Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 46

ระบบเศรษฐกิจ

ระบบเศรษฐกิจ ประกอบไปด้วยกลุ่มหรื อหน่วยเศรษฐกิจที่เรี ยกว่า “สถาบันเศรษฐกิจ”


และหน่วยครัวเรื อนหรื อเรี ยกกว่า “สถาบันสั งคม” โดยสถาบันเศรษฐกิจนั้นจะประกอบไปด้วย
หน่วยการผลิต การตลาด การเงิน การธนาคาร การลงทุน และการจ้างงาน ซึ่งกำหนดขึ้นเป็ นกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจ ส่ วนสถาบันสังคมนั้น ประกอบด้วย ผูบ้ ริ โภคและกำลังแรงงาน ซึ่ งกำหนดขึ้นเป็ น
พฤติกรรมการบริ โภค โดยเมื่อรวมทั้งสถาบันเศรษฐกิจและสถาบันสังคมเข้าด้วยกัน เรี ยกว่า “ระบ
บเศรษฐกิจ”

หน่ วยเศรษฐกิจ
หน่วยเศรษฐกิจ หมายถึง หน่วยงานที่มีอยูใ่ นแต่ละระบบเศรษฐกิจ ทำหน้าที่เพื่อแก้ไข
ปั ญหาที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจนั้นๆ หน่วยเศรษฐกิจ ประกอบด้วยหน่วยใหญ่ๆ 3 หน่วย คือ
1. ครัวเรือน (Household)
หมายถึง หน่วยเศรษฐกิจที่ประกอบด้วยบุคคลเพียงหนึ่งคน อาศัยโดยลำพังหรื อบุคคล
มากกว่าหนึ่งคนที่อาศัยอยูใ่ ต้หลังคาเดียวกัน มีการตัดสิ นใจร่ วมกันในการใช้ทรัพยากรหรื อปั จจัย
ทางด้านการเงิน เพื่อให้เกิดประโยชน์และสวัสดิการแก่กลุ่มของตนมากที่สุด สมาชิกของครัวเรื อน
อาจเป็ นเจ้าของปัจจัยการผลิต เป็ นแรงงาน เป็ นนักธุรกิจ หรื อเป็ นผูป้ ระกอบการให้กิจการใดกิจการ
หนึ่งก็ได้ ดังนั้น หน้าที่ของหน่วยครัวเรื อนก็คือ การใช้จ่ายเงินที่ได้จากการขายปั จจัยการผลิต
การให้แรงงานและการเป็ นผูป้ ระกอบการไปในการบริ โภคสิ นค้าและบริ การต่างๆ ในขณะเดียวกัน
ก็หารายได้จากกิจการเหล่านั้น ถ้าสมาชิกของครัวเรื อนนำปัจจัยการผลิตทีเ่ ป็ นทีด่ นิ ไปให้แก่ผผู้ ลิตใช้
ก็จะได้ค่าเช่า ถ้าสมาชิกผูน้ ้ นั ไปรับจ้างทำงานก็จะได้รับค่าตอบแทนที่เรี ยกว่า ค่ าจ้ าง ถ้าสมาชิกของ
ครัวเรื อนนั้นมีเงินสะสมแล้วนำไปให้ผอู ้ ื่นกูเ้ พื่อไปประกอบกิจการ สิ่ งที่ได้รับจากการใช้เงิน
จำนวนนั้นก็คอื ดอกเบีย้ แล้วถ้าบุคคลนั้นเป็ นผูป้ ระกอบการเองเขาก็จะได้รบั ค่าตอบแทนในรูปของ กำไร
เป้ าหมายหลักของครัวเรื อนอาจกล่าวได้วา่ คือ การแสวงหาความพอใจสู งสุ ดของสมาชิก
แต่ละคนในครัวเรื อน หรื อถ้ามองในแง่ส่วนรวมแล้วสิ่ งที่สมาชิกทุกคนจะพยายามทำก็คือ
การแสวงหาสวัสดิการที่ดีที่สุดเพื่อให้ทุกคนอยูด่ ว้ ยความสุ ข ความพอใจ และบรรลุเป้ าหมายของ
กลุ่มได้

2. ธุรกิจหรือบริษทั (Business of Firm)


หมายถึง บุคคลหรื อกลุ่มบุคคลที่ท ำหน้าที่เอาปั จจัยการผลิตต่างๆ มาผลิตเป็ นสิ นค้า
สำเร็ จรู ปและบริ การ แล้วนำไปขายให้แก่ผบู ้ ริ โภคที่อยูใ่ นหน่วยอื่นๆ เช่น หน่วยธุรกิจด้วยกัน
หน่วยครัวเรื อนและองค์การรัฐบาล หน่วยธุรกิจ ประกอบด้วยสมาชิกใหญ่ๆ 2 กลุ่ม คือ ผูผ้ ลิต
(Producers) และผูข้ าย (Sellers) ซึ่ งบุคคลทั้งสองกลุ่มนี้อาจจะทำหน้าที่ท้ งั สองอย่างก็ได้ กล่าวคือ
ผูผ้ ลิตบางคนอาจทำหน้าที่เป็ นผูข้ าย โดยการนำเอาสิ นค้าของตนที่ผลิตได้ไปขายโดยตรงให้กบั ผู ้
บริ โภค เช่น เจ้าของสวนผลไม้อาจนำผลไม้ในไร่ ของตนไปขายให้แก่ผบู ้ ริ โภค หรื อผูผ้ ลิตสิ นค้า
บางชนิดอาจไม่ตอ้ งการขายสินค้าของตนผ่านคนกลาง จึงนำสิ่งทีต่ นผลิตได้ไปขายแก่ผบู้ ริ โภคโดยตรง
ในทำนองเดียวกันผูข้ ายบางคนอาจเป็ นผูผ้ ลิตด้วย ตัวอย่างที่เห็นได้ชดั คือ พ่อค้าขายไอศกรี มแท่ง
เป็ นผูท้ ำเองแล้วก็ขายเองโดยไม่ตอ้ งขายผ่านคนอื่น
เป้ าหมายที่สำคัญของหน่วยธุรกิจก็คือ การแสวงหากำไรสู งสุ ดจากการประกอบการ
ของตนหรื อกล่าวอีกนัยหนึ่ง หน่วยธุรกิจต้องการได้รับผลตอบแทนในอัตราสู งสุ ดจากการลงทุน
ในกิจการใดกิจการหนึ่ง ซึ่ งการแสวงหากำไรสู งสุ ดนี้ อาจกระทำได้หลายวิธี เช่น การพยายามขาย
ให้ได้มากที่สุด การขยายส่ วนแบ่งของตลาด (Market Share) ให้มากขึ้น ตลอดจนการกระทำใดๆ
ที่ช่วยให้สินค้าของตนเป็ นที่ตอ้ งการของผูบ้ ริ โภคมากกว่าสิ นค้าของผูข้ ายรายอื่นๆ
3. องค์กรรัฐบาล (Government Organization)
หมายถึง หน่วยงานของรัฐหรื อว่าส่วนราชการต่างๆ ทีจ่ ดั ตั้งเพือ่ การดำเนินการของรัฐบาล
องค์การรัฐบาลมีท้ งั ฝ่ ายนิติบญั ญัติ ฝ่ ายตุลาการ และฝ่ ายบริ หาร ซึ่ งแต่ละฝ่ ายย่อมมีสมาชิกต่างๆ
จำนวนมากที่มีหน้าที่แตกต่างกันและอยูใ่ นที่ต่างๆ กัน นอกจากนี้สถาบันที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นเพื่อ
ประกอบกิจการต่างๆ ก็ถือว่าเป็ นหน่วยในองค์การรัฐบาล
องค์การรัฐบาล มีหน้าทีแ่ ละความสัมพันธ์กบั หน่วยอืน่ ๆ ในระบบเศรษฐกิจ เช่น เป็ นผูท้ ่ี
เรี ยกเก็บภาษีจากหน่วยครัวเรื อนในรูปของภาษีเงินได้และหน่วยธุรกิจในรูปของภาษีการค้าและอืน่ ๆ ใน
ขณะเดียวกันก็เป็ นผูท้ ใ่ี ห้ความคุม้ ครองป้ องกันภยันตราย ตลอดจนตัดสินข้อพิพาทต่างๆ ระหว่างสมาชิก
ในหน่วยเศรษฐกิจอื่นๆ นอกจากนี้ ยงั เป็ นผูบ้ ริ โภคและเป็ นเจ้าของปั จจัยการผลิตด้วย

การหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ
หน่วยต่างๆ ในระบบเศรษฐกิจดังกล่าวมาแล้วย่อมมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน มากบ้าง
น้อยบ้างตามความแตกต่างของแต่ละระบบเศรษฐกิจ เนื่องจากว่าบทบาทของหน่วยเศรษฐกิจทีเ่ รี ยกว่า
องค์การรัฐบาลมักจะมีมากในระดับประเทศ ซึ่ งจะได้มีการกล่าวในภาคมหเศรษฐศาสตร์ ดังนั้น
ในการกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยเศรษฐกิจต่อไปนี้ จะได้กล่าวเฉพาะหน่วยเศรษฐกิจทีเ่ หลืออีก
2 หน่วย คือ ครัวเรื อนและธุรกิจ โดยอาจอนุโลมว่าองค์การรัฐบาลจะทำหน้าที่เป็ นผูบ้ ริ โภค ผูผ้ ลิต
หรื อเจ้าของปัจจัยการผลิต เสมือนหนึ่งว่าเป็ นส่ วนหนึ่งของครัวเรื อนและหน่วยธุรกิจ
การแสดงความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยต่างๆ ในระบบเศรษฐกิจมักจะแสดงด้วย กระแสการ
หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ (Circular Flows) ซึ่ งแสดงการหมุนเวียนหรื อการไหลของสิ่ งของ
จากหน่วยเศรษฐกิจหนึ่งไปยังอีกหน่วยเศรษฐกิจหนึ่ง เพื่อชี้ให้เห็นว่าแต่ละหน่วยเศรษฐกิจได้หรื อ
ให้อะไรแก่กนั ในการดำเนินกิจการต่างๆ ในการแสดงความสัมพันธ์น้ ี อาจแบ่งออกเป็ นสองประเภท
ใหญ่ๆ คือ
1. กระแสการหมุนเวียนทีไ่ ม่ ใช่ ตัวเงิน ในระบบเศรษฐกิจโดยการแลกเปลี่ยนที่ได้กล่าวมา
แล้ว หน่วยเศรษฐกิจที่เรี ยกว่าครัวเรื อน ซึ่ งเป็ นเจ้าของทรัพยากรต่างๆ นำเอาทรัพยากรเหล่านั้น
ไปแลกกับสิ่งของอืน่ ๆ จากหน่วยเศรษฐกิจอืน่ เช่น หน่วยธุรกิจนำเอาสินค้าหรื อบริ การทีต่ นผลิตได้
ไปแลกกับทรัพยากรหรื อวัตถุดิบจากหน่วยครัวเรื อนมาผลิตสิ นค้าอื่นๆ อีก ลักษณะความสัมพันธ์
ดังกล่าวเกิดขึ้นโดยมิได้อาศัยสื่ อกลางในการแลกเปลี่ยน แต่เป็ นการแลกเปลี่ยนสิ่ งของต่อสิ่ งของ
หรื อสิ่ งของต่อบริ การ ดังรู ป

สิ นค้าสำเร็ จรู ปและบริ การ

ครัวเรื อน ธุรกิจ

ทรัพยากรหรื อปั จจัยการผลิต


(ที่ดิน แรงงาน ทุน การประกอบการ)
รู ปแสดงกระแสการหมุนเวียนในกรณีการแลกเปลีย่ นสิ่ งของต่ อสิ่ งของ

จากรู ป จะเห็นได้วา่ ครัวเรื อนเป็ นฝ่ ายจัดหาทรัพยากรที่เรี ยกว่าปั จจัยการผลิต ซึ่ งตนเอง
ครอบครองหรื อเป็ นเจ้าของนำไปเสนอขอแลกเปลีย่ นกับสินค้าสำเร็จรูปหรื อบริ การจากหน่วยธุรกิจ ส่ วน
หน่วยธุรกิจนั้นก็เพียงแต่น ำเอาสิ นค้าสำเร็ จรู ปหรื อบริ การที่ตนเองผลิตหรื อมีไว้ แลกเปลี่ยนกับ
ปัจจัยการผลิตจากหน่วยครัวเรื อน การแลกเปลีย่ นนั้นแล้วแต่ความพอใจและการตกลงใจของทั้งสองฝ่ ายที่
เกีย่ วข้อง ซึ่งบางครั้งอาจมีปัญหาเนื่องจากสิ่งทีจ่ ะนำมาแลกเปลีย่ นกันนั้นอาจไม่ใช่ส่ิงทีฝ่ ่ ายหนึ่งฝ่ ายใด
ต้องการ หรื อบางครั้งก็มปี ัญหาเนื่องจากสิ่งทีจ่ ะนำมาแลกเปลีย่ น ตลอดจนปัญหาอืน่ ๆ ดังได้กล่าวมาแล้ว
การแลกเปลี่ยนแบบนี้ จึงค่อยๆ เสื่ อมความนิยมลงและหันมาใช้สื่อกลางในการแลกเปลี่ยน
2. กระแสการหมุนเวียนทีเ่ ป็ นตัวเงิน (Monetary Circular Flows) การแลกเปลีย่ นในระบบนี้
เป็ นการนำเอาสิ่ งของหรื อบริ การไปแลกเป็ นตัวเงินก่อน แล้วจึงนำเงินที่ได้ไปแลกเปลี่ยนหรื อซื้ อ
สิ่ งของหรื อบริ การที่ตนต้องการ ซึ่ งย่อหมายความว่า เงินนั้นเป็ นแต่เพียงสื่ อกลางในการแลกเปลี่ยน
สิ่ งของต่อสิ่ งของเท่านั้น เพราะวัตถุประสงค์ของทั้งสองฝ่ ายก็คือ การแลกเปลี่ยนสิ่ งของที่ตนมีอยู่
กับสิ่ งที่ตนต้องการแต่ไม่มี มิใช่เป็ นการแลกสิ่ งของมาเป็ นตัวเงินแล้วเก็บไว้เฉยๆ โดยไม่น ำไปซื้ อ
สิ่งของต่างๆ ดังนั้น ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยเศรษฐกิจในระบบทีม่ กี ารใช้เงินเป็ นสื่อกลางในการแลก
เปลี่ยน
เงินที่จ่ายในการซื้ อสิ นค้าอุปโภคบริ โภค

