค้าอุปโภคบริโภคมักจะเกิด
การสูญหายจากสาเหตุต่าง ๆ หรือความเสียหายและความสูญเสียเนื่องจากการขาดความระมัดระวัง เป็นต้น
ดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นจะพบว่า ต้นทุนที่เกิดจากการมีสินค้าคงคลังในระบบมาก
เกินไปจะส่งผลต่อต้นทุนค่าใช้จ่ายจำนวนมหาศาลของกิจการ ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้บริหารกิจการจะต้องนำมา
พิจารณาในการกำหนดนโยบายการจัดการสินค้าคงคลัง เพื่อให้การดำเนินงานโดยภาพรวมของกิจการเกิด
ประสิทธิภาพ และไม่ต้องสูญเสียต้นทุนที่ไม่มีความจำเป็น
ระบบการจัดการสินค้าคงคลัง (Inventory Management)
การจัดการสินค้าคงคลังสามารถกระทำได้หลายวิธี ซึ่งกิจการสามารถเลือกใช้ระบบ
วิธีที่มีความเหมาะสมที่สุดกับกิจการของตน การจัดการสินค้าคงคลังที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ
1. การกำหนดขนาดของการสั่งซื้อที่ประหยัด Economies Order Quantity
(EOQ)
เป็นระบบที่ใช้กับสินค้าคงคลังที่มีลักษณะของความต้องการที่เป็นอิสระและไม่เกี่ยวข้องต่อเนือ่ งกับ
ความต้องการสินค้าตัวอื่น วิธีนี้จึงจำเป็นต้องมีการวางแผนพิจารณาความต้องการด้วยวิธีพยากรณ์ความต้องการ
ของลูกค้า โดยขนาดของการสั่งซื้อที่ประหยัดจะพิจารณาต้นทุนรวมของสินค้าคงคลังที่ต่ำที่สุด เป็นหลัก เพื่อ
กำหนดปริมาณการสั่งซื้อต่อครั้ง ต้นทุนหลักในการกำหนดขนาดของการสั่งซื้อที่ประหยัด มี 2 ประเภทคือ
1. ต้นทุนหลักในการสั่งซื้อ (Ordering Cost) เป็นต้นทุนที่เกิดขึ้นจากการสั่งซื้อ
สินค้าซึ่งขึ้นกับจำนวนครั้งในการสั่งซื้อ ถ้าจำนวนครั้งในการสั่งซื้อบ่อยครั้ง ต้นทุนประเภทนี้จะสูง ดังนั้น
ต้นทุนในการสั่งซื้อจึงไม่ขึ้นกับปริมาณการสั่งซื้อ เพราะไม่ว่าจะซื้อสินค้าในปริมาณมากหรือน้อย ต้นทุนใน
การสั่งซื้อจะคงที่ ต้นทุนในการสั่งซื้อ ได้แก่ ค่าจ้างพนักงานจัดซื้อ ค่าเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการสั่งซื้อ ค่า
ขนส่งสินค้า ค่าโทรศัพท์ ค่าใช้จ่ายในการตรวจรับของ ค่าธรรมเนียมการนำสินค้าออกจากศุลกากร
ค่าใช้จ่ายในการชำระเงิน เป็นต้น
ต้นทุนในการสั่งซื้อสามารถคำนวณได้จากปริมาณความต้องการสินค้าในช่วงเวลา
ใดเวลาหนึ่งหารด้วยปริมาณสินค้าที่สั่งซื้อต่อครั้ง คูณด้วยต้นทุนในการสั่งซื้อต่อครั้ง

ต้นทุนในการสั่งซือ้ D DO
= X O หรือ
Q
Q D แทน ปริมาณความต้องการสินค้าในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
Q แทน ปริมาณสินค้าที่สั่งซื้อต่อครั้ง
O แทน ต้นทุนในการสั่งซื้อต่อครั้ง

ตารางที่ 1 ตัวอย่างการคำนวณ ถ้าปริมาณความต้องการสินค้าทั้งหมด 300 หน่วย ในการสั่งซื้อ


แต่ละครั้ง ต้องเสียต้นทุนในการสั่งซื้อครั้งละ 30 บาท คำนวณต้นทุนในการสั่งซื้อได้ดังนี้
ปริมาณสั่งซื้อต่อครั้ง (หน่วย) จำนวนครั้งในการสั่งซื้อ(ครั้ง) ต้นทุนในการสั่งซื้อ(บาท)
20 15 450
40 7.5 225
60 5 150
80 3.75 112.50
100 3 90

จากข้อมูลข้างต้นสามารถนำมาสร้างเป็นต้นทุนในการสั่งซื้อ ดังภาพที่ 6.1


ต้นทุน

540
450
360
270
180
90 ต้นทุนในการสั่งซือ้
0
ปริมาณการสั่งซื้อ/ครั้ง
20 40 60 80 100
ภาพที่ 6.1 แสดงต้นทุนในการสั่งซื้อ
จากภาพที่ 6.1 จะพบว่าเส้นต้นทุนในการสั่งซื้อมีลักษณะทอดลงจากซ้ายไปขวา
หมายความว่าเมื่อปริมาณการสั่งซื้อต่อครั้งเพิ่มขึ้น จำนวนครั้งในการสั่งซื้อจะลดลง ทำให้ต้นทุนในการสั่งซื้อ
ลดลง ในทางตรงกันข้ามหากปริมาณการสั่งซื้อต่อครั้งลดลง จำนวนครั้งในการสั่งซื้อจะเพิ่มขึ้นทำให้ต้นทุนในการ
สั่งซื้อเพิ่มขึ้นด้วย
2. ต้นทุนในการเก็บรักษา (Carrying Cost) เป็นต้นทุนในการเก็บสินค้าให้อยู่ใน
สภาพที่ใช้งานได้ ต้นทุนประเภทนี้จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณสินค้าคงคลัง รวมทั้งระยะเวลาในการ
เก็บสินค้าด้วย ต้นทุนในการเก็ บรักษา ได้แก่ ค่าเช่า ค่าสาธารณูปโภค ต้ น ทุ น สิ น ค้ า คงคลั ง ในรู ป ขอ
งอกเบี้ ย จ่ า ย ค่ า ภาษี ค่าประกันภัย ค่าสินค้าเสียหายชำรุด หรือล้าสมัย หมดสภาพ ถ้ า มี ก ารกู้ ยื ม จะเกิ ด
ค่ า เสี ย โอกาสทางธุ ร กิ จ ค่าจ้างพนักงานประจำคลังสินค้า และพนักงานรักษาความปลอดภัย เป็นต้น
ต้นทุนในการเก็บรักษานั้นเป็นต้นทุนที่ขึ้นอยู่กับปริมาณสินค้าคงคลัง ยิ่งมีปริมาณ
สินค้าคงคลังจำนวนมากต้นทุนประเภทนี้จะสูง เนื่องจากปริมาณสินค้าคงคลังจะมีการเคลื่อนไหว
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพราะบางครั้งสินค้าคงคลังอาจถูกเบิกใช้หรือไปขาย ซึ่งใน
ทางปฏิบัติการคำนวณต้นทุนในการเก็บรักษานั้นนิยมนำปริมาณสินค้าคงคลังทั้งหมดมาเฉลี่ยโดยการหาร 2
ดังนั้น การคำนวณต้นทุนในการเก็บรักษาสามารถคำนวณจากปริมาณการสั่งสินค้า
ต่อครั้ง หาร 2 แล้วคูณด้วยต้นทุนในการเก็บรักษาต่อหน่วย

Q CQ
2ต้นทุนในการเก็บรักษา =2 หรือ
x C

Q แทน ปริมาณการสั่งสินค้าต่อครั้ง
C แทน ต้นทุนในการเก็บรักษาต่อหน่วย
ตารางที่ 2 ตัวอย่างการคำนวณ ถ้าปริมาณความต้องการซื้อสินค้าทั้ งหมด 300 หน่วย ในการสั่งซื้อแต่ละ
ครั้งต้องเสียต้นทุนในการเก็บรักษา 5 บาทต่อหน่วย คำนวณต้นทุนในการเก็บรักษาดังนี้

ปริมาณการสั่งซื้อต่อครั้ง
เก็บรักษาเฉลี่ย (หน่วย) ต้นทุนในการเก็บรักษา (บาท)
(หน่วย)
20 10 50
40 20 100
60 30 150
80 40 200
100 50 250
จากข้อมูลข้างต้นสามารถสร้างเส้นต้นทุนในการเก็บรักษา ดังภาพที่ 6.2
ต้นทุน

540
450
360
ต้นทุนในการเก็บรักษา
270
180
90
0 ปริมาณการสั่งซือ้ /ครัง้
20 40 60 80 100
ภาพที่ 6.2 แสดงเส้นต้นทุนในการเก็บรักษา
จากภาพที่ 6.2 จะพบว่า เส้ น ต้ น ทุ น ในการเก็ บ รั ก ษามี ลั ก ษณะทอดขึ้ น จากซ้ า ยไปขวา
หมายความว่าเมื่อปริมาณการสั่งซื้อเพิ่มขึ้น ต้นทุนในการเก็บรักษาจะเพิ่มขึ้น และถ้าไม่มี การเก็บ
รักษาสินค้าคงคลัง ต้นทุนประเภทนี้จะไม่เกิดขึ้นเลย
ดังนั้นในการจัดการสินค้าคงคลังโดยวิธี EOQ นั้นยึดหลักที่อาศัยปริมาณการสั่งซื้อที่ทำให้
เป็นการประหยัดที่สุด ซึ่งเป็นระดับที่ต้นทุนโดยรวม (Total Cost) ต่ำที่สุด จากต้นทุน 2 ประเภทข้างต้ น
สามารถนำมาหาระดับปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (EOQ) ดังตารางที่ 3
ตารางที่ 3 การวิเคราะห์หาระดับปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (EOQ)

ปริมาณการ ต้นทุนในการสั่งซื้อ ต้นทุนในการเก็บรักษา ต้นทุนรวม


DO CQ
สั่งซื้อ (TC)
(Q) Q 2

20 450 50 500
40 225 100 325
60 150 150 300
80 112.50 200 312.50
100 90 250 340
จากตาราง พบว่า ขนาดของการสั่งซื้อที่ ทำให้เสียต้นทุนต่ำที่สุดอยู่ที่ปริมาณการ
สั่งซื้อจำนวน 60 หน่วย เนื่องจากในระดับนี้มีต้นทุนรวมเพียง 300 บาท ดังนั้น ณ ระดับปริมาณการสั่งซื้อ 60
หน่วยนี้ เป็นขนาดของการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด
ณ จุด EOQ มีขอ้ สังเกตที่สำคัญ 2 ประการคือ
1. ณ จุ ด EOQ เป็ น จุ ด ที่ ต้ น ทุ น รวม (TC) ต่ ำที่ สุ ด (ต้ น ทุ น ในการสั่ง ซื้ อ รวมกั บ
ต้นทุนในการเก็บรักษา)
2. ณ จุด EOQ เป็นจุดที่ต้นทุนในการสั่งซื้อ เท่ากับ ต้นทุนในการเก็บรักษา
จากข้อสังเกตทั้งสองข้อสามารถแสดงโดยกราฟ ดังภาพที่ 6.3

ต้นทุน
540
450 ต้นทุนรวม (Total Cost)
360 ต้นทุนในการเก็บรักษา
270
180 (Carrying Cost)
90 ต้นทุนในการสั่งซือ้ (Ordering Cost)
0 ปริมาณการสั่งซือ้ /ครัง้ (หน่วย)
20 40 60 80 100
ภาพที่ 6.3 แสดงปริมาณของการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (EOQ)
จากภาพที่ 6.3 แสดงให้เห็นว่า ณ จุดตัดกันของเส้นต้นทุนในการสั่งซื้อ (O) กับเส้นต้นทุน
ในการเก็บรักษา (C) คือต้นทุนรวมที่ต่ำที่สุด ดังนั้น ณ ปริมาณการสั่งซื้อที่ 60 หน่วย ต้นทุนรวม 300 บาท
เป็นจุดที่ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด
การคำนวณขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (Economic Order Quantity : EOQ)
เนื่องจากจุดการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด ณ จุดที่ต้นทุนในการเก็บรักษาเท่ากับ ต้นทุนในการสั่งซื้อ
CQ DO
ดังนั้น EOQ อยู่ที่ =
2 Q
CQ
2
= 2DO
2 DO
Q
2
=
C
2 DO
Q หรือ EOQ =
C

โดย Q แทน ปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด


C แทน ต้นทุนในการเก็บรักษาต่อหน่วย
O แทน ต้นทุนในการสั่งซื้อต่อครั้ง
D แทน ปริมาณความต้องการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด

สูตรในการคำนวณ ขนาดของการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด

2 DO
EOQ =
C

ตัวอย่างการคำนวณ กิจการแห่งหนึ่งคาดว่าในช่วงระยะหนึ่งจะต้องใช้สินค้าทั้งสิ้น 10,000 หน่วย มีต้นทุน


ในการสั่งซื้อ 500 บาท ต่อครั้ง ต้นทุนในการเก็บรักษา 10 บาทต่อหน่วย กิจการแห่งนี้ต้องสั่งซื้อครั้งละ
เท่าใดจึงจะประหยัดที่สุด

2 DO
สูตรในการคำนวณ EOQ =
C
D = 10,000 หน่วย แทนค่า EOQ = 2 x10,000 x500
10
O = 500 บาท/ครัง้ = 1,000,000
EOQ = 1,000 หน่วย
C = 10 บาท/หน่วย
กิจการต้องสั่งซื้อครั้งละ 1,000 หน่วยจึงจะประหยัดที่สุด
ถ้าต้องการทราบว่า ณ ระดับการสั่งซื้อที่ประหยัด 1,000 หน่วยต่อครั้ง กิจการจะมีต้นทุน
ทั้งหมดจำนวนเท่าไร สามารถหาได้ดังนี้

ต้นทุนรวม = ต้นทุนในการสั่งซื้อ + ต้นทุนในการเก็บรักษา


DO CQ
= +
Q 2
(10,000 x500) 10x1,000
= +
1,000 2

= 5,000 + 5,000
= 10,000
ต้นทุนรวมเท่ากับ 10,000 บาท

สำหรับตัวแบบ EOQ มีขอ้ จำกัดบางประการ ทำให้ในทางปฏิบัติ การใช้ EOQ ในการ


สั่งซื้อสินค้าทำได้ยาก เนื่องจากตัวแบบ EOQ มีข้อสมมติฐานดังนี้

1. ต้นทุนในการสั่งซื้อสินค้าคงที่ไม่ว่าจะสั่งในเวลาใดหรือสั่งเป็นจำนวนเท่าใดก็ตาม
2. ราคาสินค้าที่สั่งซื้อคงที่ไม่ว่าจะสั่งซื้อเป็นจำนวนเท่าใดหรือสั่งซื้อในเวลาใดก็ตาม
3. ทราบความต้องการล่วงหน้าและเป็นความต้องการที่คงที่
4. เวลานำในการสั่งซื้อคงที่และทราบเวลาล่วงหน้า
5. ไม่มีสินค้าระหว่างทาง และไม่มีสินค้าขาดสต็อก
6. สินค้าที่สั่งซื้อในแต่ละครั้งเป็นสินค้าเพียงชนิดเดียวไม่เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับสินค้า
ชนิดอื่น
7. ความต้องการสินค้าได้รับการตอบสนองตลอดเวลา
2. หลักการควบคุมสินค้าคงคลังที่มีประสิทธิภาพ
การควบคุมสิ น ค้าคงคลังให้มีป ระสิทธิภาพ ผู้บริห ารต้องสามารถกำหนดปริมาณสิน ค้ า ณ จุดที่
สำคัญ ๆ ในระบบดังต่อไปนี้
1. ปริมาณสินค้าคงคลังต่ำสุด (Minimum Stock) หมายถึงปริมาณสินค้า คงคลังขั้นต่ำที่กิจการ
สำรองไว้เพื่อความปลอดภัย (Safety Stock) ป้องกันการขาดแคลนสินค้า และการสูญเสียโอกาสในการขาย
สินค้า
2. ปริมาณสินค้าคงคลังสูงสุด (Maximum Stock) หมายถึง ปริมาณสินค้าคงคลังที่มาก
ที่สุดของกิจการ โดยในความเป็นจริงในการปฏิ บัติ ฝ่ายบริหารสินค้าคงคลังจะต้องไม่ให้กิจการมีสินค้าคงคลังเกิน
ระดับนี้เพราะจะทำให้ต้นทุนและค่าใช้จ่ายต่างๆ ของกิจการมีมาก และสูงเกินความจำเป็น
3. ปริมาณการสั่งซื้อต่อครั้ง (Ordering Quantity) หมายถึง ปริมาณการสั่งซื้อสินค้า
คงคลังของกิจการที่ประหยัดที่สุด
4. เวลานำ (Lead Time) หมายถึง ระยะเวลาตั้งแต่จุดสั่งซื้อจนถึงวันที่ได้รับสินค้า
ที่สั่งซื้อ ซึ่งผู้บริหารสินค้าคงคลังจะต้องกำหนดปริมาณสินค้าคงคลังไว้จำนวนหนึ่งในช่วงเวลาของการสั่งซื้อโดย
คำนวณจากปริมาณเฉลี่ยของการใช้สินค้าต่อวันคูณด้วยระยะเวลาการเดินทางของสินค้า
5. จุดสั่งสินค้าใหม่ (Reorder Point) หมายถึง จุดที่กิจการต้องสั่งซื้อสินค้าคงคลังเพิม่ ขึ้น
เมื่อระดับปริมาณสินค้าคงคลังลดลงถึงจุดนี้ โดยสั่งซื้อตามปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด

ตัวอย่าง กราฟแสดงตำแหน่งปริมาณสินค้าคงคลังต่ำสุด ปริมาณสินค้าคงคลังสูงสุด


จุดสั่งซื้อใหม่และปริมาณการสั่งซื้อสินค้าเพิ่ม ถ้าปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ) = 1,000 หน่วย ดังภาพ
ที่ 6.4
ปริมาณ (หน่วย)
1,000

0 ระยะเวลา
t 1 t 2 t 3

ภาพที่ 6.4 แสดงปริมาณสินค้าคงคลัง


จากภาพที่ 6.4 เมื่อเริ่ม ต้นดำเนิน กิจการสินค้าคงคลัง ของกิจการยังไม่มี กิจการต้องซื้อ
สินค้าคงคลังเริ่มแรกจำนวน 1,000 หน่วย ซึ่งเท่ากับปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (EOQ) เมื่อเวลาผ่านไป
ปริมาณสินค้าคงคลังเริ่มลดลงและค่อย ๆ ลดลงเรื่อย ๆ เนื่องจากสินค้าคงคลังได้ถูกเบิกไปขาย หรือเบิกไปใช้
จนถึงเวลาที่ t 1 ปริมาณสินค้าคงคลังเป็น 0 (คือหมดพอดี) จึงจำเป็นต้องสั่งใหม่อีก 1,000 หน่วย ในทำนอง
เดียวกันเมื่อเวลาผ่านไป ปริมาณสินค้าคงคลังค่อย ๆ ลดลงจนถึง เวลาที่ t 2 ซึ่งเป็นจุดที่สินค้าคงคลังหมดอีก
ณ จุดนี้จะมีการสั่งซื้อสินค้าอีก 1,000 หน่วย เป็นเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ
ในการจัดการสินค้าคงคลัง หากมีการสั่งซื้ อสินค้าคงคลังเมื่อสินค้าคงคลังเป็น 0 คือสินค้าคง
คลังหมดพอดี จะทำให้การดำเนินงานของกิจการหยุด เกิดการชะงักงันและกิจการเสียโอกาส เพราะต้องคอย
สินค้าใหม่ที่จะมาถึง ซึ่งถือว่าเป็นจุดสั่งซื้ อที่ไม่ดี (ณ จุดสั่งซื้อ t 1 t 2 t 3 ) ดังนั้นจุดสั่งซื้อที่ดีจะต้องสั่งซื้อ
ก่อนที่สินค้าคงคลังจะหมด โดยพิจารณาจากปริมาณสินค้าคงคลัง เฉลี่ยต่อวัน วัน ละประมาณเท่าไร กับ
ระยะเวลาของการสั่งซื้อแต่ละครั้งใช้เวลากี่วันสินค้าจะส่งมาถึง
ตัวอย่าง ถ้ากิจการคาดว่าปริมาณการใช้สินค้าคงคลังเฉลี่ยวันละ 100 หน่วย และประมาณ
การว่าจะใช้เวลาในการสั่งซื้อแต่ละครั้งจนสินค้ามาถึง 3 วัน (Lead Time)
จากตัวอย่ างข้างต้น กิจการต้องสั่ง ซื้อสิน ค้าเมื่อ ปริมาณสิน ค้าคงคลัง เท่ ากับ 300 หน่ วย
(100 หน่วย x 3 วัน) ซึ่งกิจการต้องเก็บไว้ในช่วงเวลาของการสั่งซื้อเรียกว่า จุดสั่งซื้อใหม่
ปริมาณ (หน่วย)
1,000

300 R 1 R 2 R 3 R 4

ระยะเวลา
0 3 วัน
t t t
ภาพที่ 6.5 แสดงปริมาณสินค้าคงคลัง และ Lead Time (3วัน)
1 2 3

จากภาพที่ 6.5 กิจการจะสั่งซื้อสินค้าครั้งละ 1,000 หน่วย ซึ่งเป็นระดับ EOQ ทันที เมือ่


สินค้าคงคลังลดลงเหลือ 300 หน่วย หรือระดับ R R R R …………… 1 2 3 4

สำหรับระยะเวลาการเดินทางของสินค้าและปริมาณการใช้ สินค้าต่อวัน อาจไม่เป็นไปตาม


การคาดการณ์ของกิจการเสมอไป ดังนั้นกิจการจึงควรมีการสำรองสินค้าไว้จำนวนหนึ่งเพื่อความปลอดภัยใน
กรณีที่กิจการอาจมีการใช้สินค้าคงคลังมากกว่าที่ได้คาดการณ์ไว้ เป็นการป้องกันสินค้าขาดมือ สินค้าคงคลังที่
มีการสำรองไว้เพื่อความปลอดภัยนี้เรียกว่า Safety Stock

ตัวอย่าง ถ้าสมมุติให้นโยบายของกิจการกำหนด Safety Stock จำนวน 100 หน่วย ปริมาณสินค้า


คงคลังจะเป็นดังภาพที่ 6.6
ปริมาณ (หน่วย)
1,100

S S S S
350
1 2 3 4

100 Safety Stock ระยะเวลา


0
ภาพที่ 6.6 แสดงปริมาณสินค้าคงคลังที่มีการกำหนด Lead Time และ Safety Stock
จากภาพที่ 6.6 ทำให้ ทราบถึงปริม าณสิน ค้าคงคลั ง ต่ำสุด ปริมาณสิน ค้าคงคลัง สู ง สุด จุด สั่ง ซื้ อใหม่ และ
ปริมาณสินค้าที่จะสั่งซื้อต่อครั้ง ดังนี้
1. ปริมาณสินค้าคงคลังต่ำสุด = Safety Stock
= 100 หน่วย
2. ปริมาณสินค้าคงคลังสูงสุด = EOQ + Safety Stock
= 1,000 + 100
= 1,100 หน่วย
3. ปริมาณสินค้า ณ จุดสั่งซื้อสินค้า = ปริมาณสินค้า ณ จุด Lead Time + Safety Stock
= 300 + 100
= 400 หน่วย
4. ปริมาณสินค้าที่สั่งซื้อต่อครั้ง = 1,000 หน่วย (EOQ)

ตัวอย่างการคำนวณ บริษัท มีสุข จำกัด คาดว่าในช่วงระยะเวลา 1 ปี (360 วัน) บริษัทจะต้อง ขาย


สินค้าได้ 9,000 หน่วย มีต้นทุนในการสั่งซื้อ 15 บาทต่อครั้ง ต้นทุนในการเก็บรักษา 3 บาทต่อหน่วย การ
สั่งซื้อแต่ละครั้งสินค้าใช้เวลาในการเดินทาง 2 วัน โดยกำหนด Safety Stock = 20 หน่วย
จงคำนวณหา 1. ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด
2. ต้นทุนรวม
3. ปริมาณสินค้าในช่วง Lead Time
4. ปริมาณสินค้า ณ จุดสั่งซื้อใหม่
5. ปริมาณสินค้าต่ำสุด
6. ปริมาณสินค้าสูงสุด
7. จำนวนครั้งในการสั่งซื้อ
8. สินค้าที่ซื้อแต่ละครั้งใช้หมดภายในกี่วัน

2 DO
1. ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (EOQ) =
C
2 x9,000 x15
=
3
= 90,000
= 300 หน่วย
2. ต้นทุนรวม = ต้นทุนในการสั่งซื้อ + ต้นทุนในการเก็บรักษา
DO CQ
(โดย Q คือ EOQ นั่นเอง) = +
Q 2
(9,000)(15) (3)(300)
= +
300 2
= 450 + 450
= 900 บาท
3. ปริมาณสินค้าในช่วงเวลา Lead Time = ปริมาณสินค้าที่ใช้ต่อวัน x ช่วงเวลา Lead Time
9,000
= x2
360
= 50 หน่วย
4. ปริมาณสินค้าคงคลัง ณ จุดสั่งซื้อใหม่ = สินค้าในช่วง Lead Time + Safety Stock
= 50 + 20
= 70 หน่วย

5. ปริมาณสินค้าต่ำสุด = Safety Stock


= 20 หน่วย
6. ปริมาณสินค้าสูงสุด = EOQ + Safety Stock
= 300 + 20
= 320 หน่วย
D
7. จำนวนครั้งในการสั่งซื้อ =
EOQ
9,000
=
300
= 30 ครั้ง ตลอดระยะเวลา 360 วัน
8. สินค้าที่สั่งซื้อจะใช้หมดภายในกี่วัน = จำนวนวันตลอดระยะเวลา
จำนวนครั้งที่สั่งซื้อ
360
=
30
= 12 วัน

