หลักการเขียน

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

หลักในการเขียน

A B C หรือ ก ข ค ในการสื่อสารทางวิชาการ
ก. A ได้แก่ ผู้อ่าน (ผู้ฟัง) คือ ข. B หมายถึง Brief แปลว่า ค. C แปลว่า ชัดเจน การเขียน
Audience เป็นเป้าหมาย กระชับ บทความวิจัยมีความสั้น บทความวิจัยต้องเขียนชัดเจนไม่
หมายถึงเอาใจผู้อ่านมาใส่ใจเรา กระชับแต่ได้ใจความ ไม่เขียน คลุมเครือ หรือตีความหมายได้
คือเขียนให้ผู้อ่านรู้เรื่อง ใช้ภาษา ยืดยาด เยิ่นเย้อ ยาวโดยไม่จาเป็น หลายทาง ทาให้ผู้อ่านสับสนไม่
และระดับความรู้พอเหมาะกับ การเขียนยาวนอกจากเสียเวลา แน่ใจว่าผู้เขียนบอกอะไร
ผู้อ่านผู้เขียนต้องพิจารณาพืน้ เขียนและอ่านแล้ว ยังต้องเสียเงิน
ฐานความรู้ของผู้อ่านมา ค่าลงพิมพ์บทความแพงอีกด้วย
ประกอบการเขียน
A อีกนัยหนึ่ง คือ Accurate
หมายถึงมีความถูกต้องแม่นยาใน
การใช้คาพูดและภาษาเขียน
รูปแบบการวางลาดับ
(ตัวอย่าง) บทที่ 3
การทดลองพัฒนาคุณภาพวัสดุ
3.1 ……………………………………
............................................................................................................................................................................. 3
ประการ ดังนี้
3.1.1
3.1.2
3.1.3
1) ……………………………………………………………………….
2) ……………………………………………………………………….
3) ……………………………………………………………………….
3.2 …………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
4 ประการ ดังนี้
3.2.1
1) …………………………. มีประเด็นน่าสนใจ 5 ประการ คือ
(1) ……………………(2) ……………………….(3) ……………………………………
เนื้อหา ตาราง รูปภาพ อะไรเข้าใจง่ายที่สดุ ควรมีหลักการอะไร

เข้าใจง่ายที่สุด.......แต่ไม่อาจแสดงค่าที่แม่นยาได้

แสดงข้อมูลให้เข้าใจง่ายคนอ่านจาก ซ้าย-ขวา บน-ล่าง

ควรมีทั้งเนื้อและน้า

ควรเชื่อมโยงสัมพันธ์

ควรเริ่มเหตุ-ต่อด้วยผล เหตุ ต่อ ด้วย ผล .............. ไปเรื่อยๆ

ทุกประโยคต้องส่งและรับกัน
ปัญหาด้านภาษา
ใช้ภาษาซับซ้อน มีคาเชื่อมมาก เช่น ที่ ซึ่ง และ แต่
หนึ่งย่อหน้า มีหลายประเด็น
หนึ่งหน้ามีเพียงย่อหน้าเดียว
• อ่านเข้าใจยาก
• ภาษาไม่จบในประโยค
• มีแต่ข้อความเป็นเหตุ
ภาษาไม่กระชับ
• อ่าน 10 บรรทัด สรุปได้ 1 บรรทัด
ใช้คาซ้าบ่อย
• เช่น โดย ทาการ มีการ อาจ
ใช้คา ไม่คงที่ ในความหมายเดียวกัน
• ผลิตโดย /ทาโดย /สร้างโดย
• หัตถกรรม /หัตถศิลป์ / ทากับมือ
หลักการสอบความคืบหน้า
การเตรียม
1. เตรียมตัวเอง
2. เตรียมเอกสาร (แล้วแต่กรณี และข้อกาหนดของกรรมการสอบ)
• รายละเอียด ควรแจกล่วงหน้า (ถ้ามี)
• สรุปย่อ อาจแจกวันสอบได้ (บางแห่งไม่ให้เอกสารใดๆ แต่บางแห่งกาหนดให้แจก)
3. เตรียมสื่อ : ใช้เวลา เข้าใจง่าย
• ของจริง
• แผ่นภาพ ขนาดเหมาะสม
• โปรแกรมนาเสนอ
• แผ่นใส
4. การนาเสนอ
• เกริ่นนา บอกชื่อเรื่อง/ความเป็นมา วัตถุประสงค์ / วิธีการ
• ความคืบหน้า สรุป สิ่งที่จะทาต่อ

You might also like