สิ นค้าสำเร็ จรู ปและบริ การ

ครัวเรื อน ธุรกิจ

ปั จจัยการผลิต
ค่าเช่า ค่าจ้าง ดอกเบี้ย กำไร
รู ปแสดงกระแสการหมุนเวียนในกรณีของการใช้ เงิน
จะเห็นว่าความสัมพันธ์ระหว่างครัวเรื อนและหน่วยธุรกิจก็คงเป็ นไปเช่นเดียวกับกระแส
การหมุนเวียน ในกรณี การแลกเปลี่ยนสิ่ งของต่อสิ่ งของ (Barter System) เพียงแต่วา่ มีการนำเอาสื่ อ
กลางในการแลกเปลี่ยนเข้ามาใช้ นัน่ คือ เมื่อครัวเรื อนนำเอาปั จจัยการผลิตไปขายให้แก่หน่วยธุรกิจ
ก็จะได้คา่ ตอบแทนการเป็ นเจ้าของปัจจัยการผลิตนั้นในรูปของค่าเช่า ค่าจ้าง ดอกเบี้ย และกำไรจากหน่วย
ธุรกิจ ค่าตอบแทนที่ได้รับนี้ แตกต่างจากกรณี ของการแลกเปลี่ยนสิ่ งของต่อสิ่ งของ
เพราะใช้บริ โภคโดยตรงไม่ได้ จำเป็ นต้องนำไปแลกเปลี่ยนกับสิ่ งของหรื อบริ การที่สามารถบริ โภค
หรื อใช้โดยตรงจากหน่วยเศรษฐกิจอื่นซึ่ งก็คือหน่วยธุรกิจ ดังนั้น หน่วยครัวเรื อนก็จะนำเงินที่ได้
จากการขายปัจจัยการผลิตให้แก่หน่วยธุรกิจไปซื้ อสิ นค้าสำเร็ จรู ปหรื อบริ การจากหน่วยเศรษฐกิจดัง
กล่าว การแลกเปลี่ยนก็จะครบวงจร กล่าวคือ ครัวเรื อนก็จะได้สินค้าสำเร็ จรู ปหรื อบริ การและหน่วย
ธุรกิจก็จะได้ปัจจัยการผลิตเพือ่ นำมาผลิตสินค้าสำเร็จรูปและบริ การอีกดังต้องการ ทุกฝ่ ายก็จะได้สิ่งที่ตน
ประสงค์และสามารถหลีกเลี่ยงปัญหาความยุง่ ยากในการเทียบสิ่ งของต่อสิ่ งของที่เกิดขึ้น
ในระบบที่แลกเปลี่ยนสิ่ งของต่อสิ่ งของโดยตรง
กระแสการหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจที่กล่าวมาแล้วเป็ นแบบง่ายๆ ที่เกิดขึ้นในระบบ
เศรษฐกิจทีไ่ ม่สลับซับซ้อนนัก ถ้าเป็ นระบบเศรษฐกิจทีอ่ าศัยตลาดเป็ นแหล่งกลางของการดำเนินธุรกิจ ก็
อาจจะแสดงกระแสการหมุนเวียนแบบที่มีท้ งั ตลาดสิ นค้า และตลาดปั จจัยการผลิต

เงินที่จ่ายในการซื้ อสิ นค้าอุปโภคบริ โภค

ตลาดสิ นค้า

สิ นค้าสำเร็ จรู ปและบริ การ

ครัวเรื อน ธุรกิจ

ปั จจัยการผลิต

ตลาดปั จจัยการผลิต

ค่าเช่า ค่าจ้าง ดอกเบี้ย กำไร


กระแสการหมุนเวียนของตลาดสิ นค้ าและตลาดปัจจัยการผลิต
ในกรณีที่ใช้ เงินเป็ นสื่ อกลางในการแลกเปลีย่ น

ถ้าในระบบเศรษฐกิจที่ตลาดมีบทบาทสำคัญในการแลกเปลี่ยนสิ นค้าหรื อปั จจัยการผลิต


ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยต่างๆ ในระบบเศรษฐกิจก็จะเกิดขึ้นดังลักษณะทีแ่ สดงไว้ในรูป กล่าวคือ ใน
วงจรภายใน เมื่อหน่วยธุรกิจผลิตสิ นค้าและบริ การแล้วนำไปไว้ที่ตลาดสิ นค้าโดยอาจดำเนินการขาย
เองหรื อขายต่อให้แก่คนกลางที่ท ำหน้าที่รับสิ นค้าจากผูผ้ ลิตเพื่อไว้ขายให้แก่ผบู ้ ริ โภค ดังนั้น หน่วย
ธุรกิจก็จะแลกสิ นค้าของตนกับเงินจากตลาดสิ นค้า แล้วก็น ำเงินที่ได้น้ นั ไปซื้ อปั จจัยการผลิตจาก
ตลาด ปัจจัยการผลิตซึ่ งทำหน้าที่คล้ายๆ กับตลาดสิ นค้า คือรับซื้ อปั จจัยการผลิตจากเจ้าของปัจจัย
การผลิตแล้วขายต่อให้แก่หน่วยธุรกิจเพือ่ นำไปผลิตสินค้าสำเร็จรูปและบริ การต่างๆ ส่วนหน่วยครัวเรื อน
นั้นจะนำปัจจัยการผลิตมาขายให้แก่หน่วยธุรกิจโดยผ่านตลาดปั จจัยการผลิตแล้วนำเงินที่ได้ไปซื้อ
สินค้าสำเร็จรูปและบริ การจากตลาดสินค้า ซึ่งทำหน้าทีค่ นกลางเชื่อมระหว่างหน่วยครัวเรื อนและหน่วย
ธุรกิจ ดังนั้น กระบวนการดังกล่าวก็ช่วยให้ทุกฝ่ ายบรรลุเป้ าหมายและได้รับสิ่ งที่ตนต้องการ เพียง
แต่วา่ มีตลาดเกิดขึ้นเพื่อช่วยให้การซื้ อขายแลกเปลี่ยนเกิดความสะดวกยิง่ ขึ้น เพราะทั้งผูซ้ ้อื และผูข้ าย
รูว้ า่ จะไปหาสิ่งของทีต่ นต้องการได้จากสถานทีใ่ ด เป็ นการประหยัดเวลาทีต่ อ้ งออกไปเที่ยวหาผูท้ ี่มีสิ่งที่
ตนต้องการและต้องการสิ่ งที่ตนมี อย่างไรก็ตาม การที่มีตลาดเกิดขึ้น ผลดีกค็ ือ
จะช่วยให้ความสะดวกแก่ผซู้ ้ื อและผูข้ าย แต่ผซู ้ ้ื อก็ตอ้ งจ่ายค่าตอบแทนให้แก่คนกลางในรู ปของการ
ซื้ อสิ นค้าที่แพงขึ้น และในทำนองเดียวกัน ผูข้ ายก็ตอ้ งแบ่งกำไรส่ วนหนึ่งให้แก่คนกลางเพื่อ
ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายที่ตอ้ งขายสิ นค้าของตนให้แก่ผบู ้ ริ โภคโดยตรง
เท่าที่กล่าวมา เป็ นการแสดงกระแสการหมุนเวียนในด้านหน่วยต่างๆ ในระบบเศรษฐกิจ
ถ้าจะมองในด้านตัวบุคคลในหน่วยต่างๆ นั้น ก็สามารถแสดงความสัมพันธ์ระหว่างผูบ้ ริ โภค ผูผ้ ลิต
และเจ้าของปัจจัยการผลิตในลักษณะคล้ายๆ กับที่ได้แสดงไว้ขา้ งต้นนี้ กล่าวคือ เพียงแต่เปลี่ยน
หน่วยครัวเรื อนเป็ นผูบ้ ริ โภคและเจ้าของปั จจัยการผลิต และเปลี่ยนหน่วยธุรกิจเป็ นผูผ้ ลิต
ส่ วนความสัมพันธ์กย็ งั คงเหมือนที่ได้อธิ บายมาดังกรณี ไม่ใช้เงินเป็ นสื่ อกลาง และในกรณี ที่ใช้เงิน
เป็ นสื่ อกลางในการแลกเปลี่ยน

สิ นค้าสำเร็ จรู ปและบริ การ

ผูบ้ ริ โภค ผูผ้ ลิต


เจ้าของปัจจัยการผลิต

ทรัพยากรหรื อปั จจัยการผลิต


กระแสการหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจของบุคคลต่ างๆ กรณีไม่ ใช้ เงินเป็ นสื่ อกลาง