3. การตัดสินใจสั่งซื้อกรณีได้รับส่วนลดเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณการสั่งซื้อ
จากตัวอย่างข้างต้น ถ้าบริษัท มีสุข จำกัดได้รับส่วนลดหรือซื้อสินค้าได้ในราคา ถูกลง
กว่าเดิมจากราคาปกติหน่วยละ 0.50 บาท โดยมีเงื่อนไขว่าบริษัทมีสุข จำกัดจะต้องสั่งซื้อ ครั้งละ 500
หน่วย บริษัท มีสุข จำกัด จะตัดสินใจอย่างไร
ต้นทุนรวม = ต้นทุนในการสั่งซื้อ + ต้นทุนในการเก็บรักษา
DO
= + CQ
Q 2
(9,000)(15)
= + (3)(500)
500 2
= 270 + 750
ต้นทุนรวม = 1,020 บาท
ต้นทุนรวมเพิ่มจากเดิม = 1,020 - 900 บาท
= 120 บาท
แต่บริษัทจะมีกำไรเพิ่มขึ้นจากส่วนลดที่ได้รับ ถ้ารับข้อเสนอ หน่วยละ 0.50 บาท
กำไรเพิ่มขึ้น = 500 x 0.50
= 250 บาท
ดังนั้นบริษัทมีสุข จำกัด ควรรับข้อเสนอดังกล่าวจากผู้ขายสินค้า เพราะจะมีกำไรเพิ่มขึ้นจาก
การสั่งซื้อที่เพิ่มจากเดิม 300 หน่วย เป็น 500 หน่วย เป็นจำนวนเงิน 250 – 120 = 130 บาท แม้จะมีต้นทุน
รวมเพิ่มขึ้นก็ตาม
จะเห็นได้ว่าถ้ากิจการได้รับส่วนลดจากการขายหรือได้รับการลดราคาสินค้าลงจากเดิม กิจการ
จะได้รับทั้งผลดีและผลเสียจากการที่ผู้ขายที่การกำหนดเงื่อนไขให้กิจการต้องซื้อสินค้าในปริมาณมากกว่าเดิม
ดังตัวอย่าง สำหรับผลดีและผลเสียที่กิจการได้รับมีดังนี้
ผลดี
1) ต้นทุนในการสั่งซื้อลดลง เพราะมีการสั่งซื้อต่อครั้งในปริมาณที่มากขึ้น
2) ต้นทุนต่อหน่วยจะลดลง เนื่องจากได้รับส่วนลด
3) ผลกำไรจะเพิ่มขึ้น จากส่วนลดที่ได้รับ
ผลเสีย
1) อัตราการหมุนเวียนสินค้าของกิจการจะช้าลงเพราะสั่งซื้อในปริมาณที่เพิ่มขึ้น
2) ต้องใช้เงินทุนเพิ่มขึ้นจากการสั่งซื้อและมีความเสี่ยงในสินค้าคงคลังมากขึ้น
3) ต้นทุนรวมจะเพิ่มขึ้น
สรุ ป หากมี ก ารเปลี่ ย นแปลงในปริม าณการสั่ง ซื้ อ กิจ การจะต้ อ งพิ จ ารณาเปรีย บเที ย บ
ระหว่ า งผลดี แ ละผลเสี ย ที่ กิ จ การได้ รั บ ถ้ า เมื่ อ ใดกิ จ การได้ รั บ ผลดี ม ากกว่ าผลเสี ย กิ จ การก็ ค วรมี ก าร
เปลี่ยนแปลงการสั่งซื้อตามเงื่อนไขที่ผู้ขายกำหนด ในทางตรงข้ามกิจการไม่ควรเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อถ้า
กิจการได้รับผลเสียมากกว่าผลดี
นอกจากนี้ กิจการจะต้องพิจารณาค่าเสียโอกาสในการนำเงินทุนมาลงทุนใน สินค้า
คงคลังในปริมาณที่เพิ่มขึ้นพร้อมทั้งความเสี่ยงในการที่สินค้าคงคลังล้าสมัย ชำรุด เสียหาย หมดอายุ และ
เสื่อมสภาพ
การควบคุมสินค้าคงคลังโดยการจำแนกออกเป็นประเภท ABC
(ABC Classification)
ABC Classification เป็นเครื่องมือที่จะช่วยในการควบคุมสินค้าคงคลัง โดยการ
จัดแบ่งประเภทลำดับความสำคัญของสินค้าคงคลัง เพื่อให้สามารถจัดการและควบคุมสินค้าคงคลัง
ที่มีอยู่ได้อย่างถูกต้องตามระดับความสำคัญ ซึ่งตามระบบนี้ให้แบ่งรายการสินค้าคงคลังออกเป็น 3 กลุ่ม
ตามมูลค่าของเงินทุนที่ต้องจัดสรรไปรองรับ
กลุ่มที่ 1 เป็นรายการสินค้าคงคลังจำนวนไม่มาก (ประมาณร้อยละ 20 ของจำนวนรายการ
สินค้าคงคลังทั้งหมด) โดยต้องจัดสรรเงินทุนจำนวนมากไปรองรับ ประมาณร้อยละ 80 ของมูลค่าสินค้า
คงคลังทั้งหมด เรียกสินค้าคงคลังกลุ่มนี้ว่า กลุ่ม A
กลุ่มที่ 2 เป็นรายการสินค้าคงคลังจำนวนมากถัดขึ้นมา (ประมาณร้อยละ 30 ของ
จำนวนรายการสินค้าคงคลังทั้งหมด) โดยต้องจัดสรรเงินทุนไปรองรับประมาณร้อยละ 15 ของมูลค่าสินค้าคง
คลังทั้งหมด เรียกสินค้าคงคลังกลุ่มนี้ว่า กลุ่ม B
กลุ่มที่ 3 เป็นรายการสินค้าคงคลังจำนวนมากที่สุด (ประมาณร้อยละ 50 ของรายการสินค้า
คงคลังทั้งหมด) โดยต้องจัดสรรเงินทุนไปรองรับจำนวนประมาณร้อยละ 5 ของมูลค่าสินค้าคงคลังทั้งหมด
เรียกสินค้าคงคลังกลุ่มนี้ว่า กลุ่ม C
ตัวเลขเป็นร้อยละที่ระบุข้างต้นเป็นตัวเลขโดยประมาณ ในทางปฏิบัติสามารถปรับเปลี่ยน
ตัวเลขได้
ในการแบ่งกลุ่มสินค้าคงคลังออกเป็นกลุ่ม A, B และ C นั้นทำได้โดยหาต้นทุนของสินค้าคงคลังทุก
รายการที่ต้องใช้ต่อปี แล้วนำมาเปรียบเที ยบดูว่ าแต่ ละรายการต้องจัดสรรเงินทุ นไปรองรับคิดเป็ นร้อยละเท่ าใด
จากนั้นนำมารวมกลุ่มกันเข้าเป็นกลุ่ม A, B และ C ตัวอย่างดังตาราง 6-1 และ 6-2
ตารางที่ 4 แสดงต้นทุนสินค้าคงคลังต่อปีของสินค้าคงคลัง 10 รายการ

สินค้าคงคลัง จำนวนที่ต้องใช้ ราคาต่อหน่วย ต้นทุนรวม (บาท) ร้อยละของต้นทุน


รายการที่ (หน่วย) (บาท) ทั้งหมด (%)
1 10,000 1.50 15,000 2.94
2 20,000 10.50 210,000 41.22
3 3,000 8.00 24,000 4.71
4 12,000 2.00 24,000 4.71
5 9,000 1.25 11,250 2.21
6 30,000 0.25 7,500 1.47
7 10,000 0.75 7,500 1.47
8 12,000 13.60 163,200 32.04
9 6,000 2.00 12,000 2.36
10 14,000 2.50 35,000 6.87

รวม 509,450
100.00

ตารางที่ 5 แสดงการจำแนกสินค้าคงคลังในตารางที่ 4 ออกเป็นกลุ่ม A, B และ C


กลุ่ม รายการสินค้าคงคลัง จำนวนร้อยละของ จำนวนร้อยละของต้นทุน
รายการ
A 2, 8 20 73.26
B 3, 4, 10 30 16.29
C 1, 5, 6, 7, 9 50 10.45
100
100.00

การจัดกลุ่มสินค้าคงคลังออกเป็น A, B และ C ทำให้นักบริหารสินค้าคงคลัง ทราบ


ว่าเมื่อมีสินค้าคงคลังจำนวนมากมายหลายรายการอยู่ในคลังสินค้าควรจะบริหารจัดการ ตรวจสอบ ควบคุม
รายการสินค้าคงคลังในกลุ่ม A ก่อนและกลุ่ม B กลุ่ม C ตามลำดับของจำนวนเงินทุนที่จัดสรรไปรองรับ
10.45 C
100
ร้อยละของต้นทุนสินค้าคงคลัง

16.29 B 80 ต้นทุนสินค้าคงคลัง

60

73.26 A
40

20

0
20 40 60 80 100
A B C
20 30 50
ร้อยละของรายการสินค้าคง
คลัง
ภาพที่ 6.7 แสดงการจำแนกประเภทสิ นค้าคงคลังแบบ ABC
จากตารางที่ 4 ตารางที่ 5 และภาพที่ 6.7 แสดงตัวอย่างการจำแนกประเภทสินค้าคง
คลังโดยวิธีการวิเคราะห์แบบ ABC ซึ่งจะจำแนกออกเป็น 3 กลุ่ม โดยสิน ค้ากลุ่ม A จะมี 2 รายการ คิดเป็น
ร้อยละ 20 ของรายการสินค้าทั้งหมด แต่มีต้นทุนถึงร้อยละ 73.26 ของต้นทุนทั้งหมด ส่วนสินค้ากลุ่ม B มี 3
รายการ คิดเป็นร้อยละ 30 ของรายการสินค้าทั้งหมด มีต้นทุนร้อยละ 16.29 ของต้นทุนทั้งหมด ในขณะที่
สินค้ากลุ่ม C มิ 5 รายการ มีจำนวนมากถึงร้อยละ 50 ของรายการสินค้าทั้งหมด แต่มี ต้นทุนเพียงร้อยละ
10.45 ของต้นทุนทั้งหมด
การจำแนกสินค้าคงคลังแบบ ABC จะทำให้การควบคุมสินค้าคงคลังแตกต่างกันดังนี้
สินค้าคงคลังกลุ่ม A ต้องมีการควบคุมอย่างเข้มงวดมาก เมื่อใดที่มีการรับจ่ายสินค้าคงคลัง
เกิดขึ้น จะต้องมีการลงบัญชีคุมยอดทุกครั้ง และต้องมีความถี่ในการตรวจนับ ตรวจเช็คอย่างสม่ำเสมอ บ่อ ย
ๆ เช่น ทุกสัปดาห์ เพื่อเปรียบเทียบกับจำนวนในบัญชีเป็นการป้องกันการสูญหาย สิ นค้าคงคลังกลุ่มนี้ต้องเก็บ
ไว้ในที่ปลอดภัยตามลักษณะเฉพาะของสินค้าแต่ละประเภทเป็นการป้องกันความเสียหาย ส่วนด้วนการจัดซื้อ
กิจการควรหาผู้ขายไว้หลาย ๆ ราย เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนสินค้าคงคลังกลุ่มนี้ รวมทั้ง
กิจการจะสามารถเจรจาต่อรองกับผู้ขาย (Suppliers) ได้
สินค้าคงคลังกลุ่ม B ต้องมีการควบคุมอย่างเข้มงวดมากเช่นกัน จะต้องมีการลงบัญชีคุม
ยอดทุกครั้งเมื่อมีการรับจ่ายเช่นเดียวกับกลุ่ม A การตรวจนับและตรวจเช็คจะต้องกระทำเหมือน สินค้ากลุ่ม
A แต่มีความถี่น้อยกว่า เช่น ทุกเดือน รวมถึงเก็บไว้ในที่ปลอดภัยด้วย
สินค้าคงคลังกลุ่ม C อาจไม่มีการจดบันทึกหรือถ้ามีก็มีเพียงเล็กน้อย สินค้าคงคลังกลุ่มนี้จะ
วางไว้ให้หยิบได้สะดวก เนื่องจากเป็นสินค้าที่มีราคาถูกและปริมาณมาก ถ้าหากมีการควบคุมอย่างเข้มงวดจะ
ก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายสูงไม่คุ้มค่า การตรวจนับหรือตรวจเช็คจะใช้ระบบการตรวจนับแบบสิ้นงวด อาจจะมีการ
ตรวจนั บ เป็ น รายไตรมาสเพื่ อ จะได้ ซื้ อ สิ น ค้ า มาเมื่ อ สิ น ค้ าขาดหรื อ อาจจะใช้ ร ะบบสองกล่อ ง (Two-bin
System) คือการซื้อสินค้าสำรองไว้อีก 1 กล่อง เมื่อใช้กล่องแรกหมดจะนำกล่องที่สำรองมาใช้ต่อไป แล้วมี
การซื้อสินค้าเติมใส่กล่องสำรองแทน ซึ่งทำให้สินค้าไม่ขาดมือ ระบบนี้จะมีสินค้าสำรองเผื่อไว้เสมอ
ใบมอบหมายงานที่ 6
ชื่อวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 6 ชื่อหน่วย การบริหารสินค้าคงคลัง เวลา 3 ชั่วโมง
ชื่อเรื่อง การบริหารสินค้าคงคลัง
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายของการบริหารสินค้าคงคลังได้
2. บอกความสำคัญของการบริหารสินค้าคงคลังได้
3. อธิบายวัตถุประสงค์ของการบริหารสินค้าคงคลังได้
4. จำแนกประเภทของสินค้าของคลังได้
5. อธิบายประโยชน์ของการบริหารสินค้าคงคลังได้
6. คำนวณปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุดได้
7. อธิบายสินค้าคงคลังประเภท ABC ได้
แนวทางการปฏิบัติงาน
1. แบ่งนักศึกษาออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กัน ตามความสมัครใจ
2 มอบหมายงานตามลำดับกลุ่มให้สอดคล้องจุดประสงค์การเรียนรู้
3. ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มไปศึกษา ค้นคว้าหาข้อมูล และร่วมกันจัดทำเป็นบอร์ดวิชาการเผยแพร่
ความรู้และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4. ครู นักศึกษาเยี่ยมชมบอร์ดวิชาการ
5. ครูเสนอแนะเพิ่มเติมและบรรยายสรุป
กำหนดระยะเวลาที่ส่งงาน ภายหลังการนำเสนอ

การประเมินผล
1. พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
2. การนำเสนอ
3. ชิ้นงาน
4. การตอบข้อซักถาม
5. การตรงต่อเวลา
แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม
1. ก่อเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน. กรุงเทพฯ : บริษัท วังอักษร จำกัด, 2563
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....1..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 6 ชื่อหน่วย การบริหารสินค้าคงคลัง จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การบริหารสินค้าคงคลัง...............เวลา.............10.................นาที

คำสั่ง จงทำเครื่องหมายกากบาท (x) ลงหน้าข้อที่ถูกต้อง

1. กิจการซื้อสินค้ามาเพื่อขาย เช่น กิจการค้าปลีก – ค้าส่ง สินค้าคงคลังคือข้อใด

ก. สินค้าผิดประเภท ข. สินค้าชำรุด

ค. สินค้าที่ซื้อมาเพื่อขาย ง. สินค้าคงเหลือ

2. ข้อใดเป็นวัตถุประสงค์ของการจัดการสินค้าคงคลัง

ก. เพื่อสร้างความสมดุลระหว่างอุปสงค์ของผู้ซื้อ และอุปสงค์ของผู้ขาย

ข. เพื่อให้มีสินค้าในปริมาณที่สูง ป้องกันการขาดแคลน โดยไม่คำนึงถึงต้นทุน

ค. เพื่อเป็นการป้องกันความผันผวนของราคาเมื่อภาวะเศรษฐกิจเกิดการเปลี่ยนแปลง

ง. เพื่อจะได้ไม่มีการสั่งซื้อบ่อยครั้ง เพราะต้นทุนในการสั่งซื้อมักจะมากกว่าต้นทุนในการเก็บรักษา

3. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการควบคุมสินค้าคงคลัง โดยจำแนกเป็นประเภท ABC

ก. สินค้ากลุ่ม A เป็นสินค้าที่มีจำนวนมาก ประมาณร้อยละ 80 ของจำนวนรายการสินค้าคงคลังทั้งหมด

ข. สินค้ากลุ่ม B เป็นสินค้าจำนวนมากเป็นอันดับสอง ประมาณร้อยละ 15 ของจำนวนรายการสินค้าคง


คลังทั้งหมด

ค. สินค้ากลุ่ม C เป็นสินค้าจำนวนน้อยที่สุด ประมาณร้อยละ 5 ของจำนวนรายการสินค้าคงคลังทั้งหมด

ง. เป็นการแบ่งประเภทสินค้าโดยจัดลำดับความสำคัญของสินค้าคงคลังตามมูลค่าของเงินทุนที่ต้องจัดสรร
เงินทุนไปรองรับ เพื่อให้สามารถจัดการสินค้าคงคลังได้ถูกต้อง
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....2..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 6 ชื่อหน่วย การบริหารสินค้าคงคลัง จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การบริหารสินค้าคงคลัง...............เวลา.............10.................นาที

4. ต้นทุนสินค้าคงคลังในข้อใดที่มุ่งพิจารณาบางส่วนที่เป็นสินค้าสำเร็จรูปที่เก็บไว้ในสต็อก

ก. ต้นทุนในการสั่งซื้อ (Ordering Cost)

ข. ต้นทุนในการจัดหาพื้นที่จัดเก็บสินค้าคงคลัง (Storage Space Costs)

ค. ต้นทุนในการจัดหาพื้นที่จัดเก็บสินค้าคงคลัง (Storage Space Costs)

ง. ต้นทุนที่เกิดจากความเสี่ยงในตัวสินค้าที่จัดเก็บ (Inventory Risk Costs)

5. การเก็บสินค้าคงคลังโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมสนองความต้องการของลูกค้าในปัจจุบัน รวมทั้งมีการ
คาดการณ์ว่าสินค้าจะขาดแคลนในอนาคตและมีราคาเพิ่มสูงขึ้น เป็นความหมายของสินค้าคงคลังประเภทใด

ก. สินค้าคงคลังที่เก็บไว้ตามฤดูกาล (Seasonal Stock)

ข. สินค้าคงคลังที่เก็บไว้เพื่อเก็งกำไร (Speculative Stock)

ค. สินค้าคงคลังระหว่างการขนส่ง (In – transit Inventories)

ง. สินค้าคงคลังเพิ่มเติมหรือสินค้าคงคลังปลอดภัย (Buffer or Safety Stock)

6. “เป็นสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสามารถเปลี่ยนเป็นเงินสดได้ในเวลาที่รวดเร็ว” มีความหมายสอดคล้องกับข้อใด

ก. สินค้าระหว่างผลิต ข. สินค้าสำเร็จรูป

ค. สินค้าที่เป็นเครื่องมือในการผลิต ง. สินค้าวัตถุดิบและชิ้นส่วนประกอบ
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....3..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 6 ชื่อหน่วย การบริหารสินค้าคงคลัง จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผูเ้ รียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การบริหารสินค้าคงคลัง...............เวลา.............10.................นาที

7. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับประโยชน์ของการจัดการสินค้าคงคลัง

ก. ช่วยให้ระดับการผลิตของธุรกิจเพิ่มขึ้นในอัตราเพิ่มขึ้นตลอดเวลา เป็นการลดต้นทุน

ข. สามารถสนองตอบความต้องการของลูกค้าเฉพาะในฤดูกาลเท่านั้น

ค. ทำให้ธุรกิจได้รับส่วนลดการค้า แม้เป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายในการขนส่งเนื่องจากการสั่งซื้อบ่อยครั้งก็ตาม

ง. สามารถขับเคลื่อนกระบวนการผลิตให้เป็นไปอย่างต่อเนื่องในภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ

8. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (EOQ)

ก. ต้นทุนในการเก็บรักษาเท่ากับต้นทุนในการสั่งซื้อ

ข. ต้นทุนรวมต่ำสุดอยู่ที่ต้นทุนในการเก็บรักษาสูงกว่าต้นทุนในการสั่งซื้อ

ค. ต้นทุนรวมต่ำสุดอยู่ที่ต้นทุนในการเก็บรักษาสูงกว่าต้นทุนเงินทุนหมุนเวียน

ง. ต้นทุนรวมต่ำสุดอยู่ที่ต้นทุนในการเก็บรักษาเท่ากับต้นทุนเงินทุนหมุนเวียน

9. ข้อใดคือสมมติฐานที่ถูกต้องของตัวแบบปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (EOQ)

ก. เวลานำ (Lead Time) ในการสั่งซื้อไม่คงที่

ข. ไม่มีสินค้าระหว่างทางและไม่มีสินค้าขาดสต็อก

ค. ต้องมีการสั่งซื้อสินค้าในแต่ละครั้งไม่ต่ำกว่า 2 ชนิด

ง. ราคาสินค้าที่สั่งซื้อจะเปลี่ยนแปลงตามปริมาณการสั่งซื้อ
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....4..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 6 ชื่อหน่วย การบริหารสินค้าคงคลัง จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การบริหารสินค้าคงคลัง...............เวลา.............10.................นาที

10. ต้นทุนในข้อใดที่แปรผกผันกับปริมาณสินค้าคงคลัง

ก. ต้นทุนในการสั่งซื้อ ข. ต้นทุนในการเก็บรักษา

ค. ต้นทุนในการจัดหาเงินทุนหมุนเวียน ง. ต้นทุนความเสี่ยงในตัวสินค้าที่จัดเก็บ

เฉลย
1. ค 2.ค 3.ง 4. ง 5. ข 6.ข 7. ง 8. ก 9. ข 10. ก
แบบประเมินผลพฤติกรรมรายบุคคล
ใบงานที่ 6 เรื่อง การบริหารสินค้าคงคลัง
กลุม่ ที่ ...................

ที่ คะแนน การรับฟัง การเสนอ การยอมรับ การสร้าง รวม ระดับการ


ความคิด ความคิด คนอื่น บรรยากาศ คะแนน มี
เห็น เห็น ในกลุ่ม ส่วนรวม
ชื่อสกุล 5 5 5 5 20
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ระดับของคะแนน
5 = มากที่สุด 4 = ค่อนข้างมาก
3 = ปานกลาง 2 = ค่อนข้างอ่อน
1 = น้อยที่สุด
เกณฑ์การประเมิน 15-20 = มาก
8-14 = ปานกลาง
1-7 = น้อย

ลงชือ่ ...........................................ผู้ประเมิน
การบริหารสินค้าคงคลัง
คะแนน การนำเสนอผลงาน การบันทึกผลงาน รวม
ขั้นนำ ขั้นสอน ขั้นสรุป ถูกต้อง เรียบร้อย คะแนน ระดับคุณภาพ
กลุ่มที่ ของผลงาน
10 10 10 10 10 50
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ระดับของคะแนน 8 - 10 = ดีมาก 7 - 8 = ดี
5 – 6 = พอใช้ 0 – 4 = ควรปรับปรุง
เกณฑ์การประเมิน 35 - 50 = ดี
17 - 34 = ปานกลาง
1 - 16 = ควรปรับปรุง

ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
แบบประเมินพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม จริยธรรม
วันที่......เดือน....................พ.ศ. ....................
ชื่อ...............................................นามสกุล.......................................ระดับชั้น.................เลขที่........
แผนก..................................................................คณะ......................................................................

ลำดับ พฤติกรรมที่ประเมิน ระดับคะแนน หมายเหตุ


3 2 1 ความหมายของระดับคะแนน
1 ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และงานที่ได้รับ 3= ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอโดยไม่
มอบหมาย ต้องมีการชี้นำหรือตักเตือน
2 กล้าคิด กล้าทำ และกล้าตัดสินใจด้วยเหตุผล 2= ปฏิบัติบ้างในบางครั้ง
3 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนๆ จากการเชิญชวนหรือชี้นำ
4 เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เสียสละเพื่อส่วนรวม 1= ต้องสั่งบังคับว่ากล่าวหรือ
5 มีวินัยซื่อสัตย์และประหยัด ตักเตือนจึงจะปฏิบัติ หรือมักจะ
6 รู้จักการให้โอกาส ให้อภัย ปฏิบัติในทางที่ผิดเสมอ
7 การยอมรับการปฏิบัติต่อมติของกลุ่ม
8 ไม่เอาเปรียบเพื่อนผู้เรียนด้วยกัน เกณฑ์การประเมิน
9 แสดงกิริยาวาจาสุภาพต่อทุกคน 26-30 คะแนน= ดีมาก
10 แสดงความมีน้ำใจต่อครู/อาจารย์ 21-25 คะแนน= ดี
รวม (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) 16-20 คะแนน= พอใช้
0-15 คะแนน= ควรปรับปรุง
บันทึก
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
........................

ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
การวิเคราะห์หัวข้อการสอนและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ทฤษฎี.....3.......ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ............-.....ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน…3…หน่วยกิต
ISL PSL
หน่วยที/่ ชื่อหน่วย รายการความรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
R A T I C A
7. การขนส่ง 1. ความหมายของการขนส่ง 1. บอกความหมายของการขนส่ง ได้ /
2. ความสำคัญของการขนส่ง 2. บอกความสำคัญของการขนส่งได้ /
3. ประโยชน์ของการขนส่ง 3. อธิบายประโยชน์ของการขนส่งได้ /
4. อรรถประโยชน์ของการขนส่ง 4. บอกอรรถประโยชน์ของการขนส่งได้
5. รูปแบบวิธีการขนส่ง 5. เปรียบเทียบรูปแบบวิธีการขนส่งได้ /
6. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการขนส่ง 6. อธิบายปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการขนส่งได้ /
7. การคำนวณต้นทุนการขนส่ง 7. คำนวณต้นทุนการขนส่งได้ /
หมายเหตุ ISL= ระดับความรู้ความสามารถทางสติปัญญา (Intellectual skill Level) PSL=ระดับความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อทำงาน(Physical skill Level)
R:การฟื้นความรู้ (Recalled Knowledge) I : ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed)
A:การประยุกต์ความรู้ (Applied Knowledge) C : ทำได้ดว้ ยความถูกต้อง (Control is needed)
T:การส่งถ่ายความรู้ (Transferred Knowledge) A : ทำด้วยความชำนาญ (Automation is needed)
กรอบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
หน่วยที่ 7 เรื่อง การขนส่ง

พอประมาณ
1. ผู้เรียนจัดสรรเวลาในการฝึกปฏิบัติตาม
ใบงานได้อย่างเหมาะสม
2. ผู้เรียนรู้จักใช้และจัดการวัสดุอุปกรณ์
ต่าง ๆ อย่างประหยัดและคุ้มค่า
3. ผู้เรียนปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4. ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มเพื่อน
มีภูมิคุ้มกันที่ดี

ความมีเหตุผล 1. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและการ
ปฏิบัติงาน
1. กล้าแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
2. กล้าซักถามปัญหาหรือข้อสงสัยต่าง ๆ อย่างถูก
2. กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ
กาลเทศะ
3. กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อนื่
4. ไม่มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น 3. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเองอย่างเป็น
เหตุเป็นผล

4. ควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
ความรู้ + ทักษะ 5.ควบคุมกิคุรณิยธรรม
าอาการในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
1. ใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า 1. ปฏิบัติงานทีเป็่ได้นรอย่
ับมอบหมายเสร็
างดี จตามกำหนด
2. ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด
3. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ 3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและ
พอเพียง การปฏิบัติงาน
4. ให้ความร่วมมือกับการทำกิจกรรมของส่วนรวม อาสา
ช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น
นำไปสู่
สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม
สังคม ชุมชนมีคุณภาพชีวิต สภาพเศรษฐกิจมีความ มีการปลูกฝังกิจนิสัยการ ใช้สิ่งของอย่างรู้คุณค่า
ที่ดีขึ้น คล่องตัว มีรายได้และมี ประหยัด อดออม ใช้วัสดุธรรมชาติ ไม่ทำลาย
การใช้จ่ายในระบบเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม
แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 7 ชื่อหน่วย การขนส่ง จำนวน...6….ชั่วโมง

หัวข้อเรื่อง
1. ความหมายของการขนส่ง
2. ความสำคัญของการขนส่ง
3. ประโยชน์ของการขนส่ง
4. อรรถประโยชน์ของการขนสง
5. รูปแบบวิธีการขนส่ง
6. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการขนส่ง
7. การคำนวณต้นทุนการขนส่ง

สาระสำคัญ
การขนส่งเป็ นวิชาแขนงหนึ่งในการจัดการโลจิส ติกส์ มี บทบาทสำคั ญ ต่ อระบบเศรษฐกิ จและการ
ดำเนินธุรกิจ เพราะการขนส่งเข้าไม่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับอุตสาหกรรมทุกประเภท ซึ่งค่าขนส่งจะถูกนำไปรวม
ในราคาสินค้าและบริการ โดยถูกรวมไปเป็นทอด ๆ เริ่มตั้งแต่จากแหล่งวัตถุดิบไปแหล่งผลิต จากแหล่งผลิตไปยัง
พ่อค้าคนกลาง จากพ่อค้าคนกลางไปยังพ่อค้าปลีกและจากพ่อค้าปลีกไปยังผู้บริโภคในที่สุด ซึ่งแต่ละทอดของการ
เคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ ได้มีการรวมค่าขนส่งเป็นต้นทุนของสินค้าทุกทอด ทำให้เกิดต้นทุนทางธุรกิจสูงมาก
จะเห็นได้ว่า การขนส่งเป็นกิจกรรมที่สำคัญมาก ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจในกิจกรรมประเภทนี้
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจแสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและกระบวนการโลจิสติกส์และซัพ
พลายเชน
2. เพื่อให้มีกิจนิสัย ในการทางานที่ดี ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ รับผิดชอบ มีวินัย ตรงตาม
เวลา และตระหนักถึงความปลอดภัยในการทำงาน

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. บอกความหมายของการขนส่งได้
2. บอกความสำคัญของการขนส่งได้
3. อธิบายประโยชน์ของการขนส่งได้
4. บอกอรรถประโยชน์ของการขนส่งได้
5. เปรียบเทียบรูปแบบวิธีการขนส่งได้
6. อธิบายปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการขนส่งได้
7. คำนวณต้นทุนการขนส่งได้

กิจกรรมการการจัดการเรียนรู้

เวลา (X นาที) 60 120 180


หมายเลขวัตถุประสงค์ 1,2,3,4,5,6,7
ขั้นสนใจปัญหา(.....10.... นาที)
บรรยาย
ขั้นให้ข้อมูล
ถามตอบ
(..120 นาที)
สาธิต
ขั้นพยายาม (........30....นาที)
ขั้นสำเร็จผล (.........20...นาที)
กระดานดำ
Power point
แผ่นใส
ของจริง
อุปกรณ์ช่วยสอน ใบเนื้อหา
ใบงาน
เฉลยใบงาน
ใบสั่งงาน
ใบประเมินผล
Pre test (10 นาที)
Post test (10นาที)
ใบทดสอบ ก่อนเรียน หลังเรียน

ใบเนื้อหาที่ 7 สื่อ Power point ชุดที่ 7 ใบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน หน่วยที่ 7


กิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู กิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน
1. ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน ขั้นสนใจปัญหา (10 นาที
และทดสอบ 10 นาที) ผู้เรียนร่วมคิดและตอบคำถามและทำแบบทดสอบ
ครูผู้สอนนำเข้าสู่บ ทเรียน เล่ าถึง การ ก่อนเรียน
ขนส่ ง มี บ ทบาทสำคั ญ ต่ อ ระบบเศรษฐกิจ และการ
ดำเนิ น ธุ ร กิ จ ซึ่ งค่ า ขนส่ ง จะถู ก นำไปรวมในราคา
สินค้าและบริการ โดยถูกรวมไปเป็นทอด ๆ เริ่มตั้งแต่
จากแหล่ง วัตถุดิบไปแหล่งผลิต จากแหล่งผลิตไปยัง
พ่อค้าคนกลาง จากพ่ อค้าคนกลางไปยัง พ่ อค้าปลี ก
และจากพ่ อ ค้าปลีก ไปยั งผู้บ ริโภคในที่ สุด ซึ่ง แต่ล ะ
ทอดของการเคลื่อ นย้ายสินค้ าและบริการ ได้มี การ
รวมค่าขนส่งเป็นต้นทุนของสินค้าทุกทอด ทำให้เกิด
ต้นทุนทางธุรกิจสูงมาก จะเห็นได้ว่า การขนส่ง เป็ น
กิจกรรมที่ สำคัญ มาก ควรมีการศึก ษาและทำความ
เข้าใจในกิจกรรมประเภทนี้
2. ขั้นสอน (120 นาที)
ส อ น โด ย ก า ร บ ร ร ย า ย เกี่ ย ว กั บ ผู้เรียนฟั ง การบรรยาย และศึ กษาเอกสารประกอบ
ความหมายของการขนส่ง ความสำคัญของการขนส่ง การเรี ยนตาม และร่วมตอบคำถามถึง ความหมาย
ประโยชน์ ข องการขนส่ ง อรรถประโยชน์ ข องการ ของการขนส่ง ความสำคัญของการขนส่ง ประโยชน์
ขนส่ง รูปแบบวิธีการขนส่ง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ ของการขนส่ง อรรถประโยชน์ของการขนส่ง รูปแบบ
ขนส่ง การคำนวณต้นทุนการขนส่ง วิ ธี ก ารขนส่ ง ปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การขนส่ ง การ
คำนวณต้นทุนการขนส่ง
3. ขั้นพยายาม (60 นาที) แบ่งกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่มให้แต่ละกลุ่มสรุปสาระสำคัญ
ครูผู้สอนผู้เรียนมีส่วนร่วม (แต่ละกลุ่มส่ง ตัวแทน ของแต่เรื่องตามจุดประสงค์ ผู้เรียน ศึกษาแล้วแบ่ง
กลุ่ม) วิเคราะห์เกี่ยวกับกรณีศึกษา และมอบหมายให้ หน้าที่รับผิดชอบในการร่วมปฏิบัติกิจกรรมร่วมกัน
ผู้เรียนนำกรณีศึกษามานำเสนอในชั้นเรียน
4. ขั้นสรุป (30 นาที และทดสอบ 10 นาที)
และผู้สอนสรุปแต่ละเรื่องให้ผู้เรียนฟังจนเข้าใจ แต่ ล ะกลุ่ ม ส่ ง ตั ว แทนออกมาสรุป เพื่ อ นฟั ง หน้ า ชั้ น
มอบหมายให้ผู้เรียนกลับไปศึกษาเนื้อหาเรื่องระบบ เรียน
สารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลาย
เชน

สื่อสารเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้
สื่อสิ่งพิมพ์
1. ใบเนื้อหา
2. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
3. ใบมอบหมายงาน
4. หนังสือโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ของ อาจารย์ก่อเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา
5. หนังสือโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ของ อาจารย์ไตรเลิศ ครุฑเวโชและมนัสชัย กีรติผจญ

สื่อโสตทัศน์ (ถ้ามี)
1. ใช้สื่อ Power point
แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
1. ห้องสมุดวิทยาลัย
2. แหล่งข้อมูลจากระบบสารสนเทศ Internet

การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กับวิชาอื่น
1. บูรณาการกับวิชาหลักการจัดการการกระจายสินค้า
2. บูรณาการกับวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ
3. บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านความขยันหมั่นเพียร ประหยัด อดออม

การวัดและประเมินผล
การประเมินผล
ก่อนเรียน
1. แบบทดสอบก่อนเรียน
ขณะเรียน
1. แบบประเมินพฤติกรรมรายกลุ่ม
2. แบบสังเกตพฤติกรรม
3. แบบประเมิน คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะพึงประสงค์
หลังเรียน
6. แบบทดสอบหลังเรียน

เกณฑ์ในการวัดและประเมินผล
การวัด (ใช้เครื่องมือ) การประเมินผล (นำผลเทียบกับเกณฑ์และแปล
ความหมาย)
1. แบบทดสอบก่อนเรียน (ไว้เปรียบเทียบกับคะแนนสอบหลังเรียน)
2. แบบสังเกตการทำงานกลุ่มและการ เกณฑ์ผ่าน 60 %
นำเสนอผลงานกลุ่ม
3. แบบฝึกหัดในหน่วย เกณฑ์ผ่าน 50 %
4. แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน 50 %
5. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม เกณฑ์ผ่าน 60 %
ตามสภาพจริง

บันทึกหลังสอน
1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

2. ผลการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

3. แนวทางการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
แบบฝึกหัดบทที่ 7 การขนส่ง
ตอนที่ 1 จงเติมคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. จงอธิบายความหมายของคำว่า “การขนส่ง”
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
2. การขนส่งมีความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างไร
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
3. การขนส่งมีประโยชน์อย่างไรบ้าง อธิบายมาพอสังเขป
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
4. จงอธิบายความหมายของอรรถประโยชน์เกี่ยวกับสถานที่
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
5. จงอธิบายความหมายและเปรียบเทียบการขนส่งทั้ง 5 รูปแบบ
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
6. การวิเคราะห์ SWOT การขนส่งโดยรถบรรทุกประกอบด้วยอะไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
7. สินค้าที่ขนส่งทางทะเลแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่อะไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
8. ปัจจัยอะไรบ้างที่มีอิทธิพลต่อการขนส่ง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
9. เทคนิคอะไรบ้างที่ใช้ในการบริหารต้นทุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
10. เครื่องมืออะไรบ้างที่ใช้คำนวณหาต้นทุนที่ใช้ในการขนส่ง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
ตอนที่ 2

คำชี้แจง : จงคำนวณหาผลลัพธ์จากโจทย์ที่กำหนดให้
จุดประสงค์ - บอกประเภทต้นทุนการขนส่ง
- คำนวณต้นทุนการขนส่ง
1. บริษัท A จำกัด มีรถบรรทุก 10 ล้อ จำนวน 5 คัน มีต้นทุนต่าง ๆ ดังนี้
- ค่าบริหารจัดการ เดือนละ 100,000 บาท
- ค่าประกันต่อคัน เดือนละ 4,000 บาท
- ค่าเสื่อมราคาต่อคันเดือน 50,000 บาท
- ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง กิโลเมตรละ 8 บาท
- ค่าทางพิเศษ เที่ยวละ 200 บาท
- ค่ายางรถยนต์ กิโลเมตรละ 0.80 บาท
หากใน 1 ปี มีการขนส่งดังต่อไปนี้
- ระยะทางที่ขนส่ง 300,000 กิโลเมตร
- จำนวนเที่ยวในการขนส่ง 10,000 เที่ยว
จงคำนวณหา
1) ต้นทุนคงที่ทั้งหมดในหนึ่งปี
2) ต้นทุนผันแปรทั้งหมดในหนึ่งปี
3) ต้นทุนรวมทั้งหมดในหนึ่งปี
4) ต้นทุนต่อกิโลเมตร
5) ต้นทุนต่อเที่ยวการขนส่ง

2. ข้อมูลการขนส่งทางเรือ กับ การขนส่งทางเครื่องบิน เป็นดังนี้


ข้อมูล การขนส่งทางเรือ การขนส่งทางเครื่องบิน
A ระยะเวลาการขนส่ง 20 วัน 2 วัน
B ราคาค่าขนส่ง 15 บาท/หน่วย 55 บาท/หน่วย
C ต้นทุนเงินจมในสินค้าคงคลัง 450 บาท/หน่วย/ปี 450 บาท/หน่วย/ปี
D ความถี่ในการขนส่ง 1 ครั้ง/เดือน 4 ครั้ง/เดือน
E ปริมาณการขนส่งต่อครั้ง 20,000 หน่วย 5,000 หน่วย

จากตาราง หากนักศึกษาจะใช้บริการขนส่ง นักศึกษาจะเลือกรูปแบบใด เพราะเหตุใด


............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 7 การขนส่ง
ตอนที่ 1 จงเติมคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. จงอธิบายความหมายของคำว่า “การขนส่ง”
ตอบ การขนส่ง หมายถึง การเคลื่อนย้ายคน สัตว์ สิ่งของต่าง ๆ จากสถานที่แห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่งด้วย
เครื่องมือและอุปกรณ์การขนส่ง ก่อให้เกิดอรรถประโยชน์ (Utility) ตามความต้องการของผู้ที่ทำการขนส่ง
2. การขนส่งมีความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างไร
ตอบ 1. การขนส่งทำให้ประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มขึ้น
2. การขนส่งช่วยให้เกิดการกระจายความเจริญเติบโต
3. ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม
4. ช่วยให้มาตรฐานการศึกษาดีขึ้น
5. ทำให้ประชาชนมีมาตรฐานการครองชีพดีขึ้น
6. เพิ่มความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
7. ความสำคัญด้านอื่น ๆ เช่น เพิ่มความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร เพิ่มความมั่นคงให้กับประเทศ
และช่วยในด้านการป้องกันประเทศ
3. การขนส่งมีประโยชน์อย่างไรบ้าง อธิบายมาพอสังเขป
ตอบ 1. การขนส่งก่อให้เกิดตลาดสินค้าและบริการ ในการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมต่าง ๆ
2. การขนส่ ง ก่ อ ให้ เกิ ด มู ล ค่ า เมื่ อ มี ก ารขนส่ ง เกิ ด ขึ้ น จะทำให้ เกิ ด อรรถประโยชน์ ด้ า นเวลาหรื อ
อรรถประโยชน์ด้านสถานที่ตามมา ซึ่งอรรถประโยชน์จะมากหรือน้อยแค่ไหนขึน้ อยู่กับอิทธิพลของ การขนส่ง
3. การขนส่งก่อให้เกิดปัจจัยสี่ ในการอุปโภค บริโภคปัจจัยสี่ เราต้องอาศัยการขนส่งลักษณะต่าง ๆ
เข้ามาช่วย ไม่ว่าจะเป็นวัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ์ ที่นำมาใช้ ในการผลิตปัจจัยสี่ในรูปของสินค้าสำเร็จรูป เพราะเรา
ไม่สามารถผลิตสิง่ ต่าง ๆ เหล่านี้ได้ จำเป็นต้องมีการขนย้ายสิ่งเหล่านี้มาจากแหล่งอื่น ๆ
4. การขนส่งทำให้เกิดชุมชนใหม่ ไม่ว่าจะเป็นการขนส่งในลักษณะใดก็ตาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ
ขนส่งทางบกที่เป็นทางรถยนต์ ยิ่งทำให้เกิดชุมชนกระจายมากเป็นทวีคูณหรือแม้กระทั่ ง การขนส่งทาง
รถไฟ ก็ทำให้เกิดชุมชนใหม่ ๆ ขึ้นแทบทั้งสิ้น
5. การขนส่งทำให้เกิดการพัฒนาประเทศ การขนส่งจะนำความเจริญไปสู่ชุมชนต่าง ๆ ก่อให้เกิดการ
พัฒนาภายประเทศ ความเป็นอยู่ดีขึ้น เจริญก้าวหน้าทัดเทียมกับอารยประเทศ ทำให้มีการพัฒนาประเทศ
ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง
4. จงอธิบายความหมายของอรรถประโยชน์เกี่ยวกับสถานที่
1) อรรถประโยชน์เกี่ยวกับสถานที่
ตอบ อรรถประโยชน์เกี่ยวกับสถานที่ เป็นอรรถประโยชน์ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง ย้าย เคลื่อนที่
หรือเปลี่ยนสถานที่จากที่แห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่ง ซึ่งทำให้มีมูลค่าหรือราคาเปลี่ยนแปลงไป

2) อรรถประโยชน์เกี่ยวกับเวลา
5. จงอธิบายความหมายและเปรียบเทียบการขนส่งทั้ง 5 รูปแบบ
ตอบ 1. การขนส่งทางน้ำ หมายถึง การขนส่งทางแม่น้ำและทางทะเล โดยทั่วไปการขนส่งทางน้ำจะใช้
เรือสินค้าขนาดใหญ่ สามารถขนส่งสินค้าได้คราวละมาก ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขนส่งทางทะเลสำหรับการ
ขนส่งทางน้ำต้องมีโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญคือ ท่าเรือ
2. การขนส่งทางรถไฟ จะมีโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญคือ สถานีรถไฟและรางรถไฟ โดยรางรถไฟจะ
เป็นโครงสร้างที่ ไปกำหนดเส้นทางตายตัว ดังนั้นเส้นทางรถไฟหนึ่ง ๆ จึงเกิด การคุ้มค่าจากการ
สร้างเพราะมีปริมาณการใช้สูง
3. การขนส่งทางถนน เป็นรูปแบบการขนส่งที่สะดวกที่สุด เพราะเป็นการขนส่งที่สามารถเข้าถึงต้น
ทางและปลายทางได้ (ตามเท่าที่ถนนจะมี) ไม่ต้องมีการขนถ่ายสินค้าจากการเปลีย่ นยานพาหนะ เรามักเรียกการ
ขนส่งทางถนนว่า Door-to-Door โดยมีโครงสร้างพื้นฐานหลักคือ ถนน
4. การขนส่งทางอากาศ เป็นวิธีการขนส่งที่รวดเร็วที่สุด และมีราคาแพงที่สุด การขนส่งทางอากาศ
มีโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญคือ ท่าอากาศยาน และเนื่องจากข้อจำกัดของขนาดของอากาศยาน การขนส่ง
ในรูปแบบนี้จึงมักจำกัดในรูปแบบของหีบห่อ
5. การขนส่งทางท่อ เป็นรูปแบบการขนส่งที่นิยมใช้กั บสินค้าเฉพาะอย่างเท่านั้น เช่น ก๊าซ น้ำมัน
โดยการขนส่งทางท่อต้องอาศัยโครงสร้างพื้นฐานคือ ท่อขนส่ง
6. การวิเคราะห์ SWOT การขนส่งโดยรถบรรทุกประกอบด้วยอะไรบ้าง
ตอบ จุดแข็ง (S)
1. การขนส่งสินค้าด้วยรถบรรทุกจะสามารถส่งสินค้าจำนวนมาก
2. การบริการที่ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ
3. ให้บริการลูกค้าได้ตลอดเวลาตามที่ลูกค้าต้องการ
จุดอ่อน (W)
1. ต้นทุนในการดำเนินงานมีแนวโน้มสูงขึ้น
2. การบริหารกิจการไม่ได้มีการพัฒนาให้ทันสมัยขึ้นเพราะใช้ระบบครอบครัว
7. สินค้าที่ขนส่งทางทะเลแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่อะไรบ้าง
ตอบ 1. สินค้าเทกอง หรือรวมกอง (Bulk Cargo)
2. สินค้าหีบห่อ (Break - Bulk Cargo)

8 ปัจจัยอะไรบ้างที่มีอิทธิพลต่อการขนส่ง
ตอบ 1. ความหนาแน่น (Density)
2. ความรับผิดชอบ (Liability)
3. ความสามารถในการจัดเรียงสินค้าบนพาหนะ (Stow ability)
4. ความสะดวกในการขนถ่าย (Fast of Handling)

9. เทคนิคอะไรบ้างที่ใช้ในการบริหารต้นทุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง
ตอบ 1. ข้อมูลทางเทคนิคที่ควบคุมได้
2. การบำรุงรักษาเครื่องยนต์
3. สภาวะแวดล้อมภายนอก
4. วิธีการขับขี่
5. ราคาน้ำมันเชื้อเพลิง
6. ความรู้ความเข้าใจเรื่องความพึงพอใจของลูกค้า
7. การบริหารจัดการ

10. เครื่องมืออะไรบ้างที่ใช้คำนวณหาต้นทุนที่ใช้ในการขนส่ง
ตอบ เครื่องมือที่ใช้คำนวณหาต้นทุนในการขนส่งและเส้นทางการขนส่ง มีดังนี้
1. วิธีซิมเพล็กซ์ เป็นวิธีที่ค่อนข้างยุ่งยากและใช้เวลามากจึงไม่นิยมใช้
2. วิธีเส้นตรง เป็นวิธีที่ง่ายกว่าและสะดวกในการคำนวณ โดยแบ่งได้ดังนี้
2.1 วิธีเทคนิค Northwest Corner (กำหนดเส้นทางการขนส่ง)
ข้อดี เป็นวิธีที่ง่ายสะดวกและรวดเร็ว
ข้อเสีย ไม่คำนึงถึงค่าขนส่ง
2.2 วิธีเทคนิค Stepping - Stone การกำหนดเส้นทางขนส่งโดยวิธี Stepping-Stone เป็นการหา
เส้นทางการขนส่งที่ดีที่สุด โดยการนำเส้นทางเบื้องต้น คือ วิธีที่ 1 มาทดสอบว่า ถ้าเปลี่ยนไปใช้เส้นทางการ
ขนส่งที่ไม่ได้ใช้เพื่อส่งสินค้า 1 หน่วย จะทำให้ต้นทุนค่าขนส่งรวมต่ำลงหรือไม่ หากว่าต้นทุนต่ำลงก็จะทำการ
ปรับเส้นทางการขนส่ง
2.3 วิธีเทคนิค Vogel’s Approximation Method (VAM) เป็นการกำหนดเส้นทาง
ตอนที่ 2
1. จงคำนวณหา
1) ต้นทุนคงที่ทั้งหมดใน : ค่าบริการจัดการ 100,000 บาท
ค่าประกันต่อคันต่อเดือน 4,000 บาท
ค่าเสื่อมราคาต่อคันต่อเดือน 50,000 บาท
ฉะนั้น ต้นทุนคงที่หมดต่อปี = [100,000 x 12] + [(4,000 + 50,000) x 5 x 12)]
= 4,440,000 บาท
2) ต้นทุนผันแปรทั้งหมดในหนึ่งปี : ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงกิโลเมตรละ 8 บาท
ค่าทางพิเศษเที่ยวละ 200 บาท
ค่ายางรถยนต์ กิโลเมตรละ 0.80 บาท
ฉะนั้น ต้นทุนผันแปรทั้งหมดในหนึ่งปี = [(8 + 0.80) x 300,000] + [200 x 10,000]
= 4,640,000 บาท
3) ต้นทุนรวมทั้งหมดในหนึ่งปี = ต้นทุนคงที่ + ต้นทุนผันแปร
= 4,440,000 + 4,640,000
= 9,080,000
4) ต้นทุนต่อกิโลเมตร = 9,080,000/300,000 = 30.27 บาท
5) ต้นทุนต่อเที่ยวการขนส่ง = 9,080,000/10,000 = 908 บาท
2.
ต้นทุนต่อปี การขนส่งทางเรือ การขนส่งทางเครื่องบิน
การขนส่ง 20,000 x 1 x 12 x 15 5,000 x 4 x 12 x55
E x D x 12 x B 3,600,000 13,200,000
สินค้าคงคลังระหว่างการขนส่ง 20,000 x 1 x 12 x 20 x 5,000 x 4 x 12 x 2 x
E x D x 12 x A x (C/365) (450/365) (450/365)
สินค้าคงคลังที่จุดรับสินค้า 5,917,808 591,780
[C x (E/2)] 450 x (20,000/2) 450 x (5,000/2)
4,500,000 1,125,000
ต้นทุนรวม 14,017,808 14,916,780

ควรเลือกการขนส่งทางเรือ เพราะต้นทุนรวมถูกกว่าการขนส่งทางเครื่องบิน
จำนวน 14,916,780 – 14,017,808 = 898,972 บาท
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....1..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 7 ชื่อหน่วย การขนส่ง จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การขนส่ง...............เวลา.............10.................นาที
คำสั่ง จงทำเครื่องหมายกากบาท (x) ลงหน้าข้อที่ถูกต้อง

1. การเคลื่อนย้ายสิ นค้า/บริการจากแหล่งผลิตไปยังสถานที่ที่ บริโภคสิ นค้า/บริการด้วยความรวดเร็วและสม่ ำเสมอ


หมายถึงข้อใด

ก. การเพิ่มมูลค่าสินค้า ข. การขนส่ง

ค. อรรถประโยชน์ด้านสถานที่ ง. ความรวดเร็ว

2. ปลาทูสดอยู่ที่จังหวัดสมุทรสาครราคากิโลกรัมละ 10 บาท พอส่งไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยาราคากิโลกรัมละ


45 บาท เป็นอรรถประโยชน์ที่เกิดจากการขนส่งข้อใด

ก. อรรถประโยชน์เกี่ยวกับสถานที่ ข. อรรถประโยชน์เกี่ยวกับเวลา

ค. อรรถประโยชน์เกี่ยวกับรูปแบบ ง. อรรถประโยชน์เกี่ยวกับการโอนกรรมสิทธิ์

3. วิธีการขนส่งใด มีความคล่องตัวในการขนถ่ายสินค้าจำนวนมากได้ด้วยต้นทุนต่ำไม่ต้องมีบรรจุภัณฑ์ ไม่จำกัด


เวลา ขนส่งได้ตลอด 24 ชั่วโมง

ก. การขนส่งทางน้ำ ข. การขนส่งทางรถไฟ

ค. การขนส่งทางถนน ง. การขนส่งทางท่อ

4. วิธีการขนส่งใดสามารถขนส่งสินค้าขนาดใหญ่ ปริมาณมาก น้ำหนักมากได้มีระวางความจุสูง เหมาะกับการ


ขนส่งระยะทางไกล

ก. การขนส่งทางน้ำ ข. การขนส่งทางรถไฟ

ค. การขนส่งทางถนน ง. การขนส่งทางท่อ
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....2..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 7 ชื่อหน่วย การขนส่ง จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การขนส่ง...............เวลา.............10.................นาที

5. วิธีการขนส่งเรียกอีกอย่างหนึง่ ว่า Door-to-Door

ก. การขนส่งทางน้ำ ข. การขนส่งทางรถไฟ

ค. การขนส่งทางถนน ง. การขนส่งทางท่อ

6. ข้อใดเป็นต้นทุนคงที่ของการขนส่งทั้งหมด

ก. ค่าเบี้ยประกันภัย ค่าเสื่อมราคา

ข. ค่าล่วงเวลาของพนักงาน ค่าเสื่อมราคา

ค. ค่าน้ำมันยานพาหนะ ค่าบริหารจัดการ

ง. ค่าจ้างพนักงานรายเดือน ค่าอะไหล่

7. ต้นทุนของการขนส่งด้วยตนเอง ประกอบด้วยต้นทุนกี่ประเภท อะไรบ้าง

ก. 1 ต้นทุน คือ ต้นทุนคงที่ เพราะต้องลงทุนซื้อยานพาหนะ

ข. 2 ต้นทุน คือ ต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร

ค. 3 ต้นทุน คือ ต้นทุนคงที่ ต้นทุนผันแปรและต้นทุนผสม

ง. 3 ต้นทุน คือ ต้นทุนคงที่ ต้นทุนผันแปรและต้นทุนจม


ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....3..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 7 ชื่อหน่วย การขนส่ง จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผูเ้ รียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การขนส่ง...............เวลา.............10.................นาที

8. ใช้บรรทุกผักและผลไม้สดที่ไม่จำเป็นต้องใช้บรรทุกในตู้แบบห้องเย็นหมายถึงข้อใด

ก. ตู้ระบายอากาศ ข. ตู้ห้องเย็น

ค. ตู้ฉนวน ง. ตู้พิเศษ

9. ข้อใดคือผลเสียของการลงทุนการขนส่งทางท่อ

ก. การลงทุนสูง ข. การให้บริการจำเพาะ

ค. ผู้ขนส่งเป็นผู้ลงทุนเอง ง. ปริมาณแก๊ส/น้ำมันมีจำนวนจำกัด

10. การขนส่งระบบใดที่สนับสนุนระบบโลจิสติกส์ได้อย่างสมบูรณ์

ก. ตู้ไม้ ข. ตู้คอนเทนเนอร์

ค. กระสอบ ง. พลาสติก

เฉลย
1. ข 2.ก 3.ง 4. ก 5. ค 6.ก 7. ข 8. ก 9. ก 10. ข
ใบเนื้อหา/ใบความรู้
หน่วยที่...7..เรื่อง การขนส่ง

1.ความหมายของการขนส่ง (Definition of Transportation)


ความหมายของการขนส่ง ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
คำว่า “ขน” หมายถึง การเอาสิ่งของจำนวนมาก บรรทุกหรือหาบหามด้วยอาการ ใด ๆ ก็
ตามจากแห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่ง
คำว่า “ส่ง” หมายถึง การยื่นให้ ยื่นให้ถึงมือ พาไปให้ถึงที่
คำว่า “ขนส่ง” หมายถึง ธุรกิจที่เกี่ยวด้วยการขนและส่ง
ความหมายของการขนส่ง ตามสารานุกรมไทย
คำว่า “การขนส่ง” หมายถึง การเคลื่อนที่ของมนุษย์ สัตว์ สิ่งของ จากที่แห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่ง
ตามความประสงค์ของมนุษย์
ความหมายของการขนส่ง ตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. 2522
นิยามศัพท์ในมาตรา 4 ว่ าด้วยการขนส่ง หมายความว่า “การลำเลียงหรือเคลื่ อนย้ายบุคคลหรือ
สิ่งของด้วยเครื่องอุปกรณ์ขนส่ง”
เครื่องอุป กรณ์ ขนส่ง หมายถึง ยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่ง รวมทั้ ง เครื่องทุ่ นแรงด้วยและใน
พระราชบัญญัติฉบับนี้ได้แบ่งลักษณะของการประกอบการขนส่งออกเป็น
“การขนส่งสาธารณะ” หมายความว่า การขนส่งเพื่อสินจ้างโดยไม่จำกัดเส้นทาง
“การขนส่งประจำทาง” หมายความว่า การขนส่งตามสินจ้างตามเส้นทางที่กำหนด
“การขนส่งส่วนบุคคล” หมายความว่า การขนส่งเพื่อกิจการค้าของตนเอง
“การรับจัดขนส่ง” หมายความว่า การรับจ้างรวบรวมบุคคลหรือสิ่งของและจัดให้บุคคลอื่นทำการ
ขนส่งจากที่แห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่งในความรับผิดชอบของผู้จัดขนส่ง
จากความหมายต่าง ๆ ข้างต้น สามารถสรุปความหมายของ “การขนส่ง” ดังนี้
การขนส่ง หมายถึง การเคลื่อนย้ายคน สัตว์ สิ่งของต่าง ๆ จากสถานที่แห่งหนึ่งไป ยังอีกแห่งหนึ่ง
ด้วยเครื่องมือและอุปกรณ์การขนส่ง ก่อให้เกิดอรรถประโยชน์ (Utility) ตาม ความต้องการของผู้ที่
ทำการขนส่ง ดังนั้นการขนส่งจะต้องประกอบด้วยลักษณะต่าง ๆ ดังนี้
1. เป็นกิจกรรมเคลื่อนย้ายคน สัตว์ สิ่งของจากสถานที่แห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่ง
2. เป็นการเคลื่อนย้ายด้วยเครื่องมือและอุปกรณ์การขนส่ง
3. เกิดอรรถประโยชน์ตามความต้องการและวัตถุประสงค์ของผู้ทำการขนส่ง
2. ความสำคัญของการขนส่ง