เงินที่จ่ายในการซื้ อสิ นค้าอุปโภคบริ โภค


สิ นค้าสำเร็ จรู ปและบริ การ

ครัวเรื อน ธุรกิจ
ทรัพยากรหรื อปั จจัยการผลิต
ค่าเช่า ค่าจ้าง ดอกเบี้ย และกำไร
แสดงกระแสการหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจของบุคคลต่ างๆ กรณีใช้ เงินเป็ นสื่ อกลาง
ระบบเศรษฐกิจ
โดยทัว่ ไปเราแบ่งระบบเศรษฐกิจออกเป็ น 3 ลักษณะใหญ่ คือ
1. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมหรือเสรีนิยม
(Capitalism or Free Enterprise Economic System)
เป็ นระบบเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นมานาน เป็ นที่นิยมหลายประเทศ ส่ วนมากอยูใ่ นประเทศ
ทางยุโรปตะวันตกและอเมริ กา ในระบบนี้ ทุกคนสามารถมีกรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์สินและมีเสรี ภาพ
ในการดำเนินการหรื อเลือกประกอบอาชีพ โดยอาศัยกลไกราคาและระบบการแข่งขันเป็ นเครื่องช่วย
ในการตัดสิ นใจในการผลิต (Production) แปรรู ป (Processing) และจำหน่าย (Distribution) โดยที่
ทุกคนต่างก็มุ่งหวังที่จะได้สิ่งของต่างๆ ที่ตนต้องการโดยได้รับผลตอบแทนมากที่สุด สำหรับผูผ้ ลิต
และให้ได้รับความพึงพอใจมากที่สุดสำหรับผูบ้ ริ โภค อย่างไรก็ตาม กิจการบางอย่างต้องขออนุญาต
จากรัฐบาลในการขอกรรมสิ ทธิ์ เช่น การขอสัมปทานป่ าไม้หรื อเหมืองแร่ เป็ นต้น
ระบบเศรษฐกิจแบบเสรี นิยม ในทางปฏิบตั ิมกั มีปัญหาในเรื่ องประสิ ทธิ ภาพ ความ
เสมอภาค ความไม่มีเสถียรภาพ ปัญหาทางสังคมและสิ่ งแวดล้อม
2. ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (Socialism or Socialistic Economic System)
หมายถึง ระบบเศรษฐกิจที่รัฐบาลมีกรรมสิ ทธิ์ หรื อเป็ นเจ้าของ และเข้าดำเนินการ
ในบางส่ วนหรื อทั้งหมดของทุน (ปัจจัยการผลิต) ที่มีอยูใ่ นระบบเศรษฐกิจ โดยมิได้มีการแจกแจง
ความแตกต่างระหว่างวิธีการต่างๆ ที่รัฐบาลจะใช้เพื่อให้ได้มาซึ่ งการควบคุมทรัพย์สินเหล่านั้น
หรื อมีการกล่าวถึงความรุ นแรงของอำนาจที่รัฐจะใช้กบั ผูผ้ ลิตหรื อผูบ้ ริ โภค ดังนั้น ระบบเศรษฐกิจ
แบบสังคมนิยมจึงรวมไปถึงแบบที่รู้จกั กันทัว่ ไปว่า แบบคอมมิวนิสต์ (Communism)
อย่างไรก็ตาม ความหมายทีแ่ คบกว่าของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมก็คอื เป็ นระบบ
เศรษฐกิจแบบหนึ่งซึ่ งรัฐบาลเป็ นเจ้าของหรื อเข้ามาดำเนินการในบางอุตสาหกรรมหลัก หรื อ
อุตสาหกรรมบางชนิดทีม่ คี วามสำคัญต่อสังคมส่วนรวม ซึ่งย่อมหมายความว่า รัฐบาลได้เข้าดำเนินการ
หรื อได้กรรมสิทธิ์ในอุตสาหกรรมดังกล่าว โดยความสมัครใจและถูกต้องตามกฎหมาย มิได้เข้าทำการยึด
โดยพลการหรื อโดยอาศัยอำนาจ แต่อาจใช้วธิ ีการซื้อจากเอกชนหรื อการก่อสร้างโรงงานด้วยเงินทุนของ
รัฐบาลเองที่ได้จากเงินภาษีอากรหรื อจากเงินกูย้ มื จากประชาชนทัว่ ไป กรรมวิธีต่างๆ อาจอาศัย
กลไกของระบบเสรี นิยม นัน่ คือการใช้ราคาและระบบการทำงานของตลาด ดังนั้น สังคมนิยมแบบนี้จึง
มีชื่อว่า สังคมนิยมแบบประชาธิปไตย (Democratic Socialism) หรือ สั งคมนิยมแบบเฟเบียน
(Fabian Socialism) ซึ่งเป็ นระบบสังคมนิยมทีแ่ พร่ หลายในประเทศอังกฤษในราวปลายคริ สตศตวรรษ
ที่ 19
ลักษณะสำคัญของระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมแบบประชาธิ ปไตยก็คือ มีจุดมุ่งหมาย
ที่จะได้มาซึ่ งกรรมสิ ทธิ์ หรื อเข้าดำเนินการในอุตสาหกรรมสำคัญและอุตสาหกรรมพื้นฐานทั้งหมด
เช่น สิ่ งสาธารณูปโภค อันได้แก่ การขนส่ ง การคมนาคม การไฟฟ้ า น้ำประปา โทรศัพท์ ตลอดจน
อุตสหกรรมขนาดใหญ่บางอย่าง โดยที่รัฐบาลจะไม่เข้าดำเนินการในอุตสาหกรรมทุกประเภท
หรื อควบคุมวิถีทางการผลิตของอุตสาหกรรมเหล่านั้น นัน่ คือการเกษตรกรรม การค้าปลีกและค้าส่ ง
การบริ การและการผลิตขนาดเล็ก ยังคงปล่อยให้เอกชนทำจนกว่าจะถึงเวลาที่รัฐบาลจำเป็ นต้องเข้า
ดำเนินการในธุรกิจเหล่านั้น ลักษณะทีส่ ำคัญอีกประการหนึ่งของระบบเศรษฐกิจแบบนี้กค็ อื ผูบ้ ริ โภค
มีอิสระเสรี ในการเลือกซื้ ออะไรก็ได้ที่ตนต้องการ โดยรัฐบาลจะพยายามจัดสวัสดิการต่างๆ ให้กบั
ประชาชน เช่น การจัดให้มสี ถานพยาบาล อันได้แก่ สถานีอนามัยและโรงพยาบาล การมีประกันสังคม ซึ่ง
รายจ่ายทางด้านนี้รฐั บาลได้จากการจัดเก็บภาษีในอัตราค่อนข้างสูงเพือ่ สามารถขยายโครงการเหล่านี้ แต่
อย่างไรก็ตาม กิจการต่างๆ ทีร่ ฐั บาลเป็ นผูด้ ำเนินการมักจะพยายามให้สามารถพึ่งตัวเองได้ (Self –
supporting) โดยมีจดุ มุง่ หมายทีจ่ ะให้ความพึงพอใจสูงสุดแก่ประชาชนมากกว่าเพือ่ หวังผลกำไรสูงสุดจาก
การดำเนินงานนั้น
การดำเนินการของระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมแบบประชาธิปไตยมักอาศัย หน่วยวางแผน
ส่ วนกลาง (Centrally Planned Unit) เช่น ในอุตสาหกรรมที่รัฐบาลเข้าดำเนินการที่อาจเรี ยกว่า
รัฐวิสาหกิจ (Public Enterprises) สภาหรื อคณะกรรมการจะเป็ นผูต้ ดั สินใจว่าจะผลิตสินค้าและบริ การ
อะไรในปริ มาณแค่ไหน และขายในราคาเท่าใด ตัวอย่างเช่น การกำหนดอัตราค่าโดยสารรถไฟหรื อ
ค่าไฟฟ้ า เนื่องจากว่าธุรกิจจำนวนมากยังเป็ นการดำเนินการโดยเอกชน และผูบ้ ริ โภคสามารถเลือกซื้อ
สินค้าอะไรก็ได้ตามกำลังเงินและความต้องการ ดังนั้นกลไกราคาและระบบตลาดก็ยงั คงมีอยู่ แต่รฐั บาล
อาจเข้าควบคุมหรื อกำหนดราคาสิ นค้าบางชนิดที่เกี่ยวข้องกับประชาชนส่ วนใหญ่ของประเทศ
กำไรซึ่ งถือเป็ นแรงจูงใจที่สำคัญในระบบเศรษฐกิจแบบเสรี นิยมอาจไม่ใช่เป้ าหมายหลักของ
อุตสาหกรรมหลายชนิดในระบบเศรษฐกิจแบบนี้
ยังมีรูปแบบของหน่วยเศรษฐกิจอืน่ ทีม่ ลี กั ษณะใกล้เคียงกับระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม คือ รัฐ
สวัสดิการ
รัฐสวัสดิการ (Welfare State) เป็ นรูปแบบหนึ่งทีถ่ อื ว่ารัฐบาลมีหน้าทีใ่ นการจัดหาสวัสดิการ
ต่างๆ ให้แก่ประชาชน เพื่อให้มีความเป็ นผูไ้ ม่ดอ้ ยไปกว่าระดับต่ำสุ ดของมาตรฐานการครองชีพ
(Minimum Standard of Living) ที่ทุกคนควรได้รับ โดยทัว่ ไปสิ่ งที่รัฐสวัสดิการจัดหาให้แก่
ประชาชน มักได้แก่ โครงการช่วยเหลือในยามว่างงาน การให้การรักษาพยาบาลในยามเจ็บป่ วย และการ
ให้การดูแลเลี้ยงดูในยามชรา อย่างไรก็ตาม ยังมีโครงการอื่นๆ ที่รัฐมักจะจัดหาให้สำหรับประชาชน
ทีอ่ ยูใ่ นรัฐสวัสดิการ เช่น การประกันค่าแรงขั้นต่ำ การกำหนดอายุข้นั ต่ำสำหรับแรงงานเด็ก การพยุงราคา
สิ นค้าเกษตรและสิ นค้าอื่นๆ การรักษาเสถียรภาพของราคาสิ นค้าทัว่ ๆ ไป การให้เงินอุดหนุนแก่ผู ้
ผลิต การให้เงินช่วยเหลือแก่ผบู้ ริ โภคในบางกรณี ตลอดจนการจัดหาบ้านพักอาศัยราคาต่ำและการ
ให้บริ การทางการศึกษาในระดับต่างๆ แก่ประชาชน เป็ นต้น
ตัวอย่างโครงการต่างๆ ที่มีอยูใ่ นรัฐสวัสดิการที่เน้นทางด้านการจัดสวัสดิการต่างๆ ให้แก่
ประชาชน ชี้ให้เห็นถึงความเกีย่ วพันระหว่างรัฐบาลและเอกชน เช่น การปรับปรุงแหล่งเสื่อมโทรม
โดยการจัดให้มโี ครงการเคหะสงเคราะห์ อาจให้ผรู้ บั เหมาก่อสร้างจากภาคเอกชนเป็ นผูป้ ระมูลงานนั้นไป
ทำ ซึ่งทำให้บางคนคิดว่าโครงการดังกล่าวของรัฐบาลมีส่วนเข้าไปแข่งขันกับธุรกิจการจัดสรรทีด่ นิ และ
การก่อสร้างที่อยูอ่ าศัยของภาคเอกชน หรื อโครงการประกันสุ ขภาพและการรักษาพยาบาล
ของรัฐบาลก็อาจเข้าไปแย่งลูกค้าของบริ ษทั ประกันต่างๆ หรื อแม้แต่การจัดการศึกษาของรัฐในรู ป
ของการเปิ ดสถานที่ศึกษาแก่ประชาชนโดยไม่เสี ยค่าใช้จ่าย หรื อเสี ยค่าใช้จ่ายเพียงเล็กน้อย ก็มีส่วน
ทำให้ผทู้ ี่จะเข้าศึกษาในสถานที่ศึกษาของเอกชนลดลง
บางคนเข้าใจว่ารัฐสวัสดิการและระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมคือสิ่งเดียวกัน ซึ่งความเข้าใจ
เช่นนี้ไม่ถูกต้องนัก ทั้งนี้เพราะแม้วา่ โดยทัว่ ๆ ไป จุดประสงค์อนั หนึ่งของระบบเศรษฐกิจแบบ
สังคมนิยมก็คือ การมีโครงการสวัสดิการทางสังคมแก่พลเมืองของประเทศ แต่กไ็ ม่ควรจะสรุ ปว่า
การจัดให้มสี วัสดิการเช่นนั้น คือสิ่งทีน่ ำไปสู่ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม แม้วา่ แต่ละระบบอาจจัดให้มี
สวัสดิการในรู ปแบบที่แตกต่างกันมากบ้างน้อยบ้าง เช่น ในประเทศสหรัฐอเมริ กาซึ่ งถือว่าเป็ นรัฐ
สวัสดิการด้วยนั้น เป็ นประเทศประชาธิปไตยทีเ่ น้นระบบเศรษฐกิจแบบเสรี นิยม มีโครงการต่างๆ
มากมายทีน่ อกเหนือจากสิ่งทีก่ ล่าวมาแล้วข้างต้น ก็ยงั มีโครงการอืน่ ๆ ได้แก่ โครงการช่วยเหลือบุคคล
ที่บกพร่ องด้วยสาเหตุต่างๆ ตลอดจนโครงการการศึกษาผูใ้ หญ่และการฝึ กฝนอาชีพ เป็ นต้น
ประเทศสวีเดนซึ่งได้รบั การจัดให้อยูใ่ นประเทศรัฐสวัสดิการ เป็ นประเทศหนึ่งทีม่ โี ครงการทาง
สวัสดิการทางสังคมมากมายสำหรับพลเมืองของตน ยกตัวอย่างเช่น
1. ระบบเงินบำนาญซึ่ งจะจ่ายให้แก่พลเมืองทุกคนที่มีอายุต้ งั แต่ 67 ปี ขึ้นไป
2. โครงการประกันสุ ขภาพให้แก่ทุกคนที่อาศัยอยูใ่ นประเทศ ให้ได้รับการรักษาพยาบาล
เมื่อเจ็บป่ วยต้องเข้าโรงพยาบาลโดยไม่ติดมูลค่า การให้เงินช่วยเหลือกรณี รักษาในคลีนิคเอกชน
การจ่ายเงินค่าชดเชยการเจ็บป่ วย เงินช่วยเหลือการคลอดบุตร การดูแลรักษาฟันให้แก่เด็กๆ โดยไม่คดิ ค่า
ใช้จา่ ย การให้เงินช่วยเหลือบางส่วนสำหรับค่ารักษาโรคฟันแก่ผใู้ หญ่ ตลอดจนผลประโยชน์อน่ื ๆ อีก
มากมายที่เกี่ยวข้องทางด้านสุ ขภาพของประชาชน
3. โครงการประกันการว่างงาน (ในรู ปของการช่วยเหลือในยามตกงาน) และการจัดหา
อาชีพให้แก่ประชาชน
4. โครงการสวัสดิการทางครอบครัวเพื่อลดภาระในเรื่ องบุตร (เช่น การให้เงินช่วยเหลือ
สำหรับบุตรทุกคนที่มีอายุต ่ำกว่า 16 ปี การให้บริ การซักเสื้ อผ้าโดยไม่คิดมูลค่า การจัดให้มีการดูแล
เลี้ยงดูเด็กเล็กสำหรับมารดาที่ตอ้ งออกไปทำงาน เป็ นต้น)
5. การเคหะสงเคราะห์ในรู ปของบ้านจัดสรรราคาต่ำ การช่วยเหลือค่าเช่าบ้านสำหรับ
ครอบครัวที่มีรายได้นอ้ ยที่มีบุตรตั้งแต่สองคนขึ้นไป
เท่าที่กล่าวมาพอจะสรุ ปได้วา่ ประเทศที่เป็ นรัฐสวัสดิการไม่จ ำเป็ นต้องเป็ นประเทศที่มี
ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมเสมอไป แม้วา่ ในประเทศที่เป็ นสังคมนิยมจะจัดให้มีสวัสดิการต่างๆ
แก่พลเมืองของประเทศ แต่นนั่ เป็ นเพียงส่ วนหนึ่งของระบบเศรษฐกิจดังกล่าว รัฐสวัสดิการอาจมี
ลักษณะใกล้เคียงหรื อเป็ นระบบเศรษฐกิจแบบเสรี นิยมก็ได้ ในแง่ทม่ี กี ารส่งเสริ มให้มกี ารดำเนินธุรกิจโดย
เสรี รัฐสวัสดิการอาจมีลกั ษณะคล้ายกับประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมที่เน้นสวัสดิการ
หรื อความอยูด่ ีกินดีของคนส่ วนใหญ่ที่บางครั้งรัฐบาลอาจจำเป็ นต้องเข้าไปดำเนินการในกิจการบาง
อย่างที่ไม่สามารถปล่อยให้เอกชนทำ ดังนั้น รัฐสวัสดิการอาจมีระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมแต่
ไม่ได้เป็ นประเทศสังคมนิยม ในทำนองเดียวกันประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมอาจมี
สวัสดิการต่างๆ แต่ไม่ได้เป็ นรัฐสวัสดิการ
ตารางเปรียบเทียบระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมและแบบสั งคมนิยม
ระบบเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจแบบสั งคมนิยม
รายการ
แบบเสรีนิยม แนวประชาธิปไตย แนวคอมมิวนิสต์
1. กรรมสิ ทธิ์ เอกชนมีกรรมสิ ทธิ์ เอกชนมีสิทธิ์ ในทรัพย์สิน เอกชนไม่มีสิทธิ์
ทรัพย์สิน ในทรัพย์สินเกือบทั้งหมด บ้าง เช่น ปั จจัยการผลิต ในทรัพย์สินหรื อปั จจัย
ยกเว้นบางอย่างที่เป็ น บางชนิด การผลิต แต่อาจได้รับ
ของรัฐโดยกฎหมาย มอบหมายให้ดูแลใน
ปั จจัยการผลิตเหล่านั้น
2. เสรี ภาพ เอกชนมีเสรี ภาพอย่าง เอกชนมีเสรี ภาพบ้าง เอกชนไม่มีเสรี ภาพ
ในการเลือก เต็มที่ในการเลือกประกอบ ในการเลือกโดยเฉพาะ ในการเลือกไม่วา่ การ
กิจการหรื อเลือกซื้ อและ สำหรับสิ นค้าที่ไม่ ผลิตหรื อการบริ โภค
บริ โภคสิ นค้าอะไรก็ได้ เกี่ยวข้องกับคนส่ วนใหญ่ สิ นค้าและบริ การ
ถ้าไม่ขดั ต่อกฎหมายหรื อ ผูผ้ ลิตอาจเลือกผลิตสิ นค้า ต้องผลิตสิ นค้าเฉพาะ
ความสงบสุ ขของบุคคลอื่น บางชนิดได้และผูซ้ ้ื อ สิ นค้าที่สงั่ ให้ผลิตและ
สามารถเลือกซื้ อสิ นค้า บริ โภคเฉพาะสิ นค้า
บางชนิดได้ ที่มีให้บริ โภคเท่านั้น
ระบบเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจแบบสั งคมนิยม
รายการ
แบบเสรีนิยม แนวประชาธิปไตย แนวคอมมิวนิสต์
3. กลไก ใช้กลไกราคาและระบบ ในการวางแผนจาก ในการวางแผนจาก
การทำงาน การตลาดเป็ นเครื่ องมือ ส่ วนกลางเป็ นหลักในการ ส่ วนกลางเป็ นหลัก
ของระบบ สำคัญในการตัดสิ นใจต่างๆ ดำเนินการ กลไกราคา ในการดำเนินการ ไม่มี
เช่น ในเรื่ องการเลือกผลิต อาจมีอยูแ่ ต่กไ็ ม่ใช่กลไก กลไกราคา ไม่มีระบบ
หรื อเลือกบริ โภคสิ นค้า ที่สำคัญที่สุด โดยทัว่ ๆ ไป ตลาด และทุกอย่าง
ในเรื่ องการใช้กรรมวิธี แล้วการตัดสิ นใจในการ ต้องมาจากองค์การ
และในเรื่ องการแจกจ่าย ผลิตหรื อการบริ โภค ส่ วนกลางที่จะเป็ น
จัดสรรทรัพยากรและ จะขึ้นอยูก่ บั คณะกรรมการ ผูก้ ำหนดนโยบาย
ผลิตผลต่างๆ ไปยังผูท้ ี่ ส่ วนกลาง ยกเว้น ในบาง กำหนดแนวทางปฏิบตั ิ
เหมาะสมที่สุดที่จะได้รับ ธุรกิจที่ไม่ค่อยเกี่ยวข้อง และกำหนดโทษ
สิ่ งของเหล่านั้น กับคนส่ วนใหญ่ ซึ่ งได้รับ สำหรับผูฝ้ ่ าฝื น
การอนุญาตให้เอกชน การแจกจ่ายแบ่งสรร
ดำเนินการได้ ดังนั้น ทรัพยากรและสิ นค้า
ในธุรกิจนั้นอาจมีการใช้ ใช้วธิ ี ปันส่ วนและการ
กลไกราคาเป็ นเครื่ องมือ กำหนดจากส่ วนกลาง
สำคัญก็ได้ โดยที่ฝ่ายรับนโยบาย
ไม่อาจจะโต้แย้งได้
4. ระบบ มีการแข่งขันโดยเสรี ไม่สนับสนุนให้มีการ ไม่ให้มีการแข่งขัน
การแข่งขัน ทั้งในด้านผูซ้ ้ื อและผูข้ าย แข่งขันกันมาก โดยเฉพาะ เพราะถือว่าไม่จ ำเป็ น
ทั้งในด้านผูบ้ ริ โภคและผู ้ สำหรับธุรกิจที่เป็ นสิ่ ง เนื่องจากกิจการ
ผลิต และในระหว่าง จำเป็ นแก่การครองชีพ ทุกอย่าง ดำเนินการ
พวกเดียวกัน คู่แข่งขัน ประจำวันของประชาชน โดยรัฐบาล ประชาชน
สามารถใช้กลยุทธต่างๆ เพราะถือว่าการแข่งขัน เพียงแต่ปฏิบตั ิตาม
เช่น การโฆษณา เข้าช่วย ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายที่ไม่ สิ่ งที่รัฐบาลหรื อ
ให้อยูใ่ นฐานะดีกว่าคนอื่น จำเป็ น และอาจทำให้ หน่วยงานส่ วนกลาง
ฝ่ ายหนึ่งฝ่ ายใดได้เปรี ยบ สัง่ ให้ท ำเท่านั้น
และจะเป็ นผลเสี ยแก่คน
ส่ วนใหญ่ของประเทศ
ระบบเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจแบบสั งคมนิยม
รายการ
แบบเสรีนิยม แนวประชาธิปไตย แนวคอมมิวนิสต์
5. บทบาท มีนอ้ ยที่สุดในด้านที่เกี่ยวกับ มีมากในด้านอุตสาหกรรม มีมากในทุกๆ ด้าน
ของรัฐบาล การดำเนินงานของธุรกิจ หรื อธุรกิจที่เกี่ยวกับ ที่เกี่ยวกับสวัสดิการ
เอกชน ทั้งนี้ถือว่าหน้าที่ สวัสดิการของประชาชน ของประชาชน เช่น
ของรัฐบาลไม่ควรเข้ามายุง่ เช่น สิ่ งสาธารณูปโภค สิ่ งสาธารณูปโภค
เกี่ยวกับธุรกิจของเอกชน ซึ่ งถ้าปล่อยให้เอกชน และสิ นค้าบริ การต่างๆ
แต่ควรจะทำหน้าที่ดา้ นอื่น ทำแล้วอาจมีปัญหา ทั้งนี้เพราะรัฐถือว่าเป็ น
เช่น การป้ องกันประเทศ หรื อไม่สามารถบริ การ เจ้าของในทรัพย์สิน
การพิทกั ษ์รักษาความ ได้ทวั่ ทุกคน หรื อไม่มีใคร ปั จจัยการผลิตและ
ปลอดภัยให้แก่ประชาชน ยอมทำ เพราะต้องลงทุน สิ่ งของต่างๆ เอกชน
จากโจรผูร้ ้าย และการเข้า มากและอาจไม่มีก ำไร เพียงแต่ได้รบั มอบหมาย
ระงับข้อพิพาท ตลอดจน แต่ธุรกิจบางอย่างที่รัฐบาล ให้กระทำอะไรตามที่
ปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น เห็นว่าไม่สู้สำคัญนัก สัง่ ให้ท ำเท่านั้น
ระหว่างประชาชนด้วยกัน และเอกชนสามารถทำได้ รัฐบาลมีสิทธิ์ ในการ
แต่อย่างไรก็ตามรัฐบาล รัฐบาลก็จะไม่เข้าไป เข้าดำเนินการทุกอย่าง
อาจเข้ามาดูแลในกิจการ ยุง่ เกี่ยว โดยมอบให้ ที่เห็นว่าจำเป็ นและมี
บางอย่างที่ถือว่ามีส่วน เอกชนเป็ นผูด้ ำเนินการ ส่ วนกระทบกระเทือน
สำคัญต่อความมัน่ คงของ ถึงคนส่ วนใหญ่
ประเทศและความสงบสุ ข ของประเทศ
ของประชาชน เช่น ในเรื่ อง
สาธารณูปโภค เป็ นต้น

3. ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ (Communism)
ลักษณะสำคัญของระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์น้ นั ปัจจัยการผลิตทุกชนิดเป็ นของ
รัฐบาล ดังนั้นอุตสาหกรรมทุกชนิดรวมทั้งการเกษตร การค้าปลีกและการค้าส่ง ตลอดจนการบริ การ
อยูใ่ นการควบคุมของรัฐบาล เอกชนไม่มีกรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์สินเหล่านั้น ความเห็นของผูท้ ี่เชื่อถือ
ระบบเศรษฐกิจแบบนี้กค็ ือ รัฐบาลควรหาทางครอบครองหรื อได้มาซึ่ งกรรมสิ ทธิ์ ในปั จจัยการผลิต
ด้วยวิธี เวนคืนหรือบังคับซื้อ (Expropriation) มากกว่าด้วยวิธีการตามกระบวนการทางกฎหมาย
เอกชนไม่มีกรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์สินและปั จจัยการผลิตซึ่ งเป็ นของรัฐ เสรี ภาพในการเลือกบริ โภค
ของประชาชนถูกจำกัดมาก เนื่องจากต้องซื้อสินค้าและบริ การจากสิ่งทีร่ ฐั เป็ นผูผ้ ลิตเท่านั้น ซึ่งสิ่งของเหล่า
นั้นอาจไม่ถูกใจหรื อไม่ใช่สิ่งที่ผบู้ ริ โภคต้องการก็ได้ แต่อย่างไรก็ตาม สิ่ งที่ระบบเศรษฐกิจแนวนี้
อ้างก็คือ การพยายามจัดการเพื่อสวัสดิการของประชาชนของประเทศ
ในระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมแนวคอมมิวนิสต์น้ี ผู้บริหารส่ วนกลาง (Central
Authority) เป็ นผูว้ างแผนทั้งหมดในเรื่ องการผลิต เป็ นผูต้ ดั สิ นเรื่ องชนิดของสิ นค้าที่จะผลิตและ
เป็ นผูบ้ งการว่าจะจัดสรรสิ นค้าที่ผลิตแล้วไปให้ใครบ้าง โดยอาจอาศัยระบบราคาหรื อ ระบบการ
ปันส่ วน (Ration) การจัดการเกี่ยวกับวัตถุดิบ แรงงาน และปั จจัยการผลิตชนิดอื่นๆ ก็เป็ นหน้าที่ของ
ส่ วนกลางดังกล่าว ซึ่ งรวมทั้งการวางแผนเพื่อขยายกิจการบางอย่างในอนาคตด้วย
4. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economic System)
เป็ นระบบเศรษฐกิจที่มีลกั ษณะส่ วนหนึ่งเป็ นแบบเสรี นิยมและอีกส่ วนหนึ่งเป็ นแบบ
สังคมนิยม ในส่ วนที่เป็ นแบบเสรี นิยม หมายความว่า เอกชนมีกรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์สินบางอย่าง เช่น
ทุนทรัพย์ที่จ ำเป็ นเพื่อใช้ในการเพาะปลูก อันได้แก่ เครื่ องมือกล ที่ดิน และปั จจัยการผลิตอื่นๆ
นอกจากนี้ธุรกิจบางอย่างที่เอกชนเป็ นผูป้ ระกอบการก็มีลกั ษณะแบบเสรี นิยม คือ มีการแข่งขันเสรี
มีการโฆษณาและดำเนินการเพื่อค้าขายสิ นค้าเหล่านั้น การผลิตสิ นค้าและบริ การตลอดจนการนำเอา
สินค้าเข้ามาขายนั้นได้มกี ารคิดคำถึงถึงรสนิยม ความชอบ และความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภค หรื อกล่าวอีก
นัยหนึ่ง ผูบ้ ริ โภคมีเสรี ภาพในการเลือกกระทำการบางอย่าง ไม่ถึงกับต้องถูกตัดริ ดรอนสิ ทธิ และ
เสรี ภาพในทุกๆ กรณี โดยทัว่ ๆ ไปกลไกการทำงานของระบบได้อาศัยระบบตลาดหรื อราคา เช่น
ผูท้ ี่ให้หรื อเสนอราคาสูงย่อมได้สินค้านั้น ในทำนองเดียวกันระบบการว่าจ้างก็คงใช้ระบบราคา
เป็ นสิ่ งช่วยในการตัดสิ น
ในส่ วนที่เป็ นแบบสังคมนิยมนั้น หมายความว่า รัฐบาลได้เข้ามาควบคุมหรื อเข้ามา
ดำเนินการในธุรกิจบางอย่างที่มีส่วนสัมพันธ์ หรื อมีความสำคัญต่อความเป็ นอยูข่ องประชาชน
ส่วนใหญ่ของประเทศ เช่น กิจการสาธารณูปโภคหรื ออุตสาหกรรมหลัก และอุตสาหกรรมขนาดใหญ่
ทีต่ อ้ งมีการลงทุนจำนวนมาก ซึ่งกิจการเหล่านี้รฐั บาลจำเป็ นต้องเข้าดำเนินการเอง เพราะอาจหาเอกชน
ลงทุนเองได้ยาก เนื่องจากเป็ นกิจการที่ตอ้ งเสี่ ยงกับการขาดทุนหรื อไม่คุม้ กับการลงทุน แต่กิจการ
เหล่านี้จำเป็ นต้องมี เพราะเป็ นปัจจัยพื้นฐานทีจ่ ำเป็ นต่อการดำรงชีพ เช่น ไฟฟ้ า น้ำประปา การขนส่งและ
คมนาคม เหตุที่รัฐบาลเข้ามาเกี่ยวข้องกับธุรกิจเอกชนอาจต้องการขจัดปั ญหาในเรื่ องการผูกขาด
หรื อการเอารัดเอาเปรี ยบ ซึ่ งมักจะเกิดขึ้นถ้าปล่อยให้ธุรกิจเอกชนทำการแข่งขัน จนกระทัง่
เหลือผูท้ ี่มีทุนทรัพย์มากที่สามารถบีบคั้นให้คู่แข่งขันต้องการไปจากการดำเนินธุรกิจนั้น
สำหรับกลไกการทำงานของระบบเศรษฐกิจแบบผสม ก็คือการใช้ท้ งั ระบบกลไกราคา
หรื อระบบตลาดควบคู่ไปกับแบบบังคับ นัน่ คือในบางลักษณะการดำเนินงานของระบบเศรษฐกิจ
เช่น การซื้ อขายสิ นค้าและบริ การสามารถใช้ระบบราคาเป็ นเครื่ องช่วยตัดสิ นใจว่าใครสมควรได้รับ
สิ นค้าและบริ การนั้น นอกจากราคาแล้วการจัดสรรทรัพยากรต่างๆ อาจใช้ระบบการแข่งขันเพื่อหา
ผูท้ เ่ี หมาะสมทีส่ ุดในการใช้ทรัพยากรนั้นให้เกิดประโยชน์มากทีส่ ุด แต่ในบางลักษณะการดำเนินงานของ
ระบบเศรษฐกิจจำเป็ นต้องใช้วธิ ีควบคุมหรื อบังคับ เพื่อให้การดำเนินการนั้นสามารถไปสู่ จุดหมาย
ได้ กล่าวอีกนัยหนึ่ง การดำเนินการในกิจการบางอย่างจำเป็ นต้องมีการรวบอำนาจไว้กบั ส่วนกลาง
หรื อใช้วธิ ีรบั คำสัง่ จากหน่วยวางแผนส่วนกลางเพือ่ ให้ฝ่ายอืน่ ๆ นำไปปฏิบตั ติ ามคำสัง่ นั้น ดังนั้นเอกชน
ไม่สามารถจะใช้ระบบราคาได้ เพราะต้องอาศัยกฎข้อระเบียบหรื อกฎหมายที่ตราจากรัฐบาลกลาง
เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิหรื อดำเนินธุรกิจของตน ดังนั้น ระบบเศรษฐกิจแบบผสม
จึงมีท้ งั ระบบราคา การแข่งขัน และการวางแผนจากส่ วนกลาง รวมกันเป็ นระบบเดียวกัน
ระบบเศรษฐกิจแบบผสมมีลกั ษณะที่อาจเหมาะสมกับหลายๆ ประเทศ เพราะการ
ดำเนินการเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนส่ วนใหญ่น้ นั ถ้าจะใช้วิธีการแบบเสรี นิยมโดยอาศัย
กลไกราคาและระบบการแข่งขันอาจประสบกับข้อขัดข้องหรื อปั ญหาต่างๆ ดังได้กล่าวมาแล้ว
ในขณะเดียวกันถ้าจะใช้วิธีการของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมโดยการรวบอำนาจมาอยูท่ ี่ฝ่าย
วางแผนส่ วนกลางหรื อการริ ดรอนสิ ทธิ เสรี ภาพของเอกชน ก็เกิดผลเสี ยหายหลายประการดังกล่าว
ในตอนทีแ่ ล้ว ดังนั้น การใช้กลไกราคาในธุรกิจทีส่ ามารถทำได้ ทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิดความเอารัดเอาเปรี ยบกัน ที่ไม่
เอื้ออำนวยประโยชน์ให้แก่ฝ่ายหนึ่งฝ่ ายใดมาก และที่ไม่ท ำให้ประชาชนส่ วนใหญ่เดือดร้อน
และการใช้ระบบการควบคุมสำหรับกิจการหรื ออุตสาหกรรมทีม่ คี วามสำคัญต่อประเทศทีผ่ ลิตสินค้าและ
บริ การพื้นฐานสำหรับการดำรงชีวิตของประชาชน และสำหรับธุรกิจหรื อการผลิตที่ไม่อาจจะปล่อย
ให้เอกชนดำเนินการเอง เพราะอาจให้บริ การไม่ทวั่ ถึงหรื อไม่จูงใจให้เอกชนยอมลงทุน
จะเห็นได้วา่ ในหลายๆ ประเทศรัฐบาลมักจะเข้าดำเนินการในกิจการที่เรี ยกว่ารัฐวิสาหกิจ ซึ่ งมักเป็ น
กิจการใหญ่ที่ผลิตหรื อให้บริ การในสิ่ งจำเป็ น เช่น การสาธารณูปโภค อันได้แก่ ไฟฟ้ า น้ำประปา
โทรศัพท์ รถไฟ และการคมนาคม เป็ นต้น
การใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมได้เปรี ยบการใช้ระบบเศรษฐกิจแบบอืน่ ก็คอื ความคล่องตัว
ในการดำเนินการ เพราะสามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ของสภาพเศรษฐกิจได้ กล่าวอีกนัยหนึ่ง ใน
บางครั้งหรื อบางลักษณะอาจดำเนินนโยบายแบบปล่อยให้มีอิสระเสรี และการอาศัยกลไกราคาเพื่อ
จูงใจให้เอกชนทำการลงทุน และทำการผลิตสิ นค้าและบริ การเพื่อลดภาระของรัฐบาล แต่ถา้ การ
ดำเนินการของเอกชนไปถึงระยะหนึ่งที่รัฐบาลเห็นว่าถ้ายังคงให้ด ำเนินการต่อไปอย่างอิสระ ก็อาจ
เกิดปัญหาและความเดือดร้อนให้แก่ประชาชนส่วนใหญ่ รัฐบาลก็จะเข้าดำเนินการควบคุมหรื อออกกฎข้อ
บังคับหรื อกฎหมาย ค่อยๆ ดึงให้กิจการเหล่านั้นอยูใ่ นการกำกับหรื อการดูแลของรัฐบาลหรื อหน่วย
งานที่รัฐบาลมอบหมายให้และเมื่อรัฐบาลเห็นว่าไม่มีความจำเป็ นที่ตอ้ งเข้าไปกำกับ ก็อาจพิจารณา
ปล่อยให้เอกชนทำเช่นเดิมหรื อลดการควบคุมลง เพื่อมิให้เอกชนรู ้สึกว่าขาดเสรี ภาพหรื อถูกจำกัด
สิ ทธิมากเกินไป
ข้อที่อาจถือว่าเป็ นจุดอ่อนของการใช้นโยบายเศรษฐกิจแบบผสมก็คือ กำลังใจหรื อแรง
จูงใจสำหรับเอกชนอาจมีไม่เพียงพอ เพราะเอกชนมีความรู ้สึกว่าการเข้ามาทดำเนินการนั้น
ต้องเสี่ ยงกับความไม่แน่นอนจากนโยบายของรัฐบาล ในแง่ไม่รู้วา่ เมื่อใดกิจการของตนต้องถูกยึด
เวนคืน หรื ออยูใ่ นการดูแลหรื อการกำกับของรัฐบาล ดังนั้น จึงไม่ค่อยมีความกระตือรื อร้นที่จะ
ลงทุนมาก เพราะไม่แน่ใจว่าจะได้ผลคุม้ กับสิ่ งที่ลงทุนไปหรื อไม่ เอกชนอาจไม่กล้าทำการแข่งขัน
กันมากนัก เพราะกลัวว่าถ้าทำการโฆษณามากเกินไปหรื อปรับปรุ งกรรมวิธีในการผลิตของตนดีเกินไป
อาจถูกเพ่งเล็งจากทางหน่วยกลางว่าต้องการยึดตลาดหรื อเป็ นผูผ้ กู ขาดขึ้น

สรุ ป
ระบบเศรษฐกิจ ประกอบด้วย กลุ่มหรื อหน่วยเศรษฐกิจ คือ ครัวเรื อน ธุรกิจหรื อบริ ษทั และ
องค์กรรัฐบาล โดยหน่วยต่างๆ มีความสัมพันธ์กนั เราเรี ยกว่า การหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ
การรวมตัวของหน่วยเศรษฐกิจ จะกลายเป็ นสถาบันเศรษฐกิจหรื อเราเรี ยกว่า ระบบ
เศรษฐกิจ ซึ่ งแบ่งออกเป็ น 4 ลักษณะ คือ
1. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมหรื อเสรี นิยม เป็ นระบบที่มีเสรี ภาพในทางเศรษฐกิจ
โดยที่ผปู้ ระกอบการสามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างอิสระในการตัดสิ นใจทำกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ไม่วา่ จะเป็ นการผลิต แปรรูป และจำหน่าย หรื อการให้บริ การต่างๆ ระบบนี้กลไกของราคาจะมีบทบาท
มากที่สุด และรัฐบาลเข้ามาแทรกแซงน้อยที่สุด
2. ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม เป็ นระบบที่กิจกรรมขนาดใหญ่รัฐจะเข้าไปควบคุม
ดำเนินการทั้งหมด ส่ วนกิจการขนาดเล็กยังอนุญาตให้เอกชนเข้าดำเนินการได้
3. ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ เป็ นระบบที่รัฐบาลเข้ามาดำเนินกิจกรรมทั้งหมด
ตั้งแต่การตัดสิ นใจสัง่ การดำเนินงานทั้งหมด ตั้งแต่การผลิต การแปรรู ป และจำหน่าย โดยที่เอกชน
ไม่มีอ ำนาจในการทำกิจกรรมต่างๆ ได้
4. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม เป็ นการนำเอาส่ วนดีของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมหรื อ
เสรี นิยม มารวมกับระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม คือ ทุกคนมีอสิ ระทีจ่ ะผลิต แปรรูป และจัดจำหน่าย
หรื อการให้บริ การต่างๆ ตลอดจนการกระจายรายได้ไปยังประชาชนมีมากขึ้น เป็ นผลดีท ำให้
เศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก

รู ปแบบขององค์กรธุรกิจ
รู ปแบบขององค์กรธุรกิจ แบ่งออกเป็ น 5 ประเภท คือ
1. ธุรกิจแบบเอกชนเป็ นเจ้ าของคนเดียว (Single Proprietorship) เป็ นกิจการที่มีบุคคล
คนเดียวทำหน้าที่เจ้าของและผูด้ ำเนินงาน เมื่อกิจการเกิดผลกำไรหรื อขาดทุน เจ้าของต้องรับภาระ
แต่เพียงผูเ้ ดียว ตัวอย่างธุรกิจ เช่น ร้านขายอาหาร ร้านขายของชำ เป็ นต้น
ข้อดี ของการดำเนินธุรกิจแบบนี้ คือ สามารถตัดสิ นใจในการดำเนินงานได้อย่าง
รวดเร็ ว การก่อตั้งและล้มละลายกระทำได้ง่าย กฎหมายเข้ามาเกี่ยวข้องน้อยมาก
ข้อเสี ย คือ ระยะเวลาการดำเนินงานของกิจการนั้น มีเงินทุนในการดำเนินงานจำกัด
เครดิตน้อยกว่าการดำเนินงานธุรกิจประเภทอื่น และการตัดสิ นใจในการดำเนินงานอาจผิดพลาดง่าย

2. ธุรกิจแบบห้างหุ้นส่ วน (Partnership) คือ ธุรกิจทีม่ บี คุ คลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปร่วมทุนและ


ร่ วมแรงจัดตั้งขึ้น เมื่อการดำเนินงานมีผลกำไรหรื อขาดทุน ก็จะแบ่งความรับผิดชอบตามส่ วน
ของทุนและภาระการทำงานของตน การก่อตั้งธุรกิจแบบนี้ตอ้ งเป็ นไปตามที่กฎหมายกำหนด
ห้างหุน้ ส่ วนมี 2 ประเภท คือ
2.1 ห้างหุน้ ส่ วนสามัญ คือ หุน้ ส่ วนต้องรับผิดชอบในหนี้ สินร่ วมกันอย่างไม่จ ำกัด
จำนวน (Unlimited Liability) เช่น การดำเนินงานประสบกับการขาดทุน ผูเ้ ป็ นหุน้ ส่ วนต้องร่ วมกัน
รับภาระหนี้สินทั้งหมดทีเ่ กิดขึ้น ดังนั้น การดำเนินงานผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วนต้องทุม่ เทความสามารถอย่างเต็มที่
เพราะหากหุน้ ส่ วนคนใดผิดพลาด หุน้ ส่ วนคนอื่นๆ ต้องรับภาระในหนี้ สินทั้งหมดร่ วมกัน
2.2 ห้างหุน้ ส่ วนจำกัด หุน้ ส่ วนของห้างหุน้ ส่ วนจำกัด แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ
2.2.1 กลุม่ คนทีเ่ ข้ามาดำเนินกิจการโดยการลงทุนอย่างเดียว แต่ไม่ได้เข้ามาร่ วม
ดำเนินการ
2.2.2 กลุ่มคนที่เข้ามาดำเนินกิจการโดยตรง
การแบ่งผลกำไรของหุน้ ส่วนทั้ง 2 กลุม่ คือ กลุม่ แรกจะได้รบั ผลกำไรเป็ นสัดส่วนตามทุนที่
ตนลงทุนไปเท่านั้น ส่ วนกลุ่มสอง จะได้รับผลกำไรมากกว่า
ในส่ วนของความรับผิดชอบนั้น กลุ่มแรก จะรับผิดชอบเฉพาะทุนที่ตนลงไปเท่านั้น
ส่ วนกลุ่มสองจะต้องรับผิดชอบภาระหนี้ สินอย่างไม่จ ำกัดจำนวน หากการดำเนินการประสบผล
ขาดทุน

ส่ วนดีของห้างหุน้ ส่ วนจำกัด
1. การบริ หารงานมีประสิ ทธิ ภาพมากกว่าเอกชนเป็ นเจ้าของคนเดียว
2. มีเงินทุนในการดำเนินงานมากกว่า มีความเสี่ยงน้อยกว่า เพราะมีการระดมทั้งทุน
และความคิด
3. มีความเชื่อมัน่ สู งกว่าเอกชนที่เป็ นเจ้าของคนเดียว
ส่ วนเสี ย
1. เงินทุนยังอยูใ่ นวงจำกัด
2. กิจการมีการขยายตัวยังไม่เต็มที่

3. ธุรกิจแบบบริษทั จำกัด (Corporation) ลักษณะของธุรกิจแบบนี้ ประยูร (2518)


ได้กล่าวไว้วา่ เป็ นองค์กรธุรกิจที่มีบุคคลตั้งแต่ 7 คนขึ้นไป ร่ วมกันก่อตั้งและถือหุน้ สำหรับทุนของ
บริ ษทั จำกัดจะแบ่งออกเป็ นหุน้ หุน้ ละเท่าๆ กัน ผูถ้ ือหุน้ จะมีฐานะเป็ นเจ้าของบริ ษทั และรับผิดชอบ
ในหนี้สินของบริ ษทั เพียงไม่เกินมูลค่าหุน้ ทีต่ นถือไว้ และสามารถขายหรื อโอนหุน้ ให้ผอู้ น่ื ได้โดยเสรี
ราคาหุน้ ที่ซ้ื อขายขึ้นอยูก่ บั ผลการดำเนินงานของบริ ษทั เช่น ถ้าบริ ษทั มีก ำไรมากก็จ่ายเงินปั นผล
แก่ผถู ้ ือหุน้ ในอัตราที่สูง ราคาของหุน้ ก็ยอ่ มสู งด้วย
การดำเนินงานของบริ ษทั จำกัดนั้น จะกระทำโดยเจ้าหน้าที่ที่มีเงินเดือนประจำ
และอยูภ่ ายใต้การควบคุมของคณะกรรมการบริ ษทั ซึ่ งคณะกรรมการบริ ษทั นี้ จะได้รับเลือกมาจาก
ที่ประชุมใหญ่ของผูถ้ ือหุน้ ในการออกเสี ยงลงมติเลือกคณะกรรมการบริ ษทั นั้นยึดถือหลักว่า
“หนึ่งหุน้ มีสิทธิ์ ออกเสี ยงได้หนึ่งเสี ยง”
บริ ษทั จำกัดมีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจเป็ นอย่างยิง่ เพราะบริ ษทั จำกัดเป็ นหน่วย
ธุรกิจที่มีขนาดใหญ่ ซึ่ งย่อมมีเงินทุนและทรัพย์สินตลอดจนมีการจ้างงานเป็ นจำนวนมาก ฉะนั้น
การดำเนินงานของบริ ษทั ไม่วา่ จะเป็ นด้านความเจริ ญเติบโต หรื อการล้มเลิกกิจการ จึงมีผลกระทบ
กระเทือนต่อระบบเศรษฐกิจเป็ นอย่างมาก