การขนส่ งจัด เป็ น โครงสร้างพื้ น ฐาน (Infrastructure) ที่ มี ค วามสำคัญ ต่ อ การดำเนิ น ธุ รกิ จและมี
ความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศหลายประการดังนี้
1. การขนส่งทำให้ ประสิท ธิภาพการผลิ ต เพิ่ มขึ้น การผลิ ตในอดีต เป็น การผลิต แบบดั้ ง เดิม ต้อ ง
พึ่ง ตนเอง การขนส่งไม่สะดวก ทำให้การผลิตไม่มีความชำนาญเฉพาะอย่าง เมื่อการขนส่ง มีการพัฒนาขึ้น
ประชาชนสามารถติดต่อแลกเปลี่ยนกัน ซื้อขายสินค้ากันได้ ปริมาณความต้องการสินค้าเพิ่มขึ้น ทำให้มีการ
แบ่งงานกันทำตามความถนัดของแต่ละคน ก่อให้เกิดความเชี่ยวชาญชำนาญในสิ่งที่ตนถนัด แล้วนำมาซื้อขาย
แลกเปลี่ยนกัน ดังนั้นการผลิตจะมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นเพราะเกิดความชำนาญเฉพาะด้าน (Specialization)
ต้นทุนการผลิตต่อหน่วยลดลง
2. การขนส่งช่วยให้เกิดการกระจายความเจริญเติบโต การขนส่งทำให้เกิดการติดต่อระหว่างกัน
สะดวก รวดเร็วมากขึ้น ประชาชนสามารถตั้ง รกรากถิ่นฐานกระจายออกไป ก่อให้เกิดชุมชนใหม่ เกิดการ
ขยายตัวของเมืองออกไปในทางธุรกิจ การขนส่งจะช่วยให้มีการนำสินค้าไปขาย สามารถกระจายสิ นค้าและ
บริการไปตามแหล่งต่าง ๆ มีการขนส่งเข้าถึงได้ทุกหนทุกแห่ง
3. ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม การขนส่งทำให้มีการเลียนแบบ การเอาอย่างกันทาง
สังคม เนื่องจากการขนส่งทำให้เกิดการรับรู้ประเพณี วัฒนธรรมจากสังคมอื่นและทำให้ผู้คนมีสายตากว้างไกล
4. ช่วยให้มาตรฐานการศึกษาดีขึ้น การขนส่งทำให้การศึกษากระจายกว้างขวางไปในท้องที่ต่าง ๆ
เป็ น การเปิ ด โอกาสให้ กั บ ผู้ ที่ ต้ อ งการจะศึ ก ษา สามารถเดิ น ทางไปศึ ก ษายั ง ท้ อ งที่ ต่ า งถิ่ น ที่ มี
สถานศึกษาตั้งอยู่ได้
5. ทำให้ประชาชนมีมาตรฐานการครองชีพดีขึ้น การขนส่งทำให้ป ระชาชนสามารถซื้อหาสินค้าและ
บริการมาสนองความต้องการของตนเองได้ แม้ว่าสินค้าและบริการเหล่านั้น ไม่สามารถผลิตได้ใน
ท้องถิ่นของตน รวมทั้งสามารถผลิตสินค้าตามความถนัดแล้วนำไปจำหน่ายในท้องถิ่นอื่น ก่อให้เกิดรายได้
ประชาชนมีความกินดีอยู่ดี มาตรฐานการครองชีพสูงขึ้น
6. เพิ่มความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การขนส่ง ก่ อให้เกิดการติดต่อ การแลกเปลี่ยนกันระหว่าง
ประเทศต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้ านเศรษฐกิจ สัง คมและด้านอื่น ๆ ซึ่งเป็นการสร้างความสัมพัน ธ์อันดีต่อกัน
ระหว่างประเทศ
7. ความสำคัญด้านอื่น ๆ เช่น เพิ่มความสะดวกในการติ ดต่อสื่อสาร จะเห็นได้ว่าในปัจจุบันโลกดู
เหมือนจะแคบลง เพราะผู้คนสามารถส่งข่าวสารข้อมูลและสามารถเดินทางถึงกันได้เกือบทั่ วโลก ทำให้เกิด
ความเข้าใจอัน ดีต่อ กัน เกิด ความสามัค คีของคนในชาติ เป็ น การเพิ่ ม ความมั่ น คงให้ กับ ประเทศอี กด้ว ย
นอกจากนี้การขนส่งยังช่วยในด้ านการป้องกันประเทศเพราะกิจกรรมทางการทหาร การเคลื่อนย้ายอาวุธ
ยุทโธปกรณ์ กำลังทหาร จำเป็นต้องอาศัยการขนส่งเป็นหลักทั้งสิ้น
3. ประโยชน์ของการขนส่ง

ดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นถึงความสำคัญของการขนส่งในด้านต่าง ๆ แล้ว การขนส่งเป็นสิ่งสำคัญและ


จำเป็นอย่างยิ่งต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ เพราะการขนส่งเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในชีวิตประจำวันทั้ง
ทางตรงและทางอ้อม กล่าวคือ การเดินทางไปมาหากันไม่ว่าจะเพื่อวัตถุประสงค์ใดก็ตาม การขนส่งจะเข้ามา
เกี่ยวข้องโดยตรง ส่วนการอุปโภค บริโภคสินค้าและบริการต่ าง ๆ ถือว่าเป็นส่วนเกี่ยวข้องโดยอ้อม ดังนั้น
สามารถกล่าวถึงประโยชน์ของการขนส่งได้ดังนี้
1. การขนส่งก่อให้เกิดตลาดสินค้าและบริการ ในการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมต่าง ๆ จะต้องมี
การผลิตสินค้าและบริการเพื่อกระจายหรือจำหน่ายไปในที่ต่าง ๆให้ได้มากที่สุด ซึ่งต้องอาศัยการขนส่ง
เข้ามาช่วยในการกระจายสินค้าและบริการเหล่านั้นไปสู่ตลาด ไปถึงมือผู้บริโภคได้อย่างทั่วถึง ทำให้เกิดตลาด
สินค้าและบริการขึ้นอย่างง่ายและสะดวก
2. การขนส่งก่อให้เกิดมูลค่า เมื่อมีการขนส่งเกิดขึ้นจะทำให้เกิดอรรถประโยชน์ตามมา อาจจะเป็น
อรรถประโยชน์ ด้านเวลาหรือด้านสถานที่ ซึ่งอรรถประโยชน์เหล่า นี้จะเกิดมากหรือน้อยแค่ไหนขึ้นอยู่กับ
อิทธิพลของการขนส่งด้วย
3. การขนส่งก่อให้เกิดปัจจัยสี่ ปัจจัยสี่นับว่าเป็นสิ่งจำเป็นในการดำรงชีวิตของมนุษย์ซึ่งจะขาดเสีย
ไม่ได้ ดังนั้นในการอุปโภค บริโภคปัจจัยสี่ข องประชาชนทั่วไปจึงต้องอาศัยการขนส่งลักษณะต่าง ๆ เข้ามา
ช่วยในการเคลื่อนย้าย ไม่ว่าจะเป็นวัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ์ที่นำมาใช้ในการผลิตปัจ จัยสี่ หรือปัจจัยสี่ในรูปของ
สินค้าสำเร็จรูป เพราะเราไม่สามารถผลิตสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ได้ จำเป็นต้องมีการขนย้ายสิ่งเหล่านี้มาจากแหล่ง
อืน่ ๆ ดังนั้นการขนส่งจึงก่อให้เกิดปัจจัยสี่ได้ตามความต้องการพื้นฐานทั่ว ๆ ไป
4. การขนส่งทำให้เกิดชุมชนใหม่ ไม่ว่าจะเป็นการขนส่งในลักษณะใดก็ตาม เช่น การขนส่งทางน้ำ
ทางรถยนต์ หากเข้าไปถึง ณ ที่ใด ก็จะเกิดชุมชน ณ ที่นั่นเสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขนส่งทางบกที่เป็นทาง
รถยนต์ ยิ่งทำให้เกิดชุมชนกระจายมากเป็นทวีคูณหรือแม้กระทั่งการขนส่งทางรถไฟ ก็ทำให้เกิดชุมชนใหม่ ๆ
ขึ้นแทบทั้งสิ้น
5. การขนส่งทำให้เกิดการพัฒนาประเทศ เมื่อการขนส่งก่อให้เกิดชุมชนแล้ว การขนส่ง
ยังนำความเจริญไปสู่ชุมชนต่าง ๆ ก่อให้เกิ ดการพัฒ นาภายในประเทศ ความเป็นอยู่ดีขึ้น เจริญ ก้าวหน้ า
ทัดเทียมกับอารยประเทศ ทำให้มีการพัฒนาประเทศด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง
นอกจากนี้ การขนส่งยังก่อให้เกิดประโยชน์อีกมากมาย เช่น ก่อให้เกิดการกระจายรายได้ มีการ
แบ่ ง งานกัน ทำ เกิด การขยายงานไปยั งท้ องถิ่ นต่ าง ๆ อี ก มากมาย ฉะนั้ น สามารถสรุป ได้ว่า การขนส่ ง
ก่อให้เกิดประโยชน์มากมายต่อมนุษยชาติทั้งทางตรงและทางอ้อ ม รวมทั้งมีส่วนสัมพันธ์กับชีวิตความเป็นอยู่
ของมนุษย์อยู่ตลอดเวลา

4.อรรถประโยชน์ที่เกิดจากการขนส่ง
ดังที่ได้กล่าวมาแล้วเกี่ยวกับเรื่องประโยชน์ของการขนส่ง ในส่วนนี้จะพิจารณา การขนส่ง
ซึ่งก่อให้เกิดอรรถประโยชน์และมูลค่า
อรรถประโยชน์ (Utility) เป็นความสามารถของสินค้าหรือบริการต่าง ๆ ที่บำบัดความต้องการของ
บุคคลในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งจะมีค่ ามากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับความต้องการของบุคคลนั้นในเวลานั้น ๆ
ด้วย อรรถประโยชน์แบ่งออกได้เป็น 4 ประการคือ
1. อรรถประโยชน์เกี่ยวกับสถานที่ เป็นอรรถประโยชน์ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง ย้าย เคลื่อนที่
หรือเปลี่ยนสถานที่จากที่แห่งหนึ่งไปยังอีกแห่ง หนึ่ง ซึ่งทำให้มีมูลค่าหรือราคาเปลี่ย นแปลงไป เช่น สินค้า
ประเภทหนึ่ง เมื่ออยู่ที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี จะมีราคาเพียง 300 บาทต่อชิ้น พอจัดส่ง
ชิ้นส่วนดังกล่าวถึงบริษัทมิตซูบิชิ ตำบลแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เพื่อนำไปประกอบรถยนต์
มิตซูบิชิราคาอาจเพิ่มเป็น 350 บาทต่อชิ้น ซึ่งถือว่าเป็นอรรถประโยชน์ที่เกี่ยวกับสถานที่
2. อรรถประโยชน์เกี่ยวกับเวลา เป็นอรรถประโยชน์ที่เกิดจากการนำสินค้าและบริการไปยังสถานที่
ต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้บริโภคได้อย่างรวดเร็ว ทันตามเวลา สินค้านั้นไม่แปรเปลี่ยนสภาพไม่ล้าสมั ย
เช่น ผัก ผลไม้สด อาหารสด หนังสือพิมพ์รายวัน แฟชั่นต่างๆ เป็นต้น
3. อรรถประโยชน์เกี่ยวกับรูปแบบ เป็นอรรถประโยชน์ที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงหรือแปรสภาพ
ของสิ น ค้ า และบริ ก ารจากวั ต ถุ ดิ บ ให้ เป็ น สิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารที่ ส ำเร็ จ รู ป เช่ น การแปรสภาพจากไม้ เป็ น
เฟอร์ นิ เจอร์ การแปรสภาพเพชร พลอย เป็ น สิ น ค้ า พร้ อ มที่ จ ะขายได้ เป็ น อรรถประโยชน์ ที่ เป็ น การ
เปลีย่ นแปลงรูปร่างลักษณะของสินค้าและบริการ
4. อรรถประโยชน์เกี่ยวกับการครอบครองกรรมสิทธิ์ เป็นอรรถประโยชน์ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง
กรรมสิทธิ์ในการครอบครองสินค้าและบริการ เป็นการเปลี่ ยนมือผู้เป็นเจ้าของ เช่น รถยนต์โตโยต้า เดิมผลิต
ที่โรงงานโตโยต้า ตำบลสำโรง จังหวัดสมุทรปราการ กรรมสิทธิ์เป็นของผู้ประกอบการ เมื่อประกอบเสร็จ
ส่งไปขายที่จังหวัดเชียงใหม่ นายศิริซื้อรถคันนี้ไปก็จะเป็นกรรมสิทธิ์ของนายศิริทันทีเมื่อโอนรถเสร็จ ดังนี้
ปัจจัยสำคัญที่ทำให้กรรมสิทธิ์ในสินค้าเปลี่ยนแปลงไปตามความต้องการเกิดจากอรรถประโยชน์ของการขนส่ง
เป็นต้น

5. รูปแบบการขนส่ง

รูปแบบการขนส่งที่เหมาะสมหากแบ่งตามลักษณะเส้ นทางหรืออุปกรณ์การขนส่งแล้ว ปัจจัยสำคัญ


อย่างหนึ่งของผู้ประกอบการที่สนใจเกี่ยวกับการประกอบกิจการด้านการขนส่ง คือต้องเข้าใจถึงคุณลักษณะ
ของการขนส่งแต่ ละรูป แบบ ซึ่ งรูป แบบการขนส่ งในประเทศไทยปัจจุบั น ได้แ บ่ง เป็ น 5 รูปแบบ โดยมี
คุณลักษณะหลัก ๆ ดังนี้
1. การขนส่งทางน้ำ (Water Transportation)
การขนส่งทางน้ำ หมายถึง การขนส่งทางแม่น้ำ ลำคลองและทางทะเล โดยทั่วไปการขนส่งทางน้ำจะ
ใช้เรือสินค้าขนาดใหญ่ สามารถขนส่งสินค้าได้คราวละมาก ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขนส่งทางทะเล สำหรับ
การขนส่งทางน้ำต้องมีโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญ คือ ท่าเรือ ในส่วนของการขนส่งตามแม่น้ำ ลำคลอง ปัจจุบัน
ประเทศไทยมีบทบาทด้านการขนส่งสินค้าน้อยลงเนื่องจากความตื้นเขินของลำน้ำ
ข้อดี
1. ขนส่งสินค้าขนาดใหญ่ ปริมาณน้ำหนักมาก มีระวางความจุสูง สามารถรองรับสินค้าได้
เกือบทุกชนิด เหมาะกับการขนส่งระยะไกล
2. ต้นทุนต่อหน่วยของสินค้าต่ำ มักใช้กับสินค้าที่มีราคาต่อหน่วยต่ำ เพราะเรือมีขนาดใหญ่ใช้พลัง
ขับเคลื่อนต่อน้ำหนักต่ำ
ข้อเสีย
1. ใช้เวลานาน ค่อนข้างล่าช้า
2. มีเส้นทางการขนส่งจำกัด ต้องเป็นคลอง แม่น้ำ ทะเลเท่านั้น
3. ต้องมีปริมาณมากเพียงพอ หากขนส่งคราวละน้อย ๆ ไม่คุ้มกับค่าใช้จ่าย
4. ต้องมีการขนถ่ายซ้ำ เพราะโดยทั่วไปการขนส่งทางเรือไม่สามารถเข้าถึงจุดรับส่งสินค้าได้ และอาจเกิด
ความเสียหายจาการขนถ่ายสินค้า

กรณีตัวอย่างการขนส่งทางแม่น้ำ ลำคลอง และเลียบชายฝั่งทะเล ในประเทศไทย


- ปัจจุบันมีการขนส่งปูนซีเมนต์จากสระบุรีไปลงเรือที่ จังหวัดอยุธยา เพื่อส่งสินค้าไปยังท่าเรือแหลม
ฉบัง หรือการขนส่งเม็ดพลาสติกจากเขตอุตสาหกรรมตำบลมาบตาพุดไปยังท่าเรือจังหวัดสุราษฎร์ธานี และ
จังหวัดสงขลา หรือแม้แต่ใช้เรือเลียบชายฝั่งไปส่งสินค้าที่ประเทศกัมพูชาแทนการใช้รถบรรทุก
- มีการให้บริการเรือจากแหลมฉบังไปยังท่าเรือสงขลา โดยนำรถบรรทุกที่บรรทุกสินค้าลงเรือไปเลย
โดยไม่ต้องขนถ่ายสินค้า

2. การขนส่งทางรถไฟ (Railroad Transportation)


การขนส่งทางรถไฟ จะมีโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญ คือ สถานีรถไฟและรางรถไฟ โดยรางรถไฟจะเป็น
โครงสร้างที่ไปกำหนดเส้นทางตายตัว ดังนั้นเส้นทางรถไฟหนึ่ง ๆ จึงเกิดการคุ้มค่าจากการสร้างเพราะมี
ปริมาณการใช้สูง
ข้อดี
1. ประหยัดค่าขนส่ง เหมาะสำหรับการขนส่งสินค้าจำนวนมาก ๆ ระยะทางไกล ๆ
2. มีระดับความปลอดภัยสูงมาก
3. บรรทุกน้ำหนักได้มาก
ข้อเสีย
1. ใช้เวลานาน ถึงที่หมายช้า และมีความน่าเชื่อถือต่ำ
2. ต้นทุนการบรรจุภัณฑ์สูง เพราะระวางสินค้าต้องแข็งแรง สามารถทนทานแรงกระแทกสูง
3. ต้องมีการขนถ่ายซ้ำ เพราะต้องมีการขนส่งจากสถานีไปยังปลายทาง
4. ข้อจำกัดด้านรางรถไฟ มีจำกัด และมักจะให้ความสำคัญกับการโดยสารก่อน

กรณีตัวอย่างการพัฒนาระบบการขนส่งทางราง
- ประเทศไทยและจีนได้ดำเนินข้อตกลงในการเชื่อมต่อเส้นทางรถไฟ เพื่อให้สินค้าจากจีนตอนใต้ เช่น
มณฑลยูนานขนส่งมาที่ท่าเรือแหลมฉบัง หรือท่าเรือระนองได้
- สำหรับการขนส่งทางรถไฟในประเทศ เมื่อเปรียบเทียบกับการขนส่งทางถนนแล้ว มีเพียงสินค้า
บางชนิด และจากบางตำแหน่งที่ตั้งเท่านั้นที่ค่าขนส่งทางรถไฟถูกกว่าทางถนน ดังนัน้ ปริมาณการขนส่งทาง
รถไฟในประเทศไทยจึงมีน้อยมาก
3. การขนส่งทางถนน (Truck Transportation) เป็นรูปแบบการขนส่งที่สะดวกที่สุด เพราะเป็นการ
ขนส่งที่สามารถเข้าถึงต้นทางและปลายทางได้ (ตามเท่าที่ถนนจะมี) ไม่ต้องมีการขนถ่ายสินค้าจากการเปลี่ยน
ยานพาหนะ เรามักเรียกการขนส่งทางถนนว่า Door-to-Door โดยมีโครงสร้างพื้นฐานหลักคือ ถนน
ข้อดี
1. ให้บริการได้อย่างรวดเร็ว สะดวกและไม่ต้องมีการขนถ่ายซ้ำ
2. สามารถขนส่งสินค้าได้หลากหลายประเภทตั้งแต่ปริมาณน้อยไปจนถึงปริมาณมาก
3. จำนวนเที่ยวของการขนส่งมีบ่อยครั้งตามที่ต้องการ ควบคุมเวลาได้ดี ครอบคลุมพื้นที่การบริการขนส่งได้
กว้างไกลกว่า
4. สามารถรักษาต้นทุนบรรจุภัณฑ์ให้ต่ำได้ เพราะระวางสินค้าไม่จำเป็นต้องทนแรงกระแทกสูง

ข้อเสีย
1. ถ้าปริมาณสินค้ามากหรือระยะทางไกลจะมีต้นทุนการขนส่งค่อนข้างสูง
2. ข้อจำกัดด้านถนน ไปได้เท่าที่ถนนจะไปถึง ไม่สามารถข้ามทวีปได้

กรณีตัวอย่าง
3. มีการทดลองรถพ่วงสองตอน (B-Double) เพื่อให้สามารถบรรทุกต่อเที่ยวเพิ่มขึ้น แต่ยังประสบ
ปัญหาเรื่องความพร้อมของสภาพถนนยังไม่เหมาะสม
4. รถบรรทุกพ่วงซึ่งบรรทุกสินค้าหนัก มีการปรับจากรถพ่วงสองเพลาเป็นสามเพลา โดยเพลาที่
เพิ่มขึน้ จะช่วยให้สามารถบรรทุกสินค้าได้น้ำหนักมากขึ้นตามกฎหมาย
5. ผู้ประกอบการขนส่ง ได้ติดตั้งระบบเชื้อเพลิง NGV โดยเฉพาะในรถหัวลาก เพื่อลดต้นทุน
น้ำมันเชื้อเพลิง แต่ยังประสบปัญหาเรื่องปริมาณก๊าซที่บรรจุได้สามารถวิ่งได้ระยะทางไม่มากนัก และสถานี
บรรจุก๊าซยังมีไม่เพียงพอ
4. การขนส่งทางอากาศ (Air Transport) เป็นวิธีการขนส่งที่รวดเร็วที่สุดและมีค่าใช้จ่ายใน
การขนส่งที่มีราคาแพงที่สุด โครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญของการขนส่งประเภทนี้คือ ท่าอากาศยาน ความ
หนาแน่นของเส้นทาง และตารางการบิน จากข้อจำกัดดังกล่าว การขนส่งในรูปแบบนี้จึงมักจำกัดในรูปแบบ
ของหีบห่อและประเภทของสินค้าที่จะใช้ในการขนส่ง อีกทั้งต้นทุนต่อหน่วยของน้ำหนักที่ค่อนข้างสูง สินค้าจึง
ต้องมีน้ำหนักเบา และปริมาตรไม่ใหญ่
ข้อดี
1. มีความรวดเร็ว และกำหนดเวลาที่ชัดเจนได้ โดยเฉพาะกับการขนส่งสินค้าที่มีข้อจำกัดด้านเวลา
2. สามารถรักษาต้นทุนบรรจุภัณฑ์ให้ต่ำได้ เพราะระวางสินค้าไม่จำเป็นต้องทนแรงกระแทกสูง
ข้อเสีย
1. ค่าขนส่งมีราคาแพง จนไม่สามารถนำมาใช้กับสินค้าที่มีต้นทุนต่ำได้
2. ข้อจำกัดของขนาดสินค้า ขนาดบรรจุของเครื่องบินเมื่อเทียบกับเรือ
3. การขนส่งทางอากาศจะมีงานด้านเอกสารมากขึ้น โดยเฉพาะด้านความปลอดภัย
4. ต้องมีการขนถ่ายซ้ำ เพราะต้องมีการขนส่งจากสนามบินไปยังปลายทาง
5. การขนส่งทางท่อ (Pipeline) เป็นรูปแบบการขนส่งที่นิยมใช้กับสินค้าเฉพาะอย่างเท่านั้น เช่น ก๊าซ น้ำมัน
โดยการขนส่งทางท่อต้องอาศัยโครงสร้างพื้นฐานคือ ท่อขนส่ง
ข้อดี
1. มีความคล่องตัวในการขนถ่ายสินค้าจำนวนมากได้ด้วยต้นทุนที่ต่ำ ไม่ต้องมีบรรจุภัณฑ์
2. สามารถขนส่งได้ถึงสถานที่ที่ต้องการและไม่จำกัดเวลาขนส่งได้ตลอด 24 ชั่วโมง
3. การบำรุงรักษาท่อขนส่งและการดำเนินงานรวมไปถึงค่าแรงงาน สำหรับการขนส่งทางท่อ เสีย
ค่าใช้จ่ายค่อนข้างต่ำ
ข้อเสีย
1. ขนส่งได้จำกัดเฉพาะก๊าซและของเหลว
2. อาจมีการขนถ่ายซ้ำ เช่น การขนส่งน้ำมันจากปลายท่อไปยังสถานีน้ำมันต่าง ๆ โดยใช้รถไฟ หรือ
รถบรรทุก
3. ต้นทุนในการลงทุนวางท่อในครั้งแรกสูงและไม่สามารถสับเปลี่ยนประเภทสินค้าที่ขนส่ง
ได้ ท่อขนส่งหนึ่ง ๆ มักจะรองรับผลิตภัณฑ์ได้ประเภทเดียว
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อต้นทุนค่าขนส่ง
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสินค้าและมีอิทธิพลต่อต้นทุนค่าขนส่งและการกำหนดราคามีดังนี้
1. ความหนาแน่น (Density) คือ อัตราส่วนของน้ำหนักต่อปริมาตรสินค้า โดยทั่วไปต้นทุนค่าขนส่ง
และการกำหนดราคาจะพิจารณาจากความหนาแน่นของสินค้า สินค้าใดที่มีความหนาแน่นต่ำจะมีความ
เป็นไปได้ที่จะเสียค่าใช้จ่ายในการขนส่งต่อน้ำหนักสูงกว่าสินค้าที่มีความหนาแน่นสูง เช่น สินค้าประเภท
เหล็กจะมีความหนาแน่นสูงกว่าสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
2. ความรับผิดชอบ (Liability) ต่อสินค้าที่มีมูลค่าสูง เช่น อัญมณี คอมพิวเตอร์ ฯลฯ ซึ่งสินค้า
เหล่านี้จะมีความเสี่ยงต่อการสูญหาย การเสียหายในอัตราที่สูง ผู้ขนส่งต้องมีภาระในการรับผิดชอบ
ควบคุมดูแลการขนส่งสูงกว่าการขนส่งสินค้าปกติทั่ว ๆ ไป จึงเป็นผลให้ต้นทุนค่าขนส่งสูง
3. ความสามารถในการจัดเรียงสินค้าบนยานพาหนะ (Stow ability) ต้นทุนค่าขนส่งต่อหน่วย
สำหรับสินค้าแต่ละประเภทจะมีความแตกต่างกันตามความสามารถในการจัดเรียง เนื่องจากสินค้าบาง
ประเภทมีลักษณะเป็นหน่วยย่อย มีขนาดเล็ก สามารถจัดเรียงได้ทุกพื้นที่บนพาหนะ เช่น ผลิตภัณฑ์
ปิโตรเลียม เมล็ดข้าว เมล็ดถั่ว เป็นต้น ส่วนสินค้าบางประเภทมีลักษณะโครงสร้างจำกัด ไม่สามารถแบ่งแยก
ออกเป็นหน่วยย่อย ไม่ยืดหยุ่นตามรูปทรงของพื้นที่ยานพาหนะหรือเครื่องมือที่ทำการขนส่ง เช่น เฟอร์นิเจอร์
ต้นไม้ ไม่สามารถจัดเรียงให้เต็มพื้นที่บนยานพาหนะได้ ก่อให้เกิดการสูญเสียพื้นที่บางส่วนที่ไม่อาจนำสินค้าใด
มาจัดเรียงเพิ่มเติมได้
4. ความสะดวกในการขนถ่าย (Fast of Handling) สินค้าบางประเภทที่มีบรรจุภัณฑ์มีความ
แข็งแรง ทนทาน สามารถขนถ่าย ขนย้ายได้สะดวก รวดเร็ว เช่น สินค้าที่มีบรรจุภัณฑ์เป็นกล่อง เป็นลัง จะทำ
ให้ต้นทุนการขนส่งต่ำ ปัจจุบันจึงได้มีการพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์ให้มีความเหมาะสม สอดคล้องกับประเภท
และลักษณะของการขนส่งเพื่อให้เกิดความสะดวกในการขนถ่าย อันจะส่งผลต่อเวลา และต้นทุนในการ
ดำเนินงานที่ลดลง
ต้นทุนในการขนส่งและคำนวณต้นทุนการขนส่ง
ในการดำเนินธุรกิจ สิ่งที่สำคัญคือ ต้นทุน และต้นทุนที่สำคัญในการปฏิบัติการโลจิสติกส์ ก็คือ
ต้นทุนการขนส่ง สำหรับต้นทุนการขนส่งในที่นี้จะแบ่งออกเป็น 2 กรณี คือ
กรณีที่ 1 การขนส่งด้วยตัวเอง (Private Carrier)
ในการดำเนินการขนส่งด้วยตนเองผู้ดำเนินการขนส่งจะมีต้นทุนที่สำคัญ ประกอบด้วย
1. ต้นทุนคงที่ (Fixed Costs) เป็นต้นทุนที่เกิดจากการมียานพาหนะ แม้ว่าจะมี
การขนส่งหรือไม่มีการขนส่งเกิดขึ้นก็ตามก็จะมีต้นทุนนี้เกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น ค่าเสื่อมราคา ค่าบริหารจัดการ ค่า
พนักงานรายเดือน
2. ต้นทุนผันแปร (Variable Costs) เป็นต้นทุนที่ผันแปรไปตามการขนส่ง หากไม่
มีการขนส่งเกิดขึน้ จะไม่มีต้นทุนนี้เกิดขึ้นเช่นกัน โดยส่วนใหญ่มักจะเป็นต้นทุนที่เกิดขึ้นเมื่อมีการขนส่งยิ่งมี
การขนส่งในระยะทางไกลมากเท่าใดต้นทุนนี้จะยิ่งเพิ่มสูงขึ้น ในการจัดการต้นทุนนี้ผู้ประกอบการเกี่ยวกับการ
ขนส่งมักต้องการทราบต้นทุนต่อหน่วยในการขนส่ง ไม่ว่าจะเป็นต้นทุน
ต่อหน่วยระยะทาง ต้นทุนต่อเที่ยวรถ ต้นทุนต่อหน่วยสินค้า โดยตัวอย่างดังต่อไปนี้ แสดงถึงต้นทุนของการ
ขนส่ง ประกอบด้วยต้นทุนคงที่ และต้นทุนผันแปร และแสดงการคำนวณต้นทุนการขนส่งต่อหน่วย
ตัวอย่าง มีรถขนส่งประเภทบรรทุก 10 ล้อ จำนวน 15 คัน โดยมีต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปรดังนี้
ต้นทุนคงที่
ต้นทุนคงที่ต่อทั้ง Fleet หน่วย
ค่าจ้างพนักงานขับรถรายเดือน บาทต่อเดือน
150,000
ค่าบริหารจัดการ บาทต่อเดือน
120,000
ต้นทุนคงที่ต่อคัน หน่วย
ค่าเสื่อมราคาของรถ บาท/คัน/เดือน
75,000
ค่าเสื่อมราคาของอุปกรณ์ บาท/คัน/เดือน
6,000
ค่าประกัน บาท/คัน/เดือน 4,500
ค่าทะเบียนและใบอนุญาต บาท/คัน/เดือน 3,000