วิธีการระดมเงินทุนของบริษทั
เงินทุนทีใ่ ช้ดำเนินงานของบริ ษทั มาจากแหล่งสำคัญสองแหล่ง คือ จากการลงทุนของเจ้าของ
บริ ษทั หรื อผูถ้ ือหุน้ และมาจากการกูย้ มื จากบุคคลภายนอก
1. เงินทุนที่ได้จากการลงทุนของเจ้าของบริ ษทั
ตามปกติเงินทุนของบริ ษทั จะมาจากการขายหุน้ ให้แก่บคุ คลทัว่ ไป ผูท้ ซ่ี ้อื หุน้ หรื อผูถ้ อื หุน้
ของบริ ษทั จึงมีฐานะเป็ นเจ้าของบริ ษทั หุน้ ของบริ ษทั มีอยู่ 2 ประเภท คือ
(1) หุน้ สามัญ (Common Stock) ส่ วนมากผูซ้ ้ื อหุน้ สามัญมักจะเป็ นผูท้ ี่ริเริ่ มหรื อก่อตั้ง
บริ ษทั ซึ่ งพวกนี้ มกั จะมีโอกาสเป็ นผูจ้ ดั การหรื อผูค้ วบคุมการบริ หารงานของบริ ษทั เนื่องจากพวกที่
ริ เริ่ มก่อตั้งบริ ษทั นี้ จะซื้ อหุน้ สามัญเป็ นจำนวนมาก จึงมีสิทธิ ออกเสี ยงเลือกคณะกรรมการบริ ษทั
ได้หลายเสี ยง ดังนั้นพวกนี้จึงมักจะได้รับเลือกให้เป็ นคณะกรรมการบริ ษทั เสมอ ผูถ้ ือหุน้ สามัญนี้
นับเป็ นผูท้ ี่มีความเสี่ ยงสูง หมายความว่า เสี่ ยงต่อการขาดทุน และแม้บริ ษทั จะมีผลกำไร ก็จะต้อง
จ่ายเป็ นค่าดอกเบี้ยให้แก่ผถู้ ือหุน้ กูแ้ ละจ่ายเงินปั นผลให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ปุริมสิ ทธิ์ ก่อน เหลือจากนั้นจึง
จะตกเป็ นเงินปันผลของผูถ้ อื หุน้ สามัญ ฉะนั้นจึงเห็นได้วา่ ผลตอบแทนของผูถ้ อื หุน้ สามัญจะขึ้นอยูก่ บั ผล
กำไรของบริษทั เป็ นสำคัญ กล่าวคือ ถ้าผลกำไรมากก็ยอ่ มได้รบั เงินปันผลมาก และถ้าผลกำไรน้อย
ก็จะได้รับเงินปันผลน้อย
(2) หุน้ ปุริมสิทธิ์ (Preferred Stock) หุน้ ปุริมสิทธิ์ หมายถึง หุน้ ทีม่ สี ิทธิพเิ ศษทีจ่ ะได้รบั
เงินปันผลก่อน กล่าวคือ ถ้าหากบริ ษทั มีผลกำไร ผูถ้ ือหุน้ ปุริมสิ ทธิ์ จะได้รับเงินปันผลก่อนผูถ้ ือหุน้
สามัญ แต่ได้รับในอัตราที่คงที่ และถ้าหากบริ ษทั ประสบกับการขาดทุนหรื อเลิกล้มกิจการ ผูถ้ ือหุน้
ประเภทนี้กม็ ีสิทธิ์ ที่จะได้รับทุนคืนจากการขายทรัพย์สินของบริ ษทั ก่อนผูถ้ ือหุน้ สามัญ เมื่อผูถ้ ือหุน้
ปุริมสิทธิ์มคี วามเสี่ยงต่ำ ดังนั้นผูถ้ อื หุน้ ปุริมสิทธิ์แม้จะมีฐานะเป็ นเจ้าของบริ ษทั แต่ไม่มสี ิทธิ์ออกเสียงใน
การเลือกคณะกรรมการบริ ษทั หรื อไม่มีโอกาสได้บริ หารงานของบริ ษทั
ข. เงินทุนที่ได้จากการกู้
บริ ษทั อาจหาเงินมาขยายกิจการได้โดยการกูเ้ งินจากประชาชนหรื อบุคคลทัว่ ไป การกูเ้ งิน
จากบุคคลทัว่ ไปเช่นว่านั้น กระทำได้โดยบริ ษทั ออกหุน้ กู้ (Bond) ขายให้แก่บุคคลทัว่ ไปนัน่ เอง
หุน้ กูแ้ ต่ละหุน้ จะกำหนดอัตราดอกเบี้ยและระบุอายุของหุน้ เอาไว้ตายตัว การจ่ายดอกเบี้ยนั้นจะจ่าย
เป็ นงวดๆ จนกว่าจะครบอายุของหุน้ กู้ ผูท้ ถ่ี อื หุน้ กูจ้ ะมีฐานะเป็ นเจ้าหนี้ของบริ ษทั มิใช่เจ้าของบริ ษทั ดัง
นั้นผูถ้ ือหุน้ กูจ้ ึงไม่มีสิทธิในการควบคุมหรื อบริ หารงานของบริ ษทั แต่อย่างใด แต่อย่างไรก็ตาม
ไม่วา่ บริ ษทั จะประสบกับการขาดทุนหรื อได้ก ำไรมากน้อยเพียงใด ผูถ้ ือหุน้ จะต้องได้รับดอกเบี้ ย
อยูเ่ สมอและมีสิทธิ์ได้รบั การชำระหนี้คนื ก่อนผูถ้ อื หุน้ ประเภทอืน่ เนื่องจากผูถ้ อื หุน้ กูเ้ ป็ นผูท้ เ่ี สี่ยงภัยน้อย
ที่สุด ดังนั้นจึงได้รับผลตอบแทนน้อยที่สุด เมื่อเปรี ยบเทียบกับผูถ้ ือหุน้ ปุริมสิ ทธิ์ และผูถ้ ือหุน้ สามัญ
ส่ วนดีและส่ วนไม่ ดขี องบริษัทจำกัด
บริ ษทั จำกัดมีส่วนดีและส่ วนไม่ดีหลายประการ ดังนี้
ส่ วนดี 1. สามารถรวบรวมเงินทุนได้เป็ นจำนวนมาก
2. ผูถ้ ือหุน้ รับผิดชอบเพียงมูลค่าหุน้ ของตนเท่านั้น ดังนั้นจึงสามารถ
ชักจูงคนที่มีรายได้นอ้ ย ให้เข้ามาถือหุน้ ได้โดยง่าย
3. ผูถ้ อื หุน้ ไม่จำเป็ นต้องมีความรูท้ างด้านการค้า ก็สามารถลงทุนซื้อหุน้ ได้
4. อายุการดำเนินงานของบริ ษทั ยืนยาว กล่าวคือ ไม่วา่ ผูถ้ ือหุน้ รายใด
จะตายหรื อลาออก ก็ไม่กระทบกระเทือนต่อกิจการของบริ ษทั
ส่ วนไม่ดี 1. ผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ สามารถมีอิทธิ พลในการบริ หารงานของบริ ษทั ได้
2. การดำเนินงานอาจล่าช้า เพราะคณะกรรมการบริ ษทั จะต้องมีการประชุม
หรื อปรึ กษาหารื อกันอยูเ่ สมอ

4. ธุรกิจแบบสหกรณ์ (Cooperative)
สหกรณ์ เป็ นองค์การธุรกิจที่มีบุคคลตั้งแต่สิบคนขึ้นไปร่ วมมือกันก่อตั้งและสมัคร
เข้าเป็ นสมาชิก โดยการซื้อหุน้ ของสหกรณ์ แต่สมาชิกสหกรณ์น้ นั มีลกั ษณะพิเศษแตกต่างกับสมาชิกของ
องค์การธุรกิจแบบอื่น กล่าวคือ สมาชิกของสหกรณ์มกั จะเป็ นบุคคลที่มีอาชีพอย่างเดียวกันหรื อ
คล้ายคลึงกัน หรื อมีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่สหกรณ์ก ำหนด ทั้งนี้เพราะสหกรณ์น้ นั มีนโยบายเพื่อ
รวมคนมากกว่ารวมทุน หมายความว่า การดำเนินงานของสหกรณ์มไิ ด้มงุ่ หวังผลกำไรแต่เพียงอย่างเดียว
แต่ตอ้ งการตัดพ่อค้าคนกลางหรื อผูท้ ี่มีอิทธิ พลทางเศรษฐกิจ เพื่อช่วยเหลือบุคคลที่มีความอ่อนแอ
ทางเศรษฐกิจโดยสมัครเข้ามาเป็ นสมาชิกของสหกรณ์รวมตัวกันให้มีอ ำนาจการต่อรองกับพ่อค้า
คนกลาง
หลักสหกรณ์ (Principles of Cooperative)
1. Capital with limited Interest
2. Open membership
3. One men one vote
4. Patronage Re – fund
5. Cooperate with Cooperative Society
การก่อตั้งและการบริ หารงานของสหกรณ์มีลกั ษณะคล้ายกับบริ ษทั จำกัด คือ จะมี
กลุม่ บุคคลผูก้ อ่ ตั้งแล้วประกาศให้บคุ คลทีส่ นใจเข้ามาสมัครเป็ นสมาชิก โดยการซื้อหุน้ ของสหกรณ์ หุน้
ของสหกรณ์ทกุ หุน้ จะมีมลู ค่าเท่ากัน สำหรับการบริ หารงานของสหกรณ์น้ นั สมาชิกของสหกรณ์ทุกคน
จะเลือกคณะกรรมการเข้ามาบริ หารหรื อควบคุมงานของสหกรณ์ ในการออกเสี ยงเลือกคณะ
กรรมการนั้น สมาชิกทุกคนมีสิทธิออกเสี ยงได้เท่ากันไม่วา่ ใครจะถือหุน้ มากหรื อน้อยเพียงไร
ก็ตาม คือสมาชิกหนึ่งคนมีสิทธิออกเสี ยงได้หนึ่งเสี ยง (One Man One Vote) คณะกรรมการที่ได้รับ
เลือกตั้งจะทำหน้าทีค่ วบคุมหรื อรับผิดชอบการบริ หารงานของสหกรณ์แทนสมาชิก ซึ่งคณะกรรมการนี้
อาจจะเลือกบุคคลใดบุคคลหนึ่งจากคณะกรรมการหรื ออาจจ้างบุคคลภายนอกมาเป็ นผูจ้ ดั การก็ได้
การแบ่งผลตอบแทนแก่สมาชิก เพื่อให้ผลประโยชน์ตกแก่สมาชิกมากที่สุด ดังนั้น
ถ้าหากสหกรณ์มีผลกำไร สหกรณ์จะแบ่งผลกำไรตอบแทนแก่สมาชิกตามส่ วนกิจกรรมที่สมาชิก
กระทำต่อสหกรณ์เป็ นสำคัญ ยกตัวอย่างสหกรณ์ผบู ้ ริ โภคหรื อร้านสหกรณ์ หากการดำเนินงานจนมี
ผลกำไรเกิดขึ้น สหกรณ์จะจัดสรรผลกำไรเป็ นเงินปั นผลให้แก่สมาชิก ซึ่ งจะแบ่งออกเป็ นสองส่ วน
คือ ส่วนหนึ่งจะแบ่งตามจำนวนหุน้ ทีส่ มาชิกแต่ละคนถือ การแบ่งส่วนนี้จะแบ่งในอัตราทีค่ งทีใ่ นรูปของ
ดอกเบี้ยของเงินที่สมาชิกนำมาซื้ อหุน้ ของสหกรณ์ ผลกำไรที่เหลือจากการจัดสรรส่ วนที่หนึ่ง
ก็จะนำมาจัดสรรในส่ วนที่สอง คือแบ่งตามส่ วนของการซื้ อสิ นค้าจากสหกรณ์เป็ นมูลค่ามาก (ทำให้
สหกรณ์มกี ำไรมาก) ก็จะได้รบั ผลตอบแทนคืนเป็ นจำนวนมาก จะเห็นได้วา่ เงินปันผลตามส่วนทีส่ องนี้จะ
ขึ้นอยูก่ บั ผลกำไรของร้านสหกรณ์เป็ นสำคัญ
กิจการแบบสหกรณ์น้ ี เริ่ มแรกในโลก เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2387 (ค.ศ. 1844)
ที่ตรอกคางคก (Toad Lane) เมือง Rochdale ในประเทศอังกฤษ ปัจจุบนั กิจการสหกรณ์ในประเทศ
อังกฤษเจริ ญมาก สำหรับประเทศไทยนั้นเริ่ มก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2459 (ค.ศ. 1916) โดยความริ เริ่ มของ
รัฐบาล กิจการสหกรณ์ในประเทศไทยในปั จจุบนั ยังไม่เจริ ญเท่าที่ควร ทั้งๆ ที่เป็ นกิจการที่มี
ประโยชน์มาก ทั้งนี้อาจเป็ นเพราะรัฐบาลเป็ นฝ่ ายเสนอให้ท ำโดยประชาชนมิได้เริ่ มเอง หรื ออาจ
เป็ นเพราะการดำเนินงานของกิจการสหกรณ์น้ นั สมาชิกจะต้องเข้ามาร่ วมมือและรับผิดชอบร่ วมกัน
อย่างจริ งจัง แต่คนไทยชอบทำงานอย่างอิสระ ไม่คุน้ เคยกับการทำงานแบบเป็ นกลุ่มหรื อร่ วมมือ
กับผูอ้ ื่น ดังนั้นจึงทำให้การดำเนินงานของสหกรณ์ไม่เจริ ญก้าวหน้าเท่าที่ควร กิจการสหกรณ์
ในปั จจุบนั มีมากมายหลายประเภท เช่น สหกรณ์ที่ดิน สหกรณ์ผบู ้ ริ โภค (ร้านสหกรณ์) สหกรณ์
การเกษตร สหกรณ์ขายส่ ง สหกรณ์ผผู ้ ลิต สหกรณ์นิคม และสหกรณ์ออมทรัพย์ เหล่านี้เป็ นต้น
5. รัฐวิสาหกิจ (State Enterprise) เป็ นองค์กรที่รัฐบาลก่อตั้งหรื อเป็ นเจ้าของหุน้
และเป็ นผูค้ วบคุมดำเนินงานโดยตรง
รัฐวิสาหกิจนั้น อาจแยกเป็ นสองประเภทใหญ่ๆ คือ ประเภทแรกเป็ นองค์การ
ธุรกิจที่รัฐบาลเป็ นเจ้าของหรื อก่อตั้งขึ้น เช่น การรถไฟแห่งประเทศไทย ท่าเรื อแห่งประเทศไทย
องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย องค์การคลังสิ นค้า การไฟฟ้ านครหลวง การประปาส่ วนภูมิภาค
องค์การขนส่ งมวลชนกรุ งเทพฯ องค์การเภสัชกรรม ธนาคารออมสิ น และธนาคารแห่งประเทศไทย
เป็ นต้น ประเภทที่สองเป็ นองค์การธุรกิจในรู ปของบริ ษทั จำกัดที่รัฐบาลลงทุนร่ วมกับเอกชน
โดยรัฐบาลมีหุน้ เกินกว่าร้อยละห้าสิ บขึ้นไป เช่น ธนาคารกรุ งไทย บริ ษทั ไม้อดั ไทย จำกัด บริ ษทั
การบินไทย จำกัด และโรงแรมเอราวัณ เหล่านี้เป็ นต้น
การทีร่ ฐั บาลต้องเข้ามามีบทบาทในการดำเนินกิจการต่างๆ ทางเศรษฐกิจในรูปแบบ
ของรัฐวิสาหกิจดังกล่าว ก็เพราะมีความจำเป็ นหลายประการ ได้แก่
1. กิจการบางอย่าง ถ้าให้เอกชนแข่งขันกันเองแล้ว อาจก่อให้เกิดผลเสียแก่เศรษฐกิจ
ของประเทศและประชาชนโดยส่ วนรวมได้ เช่น การผลิตบุหรี่ และสุ รา เป็ นต้น
2. เพื่อรักษาและคุม้ ครองประโยชน์ได้เสี ยของประชาชนผูบ้ ริ โภคในด้านราคา
และคุณภาพของสิ นค้าหรื อบริ การ
3. กิจการบางอย่างต้องใช้เงินลงทุนเป็ นจำนวนมหาศาลหรื อต้องเสี ยเวลาในการ
ก่อสร้างเป็ นเวลานาน และเมือ่ สร้างเสร็จแล้ว ก็อาจต้องใช้เวลารอคอยผลตอบแทนเป็ นเวลายาวนาน
กว่าจะได้ผลตอบแทนคุม้ กับทีใ่ ช้ลงทุนไป และผลตอบแทนนั้นอาจจะตกแก่สงั คมส่วนรวมมากกว่า
ผูล้ งทุนก็ได้ กิจการเหล่านี้เอกชนมักจะไม่สนใจดำเนินงาน ดังนั้นรัฐบาลจึงต้องเข้ามาจัดทำหรื อ
ดำเนินการเสี ยเอง
4. กิจการบางอย่างเกี่ยวข้องกับการป้ องกันประเทศหรื อเป็ นอุตสาหกรรมหลัก
ของประเทศโดยตรง ดังนั้นรัฐบาลจึงต้องเข้ามาจัดทำหรื อดำเนินการเสี ยเอง
5. กิจการบางอย่างมีผลกระทบหรื อให้ประโยชน์แก่สงั คมโดยตรง ดังนั้นรัฐบาล
จึงต้องเข้ามาดำเนินการเอง เช่น กิจการเกีย่ วกับการศึกษา สาธารณสุข อาคารสงเคราะห์ การธนาคาร และ
การขนส่ ง เหล่านี้เป็ นต้น
6. กิจการบางอย่างมีความจำเป็ นต่อการดำรงชีพประจำวันของประชาชน รัฐบาล
จึงต้องเข้ามาทำการผลิต และจำหน่ายเสี ยเองเพื่อให้เพียงพอและเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย เช่น กิจการ
สาธารณูปโภคต่างๆ
7. กิจการบางอย่าง รัฐบาลเข้ามาดำเนินงานเพื่อเป็ นการส่ งเสริ มหรื อเป็ นตัวอย่าง
หรื อจูงใจแก่เอกชน และเป็ นกิจการที่ท ำรายได้ให้แก่ประเทศ เช่น การส่ งเสริ มการท่องเที่ยวและ
กิจการโรงแรม เป็ นต้น
8. กิจกรรมบางอย่างรัฐบาลตั้งขึ้น เพื่อเป็ นการรักษาวัฒนธรรม ศิลปกรรม และ
ขนบธรรมเนียมประเพณี ของประเทศชาติ เช่น การดุริยางค์และนาฎศิลป์ เป็ นต้น
การดำเนินกิจการรัฐวิสาหกิจตามที่กล่าวมาแล้วนี้ จะเห็นได้วา่ รัฐบาลมิได้เข้ามา
ดำเนินการเพื่อมุ่งหวังผลกำไรอย่างเดียว แต่ค ำนึงถึงผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของสังคมส่ วนรวม
เป็ นสำคัญ แต่อย่างไรก็ตาม รัฐวิสาหกิจก็มีท้ งั ส่ วนดีและส่ วนไม่ดีหลายประการ คือ
ส่ วนดี
1. การแสวงหาเงินทุนทั้งภายในและภายนอกประเทศ ทำได้ดีกว่าเอกชน และใน
อัตราดอกเบี้ยที่ต ่ำกว่า
2. เป็ นการส่ งเสริ มกิจการของเอกชน เช่น ไฟฟ้ า ประปา และโทรศัพท์ เป็ นต้น
3. เป็ นหลักประกันความแน่นอนทั้งในด้านคุณภาพและราคาของสินค้าและบริ การ
4. เป็ นการหารายได้ของรัฐบาลเพื่อนำไปพัฒนาเศรษฐกิจทางด้านอื่นๆ
5. เป็ นแหล่งการทำงานของประชาชนและมีหลักประกันที่มนั่ คง
6. เป็ นกิจการทางสาธารณูปโภคเป็ นส่วนใหญ่ โดยมิได้แสวงหาผลกำไรเป็ นทีต่ ้งั จึง
ช่วยในการกระจายรายได้ ได้เป็ นอย่างดี
ส่ วนเสี ย
1. ประสิ ทธิภาพการทำงานของพนักงานมีนอ้ ย เพราะไม่มีความรู ้ในทางธุรกิจ
เพียงพอ
2. ดำเนินงานแบบระบบราชการ ทำให้เกิดความล่าช้าและขาดความริ เริ่ ม
3. มักมีอิทธิพลทางการเมืองเข้ามายุง่ เกี่ยวอยูเ่ สมอ
4. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานอาจสู งกว่าการดำเนินงานของเอกชน