ต้นทุนผันแปร
ต้นทุนผันแปรต่อระยะทาง หน่วย
ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง บาท/กิโลเมตร
6.00
ค่าบำรุงรักษา บาท/กิโลเมตร
2.00
ค่ายางรถยนต์ บาท/กิโลเมตร
0.60
ค่าแรงพนักงาน บาท/กิโลเมตร
0.50
ต้นทุนผันแปรต่อเที่ยววิ่ง หน่วย
ค่าทางพิเศษ บาท/เที่ยว
150
ค่าแรงพนักงาน บาท/เที่ยว
80
หากใน 1 ปี มีการขนส่งดังต่อไปนี้
- ระยะทางที่ขนส่ง : 600,000 กิโลเมตร
- จำนวนเที่ยวในการขนส่ง : 20,000 เที่ยว
ต้นทุนในการขนส่งทั้งปี สามารถคำนวณได้ดังนี้
ต้นทุนคงที่ : [(150,000+120,000) x12] + [(75,000+6,000+4,500+3,000) x15x12] = 19,170,000 บาท
ต้นทุนผันแปร:[(6+2+0.6+0.5) x 600,000] + [(150+80) x 20,000] = 10,060,000 บาท
ต้นทุนต่อหน่วย
ต้นทุนต่อปี 19,170,000+10,060,000 =
29,230,000 บาท
ต้นทุนต่อกิโลเมตร 29,230,000/600,000 =
48.72 บาท
ต้นทุนต่อเที่ยวขนส่ง 29,230,000/20,000 =
1,461.50 บาท

กรณีที่ 2 การว่าจ้างผู้ให้บริการขนส่ง (Contract Carrier)


การว่าจ้างบริษัทภายนอกให้บริการขนส่งนั้น จะมีลักษณะต้นทุนหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับ
ข้อตกลงกันระหว่างผู้ว่าจ้างและผู้ให้บริการขนส่ง
- บาทต่อเที่ยวเป็นการขนส่งต่อเที่ยว
- บาทต่อหน่วยสินค้า เช่น บาทต่อกล่อง บาทต่อพาเลท
- บาทต่อเที่ยว บวกกับบาทต่อระยะทาง
- อื่น ๆ
ต้นทุนที่ตกลงกับผู้ให้บริการขนส่งในแต่ละรูปแบบก็จะมีข้อดีที่แตกต่างกันออกไป เช่น บาทต่อ
หน่วยสินค้า จะทำให้บริษัทมีปริมาณการขนส่งที่เพิ่มขึ้น
ในการว่าจ้างผู้ให้บริการขนส่ง โดยทั่วไปเรามักจะคำนึงถึงต้นทุนการขนส่งเป็นหลัก เพราะเป็น
ต้นทุนทีเ่ ห็นได้ชัดเจน แต่หากเราคำนึงถึงแต่ต้นทุนการขนส่ง เราอาจจะต้องมีต้นทุน สินค้าคงคลังสูงตามไปด้วย
ดั งนั้ นเพื่ อให้ การจั ดการโลจิ สติ กส์ เกิ ดประสิ ทธิภาพ นอกจากจะพิ จารณาต้ นทุ นการขนส่ งแล้ ว เราจำเป็ น ต้ อ ง
พิจารณาต้นทุนสินค้าคงคลังด้วย ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่าง การเลือกรูปแบบการขนส่งจากการว่าจ้างผู้ให้บริการขนส่ง โดยพิจารณาจากต้นทุนการขนส่งและ
ต้นทุนสินค้าคงคลัง
ข้อมูล ขนส่งทางเครื่องบิน ขนส่ง
ทางเรือ
ระยะเวลาการขนส่ง (A) 2 วัน 15 วัน
ราคาค่าขนส่ง (B) 72 บาท/หน่วย 10 บาท/หน่วย
ต้นทุนเงินจมของสินค้าคงคลัง (C) 949 บาท/หน่วย/ปี 949 บาท/หน่วย/ปี
ความถี่ในการขนส่ง (D) 4 ครั้ง/เดือน 1 ครั้ง/
เดือน
ปริมาณการขนส่งต่อครั้ง (E) 4,000 หน่วย 16,000 หน่วย
การคำนวณต้นทุนรวมของการขนส่งทางเครื่องบินและการขนส่งทางเรือ
ต้นทุนต่อปี ขนส่งทางเครื่องบิน ขนส่งทาง
เรือ
การขนส่ง 4,000x4x12x72 16,000x1x12x10
[E x D x 12 x B] = 13,824,000 =
1,920,000
สินค้าคงคลังระหว่างการขนส่ง 4,000x4x12x2x(949/365)
16,000x1x12x15x(949/365)
[E x D x 12 x A x (C/365)] = 998,400 =
7,488,000
สินค้าคงคลังที่จุดรับสินค้า 949 x (4,000/2) 949 x
(16,000/2)
[C x (E/2)] = 1,898,000 =
7,592,000
ต้นทุนรวม = 16,720,400 = 17,000,000

จากตัวอย่างข้างต้นหากพิจารณาต้นทุนรวมทั้งต้นทุนการขนส่งและต้นทุนสินค้าคงคลังจะเห็น
ได้ว่า ต้นทุนรวมของการขนส่งทางเรือจะสูงกว่าการขนส่งทางเครื่องบิน ดั งนั้ น เราควรเลือกการขนส่งทาง
เครื่องบิน แต่อย่างไรก็ตาม นอกจากจะพิจารณาต้นทุนดังกล่าวแล้ว ผู้ใช้บริการขนส่งจะต้องพิจารณาถึงต้นทุน
อืน่ ๆ ประกอบด้วย เช่น ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัย หรือต้องพิจารณาแง่มุมอื่น ๆ ที่ควรพิจารณา เช่น
ความพึงพอใจ และความคล่องตัวในการจัดการ
ใบมอบหมายงานที่ 7
ชื่อวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 7 ชื่อหน่วย การขนส่ง เวลา 3 ชั่วโมง
ชื่อเรื่อง การขนส่ง
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายของการขนส่งได้
2. บอกความสำคัญของการขนส่งได้
3. อธิบายประโยชน์ของการขนส่งได้
4. บอกอรรถประโยชน์ของการขนส่งได้
5. เปรียบเทียบรูปแบบวิธีการขนส่งได้
6. อธิบายปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการขนส่งได้
7. คำนวณต้นทุนการขนส่งได้
แนวทางการปฏิบัติงาน
1. แบ่งนักศึกษาออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กัน ตามความสมัครใจ
2 มอบหมายงานตามลำดับกลุ่มให้สอดคล้องจุดประสงค์การเรียนรู้
3. ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มไปศึกษา ค้นคว้าหาข้อมูล และร่วมกันจัดทำเป็นบอร์ดวิชาการเผยแพร่
ความรู้และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4. ครู นักศึกษาเยี่ยมชมบอร์ดวิชาการ
5. ครูเสนอแนะเพิ่มเติมและบรรยายสรุป
กำหนดระยะเวลาที่ส่งงาน ภายหลังการนำเสนอ

การประเมินผล
1. พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
2. การนำเสนอ
3. ชิ้นงาน
4. การตอบข้อซักถาม
5. การตรงต่อเวลา
แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม
1. ก่อเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน. กรุงเทพฯ : บริษัท วังอักษร จำกัด, 2563
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....1..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 7 ชื่อหน่วย การขนส่ง จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การขนส่ง...............เวลา.............10.................นาที
คำสั่ง จงทำเครื่องหมายกากบาท (x) ลงหน้าข้อที่ถูกต้อง

1. วิธีการขนส่งใด มีความคล่องตัวในการขนถ่ายสินค้าจำนวนมากได้ด้วยต้ นทุนต่ำไม่ต้องมีบรรจุภัณฑ์ ไม่จำกัด


เวลา ขนส่งได้ตลอด 24 ชั่วโมง

ก. การขนส่งทางน้ำ ข. การขนส่งทางรถไฟ

ค. การขนส่งทางถนน ง. การขนส่งทางท่อ

2. ปลาทูสดอยู่ที่จังหวัดสมุทรสาครราคากิโลกรัมละ 10 บาท พอส่งไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยาราคากิโลกรัมละ


45 บาท เป็นอรรถประโยชน์ที่เกิดจากการขนส่งข้อใด

ก. อรรถประโยชน์เกี่ยวกับสถานที่ ข. อรรถประโยชน์เกี่ยวกับเวลา

ค. อรรถประโยชน์เกี่ยวกับรูปแบบ ง. อรรถประโยชน์เกี่ยวกับการโอนกรรมสิทธิ์

3. การเคลื่อนย้ายสินค้า/บริการจากแหล่งผลิตไปยังสถานที่ที่บริโภคสินค้า/บริการด้วยความรวดเร็วและสม่ำเสมอ
หมายถึงข้อใด

ก. การเพิ่มมูลค่าสินค้า ข. การขนส่ง

ค. อรรถประโยชน์ด้านสถานที่ ง. ความรวดเร็ว

4. วิธีการขนส่งใดสามารถขนส่งสินค้าขนาดใหญ่ ปริมาณมาก น้ำหนักมากได้มีระวางความจุสูง เหมาะกับการ


ขนส่งระยะทางไกล

ก. การขนส่งทางน้ำ ข. การขนส่งทางรถไฟ

ค. การขนส่งทางถนน ง. การขนส่งทางท่อ
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....2..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 7 ชื่อหน่วย การขนส่ง จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การขนส่ง...............เวลา.............10.................นาที

5. วิธีการขนส่งเรียกอีกอย่างหนึง่ ว่า Door-to-Door

ก. การขนส่งทางน้ำ ข. การขนส่งทางรถไฟ

ค. การขนส่งทางถนน ง. การขนส่งทางท่อ

6. ต้นทุนของการขนส่งด้วยตนเอง ประกอบด้วยต้นทุนกี่ประเภท อะไรบ้าง

ก. 1 ต้นทุน คือ ต้นทุนคงที่ เพราะต้องลงทุนซื้อยานพาหนะ

ข. 2 ต้นทุน คือ ต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร

ค. 3 ต้นทุน คือ ต้นทุนคงที่ ต้นทุนผันแปรและต้นทุนผสม

ง. 3 ต้นทุน คือ ต้นทุนคงที่ ต้นทุนผันแปรและต้นทุนจม

7. ข้อใดเป็นต้นทุนคงที่ของการขนส่งทั้งหมด

ก. ค่าเบี้ยประกันภัย ค่าเสื่อมราคา

ข. ค่าล่วงเวลาของพนักงาน ค่าเสื่อมราคา

ค. ค่าน้ำมันยานพาหนะ ค่าบริหารจัดการ

ง. ค่าจ้างพนักงานรายเดือน ค่าอะไหล่
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....3..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 7 ชื่อหน่วย การขนส่ง จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผูเ้ รียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การขนส่ง...............เวลา.............10.................นาที

8. ข้อใดคือผลเสียของการลงทุนการขนส่งทางท่อ

ก. การลงทุนสูง ข. การให้บริการจำเพาะ

ค. ผู้ขนส่งเป็นผู้ลงทุนเอง ง. ปริมาณแก๊ส/น้ำมันมีจำนวนจำกัด

9. ใช้บรรทุกผักและผลไม้สดที่ไม่จำเป็นต้องใช้บรรทุกในตู้แบบห้องเย็นหมายถึงข้อใด

ก. ตู้ระบายอากาศ ข. ตู้ห้องเย็น

ค. ตู้ฉนวน ง. ตู้พิเศษ

10. การขนส่งระบบใดที่สนับสนุนระบบโลจิสติกส์ได้อย่างสมบูรณ์

ก. ตู้ไม้ ข. ตู้คอนเทนเนอร์

ค. กระสอบ ง. พลาสติก

เฉลย
1. ง 2.ก 3.ข 4. ก 5. ค 6.ข 7. ก 8. ก 9. ก 10. ข
แบบประเมินผลพฤติกรรมรายบุคคล
ใบงานที่ 7 เรื่อง การขนส่ง
กลุม่ ที่ ...................

ที่ คะแนน การรับฟัง การเสนอ การยอมรับ การสร้าง รวม ระดับการ


ความคิด ความคิด คนอื่น บรรยากาศ คะแนน มี
เห็น เห็น ในกลุ่ม ส่วนรวม
ชื่อสกุล 5 5 5 5 20
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ระดับของคะแนน
5 = มากที่สุด 4 = ค่อนข้างมาก
3 = ปานกลาง 2 = ค่อนข้างอ่อน
1 = น้อยที่สุด
เกณฑ์การประเมิน 15-20 = มาก
8-14 = ปานกลาง
1-7 = น้อย

ลงชือ่ ...........................................ผู้ประเมิน
การขนส่ง
คะแนน การนำเสนอผลงาน การบันทึกผลงาน รวม
ขั้นนำ ขั้นสอน ขั้นสรุป ถูกต้อง เรียบร้อย คะแนน ระดับคุณภาพ
กลุ่มที่ ของผลงาน
10 10 10 10 10 50
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ระดับของคะแนน 8 - 10 = ดีมาก 7 - 8 = ดี
5 – 6 = พอใช้ 0 – 4 = ควรปรับปรุง
เกณฑ์การประเมิน 35 - 50 = ดี
17 - 34 = ปานกลาง
1 - 16 = ควรปรับปรุง

ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
แบบประเมินพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม จริยธรรม
วันที่......เดือน....................พ.ศ. ....................
ชื่อ...............................................นามสกุล.......................................ระดับชั้น.................เลขที่........
แผนก..................................................................คณะ......................................................................

ลำดับ พฤติกรรมที่ประเมิน ระดับคะแนน หมายเหตุ


3 2 1 ความหมายของระดับคะแนน
1 ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และงานที่ได้รับ 3= ปฏิบตั ิอย่างสม่ำเสมอโดยไม่
มอบหมาย ต้องมีการชี้นำหรือตักเตือน
2 กล้าคิด กล้าทำ และกล้าตัดสินใจด้วยเหตุผล 2= ปฏิบัติบ้างในบางครั้ง
3 มีมนุษยสัมพันธ์ทดี่ ีต่อเพื่อนๆ จากการเชิญชวนหรือชี้นำ
4 เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เสียสละเพื่อส่วนรวม 1= ต้องสั่งบังคับว่ากล่าวหรือ
5 มีวินัยซื่อสัตย์และประหยัด ตักเตือนจึงจะปฏิบัติ หรือมักจะ
6 รู้จักการให้โอกาส ให้อภัย ปฏิบัติในทางที่ผิดเสมอ
7 การยอมรับการปฏิบัติต่อมติของกลุ่ม
8 ไม่เอาเปรียบเพื่อนผู้เรียนด้วยกัน เกณฑ์การประเมิน
9 แสดงกิริยาวาจาสุภาพต่อทุกคน 26-30 คะแนน= ดีมาก
10 แสดงความมีน้ำใจต่อครู/อาจารย์ 21-25 คะแนน= ดี
รวม (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) 16-20 คะแนน= พอใช้
0-15 คะแนน= ควรปรับปรุง
บันทึก
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
........................

ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
การวิเคราะห์หัวข้อการสอนและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ทฤษฎี.....3.......ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ............-.....ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน.3.หน่วยกิต
ISL PSL
หน่วยที/่ ชื่อหน่วย รายการความรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
R A T I C A
8. ระบบสารสนเทศเพื่อการ 1. บทบาทของการแข่งขันในระบบซัพพลายเชน 1. บอกบทบาทของการแข่งขันในระบบซัพพลายเชนได้ /
จัดการโลจิสติกส์และซัพ
พลายเชน
2. ระบบสารสนเทศ 2. อธิบายระบบสารสนเทศได้ /

3. การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 3. บอกการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ /
4. ระบบดึง และระบบผลัก 4. บอกระบบดึง และระบบผลักได้ /
5. การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในระบบซัพ 5. อธิบายการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในระบบซัพ /
พลายเชน พลายเชนได้
6. ความรู้เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนข้อมูลทาง 6. บอกความรู้เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ได้ /
อิเล็กทรอนิกส์
หมายเหตุ ISL= ระดับความรู้ความสามารถทางสติปัญญา (Intellectual skill Level) PSL=ระดับความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อทำงาน(Physical skill Level)
R:การฟื้นความรู้ (Recalled Knowledge) I : ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed)
A:การประยุกต์ความรู้ (Applied Knowledge) C : ทำได้ด้วยความถูกต้อง (Control is needed)
T:การส่งถ่ายความรู้ (Transferred Knowledge) A : ทำด้วยความชำนาญ (Automation is needed)
กรอบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
หน่วยที่ 8 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

พอประมาณ
1. ผู้เรียนจัดสรรเวลาในการฝึกปฏิบัติตาม
ใบงานได้อย่างเหมาะสม
2. ผู้เรียนรู้จักใช้และจัดการวัสดุอุปกรณ์
ต่าง ๆ อย่างประหยัดและคุ้มค่า
3. ผู้เรียนปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4. ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มเพื่อน
มีภูมิคุ้มกันที่ดี

ความมีเหตุผล 1. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและการ
ปฏิบัติงาน
1. กล้าแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
2. กล้าซักถามปัญหาหรือข้อสงสัยต่าง ๆ อย่างถูก
2. กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ
กาลเทศะ
3. กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4. ไม่มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น 3. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเองอย่างเป็น
เหตุเป็นผล
ความรู้ + ทักษะ คุณมธรรม
4. ควบคุ อารมณ์ของตนเองได้
1. ใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า 1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกำหนด
2. ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์5.ควบคุ
อย่างคุ้มมค่กิาริยประหยั
าอาการในสถานการณ์
ด ต่าง ๆ ได้
3. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ เป็นอย่างดี อรือร้นในการเรียนและ
3. มีความเพียรพยายามและกระตื
พอเพียง การปฏิบัติงาน
4. ให้ความร่วมมือกับการทำกิจกรรมของส่วนรวม อาสา
ช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น

นำไปสู่
สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม
สังคม ชุมชนมีคุณภาพชีวิต สภาพเศรษฐกิจมีความ มีการปลูกฝังกิจนิสัยการ ใช้สิ่งของอย่างรู้คุณค่า
ที่ดขี ึ้น คล่องตัว มีรายได้และมี ประหยัด อดออม ใช้วัสดุธรรมชาติ ไม่ทำลาย
การใช้จ่ายในระบบเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม
แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 8 ชื่อหน่วย สารสนเทศในระบบโซ่อุปทาน จำนวน.....6....ชั่วโมง

หัวข้อเรื่อง
1. บทบาทของการแข่งขันในระบบซัพพลายเชน
2. ระบบสารสนเทศ
3. การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
4. ระบบดึง และระบบผลัก
5. การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในระบบซัพพลายเชน
6. ความรู้เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์

สาระสำคัญ
ในปัจจุบันเป็นยุคของสารสนเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ซึ่งมีผลทำให้รูปแบบของ
การแข่งขันในธุรกิจเปลี่ยนแปลงไป ทำให้ผู้บริโภคได้ทราบข่าวสารอย่างทั่วถึง และธุรกิจต้องแข่งขันมากขึ้น เพื่อ
รักษาส่วนแบ่งของตลาด และความอยู่รอดของธุรกิจในอนาคต ดังนั้นธุรกิจต่างๆ จึงได้มี การพัฒนา โดยนำระบบ
การบริหาร และการจัดจำหน่ายที่ทันสมัยมาใช้ เพื่อลดต้นทุนการดำเนิน งาน การพัฒนาระบบซัพพลายเชน โดย
ใช้ซอฟแวร์ มาพัฒนาและประยุกต์ใช้งาน เป็นระบบศูนย์กลางขององค์กรทั้ง หมด ทำหน้าที่ประสานงานในด้าน
ต่างๆ

จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจแสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและกระบวนการโลจิสติกส์และซัพ
พลายเชน
2. เพื่อให้มีกิจนิสัย ในการทางานที่ดี ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ รับผิดชอบ มีวินัย
ตรงตามเวลา และตระหนักถึงความปลอดภัยในการทำงาน

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. บอกบทบาทของการแข่งขันในระบบซัพพลายเชนได้
2. อธิบายระบบสารสนเทศได้
3. บอกการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้
4. บอกระบบดึง และระบบผลักได้
5. อธิบายการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในระบบซัพพลายเชนได้
6. บอกความรู้เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ได้

กิจกรรมการการจัดการเรียนรู้

เวลา (X นาที) 60 120 180


หมายเลขวัตถุประสงค์ 1,2,3,4,5
ขั้นสนใจปัญหา(.10 นาที)
บรรยาย
ขั้นให้ข้อมูล
ถามตอบ
(..120 นาที)
สาธิต
ขั้นพยายาม (........30....นาที)
ขั้นสำเร็จผล (.........20...นาที)
กระดานดำ
Power point
แผ่นใส
ของจริง
อุปกรณ์ช่วยสอน ใบเนื้อหา
ใบงาน
เฉลยใบงาน
ใบสั่งงาน
ใบประเมินผล
Pre test (10 นาที)
Post test (10นาที)
ใบทดสอบ ก่อนเรียน หลังเรียน

ใบเนื้อหาที่ 8 สื่อ Power point ชุดที่ 8 ใบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน หน่วยที่ 8


กิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู กิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน
1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ขัน้ สนใจปัญหา (10 นาที
และทดสอบ 10 นาที) ผู้เรียนร่วมคิดและตอบคำถามและทำแบบทดสอบ
ครู ผู้ สอ น น ำเข้ า สู่ บ ท เรี ย น ก ล่ า ว ถึ งคว าม ก่อนเรียน
เจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบการ
สื่อสารซึ่งได้นำมาประยุกต์ให้เข้ากับการดำเนินธุรกิจที่มี
การแข่งขันสูง และเน้นประสิทธิภาพการดำเนินงานและ
การบริ ห ารเวลาในทุ ก กระบวน การผลิ ต จนถึ ง มื อ
ผู้บ ริ โภค การจัด การซัพ พลายเชนมี ก ระบวนการเริ่ ม
ตั้ ง แต่ การจั ด ซื้ อ การผลิ ต การจั ด เก็ บ เทคโนโลยี
สารสนเทศ การจัดจำหน่าย และการขนส่ง ซึ่งจะทำให้
ระบบให้ ป ระสานกั น อย่ า งคล่ อ งตั ว และจะสร้ า ง
ความสั ม พั น ธ์ เ ชื่ อ มต่ อ กั บ องค์ ก รอื่ น ๆ อ ย่ า งมี
ประสิทธิภาพ
2. ขั้นสอน (120 นาที)
สอนโดยการบรรยาย เกี่ ย วกั บ บทบาทของการ ผู้เรียนฟังการบรรยาย และศึกษาเอกสารประกอบ
แข่ ง ขัน ในระบบซัพ พลายเชน ระบบสารสนเทศ การ การเรียนตาม และร่วมตอบคำถามถึง บทบาทของ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ระบบดึง และระบบผลัก การใช้ การแข่งขันในระบบซัพพลายเชน ระบบสารสนเทศ
เทคโนโลยีเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในระบบซัพพลายเชน การพาณิ ช ย์อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ ระบบดึ ง และระบบ
ความรู้เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
ผลั ก การใช้ เทคโนโลยี เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพใน
ระบบซัพพลายเชนความรู้เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยน
ข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
3. ขัน้ พยายาม (60 นาที) แบ่งกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่มให้แต่ละกลุ่มสรุป
ครู ผู้ ส อนผู้ เรี ย นมี ส่ ว นร่ ว ม (แต่ ล ะกลุ่ ม ส่ ง ตั ว แทน สาระสำคัญของแต่เรื่องตามจุดประสงค์ ผู้เรียน
กลุ่ ม ) วิ เคราะห์ เกี่ ย วกั บ กรณี ศึ ก ษาบริ ษั ท ที่ มี ร ะบบ ศึกษาแล้วแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในการร่วมปฏิบัติ
สารสนเทศมาใช้ ใ นการจั ด การซั พ พลายเชนและ กิจกรรมร่วมกัน
มอบหมายให้ผู้เรียนนำกรณีศึกษามานำเสนอในชั้นเรียน
4. ขั้นสรุป (30 นาที และทดสอบ 10 นาที)
และผู้สอนสรุปแต่ละเรื่องให้ผู้เรียนฟังจนเข้าใจ แต่ละกลุ่ม ส่งตัวแทนออกมาสรุปเพื่อนฟัง หน้าชั้น
มอบหมายให้ผู้เรียนกลับไปศึกษาเนื้อหาเรื่องการ เรียน
ประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการ
ปฏิบัติงาน

สื่อสารเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้
สื่อสิ่งพิมพ์
1. ใบเนื้อหา
2. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
3. ใบมอบหมายงาน

สื่อโสตทัศน์ (ถ้ามี)
1. ใช้สื่อ Power point

การวัดและประเมินผล
การประเมินผล
ก่อนเรียน
1. แบบทดสอบก่อนเรียน
ขณะเรียน
1. แบบประเมินพฤติกรรมรายกลุ่ม
2. แบบสังเกตพฤติกรรม
3. แบบประเมิน คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะพึงประสงค์
หลังเรียน
1. แบบทดสอบหลังเรียน
แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
1. แหล่งข้อมูลจากระบบสารสนเทศ Internet
2. เว็บไซต์ https://www.youtube.com/watch?v=OkxfwoW109A
เกณฑ์ในการวัดและประเมินผล
การวัด (ใช้เครื่องมือ) การประเมินผล (นำผลเทียบกับเกณฑ์และแปล
ความหมาย)
1. แบบทดสอบก่อนเรียน (ไว้เปรียบเทียบกับคะแนนสอบหลังเรียน)
2. แบบสังเกตการทำงานกลุ่มและการ เกณฑ์ผ่าน 60 %
นำเสนอผลงานกลุ่ม
3. แบบฝึกหัดในหน่วย เกณฑ์ผ่าน 50 %
4. แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน 50 %
5. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม เกณฑ์ผ่าน 60 %
ตามสภาพจริง

บันทึกหลังสอน
1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

2. ผลการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

3. แนวทางการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....1..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 8 ชื่อหน่วย ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน................เวลา.............10.................นาที

คำสั่ง จงทำเครื่องหมายกากบาท (x) ลงหน้าข้อที่ถูกต้อง

1. บทบาทระบบโซ่อุปทานที่สำคัญในการแข่งขันในปัจจุบัน คือข้อใด

ก. การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ ข. การกำหนดกลยุทธ์ทางการค้า

ค. การลดต้นทุนและค่าใช้จ่าย ง. การจัดการห่วงโซ่อุปทาน

2. องค์กรแบบใดที่สร้างกำไรสูงสุด โดยเน้นการทำงานของแต่ละฝ่ายเป็นอิสระไม่เกี่ยวข้องกัน