ทฤษฎีการผลิต
การศึกษาถึงฟังก์ชนั การผลิต ตามทฤษฎีการผลิตแบบดั้งเดิมนั้น เป็ นการศึกษาถึงความ
สัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิต (Production Factors) กับผลผลิต (Product) เช่นการผลิตข้าว จะมี
ปั จจัยการผลิตคือ ที่ดิน แรงงาน ปุ๋ ย ใส่ เข้าไปในกระบวนการผลิตจึงจะได้ผลผลิตออกมา (ปั จจัย
การผลิตที่สำคัญคือ ที่ดิน แรงงาน ทุน และการประกอบการ) ซึ่ งในบทนี้ จะกล่าวถึงเฉพาะทฤษฎี
การผลิตแบบดั้งเดิม (Traditional Approach) เท่านั้น ซึ่ งเป็ นทฤษฎีที่นอกจากจะอธิ บาย
ถึงความสัมพันธ์ดงั ข้างต้นแล้ว ยังอธิ บายว่า ทำอย่างไรต้นทุนการผลิตจึงจะต่ำที่สุด (หรื อได้จ ำนวน
ผลผลิตมากที่สุด) โดยอาศัยกฎต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่ งจะได้กล่าวต่อไป
การศึกษาทฤษฎีแบบดังเดิมนี้มขี อ้ กำหนดคือ ต้องใช้เทคนิคการผลิตคงที่ และปัจจัยผันแปร
(Variable Factors) ต้องมีลกั ษณะเหมือนกันทุกประการ (Homogeneous) ซึ่ งทฤษฎีน้ ีจะเกี่ยวข้องกับ
กฎการลดน้อยถอยลง (Low of Diminishing Return) ซึ่ งกฎนี้กล่าวว่า การผลิตมีการใช้ปัจจัยคงที่
และปัจจัยผันแปร เมือ่ เพิม่ ปัจจัยผันแปรเข้าไปร่วมกับปัจจัยคงทีเ่ รื่อยๆ ทีละหน่วยแล้ว ในระยะแรกผลิต
หน่วยสุ ดท้ายจะเพิม่ ขึ้นเรื่ อยๆ จนถึงระดับที่สูงสุ ด แล้วจากนั้นถ้ายังเพิม่ ปั จจัยผันแปรเข้าไปอีก
จะทำให้ผลผลิตเฉลี่ยลดลงและดึงเอาผลผลิตหน่วยสุ ดท้ายจะลดลงตามลำดับอีกด้วย

ปัจจัยคงที่ (Fixed Factors : FF) คือ ปั จจัยที่เราใช้คงที่อยูเ่ สมอไม่วา่ เราจะใช้ปัจจัยผันแปร


มากน้อยแค่ไหน
ปัจจัยผันแปร (Variable Factors : VF) คือ ปั จจัยที่ใช้เป็ นปั จจัยคงที่แต่ผนั แปรเพิ่มขึ้น
ในปริ มาณที่เท่าๆ กัน ของการเปลี่ยนแปลง
ผลผลิตทั้งหมด (Total Product : TP) คือ จำนวนผลผลิตทั้งหมดที่ผลิตขึ้นได้จากการใช้
ปั จจัยคงที่และปัจจัยผันแปร
ผลผลิตเฉลีย่ (Average Product : AP) คือ จำนวนผลผลิตทั้งหมดเฉลี่ยด้วยจำนวนปัจจัย
ผันแปร
AP = TP
VF

ผลผลิตเพิม่ (Marginal Product : MP) คือ จำนวนผลผลิตที่ได้จากการใช้ปัจจัยผันแปร


หน่วยสุ ดท้ายหรื อจำนวนผลผลิตทั้งหมดที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อมีการใช้ปัจจัยผันแปรเปลี่ยนแปลง
ไป 1 หน่วย เช่น กรรมกร 5 คน ทำงานได้ชิ้นงาน 20 ชิ้น และถ้ากรรมกร 6 คน ทำงานชิ้นงานเดิม
ได้ 25 ชิ้น แสดงว่า ชิ้นงาน 5 ชิ้นที่เพิ่มขึ้นเกิดจากเพิ่มจำนวนกรรมกร 1 คน
TP
MP = หรื อ TP ใหม่ – TP
VF เก่า
แสดงการเปลีย่ นแปลง TP, AP และ MP จากการเปลีย่ นแปลง VF ทีละหน่ วย
ปัจจัยคงที่ ปัจจัยผันแปร ผลผลิตทั้งหมด ผลผลิตเฉลีย่ ผลผลิตเพิม่
FF VF TP AP MP
1 1 10 10 10
1 2 24 12 14
1 3 39 13 15
1 4 52 13 13
1 5 61 12.2 9
1 6 66 11 5
1 7 66 9.4 0
1 8 64 8 -2

กราฟแสดงเส้ นผลผลิตทั้งหมด (TP), ผลผลิตเฉลีย่ (AP) และผลผลิตเพิม่ (MP)


จำนวนผลผลิต
TP, AP, MP
Stage 1 Stage 2 Stage 3
70
TP
60

50

40

30

20

10
AP
0
MP
-10
1 2 3 4 5 6 7 8 ปั จจัยผันแปร

สรุ ปกฎการลดน้ อยถอยลง


1. AP จะเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ ตราบใดที่ MP > AP
2. AP จะลดลงเรื่ อยๆ ตราบใดที่ MP < AP
3. AP มีคา่ สูงสุ ดเมื่อ AP = MP
4. TP มีคา่ สูงสุ ดเมื่อ MP = 0

การแบ่ งช่ วงของการผลิต มี 3 ช่ วง คือ


1. ผลผลิตเพิม่ ขึ้น (Stage of Increasing Return) เป็ นช่วงที่ผลผลิตเพิม่ (TP) เพิม่ ขึ้น
จุดสิ้ นสุ ดของช่วงนี้ คือ AP = MP เลยจากช่วงนี้ไปแม้วา่ TP ยังคงเพิ่มขึ้น แต่ AP และ MP
เริ่ มลดลงแล้ว
2. ผลผลิตเพิม่ ขึ้นในอัตราทีล่ ดลง (Stage of Decreasing Return) เป็ นช่วงทีเ่ พิม่ ปัจจัยการผลิต
ชนิดแปรผันเข้าไปอีก แต่ผลผลิตที่ได้นอ้ ยกว่าอัตราของปั จจัยการผลิตซึ่ งเป็ นช่วงที่ผลผลิตเพิ่มขึ้น
ในอัตราที่ลดลง สาเหตุที่เป็ นเช่นนี้ เนื่องจากการเพิ่มปั จจัยการแปรผันเข้าไปเรื่ อยๆ ในขณะปั จจัย
คงที่ไม่ได้เพิ่มขึ้นเลย จึงทำให้การใช้ปัจจัยการผลิตไม่ได้สดั ส่ วนกัน ดังนั้น จึงทำให้ผลผลิตลดน้อย
ถอยลงเรื่ อยๆ ซึ่ งสอดคล้องกับกฎการลดน้อยถอยลง (Law of Diminishing Return)
3. ผลผลิตลดลงหรื อติดลบ (Stage Diminishing Return of Negative Return) เป็ นช่วงที่
ผลผลิตทั้งหมดลดลง และหน่วยสุ ดท้ายติดลบ ตลอดจนผลผลิตเฉลี่ยมีค่า = 0 ซึ่ งมีผลมาจากการ
เพิ่มปัจจัยแปรผันมากเกินไป เช่น กรณี การเพิ่มปุ๋ ยมากเกินขนาด ซึ่ งจะทำให้ตน้ ข้าวตายไปบ้าง
จึงทำให้ผลผลิตลดลงมาก

ต้ นทุนการผลิต (Cost of Production)