ก. รวมการดำเนินงานภายนอกธุรกิจไว้ด้วยกัน

ข. รวมหน้าที่ทางธุรกิจเข้าด้วยกัน

ค. รวมการดำเนินงานภายในธุรกิจไว้ด้วยกัน

ง. แบบพื้นฐาน

3. ข้อใดเป็นการค้าแบบ E-Commerce

ก. การโฆษณาในแผ่นพับ ข. การขายโดยพนักงานขาย

ค. การขายโดยผ่านทีวี ง. การสาธิตสินค้า

4. ข้อใดเป็น C to C

ก. การขายของมือสอง ข. การขายหนังสือการ์ตูน

ค. การขายกระเป๋า ง. ถูกทุกข้อ
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....2..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 8 ชื่อหน่วย ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน................เวลา.............10.................นาที

5. รูปแบบของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้อใดไม่ได้มุ่งการค้า

ก. B to B ข. B to C

ค. B to G ง. G to C

6. ข้อใดเป็นระบบการควบคุมสินค้าคงคลัง

ก. ระบบดึง ข. ระบบผลัก

ค. ระบบจัดจ่าย ง. ข้อ ก. และ ข้อ ข. ถูก

7. เลขหมายที่ตั้งสากลของประเทศไทยขึ้นต้นด้วยเลขใด

ก. 999 ข. 885

ค. 888 ง. 880

8. ข้อใดหมายถึงตัวเลขมาตรฐานสากลที่มี 13 หลัก

ก. GLN ข. EDI

ค. RFID ง. RSS
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....3..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 8 ชื่อหน่วย ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน................เวลา.............10.................นาที

9. ข้อใดเป็นทางบาร์ขนาดกะทัดรัด มีเลขหมาย GTIN 14 หลักซึ่งเชื่อมโยงกับรหัส 2 มิติได้

ก. RSS-14 Stacked ข. RSS – 14

ค. RSS-14 Limited ง.RSS Expanded

10. ข้อใดเป็นเทคโนโลยีที่ระบุสถานะของวัตถุโดยใช้คลื่นวิทยุ

ก. GLN ข. EDI

ค. RFID ง. RSS

เฉลย
1. ง 2.ง 3.ค 4. ก 5. ง 6. ง 7. ข 8. ก 9. ข 10. ค
ใบเนื้อหา/ใบความรู้
หน่วยที่...8..เรื่อง ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

การจัดการซัพพลายเชน เป็นกระบวนการที่มีผลต่อการสร้างความพอใจให้กับลูกค้า ตั้งแต่กระบวนการจัดซื้อ


(Procurement) การผลิต (Manufacturing) การจั ดเก็บ (Storage) เทคโนโลยี สารสนเทศ (Information
Technology) การจั ด จำหน่ า ย (Distribution) และการขนส่ ง (Transportation) ซึ่ ง จะจั ด ระบบให้
ประสานกันอย่างคล่องตัว และจะสร้างความสัมพันธ์เชื่อมต่อกับองค์กรอื่นๆ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ผู้
จัด หาวัตถุดิบ/สินค้า (Suppliers) บริษัทผู้ผลิต (Manufactures) บริษั ทผู้จำหน่าย (Distribution) รวมถึ ง
ลูกค้าของลูกค้าของบริษัท จึงเป็นการเชื่อมโยงกระบวนการดำเนินธุรกิจทุกขั้นตอนที่เกี่ยวข้องด้วยกันเป็นห่วง
โซ่หรือเครือข่ายให้เกิดการประสานงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสินค้า/บริการ และ
สร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า

ในซัพพลายเชนนั้นข้อมูลต่างๆ จะมีการแจ้งและแบ่งสรรให้ทุกแผนก/ทุกหน่วยงานในระบบรับทราบ
และใช้งาน ทำให้ แต่ละหน่วยงานสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถ้าองค์กรมีระบบการจัดการโซ่
อุปทานที่ดี ทุกแผนกมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกันอย่างเป็นระบบ โดยการแลกเปลี่ยนข้อมูลจะทำให้
การสั่งซื้อวัตถุดิบเป็นไปด้วยความถูกต้องและมีระบบ ถ้าการสั่งซื้อวัตถุดิบมากเกินไป จะทำให้ ต้นทุนในการ
จัดเก็บสูง แหล่งข้อมูลที่มีความสำคัญต่อระบบการผลิตมาก คือ ข้อมูลจากผู้บริโภคโดยตรง เนื่องจากฝ่าย
การตลาด สามารถรับรู้พฤติกรรมและความต้องการของผู้บริโภคว่าต้องการสินค้าประเภทใดจะได้นำข้อมูล
ดังกล่าวไปให้ฝ่ายจัดหาสินค้า เมื่อรู้จำนวนสินค้าที่ต้องผลิ ตแล้วผู้จัดหาจะสั่งซื้อสินค้านี้เข้ามาตามจำนวนที่
ต้อ งการ โดยไม่จ ำเป็ น ต้อ งสั่งสิ นค้ ามาเก็ บไว้ ที่ค ลัง สิ น ค้าเป็ น เวลานาน และผู้ ที่จ ะขายสิ นค้ าให้กั บ ผู้จั ด
จำหน่ายก็สามารถให้ลูกค้าจ่ายเงินซื้อได้ เช่นกัน ดังนั้นการจัดการระบบโซ่อุปทานจึงเป็นการคาดการณ์ความ
ต้องการของตลาด การหาแหล่งวัตถุดิบและการจัดซื้อจัดจ้าง การบริหารคลังสินค้า การจัดการระบบโลจิ
สติกส์หรือการส่งกำลังบำรุงในการกระจายสินค้าและการปฏิบัติอื่นๆ ได้ หากองค์กรใดสามารถจัดการระบบ
โซ่อุปทานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ระบบสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems: MIS) หมายถึง ระบบที่


รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์การอย่างมีหลักเกณฑ์ เพื่อนำมา
ประกอบผลและจัดรูปแบบให้ได้สารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการทำงาน และการตัดสินใจในด้านต่างๆ เพื่อให้
การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

โครงสาร้างของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

1. เครื่องมือในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ หมายถึงโครงสร้างพื้นฐานที่ รวมกันเข้าเป็น


ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ และช่วยให้ระบบสารสนเทศ ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยแบ่งเป็น 2
ส่วนดังนี้

1.1 ฐานข้อ มู ล (Database) คื อ ส่ วนที่ ส ำคั ญ ที่ สุด ของระบบสารสนเทศเพื่ อ การจั ด การ
เนื่องจากสารสนเทศทีมีคุณภาพมาจากข้อมูลที่ดี เชื่อถือได้ และจั ดเก็บเป็นระบบ ผู้ใช้สามารถเข้าถึงและใช้
งานได้สะดวกและรวดเร็ว

1.2 เครื่องมือ (Tools) เครื่องมือที่ใช้จัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ปกติระบบสารสนเทศจะ


ใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์หลักในการจัดการข้อมูล ซึ่งประกอบด้วย

- อุปกรณ์ (Hardware) คือ ตัวเครื่องส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์รวมทั้งอุปกรณ์


ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ช่วยให้การประมวลผลและการจัดการข้อมูลมีความรวดเร็วและถูกต้อง

- ชุดคำสั่ง (Software) คือ ชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่รวบรวมและจัดการเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในการ


ตัดสินใจ

2. วิธีการหรือขั้นตอนการประมวลข้อมูล ปัจจุบันธุรกิจต้องสามารถสังเคราะห์สารสนเทศที่เหมาะสม
กับการใช้งาน โดยจัดลำดับและวิธีการของการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศ ที่ต้องการ

3. การแสดงผลลัพ ธ์ ที่ ได้จากการประมวลผลของระบบสารสนเทศอยู่ในรูปของรายงานต่างๆ ที่


สามารถเรียกมาแสดงได้อย่างรวดเร็วและชัดเจน

องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ

1. สารสนเทศภายใน ได้แก่
1.1 สารสนเทศไหลเข้า เช่น Demand Forecasting, การออกแบบและการผลิต ระดับ สินค้าคง
คลัง ข้อมูลสาเหตุการเกิดของเสียและปริมาณงานที่ถูกนำกลับมาแก้ไขใหม่

1.2 สารสนเทศไหลออก เช่น สภาวะธุรกิจและตลาด ราคาและคุณภาพวัสดุ สารสนเทศสำหรับฝ่าย


ผลิต สารสนเทศเกี่ยวกับงบประมาณวัสดุ และกระแสเงินสด

2. สารสนเทศภายนอก ได้แก่

2.1 สารสนเทศไหลเข้า เป็นสารสนเทศเกี่ยวกับลูกค้าและสภาวะการตลาด

2.2 สารสนเทศไหลออก เป็นความต้องการในการจัดซื้อขององค์กรกับผู้ที่เกี่ยวข้องในห่ วงโซ่อุปทาน


(Supply Chain)

การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce: E-Commerce)

การพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce: E-Commerce) หมายถึง กิจกรรมเกี่ ยวกั บ


ธุรกิจการค้าทุกชนิดที่กระทำผ่านสื่ออิเล็กทรอนิส์ทุกประเภท เช่น การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ การเสนอขาย
การซื้อ-ขาย การชำระเงินการบริการทางการเงิ น การบริการส่งสินค้า การส่งเสริมการขาย การค้าขายโดย
ผ่านเครื่องแฟกซ์

การค้า ผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ จะเริ่มตั้งแต่โทรศัพท์ โทรสาร โทรทัศน์ ไปจนถึงเทคโนโลยีที่มี


ความซับซ้อนมากขึ้น ในปัจจุบัน สื่อที่ นิยมนำมาใช้ ประโยชน์เพื่ อทำการค้ากันมากได้แก่ อินเทอร์เน็ ต E-
Business, E-Procurement, E-Readiness, E-Government ที่มีความสัมพันธ์กั นในการนำเอาเทคโนโลยี
ด้านอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้งาน

รูปแบบของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

1. Business to Business (B to B or B2B) เป็นการค้าระหว่างธุรกิจกับธุรกิจ

2. Business to Consumer (B to C or B2C) เป็นการค้าระหว่างธุรกิจกับผู้บริโภค

3. Consumer to Consumer (C to C or C2C) เป็นการค้าระหว่างผู้บริโภคกับผู้บริโภค

4. Business to Government (B to G or B2G) เป็ น การประกอบธุร กิจ ระหว่ างภาคเอกชนกั บ


ภาครัฐ
5. Government to Consumer (G to C or G2C) วัตถุประสงค์ในการติดต่อไม่ได้มุ่ง ด้านการค้า
แต่เป็นการให้บริการของภาครัฐผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์

ระบบดึง และระบบผลัก

ระบบดึงและระบบผลักจะถูกนำมาใช้ในการควบคุมสินค้าคงคลัง เพื่อให้เกิดประสิทธิ ภาพในการ


เบิกจ่าย ระบบควบคุมสินค้าคงคลัง แบ่ง เป็น 2 ประเภท คือ ระบบดึง และระบบผลักซึ่ง มี 2 ระดับโดยที่
ระดับบนจะเป็นคลังสินค้ากลางที่รวบรวมสินค้าจากผู้ผลิตหลายๆ ราย เพื่อส่งมอบให้คลังสินค้าระดับล่าง คือ
ศูนย์กระจายสินค้าที่ทำหน้าที่จัดเตรียมสินค้าและนำสินค้าไปส่งยังผู้ค้ารายย่อยต่อไปนี้

ระบบดึง มีระบบการทำงานเริ่มจากผู้ผลิต ผู้จัดหา หรือผู้จัดส่ง จะดำเนินการเมื่อผู้ใช้ในลำดับถัด ไป


ในกระบวนการจัดจ่ายส่งสัญญาณแสดงความต้องการใช้ ระบบนี้จะให้สินค้าแก่ผู้ใช้สินค้าเท่าที่ต้องการ แต่
อาจจะไม่มีความสม่ำเสมอในคลังสินค้ าระดับล่าง ซึ่งทำให้คลังสินค้าระดับบนจะต้องมีสินค้ าคงคลังมาก เพื่อ
จะตอบสนองความต้องการในระดับล่างได้พอ

ระบบผลัก การทำงานจะเริ่มจากผู้จ่ายดำเนิน การ เช่น ผลิต จัดหา จัด ส่ง ตามที่ กำหนดการไว้
ล่วงหน้า โดยที่ผู้จ่ายระดับบนของกระบวนการจะเป็นผู้กำหนดจากข้อมูลความต้องการและระดับคงคลังของ
ระดับล่าง เมื่อผู้จ่ายระดับบนดำเนินการเสร็จจะพยายามผลักสินค้าออกออกมาตามแผนที่ได้ประสานกับการ
ผลิตหรือการจัดหาที่เหมาะสม จะทำให้ผู้จ่ายระดับบนไม่ต้องเก็บสินค้าคงคลังมาก เนื่องจากมีข้อมูลการ
พยากรณ์ความต้องการของลูกค้าเพื่อประมาณข้อมู ลคงคลังระดับล่างและกำหนดแผนดำเนินการล่วงหน้า
ดังนั้นการพยากรณ์จึงต้องแม่นยำ
แบบฝึกหัดบทที่ 8 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์
และซัพพลายเชน
ตอนที่ 1 อธิ บ าย (หมายถึ ง การให้ ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ขยายความ ถ้ า มี ตั ว อย่ า งให้
ยกตัวอย่างประกอบ) ตอบแบบสั้น
1. อธิบายความหมายระบบสารสนเทศ
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจำแนกอย่างกว้าง ๆ ได้แก่อะไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการมีประโยชน์อะไรบ้าง
ตอบ 1. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน การจัดการ การวางแผนและตัดสินใจในองค์กร
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

4. องค์ประกอบของระบบสารสนเทศได้แก่อะไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

5. การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กรประกอบด้วยอะไรบ้าง
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

6. ให้ยกตัวอย่างการนำเสนอระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

7. ระบบสารสนเทศภายในองค์การมีปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะอะไรบ้าง


............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 8 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์
และซัพพลายเชน
ตอนที่ 1 อธิ บ าย (หมายถึ ง การให้ ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ขยายความ ถ้ า มี ตั ว อย่ า งให้
ยกตัวอย่างประกอบ) ตอบแบบสั้น
1. อธิบายความหมายระบบสารสนเทศ
ตอบ การประมวลผลข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กร เพื่อให้ได้ผลการวิเคราะห์หรือ
รายงานที่จ ะเป็ นประโยชน์ต่ อการตั ดสิน ใจของผู้บ ริหาร เป็ น การใช้เทคโนโลยี เกี่ยวกั บคอมพิ วเตอร์และ
เครือข่ายการสื่อสารเพื่อช่วยการสื่ อสาร และช่วยในการผลิตสารสนเทศจากข้อมูลที่ผ่านการจัดเก็บและการ
ประมวลผลอย่างเป็นระบบ

2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจำแนกอย่างกว้าง ๆ ได้แก่อะไรบ้าง
ตอบ 1. Transaction Processing System (TPS) เป็นระบบสารสนเทศสำหรับการประมวลผลรายการ
โดยระบบจะบันทึกข้อมูลขณะปฏิบัติการภายใต้กฎเกณฑ์ที่กำหนดไว้
2. Management Information System (MIS) เป็ นระบบสารสนเทศสำหรับผู้ บริห ารใช้เพื่ อการ
วิเคราะห์และวางแผน
3. Decision Support System (DSS) เป็ น ระบบสารสนเทศที่ ช่วยสนั บ สนุ น การ ตั ดสิ นใจของ
ผู้บริหาร
4. Executive Support System (ESS) เป็นระบบสำหรับผู้บริหารระดับสูงใช้เพื่อ พิจารณาวางแผน
กลยุทธ์กำหนดนโยบายและสรุปทิศทางขององค์กรในระยะยาว
5. Office Automation System (OAS) เป็ น ระบบที่ แต่ เดิม ไม่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การประมวลผลด้ า น
สารสนเทศโดยตรง แต่มีส่วนช่วยให้การติดต่อสื่อสารและการจัดการด้า นเอกสารขององค์กรเป็นไปด้วยความ
สะดวกรวดเร็ว
3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการมีประโยชน์อะไรบ้าง
ตอบ 1. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน การจัดการ การวางแผนและตัดสินใจในองค์กร
2. ประโยชน์ประการสำคัญของระบบ TPS คือ ช่วยอำนวยความสะดวกด้านการปฏิบัติ และควบคุม
งานให้เป็นไปอย่างสะดวก ถูกต้อง และรวดเร็ว
3. การประมวลผลเพื่อทำสรุปรายงานธุรกรรมต่าง ๆ ที่ได้ทำลงไป ซึ่งฐานข้อมูลของระบบ TPS อาจ
ถูกส่งต่อไปยังระบบอื่นที่มีการประมวลแยกต่างหากออกไป

4. องค์ประกอบของระบบสารสนเทศได้แก่อะไรบ้าง
ตอบ องค์ ป ระกอบของระบบสารสนเทศโดยทั่ ว ไป มี 5 ส่ ว น คื อ ฮาร์ ด แวร์ ซอฟต์ แ วร์ ฐาน ข้ อ มู ล
มาตรฐานการปฏิบัติงาน และบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน

5. การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กรประกอบด้วยอะไรบ้าง
ตอบ ประกอบด้วยกิจกรรม 6 ขั้นตอน คือ
การสำรวจเบื้องต้น
การกำหนดความต้องการของระบบ
การออกแบบระบบ
การพัฒนาซอฟต์แวร์
การทดสอบระบบ
การนำระบบไปปฏิบัติและการประเมินผล

6. ให้ยกตัวอย่างการนำเสนอระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ตอบ 1. การแลกเปลี่ย นข้อ มูลที่ มีรูป แบบมาตรฐานผ่านทางคอมพิ วเตอร์ระหว่างองค์กร (Electronic
Data Interchange : EDI)
2. การวางแผนการใช้วัตถุดิบตามต้องการ (Material Requirements Planning : MRP)
3. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ (Computer Aided Design : CAD)
4. ระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยในการผลิต (Computer Aided Manufacturing : CAM)
5. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิตทั้งหมด (Computer Integrated Manufacturing : CIM)
7. ระบบสารสนเทศภายในองค์การมีปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะอะไรบ้าง
ตอบ 1. ผู้บริหารและผู้ใช้งานที่ควรทำงานให้คุ้นเคยต่อการปรับตัวกับสิ่งใหม่ ๆ มีความเชื่อถือในระบบ
สารสนเทศที่องค์กรนั้นใช้งานอยู่
2. ผู้บริหารตัดสินใจโดยใช้เหตุผลและ สอดคล้องกับข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นเอง ให้การลงทุนเพื่อการ
พัฒนาระบบสารสนเทศเกิดประโยชน์ต่อองค์กรในระยะยาว
3. การพั ฒ นาระบบสารสนเทศที่ ดี ควรดำเนิ น ไปพร้อ มกับ การประสานงานที่ เหมาะสมระหว่า ง
ผู้บริหารกับผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องตามความต้องการของผู้บริหาร
4. ระบบควรมีความยืดหยุ่นสูงและสามารถปรับเปลี่ยน องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้ องต่อ
ภาวะธุรกิจ และความต้องการของผู้บริหารได้อย่างรวดเร็ว
5. การนำระบบสารสนเทศมาใช้ ในทางปฏิบัติในองค์กรจึงควรมีการชี้แจงและให้ผู้ บริหารทำความ
เข้าใจถึงประโยชน์ของระบบสารสนเทศ รวมทั้งสร้างความคุ้นเคยให้กับผู้บริหาร ตลอดจนพนักงานผู้เกี่ยวข้อง
6. การปรับปรุงการสื่อสารระหว่างผู้บริหารกับผู้ปฏิบัติงานเพื่อให้ได้ข้อมูลและสารสนเทศที่ถูกต้อง
ใบมอบหมายงานที่ 8
ชื่อวิชา โลจิสิติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 8 ชื่อหน่วย ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน เวลา 3 ชั่วโมง
ชื่อเรื่อง ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกบทบาทของการแข่งขันในระบบซัพพลายเชนได้
2. อธิบายระบบสารสนเทศได้
3. บอกการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้
4. บอกระบบดึง และระบบผลักได้
5. อธิบายการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในระบบโซ่อุปทานได้
6. บอกความรู้เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ได้
แนวทางการปฏิบัติงาน
1. แบ่งนักศึกษาออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กัน ตามความสมัครใจ
2 มอบหมายงานตามลำดับกลุ่มให้สอดคล้องจุดประสงค์การเรียนรู้
3. ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มไปศึกษา ค้นคว้าหาข้อมูล และร่วมกันจัดทำเป็นบอร์ดวิชาการเผยแพร่
ความรู้และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4. ครู นักศึกษาเยี่ยมชมบอร์ดวิชาการ
5. ครูเสนอแนะเพิ่มเติมและบรรยายสรุป
กำหนดระยะเวลาที่ส่งงาน ภายหลังการนำเสนอ

การประเมินผล
1. พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
2. การนำเสนอ
3. ชิ้นงาน
4. การตอบข้อซักถาม
5. การตรงต่อเวลา
แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม
1. ก่อเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน. กรุงเทพฯ : บริษัท วังอักษร จำกัด, 2563
2. ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์. การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน. กรุงเทพฯ : บริษัท เอ็กซเปอร์เน็ท
จำกัด, 2554
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....1..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 8 ชื่อหน่วย ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน................เวลา.............10.................นาที

คำสั่ง จงทำเครื่องหมายกากบาท (x) ลงหน้าข้อที่ถูกต้อง

1. บทบาทระบบโซ่อุปทานที่สำคัญในการแข่งขันในปัจจุบัน คือข้อใด

ก. การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ ข. การกำหนดกลยุทธ์ทางการค้า

ค. การลดต้นทุนและค่าใช้จ่าย ง. การจัดการห่วงโซ่อุปทาน

2. องค์กรแบบใดที่สร้างกำไรสูงสุด โดยเน้นการทำงานของแต่ละฝ่ายเป็นอิสระไม่เกี่ยวข้องกัน

ก. รวมการดำเนินงานภายนอกธุรกิจไว้ด้วยกัน

ข. รวมหน้าที่ทางธุรกิจเข้าด้วยกัน

ค. รวมการดำเนินงานภายในธุรกิจไว้ด้วยกัน

ง. แบบพื้นฐาน

3. ข้อใดเป็นการค้าแบบ E-Commerce

ก. การโฆษณาในแผ่นพับ ข. การขายโดยพนักงานขาย

ค. การขายโดยผ่านทีวี ง. การสาธิตสินค้า

4. ข้อใดเป็น C to C

ก. การขายของมือสอง ข. การขายหนังสือการ์ตูน

ค. การขายกระเป๋า ง. ถูกทุกข้อ
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....2..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 8 ชื่อหน่วย ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน................เวลา.............10.................นาที

5. รูปแบบของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้อใดไม่ได้มุ่งการค้า

ก. B to B ข. B to C

ค. B to G ง. G to C

6. ข้อใดเป็นระบบการควบคุมสินค้าคงคลัง

ก. ระบบดึง ข. ระบบผลัก

ค. ระบบจัดจ่าย ง. ข้อ ก. และ ข้อ ข. ถูก

7. เลขหมายที่ตั้งสากลของประเทศไทยขึ้นต้นด้วยเลขใด

ก. 999 ข. 885

ค. 888 ง. 880

8. ข้อใดหมายถึงตัวเลขมาตรฐานสากลที่มี 13 หลัก

ก. GLN ข. EDI

ค. RFID ง. RSS
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....3.
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 8 ชื่อหน่วย ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน................เวลา.............10.................นาที

9. ข้อใดเป็นทางบาร์ขนาดกะทัดรัด มีเลขหมาย GTIN 14 หลักซึ่งเชื่อมโยงกับรหัส 2 มิติได้

ก. RSS-14 Stacked ข. RSS – 14

ค. RSS-14 Limited ง.RSS Expanded

10. ข้อใดเป็นเทคโนโลยีที่ระบุสถานะของวัตถุโดยใช้คลื่นวิทยุ

ก. GLN ข. EDI

ค. RFID ง. RSS

เฉลย
1. ง 2.ง 3.ค 4. ก 5. ง 6. ง 7. ข 8. ก 9. ข 10. ค
แบบประเมินผลพฤติกรรมรายบุคคล
ใบงานที่ 8 เรื่อง สารสนเทศในระบบโซ่อุปทาน
กลุ่มที่ ...................

ที่ คะแนน การรับฟัง การเสนอ การยอมรับ การสร้าง รวม ระดับการ


ความคิด ความคิด คนอื่น บรรยากาศ คะแนน มี
เห็น เห็น ในกลุ่ม ส่วนรวม
ชื่อสกุล 5 5 5 5 20
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ระดับของคะแนน
5 = มากที่สุด 4 = ค่อนข้างมาก
3 = ปานกลาง 2 = ค่อนข้างอ่อน
1 = น้อยที่สุด
เกณฑ์การประเมิน 15-20 = มาก
8-14 = ปานกลาง
1-7 = น้อย

ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
สารสนเทศในระบบโซ่อุปทาน

คะแนน การนำเสนอผลงาน การบันทึกผลงาน รวม


ขั้นนำ ขั้นสอน ขั้นสรุป ถูกต้อง เรียบร้อย คะแนน ระดับคุณภาพ
กลุ่มที่ ของผลงาน
10 10 10 10 10 50
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
ระดับของคะแนน 8 - 10 = ดีมาก 7 - 8 = ดี
5 – 6 = พอใช้ 0 – 4 = ควรปรับปรุง
เกณฑ์การประเมิน 35 - 50 = ดี
17 - 34 = ปานกลาง
1 - 16 = ควรปรับปรุง

ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
แบบประเมินพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม จริยธรรม
วันที่......เดือน....................พ.ศ. ....................
ชื่อ...............................................นามสกุล.......................................ระดับชั้น.................เลขที่........
แผนก..................................................................คณะ......................................................................

ลำดับ พฤติกรรมที่ประเมิน ระดับคะแนน หมายเหตุ


3 2 1 ความหมายของระดับคะแนน
1 ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และงานที่ได้รับ 3= ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอโดยไม่
มอบหมาย ต้องมีการชี้นำหรือตักเตือน
2 กล้าคิด กล้าทำ และกล้าตัดสินใจด้วยเหตุผล 2= ปฏิบัติบ้างในบางครั้ง
3 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนๆ จากการเชิญชวนหรือชี้นำ
4 เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เสียสละเพื่อส่วนรวม 1= ต้องสั่งบังคับว่ากล่าวหรือ
5 มีวินัยซื่อสัตย์และประหยัด ตักเตือนจึงจะปฏิบัติ หรือมักจะ
6 รู้จักการให้โอกาส ให้อภัย ปฏิบัติในทางที่ผิดเสมอ
7 การยอมรับการปฏิบตั ิต่อมติของกลุ่ม
8 ไม่เอาเปรียบเพื่อนผู้เรียนด้วยกัน เกณฑ์การประเมิน
9 แสดงกิริยาวาจาสุภาพต่อทุกคน 26-30 คะแนน= ดีมาก
10 แสดงความมีน้ำใจต่อครู/อาจารย์ 21-25 คะแนน= ดี
รวม (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) 16-20 คะแนน= พอใช้
0-15 คะแนน= ควรปรับปรุง
บันทึก
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
........................

ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
การวิเคราะห์หัวข้อการสอนและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ทฤษฎี.....3.......ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ............-.....ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน.3.หน่วยกิต
ISL PSL
หน่วยที/่ ชื่อหน่วย รายการความรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
R A T I C A
9. การประยุกต์ใช้ระบบโล 1. การนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในด้านคลังสินค้า 1. บอกการนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในด้านคลังสินค้าได้ /
จิสติกส์และซัพพลายเชน
ในการปฏิบัติงาน
2. การนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในด้านการขนส่ง 2. บอกการนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในด้านการขนส่งได้ /

3. การนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในด้านข้อมูล 3. บอกการนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในด้านการขนส่งได้ /
ข่าวสาร
4. การตัดสินใจด้านต่างๆ ในระบบโลจิสติกส์ของ 4. อธิบายการตัดสินใจด้านต่างๆ ในระบบโลจิสติกส์ของซัพ /
ซัพพลายเชน พลายเชนได้
หมายเหตุ ISL= ระดับความรู้ความสามารถทางสติปัญญา (Intellectual skill Level) PSL=ระดับความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อทำงาน(Physical skill Level)
R:การฟื้นความรู้ (Recalled Knowledge) I : ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed)
A:การประยุกต์ความรู้ (Applied Knowledge) C : ทำได้ด้วยความถูกต้อง (Control is needed)
T:การส่งถ่ายความรู้ (Transferred Knowledge) A : ทำด้วยความชำนาญ (Automation is needed)
กรอบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
หน่วยที่ 9 การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน

พอประมาณ
1. ผู้เรียนจัดสรรเวลาในการฝึกปฏิบัติตาม
ใบงานได้อย่างเหมาะสม
2. ผู้เรียนรู้จักใช้และจัดการวัสดุอุปกรณ์
ต่าง ๆ อย่างประหยัดและคุ้มค่า
3. ผู้เรียนปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4. ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มเพื่อน
มีภูมิคุ้มกันที่ดี

ความมีเหตุผล 1. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและการ
ปฏิบัติงาน
1. กล้าแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
2. กล้าซักถามปัญหาหรือข้อสงสัยต่าง ๆ อย่างถูก
2. กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ
กาลเทศะ
3. กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4. ไม่มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น 3. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเองอย่างเป็น
เหตุเป็นผล

4. ควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
ความรู้ + ทักษะ 5.ควบคุมคุกิรณิยธรรม
าอาการในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
1. ใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า 1. ปฏิบัติงานทีเป็่ได้นรอย่
ับมอบหมายเสร็
างดี จตามกำหนด
2. ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด
3. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ 3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและ
พอเพียง การปฏิบัติงาน
4. ให้ความร่วมมือกับการทำกิจกรรมของส่วนรวม อาสา
ช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น
นำไปสู่
สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม
สังคม ชุมชนมีคุณภาพชีวิต สภาพเศรษฐกิจมีความ มีการปลูกฝังกิจนิสัยการ ใช้สิ่งของอย่างรู้คุณค่า
ที่ดีขึ้น คล่องตัว มีรายได้และมี ประหยัด อดออม ใช้วัสดุธรรมชาติ ไม่ทำลาย
การใช้จ่ายในระบบเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม
แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 3214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
หน่วยที่ 9 ชื่อหน่วย การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน
จำนวน.....6....ชั่วโมง

หัวข้อเรื่อง
1. การนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในด้านคลังสินค้า
2. การนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในด้านการขนส่ง
3. การนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในด้านข้อมูลข่าวสาร
4. การตัดสินใจด้านต่างๆ ในระบบโลจิสติกส์ของซัพพลายเชน

สาระสำคัญ
ระบบธุ รกิจ เป็ นระบบที่ พบเห็น กันอยู่ในชีวิตประจำวันค่อ นข้างมาก มีความสัมพั นธ์กัน ในหลายๆ
หน้าที่การงานอย่างเด่นชัด แม้จะแบ่งแยกหน้าที่กันอย่างชัดเจน และมีวัตถุประสงค์แตกต่างกันออกไป แต่กลับ
ต้องอาศัยข้อมูลต่างๆ เพื่อทำงานร่วมกันอย่างเป็นระเบียบ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน อย่างไรก็ตามเพื่อให้
เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำเนินงาน ได้มีการนำระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนมาประยุกต์ใช้ใน
การปฏิบัติงานมากขึ้นในด้านการคลังสินค้า ด้านการขนส่ง ด้านข้อมูลข่าวสาร ซึ่งเป็นการตัดสินใจในด้านต่างๆ
ในระบบโลจิสติกส์ที่อยู่ภายในองค์กรและนอกองค์กรเพื่อเชื่อมโยงกับธุรกิจอื่นต่อไป

จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจแสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและกระบวนการโลจิสติกส์และซัพ
พลายเชน
2. เพื่อให้มีกิจนิสัย ในการทางานที่ดี ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ รับผิดชอบ มีวินัย
ตรงตามเวลา และตระหนักถึงความปลอดภัยในการทำงาน

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. บอกการนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในด้านคลังสินค้าได้
2. บอกการนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในด้านการขนส่งได้
3. บอกการนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในด้านข้อมูลข่าวสารได้
4. อธิบายการตัดสินใจด้านต่างๆ ในระบบโลจิสติกส์ของซัพพลายเชนได้
กิจกรรมการการจัดการเรียนรู้

เวลา (X นาที) 60 120 180


หมายเลขวัตถุประสงค์ 1,2,3,4,5
ขั้นสนใจปัญหา(.10 นาที)
บรรยาย
ขัน้ ให้ข้อมูล
ถามตอบ
(..120 นาที)
สาธิต
ขั้นพยายาม (........30....นาที)
ขั้นสำเร็จผล (.........20...นาที)
กระดานดำ
Power point
แผ่นใส
ของจริง
อุปกรณ์ช่วยสอน ใบเนื้อหา
ใบงาน
เฉลยใบงาน
ใบสั่งงาน
ใบประเมินผล
Pre test (10 นาที)
Post test (10นาที)
ใบทดสอบ ก่อนเรียน หลังเรียน

ใบเนื้อหาที่ 9 สื่อ Power point ชุดที่ 9 ใบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน หน่วยที่ 9


กิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู กิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน
1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ขั้นสนใจปัญหา (10 นาที
และทดสอบ 10 นาที) ผู้เรียนร่วมคิดและตอบคำถามและทำแบบทดสอบ
ครู ผู้ ส อนนำเข้ า สู่ บ ทเรี ย น กล่ า วถึ ง ข้ อ มู ล ก่อนเรียน
ข่าวสารในปัจจุบันซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นที่บุคคลต่างๆ ให้
ความสนใจติ ด ตาม และต้ อ งการรั บ รู้ ใ ห้ ทั น ต่ อ
เหตุการณ์ต่างๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
2. ขัน้ สอน (120 นาที)
สอนโดยการบรรยาย เกี่ยวกับการนำระบบโลจิ ผู้เรียนฟั ง การบรรยาย และศึ กษาเอกสารประกอบ
สติกส์ไปใช้ในด้านคลังสินค้า การนำระบบโลจิสติกส์ การเรียนตาม และร่วมตอบคำถามถึง การนำระบบโล
ไปใช้ในด้านการขนส่ง การนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ใน จิสติกส์ไปใช้ในด้านคลังสินค้า การนำระบบโลจิสติกส์
ด้ า นข้ อ มู ล ข่ า วสาร การตั ด สิ น ใจด้ า นต่ า งๆ ใน ไปใช้ในด้านการขนส่ง การนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ใน
ระบบโลจิสติกส์ของซัพพลายเชน
ด้ า นข้ อ มู ล ข่ า วสาร การตั ด สิ น ใจด้ า นต่ า งๆ ใน
ระบบโลจิสติกส์ของโซ่อุปทาน
3. ขั้นพยายาม (60 นาที) แบ่งกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่มให้แต่ละกลุ่มสรุปสาระสำคัญ
ครูผู้สอนผู้เรียนมีส่วนร่วม (แต่ละกลุ่มส่ง ตัวแทน ของแต่เรื่องตามจุดประสงค์ ผู้เรียน ศึกษาแล้วแบ่ง
กลุ่ม) วิเคราะห์เกี่ยวกับการนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ หน้าที่รับผิดชอบในการร่วมปฏิบัติกิจกรรมร่วมกัน
งานในด้ า นต่ า งๆ และมอบหมายให้ ผู้ เ รี ย นน ำ
กรณีศึกษามานำเสนอในชั้นเรียน
4. ขั้นสรุป (30 นาที และทดสอบ 10 นาที)
และผู้สอนสรุปแต่ละเรื่องให้ผู้เรียนฟังจนเข้าใจ แต่ ล ะกลุ่ ม ส่ ง ตั ว แทนออกมาสรุป เพื่ อ นฟั ง หน้ า ชั้ น
มอบหมายให้ผู้เรียนกลับไปศึกษาเนื้อหาเรื่องการ เรียน
ประยุกต์ใช้งานระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

สื่อสารเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้
สื่อสิ่งพิมพ์
1. ใบเนื้อหา
2. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
3. ใบมอบหมายงาน
สื่อโสตทัศน์ (ถ้ามี)
1. ใช้สื่อ Power point

การวัดและประเมินผล
การประเมินผล
ก่อนเรียน
1. แบบทดสอบก่อนเรียน
ขณะเรียน
1. แบบประเมินพฤติกรรมรายกลุ่ม
2. แบบสังเกตพฤติกรรม
3. แบบประเมิน คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะพึงประสงค์
หลังเรียน
1. แบบทดสอบหลังเรียน
แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
1. แหล่งข้อมูลจากระบบสารสนเทศ Internet
2. เว็บไซต์ https://www.youtube.com/watch?v=OkxfwoW109A

เกณฑ์ในการวัดและประเมินผล
การวัด (ใช้เครื่องมือ) การประเมินผล (นำผลเทียบกับเกณฑ์และแปลความหมาย)
1. แบบทดสอบก่อนเรียน (ไว้เปรียบเทียบกับคะแนนสอบหลังเรียน)
2. แบบสังเกตการทำงานกลุ่มและการนำเสนอ เกณฑ์ผ่าน 60 %
ผลงานกลุ่ม
3. แบบฝึกหัดในหน่วย เกณฑ์ผ่าน 50 %
4. แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน 50 %
5. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม เกณฑ์ผ่าน 60 %
ตามสภาพจริง
บันทึกหลังสอน
1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................

2. ผลการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................

3. แนวทางการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....1..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 9 ชื่อ การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน...............เวลา.............10.................นาที

คำสั่ง จงทำเครื่องหมายกากบาท (x) ลงหน้าข้อที่ถูกต้อง

1. ข้อใดไม่ใช่เป็นองค์ประกอบของงานคลังสินค้า

ก. Warehouse ข. Storage Location

ค. Storage Type ง. Holding Warehouse

2. ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของคลังสินค้าในระบบโลจิสติกส์

ก. สนับสนุนการปฏิบัติงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ

ข. ลดต้นทุนการผลิต

ค. สนับสนุนการจัดการด้านการตลาด

ง. ประหยัดการขนส่ง

3. ข้อใดเป็นกิจกรรมหลักของคลังสินค้า

ก. การสั่งซื้อ ข. การขนส่ง

ค. การตรวจนับสินค้า ง. การเก็บรักษา

4. ลักษณะพื้นที่ของคลังสินค้าที่มีความถี่ในการขนย้ายไม่มากนัก คือข้อใด

ก. Holding Warehouse ข. Distribution Warehouse

ค. Storage Location ค. Storage Type


ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....2..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 9 ชื่อ การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผูเ้ รียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน...............เวลา.............10.................นาที

5. ข้อมูลที่สำคัญในการจัดการคลังสินค้าได้แก่ข้อใด

ก. จำนวนรายการสินค้าที่เก็บรักษา ข. มูลค่าสินค้าคงคลัง

ค. จำนวนบุคลากร ง. ถูกทุกข้อ

6. ผู้ที่ทำหน้าที่รวบรวมสินค้าเพื่อส่งมอบให้ผู้ประกอบการขนส่งสาธารณะ คือข้อใด

ก. Public or Common Carriers ข. Contract Carrier

ข. Private Transport Operator ง. Freight Forwarder

7. ข้อใดเป็นปัญหาสำคัญของผู้ประกอบการสินค้าทั่วไป

ก. ปัญหาบุคลากร ข. ปัญหาเทคโนโลยี

ค. ปัญหาเงินทุน ง. ถูกทุกข้อ

8. ข้อใดเป็นปัญหาและอุปสรรคของการจัดการโซ่อุปทานของกิจการ

ก. ปัญหาบุคลากร ข. ปัญหาเทคโนโลยี

ค. ปัญหาเงินทุน ง. ปัญหาการประสานงานไม่ดี

9. ข้อใดคือการวิเคราะห์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพในการแข่งขันของธุรกิจ

ก. Value Chain Analysis ข. Logistic Analysis

ค. Transportation Analysis ง. Stock Analysis


ใบทดสอบก่อนเรียน แผ่นที่....3..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 9 ชื่อ การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบตั ิงาน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน...............เวลา.............10.................นาที

10. ข้อใดเป็นองค์ประกอบแรกของโครงสร้างของสายโซ่แห่งคุณค่า

ก. วัตถุดิบ ข. ทรัพยากรมนุษย์

ค. เทคโนโลยี ง. การจัดหา

เฉลย
1. ง 2.ง 3.ค 4. ก 5. ง 6. ง 7. ง 8. ง 9. ก 10. ก
ใบเนื้อหา/ใบความรู้
หน่วยที่...9..เรื่อง การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน

การนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในด้านคลังสินค้า

กิจกรรมหลักของคลังสินค้าได้แก่

1.1 กระบวนการรับสินค้า (Receiving)


การรับสินค้าเป็นกระบวนการเริ่มต้นของกิจกรรมในคลังสินค้า ภายหลังจากที่กิจการได้มีการ
สั่ง ซื้ อ สิ น ค้ าจาก Suppliers ก็ จ ะมี ก ำหนดเวลาในการจั ด ส่ ง ที่ เหมาะสม ในเวลาและสถานที่ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง
กระบวนการรับสินค้า เป็นการนำสินค้าเข้าเพื่อจัดเก็บตามกระบวนการ การรับสินค้าจะเริ่มต้นจากเมื่อรถขนส่ง
สินค้ามาถึงคลังสินค้า แผนกรับสินค้าจะสั่งให้มีการขนสินค้าลงจากรถ และมีระบบในการรับและตรวจสอบสินค้า
อย่างละเอีย ด ตามคำสั่ ง ซื้อ และใบกำกับ สินค้ า หรือ ใบส่ง ของ ที่ติด มากับ รถ ไม่ว่าจะเป็ น จำนวน ขนาด
น้ำหนัก ราคา สินค้าจะถูกขนลงมากองอยู่ในบริเวณที่กำหนด มีการให้รหัสสินค้า ติดบาร์โค้ด พร้อมกำหนด
ตำแหน่งที่เก็บสินค้า หรือ location หลังจากนั้นก็จะทำการเคลื่อนย้ายเข้าสู่ระบบของการจัดเก็บ
1.2 ระบบการเก็บสินค้าเข้าชั้นวาง หรือการเคลื่อนย้ายสินค้า (Put-away or Transfer/Bulk
Storage) หลังจากสิ้นสุดของกระบวนการรับสินค้าแล้ว กิจกรรมขั้นต่อไปที่จะดำเนินการ คือ การจัดเก็บสินค้า
ซึ่งจะต้องมีการระบุตำแหน่งของการจัดเก็บไว้เป็นการล่วงหน้า ปัจจุบันมีการออกแบบชุดซอฟต์แวร์ (Software)
ที่นำมาใช้ในการวางแผนการจัดเก็บโดยระบุตำแหน่งอย่างชัดเจน หลังจากนี้จะใช้อุปกรณ์รถยกประเภทต่าง ๆ ใน
การขนย้าย เพื่อนำเข้าไปจัดเก็บตามชั้นวางที่กำหนด ให้ถูกต้องตาม location หรือสถานที่ที่ส่วนงานการรับ
สินค้าเข้ากำหนดไว้ในขั้นตอนนี้จะต้องอาศัยการวางแผนการจัดเก็บที่ดี โดยต้องคำนึงถึงขั้นตอนของการเบิกจ่าย
สินค้าออกไปส่ง หรือจำหน่ ายในภายหลัง ว่าสินค้าใดจะมี ก ารเข้าออกบ่อยต้อ งหาง่าย รวดเร็ว เลือกหยิบได้
แม่นยำ โดยมีระบบการเก็บสินค้าเข้ าชั้นวางที่ได้รับความนิยม 2 ระบบ คือระบบแบบเข้าก่อนออกก่อน (First-
in-First-out : FIFO) และระบบแบบเข้ า หลั ง ออกก่ อ น (Last-in-First-out : LIFO) ในระบบของการเก็ บ
สินค้าเข้าชั้นวางได้มีการจัดแบ่งรูปแบบในการจัดเก็บสินค้า
1.3 กระบวนการในการคัดแยกหรือแปลงหน่วย (Selection or Let down)
ขั้นตอนนี้จะเป็นช่วงที่ใช้เวลามากที่สุดของกระบวนการทำงานในคลังสินค้า ทั้ง นี้ขึ้นอยู่กับ
ปริมาณของการเบิกจ่ายสินค้าออกว่ามีจำนวนมากน้อยอย่างไร การจัดเก็บต้องมีประสิทธิภาพ ตำแหน่งที่อยู่ของ
สินค้าต้องแม่นยำ บริเวณที่ใช้ในการคัดแยกหรือแปลงเป็นหน่วยย่อยต้องเหมาะสม มีความพร้อมด้วยเทคโนโลยี
อุปกรณ์ รวมทั้งประสิทธิภาพของคนที่ทำการคัดแยก ซึ่งจะเป็นตัวกำหนดถึงผลิตภาพโดยรวม (Productivity)
ของคลังสินค้าแต่ละแห่งว่ามีความรวดเร็วและแม่ นยำในการเบิกจ่ายแค่ไหน ยิ่ง เป็นคลังสินค้าในศู นย์กระจาย
สินค้าจะมีกิจกรรมเพิ่มขึ้นอีกมากมายทั้งนี้เนื่องจากจะต้องมีการคัดแยกสินค้าเพื่อมารวมกล่องใหม่ตามใบสั่งของ
ลูกค้า หรือสาขาของบริษัท
1.4 การจ่ายสินค้า หรือการหยิบสินค้า (Picking or Order Picking)
เป็นขัน้ ตอนของการนำสินค้าจากที่จัดเก็บมาทำการจ่ายตามการสั่งสินค้า หรือ Order โดยจะมีการนำ
ระบบการจัดการในการบริหารคลังสินค้า (Warehouse Management System : WMS) มาใช้ในการตัดสต็อก
สินค้า ควบคู่กับระบบบาร์โค้ด ว่าสินค้ารายการใดที่ถูกจ่ายออก และจำนวนเท่าใด จัดส่งสินค้าขึ้นรถบรรทุกที่ถูก
กำหนดให้มารอรับสินค้าตามกำหนด ในขั้นตอนนี้จะมีการใช้แรงงานคนมากที่สุดทั้งนี้เนื่องจากปริมาณสินค้าที่
ผ่านคลัง หรือศูนย์กระจายสินค้าแต่ละแห่งมีมากรายการ การหยิบสินค้าจะต้องหยิบตามคำสั่งซื้อ หรือตาม
จำนวนที่ต้องการ และมีการเคลื่อนย้ายไปยังสถานที่บรรจุหีบห่อหรือ Loading area จัดทำเอกสารกำกับเพื่อส่ง
มอบให้ลูกค้าต่อไป รูปแบบการหยิบสินค้าแบ่งได้ตามขนาดในการหยิบของสินค้า

1.5 การตรวจนับสินค้า (Counting)


การตรวจนับสินค้า จะเป็นการตรวจสอบจำนวนสินค้าที่คงเหลืออยู่ในคลังสินค้าจริง สามารถ
ตรวจสอบได้ทุกเวลาที่ต้องการทราบข้อมูล ซึ่งเรียกว่าระบบ Realtime เป็นระบบโปรแกรมการจัดการบริหาร
คลังสินค้า (Warehouse Management System:WMS) ควบคู่ไปกับการจัดสต็อกด้วยบาร์โค้ด และ RFID เพื่อ
จะได้ทราบสภาพการณ์ ที่แท้ จริงของปริม าณสินค้าในคลังให้ สอดคล้องกับความต้อ งการที่ค าดว่าจะเกิดขึ้นใน
อนาคต และวางแผนในการจัดหาสินค้าเข้ ามาเติมให้เต็มในระบบเพื่อสนองตอบต่อความต้องการอย่างต่อเนื่อง
ต่อไป
2. กิจกรรมที่เกี่ยวกับการเก็บรักษา (Storage Activities)
2.1 การเก็บรักษาสินค้าชั่วคราว
ในการเก็ บ รักษาสิน ค้าในคลัง สิ นค้ า ไม่ส ามารถกำหนดได้ ชัด เจนว่าสิ นค้ าประเภทใดควรมี
ระยะเวลาในการจัดเก็บนานเท่าใด ในปัจจุบันแนวคิดในการนำเก็บสินค้าชั่วคราว หรือในระยะเวลาสั้น ๆ เป็น
แนวคิดที่นิยมใช้มาก โดยเฉพาะคลังสินค้าในศูนย์กระจายสินค้า แบบ DC ที่สินค้าจะเข้ามาพักเพียงชั่วคราว รอ
การคัดแยกซึ่งอาจเข้าเช้า ออกบ่าย ไม่ต้องนำเก็บ หรืออาจจะเก็บเพียงช่วงสั้น 1-2 วัน ถือว่าเป็นการเก็บรักษา
สินค้าชั่วคราวช่วยลดต้นทุนด้านการจัดการคลังสินค้า ได้อย่างมาก
2.2 การเก็บรักษาสินค้าถาวร
การเก็บรักษาสินค้าถาวรอาจเป็นความจำเป็นของสิ นค้าหรือวัตถุดิบบางประเภทที่มีปริมาณ
สินค้ามากกว่าความต้องการ หรืออาจจะเป็นสินค้าหรือวัตถุดิบที่ มีเฉพาะฤดูกาลจึงเป็นความจำเป็นต้องมีการเก็บ
รักษาไว้อย่างถาวรบางกรณีกิจการอาจได้รับส่วนลดการค้าเป็นพิเศษในกรณีที่มีการสั่งซื้อในปริมาณมาก
การพิจารณาพื้นที่ใช้งานในคลังสินค้า (Space Saving)
แนวคิดในการสร้างคลังสิน ค้าปั จจุบั นให้ค วามสำคัญ กับการใช้พื้นที่ ในแนวตั้ง มากขึ้นเนื่องจาก
ต้นทุนที่ดินมีราคาสูง การใช้พื้นที่อย่างเหมาะสมไม่เกิดความสูญเปล่าหรือใช้ประโยชน์ไม่คุ้มค่ากลายเป็นต้นทุน ใน
การประกอบธุรกิจ อีกทั้งยังไม่สามารถนำพื้นที่มาหารายได้ และกำไรให้เพิ่มขึ้นได้ ในคลังสินค้าการใช้พื้นที่อย่าง
ประหยัดมีความสำคัญอย่างยิ่ง การใช้พื้นที่เก็บอย่างอิสระ (Free Location) คือทางเลือกที่กิจการคลังสินค้าต้อง
ถือเป็นข้อปฏิบัติประการแรกส่วนการกำหนดพื้ นที่เก็บแบบกำหนดตายตัว (Fixed Location) ควรมีให้น้อยที่สุด
การใช้พื้นที่ในการจัดวางจะต้องเน้นด้านแนวตั้งหรือความสูง และความแน่นมากที่สุด โดยมีการออกแบบชั้นวาง
สินค้า (Rack) ให้เหมาะสมกับพื้นที่ หีบห่อที่ได้มาตรฐาน มีการจัดหา และใช้เครื่องมืออุปกรณ์ ที่ ตรงกับความ
ต้องการในการใช้งาน อีกทั้งยังต้องมีการฝึกฝนพนักงานให้มีความรู้ ความเข้าใจ ความชำนาญในการปฏิบัติงานใช้
เครื่องมืออุปกรณ์ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ ดูแลรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างต่อเนื่อง ตามระบบงานมาตรฐานที่
ได้มีการกำหนดไว้อย่างชัดเจน การจะใช้พื้นที่ในคลังสินค้าได้เต็มศักยภาพนั้นมีข้อควรพิจารณา ดังนี้
1.1 โครงสร้ างของอาคารและพื้นที่ใ นคลัง สินค้า การออกแบบโครงสร้า งของอาคารตาม
มาตรฐานการก่อ สร้ า งที่ ก ำหนด การเว้น ระยะห่า งระหว่า งชั้น วางสิ น ค้า กับ ตัว อาคาร ฝ้ า เพดาน ต้อ ง
เหมาะสมมีช่ องว่างระหว่า งชั้น วาง และสิน ค้าตามมาตรฐาน เช่น ถ้า สิน ค้า ไวไฟ ต้อ งเว้น ช่อ งว่า งระหว่า ง
สิน ค้า ตั้ ง แต่ 90 ซ.ม ขึ้น ไป แต่โ ดยมาตรฐานสิน ค้า ทั่ว ไป จะมี ช่อ งว่า งระหว่า งสิน ค้า 45 ซ.ม. ในส่ว น
ความสามารถในการรับ น้ำ หนัก ของพื้น ที่ค ลัง สิน ค้า ต้อ งพิจ ารณาประเภทของสิน ค้า ที่จ ะนำมาใช้ใ นการ
จั ด เก็บ สิ น ค้ า ที่มีน ้ ำ หนัก มากจะต้ อ งมีก ารกำหนดพื้ น ที่เ ฉพาะที่ใ ช้ ใ นการจัด เก็บ สิน ค้า ที่มีน้ำ หนัก เบา
สามารถใช้พื้นที่ความสูงได้มาก
1.2 เครื่อ งมือ และอุป กรณ์ที่ติด ตั้ง บนอาคาร อุป กรณ์อ ำนวยความสะดวกต่ า ง ๆ ที่มี
ความจำเป็น แก่ ก ารดำเนิน งาน ต้อ งจัด เตรีย มให้พ ร้อ ม โดยเรีย งลำดั บ ความสำคั ญ ของเครื่ อ งมือ และ
อุป กรณ์ต่า ง ๆ ตามความเหมาะสม เช่ น ระบบฉี ด น้ำ อัต โนมั ติ อุป กรณ์ไ ฟฟ้า น้ำ ประปา ระบบระบาย
อากาศ
1.3 เครื่องมือและอุปกรณ์ในการยกขนสินค้า คลัง สินค้าอาจประกอบด้วยคลัง สินค้ าแบบดั้ง เดิม
หรือ Manual ใช้แรงงานคนแทบทั้งหมด หรือ แบบกึ่ง อัตโนมัติที่มีการประยุกต์เครื่องมืออุปกรณ์ยกขน
และคอมพิ วเตอร์เข้ามาช่ วยในการจัดการ หรื อเป็นคลัง สินค้าแบบอัตโนมัติ ที่ใช้ระบบคอมพิว เตอร์เข้ามา
ควบคุมการทำงานทั้งระบบ โดยใช้ คนน้อยที่สุด การจั ดการในคลัง สินค้ าจะเป็นระบบใดก็ต ามเครื่องมือ
ยกขนสินค้าจะเป็นสิ่งอำนวยความสะดวกให้ ง านสามารถดำเนินไปได้อย่างรวดเร็ว ยิ่ง มี เครื่องมือและ
อุปกรณ์ในการยกขนที่มีประสิทธิภาพมากเท่ าใดลักษณะการไหลของงานจะรวดเร็วยิ่ง ขึ้น ตัวอย่าง
เครื่องมือและอุปกรณ์ยกขนที่เป็นที่นิยมใช้ คือ รถ Fork lift truck ซึ่ง อาจแบ่ง เป็นแบบ Walkie การใช้
คล้าย ๆ คนลากรถ แต่แ ละยืนขับมักเรียกเป็นทางการว่า Hand Truck หรือ Hand Lift และแบบ
เป็นรถขับ มักเรียกว่า Stacker โดยมีพนักงานขับรถยกสินค้าจากจุดหนึ่ง ไปยัง อีกจุดหนึ่ง นอกจากนี้ยัง มี
อุปกรณ์ในการยกขนอีกประเภทหนึ่งคือ ใช้รางเลื่อน หรือสายพานลำเลียง (conveyor) รูปแบบต่าง ๆ
เป็นอุปกรณ์หลักในคลังสินค้า

2. ความรวดเร็ว ในการขนถ่ ายสิ น ค้า หลั ก การสำคัญ ของคลั ง สิ น ค้า อย่ างหนึ่ ง หากมี ก ารนำ
สิน ค้าออกสถานที่ ในการจัด เก็ บ ได้ รวดเร็ว ก็ สามารถนำสิ น ค้าใหม่ เข้ ามาเก็บ ทดแทน เป็ นการใช้พื้ น ที่ให้ เกิ ด
ประโยชน์อย่างสูงสุดอันส่งผลต่อกำไรของกิจการ ข้อควรพิจารณาที่จะทำให้เกิดความรวดเร็วในการขนถ่ายสินค้า
คือต้องวางแผนกำหนดการใช้พื้นที่และการไหลของสินค้าอย่างมีระบบ ดังนี้
2.1 การจัดทางเดิน ต้องไม่แออัด มีทางเดินมากพอ มีความกว้างที่เหมาะสม ไม่เกิดปัญหา
คอขวด หรือทางตันภายในอาคาร และต้องเป็นเส้นทางตรงเท่านั้น
2.2 การจั ด ตำแหน่ ง วางสิ น ค้ า ขึ้ น อยู่ กั บ ประเภทของสิ น ค้ า เป็ น หลั ก สิ น ค้ า ที่ มี ก าร
หมุนเวียนสูง เข้าออกบ่อย ต้องจัดวางอยู่ในตำแหน่งที่เข้าออกได้สะดวก ใช้ระยะทางจากสถานที่รับไปยังสถานที่
จัดเก็บ และจากสถานที่จัดเก็บไปยังบริเวณจัดส่งสินค้า ต้องสั้นที่สุด
3. ความมั่นคงแข็งแรงในการเก็บรัก ษาสินค้า คลังสินค้าต้องอยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้งาน มี
ความแข็ ง แรง เครื่อ งมื อ และอุ ป กรณ์ ก ารยกขนสิ่ ง อำนวยความสะดวก ชั้ น วางสิน ค้ าต้ อ งมี ก ารบำรุง รัก ษา
ตรวจสอบสภาพโดยมีการกำหนดระยะเวลาในการตรวจสอบสภาพของปัจจัยต่าง ๆ ดังกล่ าวกำหนดไว้อย่าง
ชัดเจนเป็นมาตรฐานของการปฏิบัติงาน

4. ระเบียบในการจัดเก็บสินค้า
4.1 การกำหนดแถวกองสินค้า แนวคิดการจัดแถวกองสินค้าที่สำคัญคือ การกองสินค้าเป็น
แถวสั้น ๆ หลาย ๆ แถว แยกเป็นหมวดหมู่เฉพาะ ซึ่งจะทำให้การนำจ่ายออกหรือจัดส่งเป็ นไปอย่างรวดเร็ว ลด
การผิดพลาด
4.2 การวางซ้อนสินค้า ควรมีการกำหนดมาตรฐานความสูงการวางซ้อนสินค้า โดยให้มีความสูง
มากที่สุดจนถึงจุดสูงสุด จึงค่อยจัดวางสินค้ากองใหม่ต่อไป
เทคโนโลยีในคลังสินค้า
1 ฮาร์ดแวร์สำหรับการจัดการคลังสินค้า ฮาร์ดแวร์ทำหน้าที่เชื่อมต่อ เพื่อสื่ อสารในระบบ
ทั้ง กระบวนการ ไม่ว่าจะใช้เทคโนโลยี Barcode, RFID การทำงานของระบบฮาร์ดแวร์ จะต้องเชื่อมต่อกั บ
ซอฟต์แวร์ ของแต่ละคลังสินค้าที่ออกแบบมาอย่างสอดคล้องกับการจัดการคลัง สินค้าแต่ละประเภท ไม่ว่าจะ
เป็ น การทำรายการ (Transactions) การรับ สิ น ค้า (Receiving) การจัด เก็บ (Storage) การขนย้า ย
สินค้าออก (Put Away) รวมทั้งการหยิบสินค้าตามคำสั่ง (Picking Order) และการจัดส่ง (Shipping)
2. ซอฟต์แ วร์ส ำหรับ การจัด การคลัง สิน ค้า (Warehouse Management System: WMS) มี
การนำจัดการคลังสินค้า พัฒนาเชื่อมต่อกับระบบการผลิตและการจัดการกระจายสินค้าไปยังลูกค้าโดยพัฒนาเป็น
ซอฟต์แวร์เฉพาะของแต่ละองค์การตามความเหมาะสม ระบบซอฟต์แวร์มักจะเชื่อมต่อตั้ งแต่การจัดซื้อ จัดหา
การผลิต การจัดส่ง การคืนสินค้า ซอฟต์แวร์ปฏิบัติการที่เป็นโซลูชั่นในระบบการจัดการคลังสินค้ามีให้เลือกใช้
มากมาย ธุรกิ จที่เป็ น Logistics Outsourcing Service หรือผู้ให้ บริก ารการสนั บสนุ นแก่ธุรกิจ การผลิต และ
กระจายสินค้า มีการเขียนโปรแกรมสำเร็จที่เป็นซอฟแวร์เฉพาะจำหน่ายให้กับธุรกิจคลังสินค้าประเภทต่าง ๆ ตาม
ความเหมาะสม แบบของโปรแกรมจะสอดคล้องกับการทำงาน และกิจกรรมต่ าง ๆ ที่เกิดขึ้นในคลังสินค้าไม่ว่าจะ
ซับซ้อนแค่ไหน ระบบของซอฟแวร์ที่ดีจะต้องสามารถเชื่อมต่อ และรองรับธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เพิ่มขีด
ความสามารถในการจัดการสินค้าคงคลัง และการกระจายสินค้า ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น
จะต้องเป็นระบบที่ผู้ใช้งานหรือผู้ปฏิบัติงานสามารถใช้งานได้ง่าย

ระบบที่ใช้ในการขนส่ง

TMS คือ ระบบบริหารการจัดส่งอัตโนมัติ Transport Management Solution หรือเรียกสั้น ๆ ว่า


ระบบ TMS คือ ระบบที่ใช้ในการบริหารจัดการระบบขนส่งของธุรกิจ ตามหลักของการบริหารธุรกิจ TMS เป็นกล
ยุทธ์หนึ่งที่ถูกนำมาใช้ในการลดต้นทุนการขนส่งและการจัดการด้านโลจิสติกส์ และเราสามารถเรียกระบบนี้
ว่า Fleet Management (ฟลีทแมเนจเมนท์) หรือ “ระบบการจัดการยานพาหนะ”
การพัฒนาระบบเพื่อช่วยบริหารจัดการต้นทุน ปัจจุบันการขนส่งมีความสำคัญต่อธุรกิจเกือบทุกประเภท
ทั้งในส่วนการจัดหาวัตถุดิบ การผลิตการขาย และการจัดจำหน่าย ในหลายๆ ธุรกิจ ต้นทุนการขนส่งนับเป็นต้นทุน
ที่ ส ำคั ญ และกระทบต่ อ ต้ น ทุ น รวมของผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริก าร ซึ่ ง โครงสร้ างต้ น ทุ น ของผู้ ป ระกอบการขนส่ ง
ประกอบด้วยต้นทุนดังต่อไปนี้

ต้นทุนคงที่ (Fixed cost) – เป็นต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงตามปริมาณการขนส่ง เช่น


ค่าเช่าสถานที่จอดรถ เงินเดือนพนักงานขับรถ เป็นต้น
ต้น ทุ น ผั น แปร (Variable cost) – เป็ น ต้น ทุ น หรือ ค่าใช้จ่ ายที่ มี ก ารเปลี่ ยนแปลง ตามปริม าณการ
ให้บริการการขนส่ง เช่น ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ค่าซ่อมแซม ค่าน้ำมันหล่อลื่น เป็นต้น
ต้น ทุ น รวม (Total cost) – เป็ น ต้ น ทุ น หรือ ค่า ใช้ จ่า ยที่ ร วมเอาต้ น ทุ น คงที่ และต้น ทุ น ผั น แปรเข้ าไว้
ด้วยกัน ถือเป็นต้นทุนการบริการขนส่งทั้งหมด ทั้งนี้รวมถึงต้นทุนเที่ยวกลับ (Backhauling cost) ด้วยต้นทุนของ
ผู้ประกอบการขนส่งจะมากหรือน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดราคาค่าขนส่ง ได้แก่
- ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการขนส่งเที่ยวเปล่า
- ปริมาณหรือน้ำหนักของสินค้า ที่บรรทุก
- ระยะเวลาที่ใช้ในการขนถ่ายขึ้นและลงรวมถึงค่าใช้จ่ายในส่วนที่เกี่ยวกับระยะเวลาในการรอ
- ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับระยะทางในการขนส่ง
- ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อความเสียหายจึงจำเป็นต้องมีการบวกค่าใช้จ่าย
TMS ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง

ในส่วนที่เป็นเรื่องของการประกันภัยจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ผันผวนส่งผลให้เกิดการปรับตัวของราคา
น้ำมันที่เพิ่มสูงขึ้นอย่ างต่อเนื่อง ซึ่งต้นทุนค่าน้ำมันเชื้อเพลิงมีสัดส่วนมากของต้นทุนการขนส่งทั้งหมดเมื่อราคา
น้ำมันเพิ่มสูงขึ้นทำให้ผู้ประกอบการด้านโลจิสติกส์ ต้องแบกรับภาระด้านต้นทุน ในด้านการขนส่งสินค้าที่สูงขึ้น
ดังนั้นผู้ประกอบการด้านโลจิสติกส์จะต้องมีการวางแผนกำหนดกลยุทธ์ต่าง ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการขนส่ง
และลดต้นทุนในการขนส่ง อาทิเช่น
กลยุทธ์การใช้พลังงานทางเลือก – โดยปรับเปลี่ยนพลังงานที่ใช้ในการขนส่งจากน้ำมันดีเซลหรือเบนซิน
เป็นไบโอดีเซลหรือก๊าซ CNG ซึ่งการใช้ก๊าซ CNG จะประหยัดกว่าการใช้น้ำมันประมาณ 60-70

กลยุทธ์การปรับเปลี่ยนรู ปแบบการขนส่งแบบใหม่ – หรือการใช้วิธีการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ


(Multimodal transportation) ซึ่งเป็นวิธีการขนส่งที่ผสมผสานระหว่างการขนส่งตั้งแต่ 2 รูปแบบขึ้นไป ภายใต้
สัญญาหรือผู้รับผิดชอบการขนส่งรายเดียว ซึ่งโครงสร้างของระบบขนส่ง สามารถแบ่งตามลักษณะทางกายภาพได้
5 แบบ คือ

- การขนส่งทางถนน เป็นรูปแบบการขนส่งที่นิยมใช้มากที่สุด สำหรับการขนส่งภายในประเทศ


- การขนส่งทางราง มีข้อจำกัดในด้านสถานที่ตั้ง และสถานีบริการ ต้นทุนการขนส่งต่ำ และสามารถบรรทุก
สินค้า ได้ครั้งละมากๆ
- การขนส่งทางน้ำ สามารถขนส่งได้ครั้งละมากๆ มีต้นทุนในการขนส่งต่ำที่สุด และเป็นการขนส่งหลักของ
การขนส่งระหว่างประเทศ
- การขนส่งทางอากาศ ใช้สำหรับการขนส่งระยะทางไกลๆ และต้องการความเร็วสูง มีต้นทุนการขนส่งสูง
ที่สุด และใช้กับสินค้าที่มีราคาแพง มีน้ำหนักและปริมาตรน้อย
- การขนส่งทางท่อ ต้องมีการกำหนดตำแหน่งที่ตั้งสถานที่รับและส่งสินค้าที่แน่นอน
แบบฝึกหัดบทที่ 9 การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบตั ิงาน
ตอนที่ 1 อธิบาย (หมายถึง การให้รายละเอียดเพิ่มเติม ขยายความ ถ้ามีตัวอย่างให้ ยกตัวอย่าง
ประกอบ) ตอบแบบสั้น
1. สรุปความเป็นมาการนำโลจิสติกส์สู่การปฏิบัติ
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................

2. อธิบายการแบ่งขั้นตอนกระบวนการผลิตโลจิสติกส์
ตอบ 1. โลจิสติกส์ต้นน้ำ (Up – Stream) หมายถึง การนำเทคโนโลยีโลจิสติกส์มาใช้ในการบริหารกระบวนการ
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................

3. หัวใจของโลจิสติกส์ 10 ประการได้แก่อะไรบ้าง
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................

4. ยุทธศาสตร์โลจิสติกส์ไทยสู่การแข่งขันระดับโลกประกอบด้วยอะไรบ้าง
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
5. สาเหตุอะไรบ้างที่ต้องพัฒนาโลจิสติกส์
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................

6. แนวโน้มอะไรบ้างที่ทำให้โลจิสติกส์มีบทบาทสำคัญ
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 9 การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ในการปฏิบัติงาน
ตอนที่ 1 อธิบาย (หมายถึง การให้รายละเอียดเพิ่มเติม ขยายความ ถ้ามีตัวอย่างให้ยกตัวอย่าง
ประกอบ) ตอบแบบสั้น
1. สรุปความเป็นมาการนำโลจิสติกส์สู่การปฏิบัติ
ตอบ กระบวนการสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าหรือผู้บริโภค เริ่มตั้งแต่การพัฒนาสินค้าผ่านระบบการผลิตไป
จนถึงการจัดส่งสินค้าไปยังลูกค้าหรือผู้บริโภคอย่างรวดเร็ว อาศัยช่องทางในการจัดจำหน่ายอย่างมีประสิทธิภาพ
ทั้ ง นี้ ก ลยุ ท ธ์ ที่ ร องรั บ กระบวนการดั ง กล่ า วคื อ โลจิ ส ติ ก ส์ (Logistics) ที่ เ ชื่ อ กั น ว่ า สามารถประสานรวม
(Integration) กิจกรรมต่าง ๆ ในกระบวนการผลิตตั้งแต่ขั้นตอนที่เป็นวัตถุดิบ การผลิตในโรงงาน จนกระทั่งจัดส่ง
ถึงผู้บริโภค รวมไปถึงการจัดเก็บและบริหารสินค้าคงคลังด้วยวิธีการประหยัด ต้นทุนค่าใช้จ่ายและใช้เวลาน้อยที่สุด
โลจิสติกส์นับเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจประการหนึ่งที่กำลั งมีบทบาทเพิ่มมากขึ้นในปัจจุบัน ถือ
เป็นกิจกรรมเสริมหรือสนับสนุนกระบวนการผลิตหลักให้สามารถดำเนินงานต่อไป
โลจิสติกส์ (Logistics) เริ่มใช้เป็นทางการครั้งแรกในวงการทหาร หมายถึง กิจกรรมการส่งกำลัง
บำรุงการทางทหาร เพื่อบริหารการส่งกำลังบำรุง เช่น อาหาร น้ำมั น กำลังสนับสนุน รวมทั้งอาวุธให้ถูกต้อง
ตามเวลาและสถานที่ที่ระบุ ระบบโลจิสติกส์ทางการทหารที่ใหญ่ที่สุดในโลกเกิดขึ้นในปฏิบัติการพายุทะเลทราย
โลจิสติกส์ได้ขยายสู่ธุรกิจและอุตสาหกรรม ซึ่งหมายถึง กระบวนการบริ หาร การเคลื่อนย้าย การจัดเก็บ
สินค้าและวัตถุดิบ การกระจายสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในทุกขั้นตอน โดยสร้างความพึงพอใจ
สูงสุดให้แก่ลูกค้า/ผู้บริโภค โลจิสติกส์ครอบคลุมตั้งแต่การนำวัตถุดิบเข้าสู่โรงงานเพื่อทำการผลิตสินค้าจนถึงการ
กระจายสินค้าสู่ลูกค้า/ผู้ บริโภค โลจิสติกส์จึงเป็นการรวมเอากิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดหา การขนส่งหรือ
เคลื่อนย้าย การจัดเก็บและจัดส่งทั้งวัตถุดิบและสิน ค้าทุกขั้นตอนก่อนถึงมือผู้บริโภค รวมทั้งการบริหาร และการ
บริหารข้อมูลเข้าด้วยกัน

2. อธิบายการแบ่งขั้นตอนกระบวนการผลิตโลจิสติกส์
ตอบ 1. โลจิสติกส์ต้นน้ำ (Up – Stream) หมายถึง การนำเทคโนโลยีโลจิสติกส์มาใช้ในการบริหารกระบวนการ
จัดเก็บ และเคลื่อนย้ายวัตถุดิบ จากแหล่งผลิตเข้าสู่ขั้นตอนการผลิตในโรงงาน ขั้นตอนนี้ เป็นขั้นตอนการจัดหา
วัตถุดิบ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมของฝ่ายจัดซื้อ
2. โลจิสติกส์ปลายน้ำ (Down – Stream) หมายถึง การนำเทคโนโลยีโลจิ สติกส์มาใช้ในการบริหารการ
จัดเก็บและเคลื่อนย้ายสินค้าสำเร็จรูปออกจากโรงงานที่ผ่านขั้นตอนการผลิตแล้วส่งถึงมือผู้บริโภค
3. โลจิสติกส์โรงงาน หมายถึง การนำเทคโนโลยีโลจิสติกส์มาใช้ในการบริหารการผลิต เริ่มตั้ง แต่การนำ
วัตถุดิบเข้าสู่กระบวนการผลิต จนกระทั่งออกมาเป็นสินค้าสำเร็จรูป
แต่ถ้าแบ่งตามลักษณะการใช้งาน สามารถแบ่งโลจิสติกส์ได้ดังนี้
- โลจิสติกส์ด้านการทหาร
- โลจิสติกส์ด้านวิศวกรรม
- โลจิสติกส์ด้านธุรกิจ

3. หัวใจของโลจิสติกส์ 10 ประการได้แก่อะไรบ้าง
ตอบ 1. การควบคุมต้นทุน (Cost Control)
2. เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
3. การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management)
4. การบริการลูกค้า (Customer Service)
5. ต้นทุนด้านการขนส่ง (Transportation Cost)
6. เวลาของวัฏจักรทั้งกระบวนการ (Cycle Time)
7. การบริหารการขนส่ง (Freight Management)
8. การบริหารฟลีทและคนขับ (Fleet and Driver Management)
9. คุณภาพ (Quality) เป็นสิ่งที่ต้องอยู่ในจิตสำนึกของพนักงานทุกคนในองค์กร
10. ระยะเวลาในการส่งมอบ (Delivery Time)

4. ยุทธศาสตร์โลจิสติกส์ไทยสู่การแข่งขันระดับโลกประกอบด้วยอะไรบ้าง
ตอบ ยุทธศาสตร์โลจิสติกส์เพื่อการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคเกษตรและภาคอุตสาหกรรม
แต่ละสาขา ต้องเริ่มจากการสร้างพันธมิตรทางธุรกิจที่ใกล้เคียงกัน เชื่อมโยงผู้เกี่ยวข้องทุกหน่วยงานเป็น เครือข่าย
ลูกโซ่อุปทาน โดยกำหนดเป้าหมายเฉพาะกิจที่ชัดเจน วัตถุประสงค์เพื่ อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการระบบโลจิ
สติ กส์ เส้น ทางลำเลี ยงเคลื่ อ นตัว ของสิน ค้ าหรื อ บริก ารตลอดสายงานจากต้ นน้ ำแหล่ง วัตถุ ดิ บ เข้ าแปรรูป ใน
กระบวนการผลิตเป็นสินค้าสำเร็จรูปให้มีการจัดเก็บสต๊อกสิ นค้าอย่างมีประสิทธิภาพและเคลื่อนไหวย้ายออก ส่ง
มอบสินค้าให้ถึงมือลูกค้าปลายทางโดยรวดเร็ว และประมวลข้อมูลทางการค้าตลอดเส้นทางโลจิสติกส์ให้สามารถ
ตรวจสอบย้อนกลับไปปรับปรุงแผนการผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าในรอบต่อไปได้ทันที ดังนั้น
พ่อค้าต้องเพิ่มความถี่ในการส่งมอบสินค้าในปริมาณที่น้อยลง ส่งผลให้อัตราค่าขนส่งสินค้าและระยะเวลาส่งมอบ
สินค้าเปลี่ยนแปลงไป บริษัทที่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ย่ อมชนะใจลูกค้า แต่ต้องรับสภาพ
ต้นทุนโลจิสติกส์ที่สูงขึ้นและกระทบต่อผลประกอบการในระยะยาว ดังนั้น การสร้างเครือ ข่ายธุรกิจร่วมกันเพื่อ
บริหารงาน โลจิสติกส์จึงเป็นวิธีการบริหารต้นทุนอย่ างมีประสิทธิภาพสูงสุด ขณะเดียวกันผู้ประกอบการยังคง
รักษาและพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในธุรกิจหลักของตนเองได้
5. สาเหตุอะไรบ้างที่ต้องพัฒนาโลจิสติกส์
ตอบ 1. กลไกทางการค้าโลกได้มีการเปลี่ยนแปลง
2. การแข่งขันมีความเข้มข้นและเป็นการแข่งขันในระดับโลก
3. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ
6. แนวโน้มอะไรบ้างที่ทำให้โลจิสติกส์มีบทบาทสำคัญ
ตอบ 1. ต้นทุนด้านขนส่งเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
2. ประสิทธิภาพด้านการผลิตพัฒนาจนถึงขีดสุดแล้ว
3. มีการเปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐานในปรัชญาสินค้าคงคลัง
4. มีจำนวนรายการสินค้าที่เรียกว่า Stock – Keeping Units (SKUs)
5. การปฏิวัติด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
6. การเพิ่มขึ้นของการใช้งานคอมพิวเตอร์ในทางธุรกิจ
7. ความเป็นห่วงของส่วนรวมในเรื่องการนำผลิตภัณฑ์มาใช้ใหม่ (Product Recycle)
8. การเติบโตของผู้ค้าปลีกรายใหญ่หลาย ๆ รายหรื อผู้ขายรายใหญ่ที่มีความต้องการสินค้าปริมาณมาก
และมีระบบโลจิสติกส์ที่ทันสมัย
ใบมอบหมายงานที่ 9
ชื่อวิชา โลจิสิติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 9 ชื่อหน่วย การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน เวลา 3 ชั่วโมง
ชื่อเรื่อง การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกการนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในคลังสินค้าได้
2. บอกการนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในการขนส่งได้
3. บอกการนำระบบโลจิสติกส์ไปใช้ในด้านข้อมูลข่าวสารได้
4. อธิบายการตัดสินใจด้านต่างๆ ในระบบโลจิสติกส์ของโซ่อุปทานได้
5. อธิบายการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของไทยได้
แนวทางการปฏิบัติงาน
1. แบ่งนักศึกษาออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กัน ตามความสมัครใจ
2 มอบหมายงานตามลำดับกลุ่มให้สอดคล้องจุดประสงค์การเรียนรู้
3. ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มไปศึกษา ค้นคว้าหาข้อมูล และร่วมกันจัดทำเป็นบอร์ดวิชาการเผยแพร่ความรู้
และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4. ครู นักศึกษาเยี่ยมชมบอร์ดวิชาการ
5. ครูเสนอแนะเพิ่มเติมและบรรยายสรุป
กำหนดระยะเวลาที่ส่งงาน ภายหลังการนำเสนอ

การประเมินผล
1. พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
2. การนำเสนอ
3. ชิ้นงาน
4. การตอบข้อซักถาม
5. การตรงต่อเวลา
แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม
1. ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์. การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน. กรุงเทพฯ : บริษัท เอ็กซเปอร์เน็ท จำกัด,
2554
2. วิเชียร วงศ์วาณิชชากุล และคณะ. หลักการตลาด. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2554
ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....1..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 9 ชื่อ การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน...............เวลา.............10.................นาที

คำสั่ง จงทำเครื่องหมายกากบาท (x) ลงหน้าข้อที่ถูกต้อง

1. ข้อใดไม่ใช่เป็นองค์ประกอบของงานคลังสินค้า

ก. Warehouse ข. Storage Location

ค. Storage Type ง. Holding Warehouse

2. ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของคลังสินค้าในระบบโลจิสติกส์

ก. สนับสนุนการปฏิบัติงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ

ข. ลดต้นทุนการผลิต

ค. สนับสนุนการจัดการด้านการตลาด

ง. ประหยัดการขนส่ง

3. ข้อใดเป็นกิจกรรมหลักของคลังสินค้า

ก. การสั่งซื้อ ข. การขนส่ง

ค. การตรวจนับสินค้า ง. การเก็บรักษา

4. ลักษณะพื้นที่ของคลังสินค้าที่มีความถี่ในการขนย้ายไม่มากนัก คือข้อใด

ก. Holding Warehouse ข. Distribution Warehouse

ค. Storage Location ค. Storage Type


ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....2..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 9 ชื่อ การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน...............เวลา.............10.................นาที

5. ข้อมูลที่สำคัญในการจัดการคลังสินค้าได้แก่ข้อใด

ก. จำนวนรายการสินค้าที่เก็บรักษา ข. มูลค่าสินค้าคงคลัง

ค. จำนวนบุคลากร ง. ถูกทุกข้อ

6. ผู้ที่ทำหน้าที่รวบรวมสินค้าเพื่อส่งมอบให้ผู้ประกอบการขนส่งสาธารณะ คือข้อใด

ก. Public or Common Carriers ข. Contract Carrier

ข. Private Transport Operator ง. Freight Forwarder

7. ข้อใดเป็นปัญหาสำคัญของผู้ประกอบการสินค้าทั่วไป

ก. ปัญหาบุคลากร ข. ปัญหาเทคโนโลยี

ค. ปัญหาเงินทุน ง. ถูกทุกข้อ

8. ข้อใดเป็นปัญหาและอุปสรรคของการจัดการโซ่อุปทานของกิจการ

ก. ปัญหาบุคลากร ข. ปัญหาเทคโนโลยี

ค. ปัญหาเงินทุน ง. ปัญหาการประสานงานไม่ดี

9. ข้อใดคือการวิเคราะห์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพในการแข่งขันของธุรกิจ

ก. Value Chain Analysis ข. Logistic Analysis

ค. Transportation Analysis ง. Stock Analysis


ใบทดสอบหลังเรียน แผ่นที่....3..
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
รหัสวิชา 30214-2001 รายวิชา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หน่วยที่ 9 ชื่อ การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน
จำนวน.....6....ชั่วโมง
ชื่อผู้เรียน................................ระดับชั้น................................
เรื่อง....การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน...............เวลา.............10.................นาที

10. ข้อใดเป็นองค์ประกอบแรกของโครงสร้างของสายโซ่แห่งคุณค่า

ก. วัตถุดิบ ข. ทรัพยากรมนุษย์

ค. เทคโนโลยี ง. การจัดหา

เฉลย
1. ง 2.ง 3.ค 4. ก 5. ง 6. ง 7. ง 8. ง 9. ก 10. ก
แบบประเมินผลพฤติกรรมรายบุคคล
ใบงานที่ 9 เรื่อง การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน
กลุ่มที่ ...................
ที่ คะแนน การรับฟัง การเสนอ การยอมรับ การสร้าง รวม ระดับการ
ความคิด ความคิด คนอื่น บรรยากาศ คะแนน มี
เห็น เห็น ในกลุ่ม ส่วนรวม
ชื่อสกุล 5 5 5 5 20
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ระดับของคะแนน
5 = มากที่สุด 4 = ค่อนข้างมาก
3 = ปานกลาง 2 = ค่อนข้างอ่อน
1 = น้อยที่สุด
เกณฑ์การประเมิน 15-20 = มาก
8-14 = ปานกลาง
1-7 = น้อย

ลงชือ่ ...........................................ผู้ประเมิน
การประยุกต์ใช้ระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในการปฏิบัติงาน

คะแนน การนำเสนอผลงาน การบันทึกผลงาน รวม


ขั้นนำ ขัน้ สอน ขั้นสรุป ถูกต้อง เรียบร้อย คะแนน ระดับคุณภาพ
กลุ่มที่ ของผลงาน
10 10 10 10 10 50
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ระดับของคะแนน 8 - 10 = ดีมาก 7 - 8 = ดี
5 – 6 = พอใช้ 0 – 4 = ควรปรับปรุง
เกณฑ์การประเมิน 35 - 50 = ดี
17 - 34 = ปานกลาง
1 - 16 = ควรปรับปรุง

ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
แบบประเมินพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม จริยธรรม
วันที่......เดือน....................พ.ศ. ....................
ชื่อ...............................................นามสกุล.......................................ระดับชั้น.................เลขที่........
แผนก..................................................................คณะ......................................................................

ลำดับ พฤติกรรมที่ประเมิน ระดับคะแนน หมายเหตุ


3 2 1 ความหมายของระดับคะแนน
1 ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และงานที่ได้รับ 3= ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอโดยไม่
มอบหมาย ต้องมีการชี้นำหรือตักเตือน
2 กล้าคิด กล้าทำ และกล้าตัดสินใจด้วยเหตุผล 2= ปฏิบัติบ้างในบางครั้ง
3 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนๆ จากการเชิญชวนหรือชี้นำ
4 เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เสียสละเพื่อส่วนรวม 1= ต้องสั่งบังคับว่ากล่าวหรือ
5 มีวินัยซื่อสัตย์และประหยัด ตักเตือนจึงจะปฏิบัติ หรือมักจะ
6 รู้จักการให้โอกาส ให้อภัย ปฏิบัติในทางที่ผิดเสมอ
7 การยอมรับการปฏิบัติต่อมติของกลุ่ม
8 ไม่เอาเปรียบเพื่อนผู้เรียนด้วยกัน เกณฑ์การประเมิน
9 แสดงกิริยาวาจาสุภาพต่อทุกคน 26-30 คะแนน= ดีมาก
10 แสดงความมีน้ำใจต่อครู/อาจารย์ 21-25 คะแนน= ดี
รวม (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) 16-20 คะแนน= พอใช้
0-15 คะแนน= ควรปรับปรุง

บันทึก
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน

You might also like