ต้นทุนการผลิต คือ ค่าตอบแทนหรื อค่าชดเชยให้แก่เจ้าของปัจจัยการผลิต เมือ่ นำปัจจัยการผลิต
ชนิดต่างๆ มาใช้ผลิตสิ นค้าและบริ การ โดยต้นทุนการผลิตจะมีตน้ ทุนที่จ่ายเป็ นตัวเงิน (Monetary
Cost) เช่น เงินเดือน ค่าเช่า ดอกเบี้ย หรื อกำไร และต้นทุนที่ไม่ได้จ่ายเป็ นตัวเงิน (Non - Monetary
Cost) เช่น ค่าเสื่ อมราคาและค่าเสี ยโอกาสต่างๆ ดังนั้น ต้นทุนการผลิตที่ใช้ในกระบวนการผลิต
จำแนกออกได้ดงั นี้
ต้นทุนการผลิตในเศรษฐศาสตร์ จะมีความหมายกว้างขวางกว่าต้นทุนในทางการบัญชี
เพราะการผลิตสินค้า นอกจากจะนับเอารายจ่ายทั้งหมดทีไ่ ด้จา่ ยออกไปจริ งๆ เป็ นต้นทุน ยังได้รวมเอา
ต้นทุนที่ไม่ได้จ่ายออกไปเป็ นตัวเงิน หรื อที่เรี ยกว่า “ค่ าเสี ยโอกาส” เข้าไว้ดว้ ย เช่น ราคาหรื อผล
ตอบแทนปัจจัยการผลิตทีผ่ ผู้ ลิตเป็ นเจ้าของโดยตรง และผูผ้ ลิตได้นำเอาปัจจัยส่วนทีต่ นเป็ นเจ้าของมาใช้
ในการผลิตจึงทำให้เสี ยโอกาสไป และยังรวมไปถึงค่าจ้างที่ตนควรจะได้รับ เมื่อใช้แรงงานไป
ต้นทุนเหล่านี้กจ็ ะไม่ปรากฎในทางบัญชี
ดังนั้น กำไรในทางเศรษฐศาสตร์จงึ น้อยกว่ากำไรในทางบัญชี โดยกำไรทางเศรษฐศาสตร์น้ นั
ประกอบด้วย กำไรปกติและกำไรเกินปกติ โดยทีก่ ำไรปกติ คือ ผลตอบแทนจำนวนหนึ่งทีผ่ ปู้ ระกอบการ
ต้องได้รบั เพือ่ ทำให้เขาทำการผลิตต่อไปในระยะยาว ถ้าผูป้ ระกอบการไม่ได้ผลตอบจากการลงทุนแล้ว
เขาจะไม่ท ำการผลิตต่อไปและหันไปผลิตอย่างอื่นแทน ซึ่ งกำไรปกติน้ ีถูกนับรวมเข้าไว้ในต้นทุน
ทั้งหมด ดังนั้นผลต่างของรายรับทั้งหมดและต้นทุนจึงเป็ นกำไรเกินปกติท้ งั หมด แต่ถา้ รายรับ
ทั้งหมดเท่ากับต้นทุนทั้งหมด ผูผ้ ลิตจะได้รับเพียงกำไรปกติเท่านั้น
ในการผลิตสินค้าแต่ละครั้งได้เกีย่ วข้องกับระยะเวลาด้วยเสมอ และเนื่องจากต้นทุนในการผลิต
ขึ้นอยูก่ บั จำนวนสิ นค้าที่ผลิตด้วย เมื่อผลิตสิ นค้าเป็ นจำนวนมากก็จะเสี ยต้นทุนในการผลิต
เป็ นจำนวนมาก แต่จ ำนวนสิ นค้าที่ผลิตจะเปลี่ยนแปลงไปมากน้อยแค่ไหน จะขึ้นอยูก่ บั ระยะเวลา
ในการผลิต ถ้าเป็ นระยะเวลาสั้นผูผ้ ลิตไม่สามารถจะขยายการผลิตออกไปได้ตามความต้องการ
เนื่องจากปัจจัยในการผลิตบางอย่างอาจปลี่ยนแปลงได้ แต่ในระยะยาวการขยายปริ มาณการผลิต
ทำได้มากกว่าการผลิตในระยะสั้น
ดังนั้น การเปลีย่ นแปลงต้นทุนในการผลิตจึงขึ้นอยูก่ บั ระยะเวลาในการผลิตด้วย เช่นในการผลิต
ระยะสั้นต้องใช้ปัจจัย 2 ประการ โดยการเพิ่มปั จจัยแปรผันก็มีขอบเขตจำกัด เพราะถ้าเพิ่มปั จจัย
แปรผันเข้าไปมาก อาจทำให้ตน้ ทุนการผลิตสู งขึ้น และผลกำไรลดลงได้ สำหรับการผลิต
ในระยะยาวนั้น สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงปั จจัยการผลิตได้ทุกชนิด โดยจะไม่มีปัจจัยในการผลิต
ชนิดใดคงที่เลย แม้แต่เครื่ องจักร โรงงาน หรื อที่ดิน ก็สามารถที่จะติดตั้งและขยายให้ใหญ่ข้ ึนได้
พร้อมทั้งยังสามารถอบรมคนงานให้มคี วามสามารถเกิดทักษะเพิม่ ขึ้น เพือ่ ประสิทธิภาพในการผลิตด้วย
ดังนั้นการผลิตระยะยาว จึงมีแต่ปัจจัยแปรผัน (Variable Factors) เพียงอย่างเดียวเท่านั้น

ต้ นทุนการผลิตระยะสั้ น (Short – run Cost)


เนื่องจากในระยะสั้นมีปัจจัยการผลิตอยู่ 2 ชนิด คือ ปัจจัยการผลิตชนิดคงที่ และชนิดผันแปร ดัง
นั้น การผลิตในระยะสั้น จึงมีตน้ ทุนอยู่ 2 ชนิด คือ ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) กับต้นทุนผันแปร
(Variable Cost) จากต้นทุน 2 ชนิดนี้ โดยผูผ้ ลิตสามารถจะคำนวณหาค่าต้นทุนรวม ต้นทุนเฉลี่ย
และต้นทุนเพิ่ม ได้ดงั ต่อไปนี้
1. ต้ นทุนคงที่ (Fixed Cost : FC) ต้นทุนชนิดนี้ จะมีจ ำนวนคงที่ตลอดไป ไม่วา่ ปริ มาณ
การผลิตจะมากหรื อน้อย แม้จะยังไม่ทำการผลิตเลยก็ตอ้ งเสียต้นทุนคงทีจ่ ำนวนนี้ เพราะเป็ นค่าใช้จา่ ย
ประจำไม่วา่ จะทำการผลิตหรื อไม่กต็ าม ต้นทุนประเภทนี้ ได้แก่ ค่าเช่า ค่าที่ดิน ค่าก่อสร้าง โรงงาน
เงินเดือนยาม เป็ นต้น นอกจากนี้ ยงั มีค่าใช้จ่ายบางประเภทที่ถือว่าเป็ นต้นทุนคงที่ในระยะสั้น เช่น
ดอกเบี้ยเงินกู้ ค่าประกันอัคคีภยั ค่าเช่าโทรศัพท์ และอื่นๆ
2. ต้ นทุนผันแปร (Variable Cost : VC) ต้นทุนชนิดนี้ จะเปลี่ยนแปลงไปตามจำนวน
สินค้าทีผ่ ลิต ถ้าผลิตมากต้องเสียต้นทุนชนิดนี้มาก ถ้าผลิตลดลงก็เสียน้อย ถ้าไม่ผลิตก็ไม่ตอ้ งเสียเลย โดย
ค่าใช้จ่ายที่ถือว่าเป็ นต้นทุนเปลี่ยนแปลง ได้แก่ ค่าจ้างแรงงานในการผลิต ค่าวัตถุดิบ ค่าน้ำ
ค่าไฟฟ้ า และอื่นๆ ที่ใช้ในการผลิต เป็ นต้น
3. ต้ นทุนรวม (Total Cost : TC) คือ ผลรวมของต้นทุนคงที่ท้ งั หมดและต้นทุนผันแปร
ทั้งหมด โดยสามารถหาได้ดงั นี้
TC = FC + VC
4. ต้ นทุนคงที่เฉลีย่ (Average Fixed Cost : AFC) คือ ต้นทุนทั้งหมดคิดเฉลี่ยต่อผลผลิต
1 หน่วย ซึ่ งคำนวณหาได้โดยการหาต้นทุนคงที่ท้ งั หมด หารด้วยจำนวนสิ นค้า คือ
AFC = TFC
Q
โดยต้นทุนที่เฉลี่ยลดลงเรื่ อยๆ เมื่อผลิตสิ นค้าเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ
5. ต้ นทุนผันแปรเฉลีย่ (Average Variable Cost : AVC) คือ ต้นทุนแปรผันทั้งหมด
คิดเฉลีย่ ต่อผลผลิต 1 หน่วย คำนวณได้โดยการหารต้นทุนแปรผันทั้งหมดด้วยจำนวนสินค้าทีผ่ ลิตขึ้น เช่น
AVC =
TVC
6. ต้ นทุนเฉลีย่ (Average Cost : AC) คือ ต้นทุQนรวม หรื อต้นทุนทั้งหมดคิดเฉลี่ยต่อ
ผลผลิต 1 หน่วย ซึ่งคำนวณหาได้ โดยการหารต้นทุนรวมด้วยจำนวนสินค้าทีผ่ ลิตขึ้น หรื ออีกวิธีหนึ่ง โดย
การรวมต้นทุนคงที่เฉลี่ยเข้ากับต้นทุนผันแปรเฉลี่ย ดังเช่น
TC
AC = หรื อ = AFC + AVC
Q
7. ต้ นทุนเพิม่ (Marginal Cost : MC) หรื อต้นทุนหน่วยสุ ดท้าย ซึ่ งเป็ นต้นทุนในส่ วนที่
เพิ่มขึ้นที่ผลิตสิ นค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย เช่น

MC = TC หรื อ = TVC ใหม่ - TVC เก่า


Q
ตารางแสดงต้ นทุนการผลิตประเภทต่ างๆ ในระยะสั้ น
ปริมาณ ต้ นทุน ต้ นทุน ต้ นทุน ต้ นทุนคงที่ ต้ นทุนผันแปร ต้ นทุนเพิม่ ต้ นทุนเพิม่
ผลผลิต คงที่ ผันแปร รวม เฉลีย่ เฉลีย่ ทั้งหมด MC =
Q ทั้งหมด ทั้งหมด TC = TFC AFC = AVC = TAC = TVC เก่า
TFC TVC + TVC TFC TVC TC -
Q Q Q TVC ใหม่
0 5 0 5 - - - -
1 5 6 11 5.0 6.0 11.0 6
2 5 9 14 2.5 4.5 7.0 3
3 5 11 16 1.6 3.7 5.3 2
4 5 15 20 1.2 3.7 4.9 3
5 5 20 25 1.0 4.0 5.0 5
6 5 30 35 0.8 5.0 5.8 10
7 5 44 49 0.7 6.2 7.0 14
8 5 67 72 0.6 8.3 9.0 23
ต้นทุน
80

70
TC
TVC
60

50
40

30
20

10
FC
0
1 2 3 4 5 6 7 8 9 ผลผลิต

ต้ นทุน
25
MC
20

15

10 TAC
AVC
5

0
AFC
1 2 3 4 5 6 7 8 ผลผลิต

แสดงความสัมพันธ์ ของเส้ นต้ นทุนชนิดต่ างๆ ในการผลิตระยะสั้ น

ต้ นทุนการผลิตในระยะยาว (Long – run Production Cost)


การผลิตระยะยาวปัจจัยการผลิตทุกอย่างสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เช่น ปั จจัยคงที่ ได้แก่
โรงงานและเครื่ องจักร สามารถขยายและติดตั้งเพิ่มเติมได้ ดังนั้น ในการผลิตระยะยาวจึงมีปัจจัย
การผลิตชนิดเดียว คือ ปัจจัยผันแปร เมือ่ ปัจจัยการผลิตทุกชนิดสามารถเปลีย่ นแปลงได้ ต้นทุนการผลิต
ระยะยาว จึงมีแต่ตน้ ทุนผันแปรเท่านั้น ต้นทุนในการผลิตระยะยาวจึงเป็ นต้นทุนทีต่ ่ำสำหรับการผลิตแต่ละ
ระดับ โดยผูผ้ ลิตอาจเลือกขนาดของโรงงานทีเ่ สียต้นทุนเฉลีย่ ต่ำสุดได้ ซึ่งอาจขยายโรงงานเพิม่ หรื อปรับ
โรงงานขนาดเล็กให้เป็ นขนาดใหญ่ การผลิต ผูผ้ ลิตสามารถเลือกผลิตในโรงงานที่เสี ยต้นทุนการ
ผลิตที่ต ่ำที่สุดโดยดูขนาดการผลิตว่าต้องการผลิตมากน้อยเท่าใด
การประหยัดและไม่ประหยัดเนื่องมาจากขนาด หมายถึง การประหยัดเกีย่ วกับต้นทุนการผลิตทั้ง
ภายในและภายนอก การทีเ่ ส้นต้นทุนเฉลีย่ ลดลงในตอนแรกและสูงขึ้นในภายหลัง มีสาเหตุมาจากการ
ประหยัด และไม่ประหยัดจากการผลิต คือ เมื่อผูผ้ ลิตขยายขนาดการผลิตหรื อสิ นค้าเพิ ่มขึ้น
จะเกิดการประหยัดที่ท ำให้ตน้ ทุนการผลิตลดลง การประหยัดแบ่งออกเป็ น 2 แบบ คือ
1. การประหยัดภายใน (Internal Economics) แบ่งออกเป็ นหลายด้าน คือ
1.1 ด้านปัจจัยการผลิต เช่น ผูผ้ ลิตขยายการผลิตขึ้นเล็กน้อย ก็ไม่จำเป็ นต้องเพิม่ แรงงานหรื อ
ที่ดิน ควรใช้แรงงานเดิมโดยการเพิม่ ประสิ ทธิ ภาพ ซึ่ งจะทำให้ตน้ ทุนเฉลี่ยลดลง
1.2 ด้านการจัดการ โดยการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการจัดการ
1.3 ด้านเทคนิค โดยการหาเครื่ องจักร เครื่ องมือ และอุปกรณ์ที่ทนั สมัย
1.4 ด้านการตลาด เช่น การซื้ อสิ นค้าคราวละมากๆ เป็ นการลดต้นทุน
อย่างไรก็ตาม หากขยายขนาดการผลิตเพิม่ ขึ้นเกินระดับหนึ่งแล้ว อาจจะเกิดการไม่ประหยัด
ภายใน (Internal Diseconomics) ขึ้นได้หลายด้าน เช่น ต้องจ้างผูจ้ ดั การหลายคน อาจมีผจู้ ดั การฝ่ ายขาย ผู ้
จัดการฝ่ ายซื้ อ ผูจ้ ดั การฝ่ ายการเงนและบัญชี ผูจ้ ดั การฝ่ ายบุคคล เมื่อต้องการแบ่งงานออกเป็ นฝ่ าย
หรื อแผนกที่สลับซับซ้อนมากขึ้น พนักงานอาจหลบงานเพราะควบคุมไม่ทวั่ ถึงหรื ออาจเกิดการ
ผลิตสิ นค้ามากเกินขีดความสามารถของเครื่ องจักร จนเครื่ องจักรชำรุ ดเสี ยหายต้องเสี ยค่าซ่อมแซม
บำรุ งสูงกว่าปกติได้ และอาจแย่งปัจจัยการผลิตทำให้ราคาสู งขึ้น
2. การประหยัดภายนอก (External Economics)
เป็ นการประหยัดที่เกิดขึ้นนอกระบบการผลิต ไม่ให้เกิดขึ้นเนื่องจากการขยายขนาด
การผลิต แต่กเ็ กิดขึ้นเนื่องจากการขยายตัวของอุตสาหกรรมประเภทเดียวกันหรื อต่างประเภทกัน
แต่มีความสัมพันธ์และอยูใ่ นบริ เวณใกล้เคียงกัน ดังเช่น ถ้าบริ ษทั รถยนต์ ก. เพิม่ จำนวนการผลิต
รถยนต์เพียงบริ ษทั เดียว ก็จะไม่มีผลต่อการประหยัดภายนอก แต่ถา้ บริ ษทั รถยนต์ ข. ค. หรื อ ง.
และอืน่ ๆ ต่างก็ทำการผลิตรถยนต์มากขึ้น จึงเกิดความต้องการส่วนประกอบ เช่น แบตเตอรี่ เบาะรถยนต์
กระจก และอืน่ ๆ มีมากขึ้น ซึ่งจะจูงใจให้บริ ษทั ใกล้เคียงทำการผลิตแบตเตอรี่ บริ ษทั ผลิตเบาะรถยนต์
บริ ษทั ผลิตยางรถยนต์ข้นึ มา ซึ่งบริ ษทั ผลิตรถยนต์แต่ละบริ ษทั สามารถซื้อส่วนประกอบต่างๆ เหล่านี้มา
ได้ในราคาต่ำกว่าทีต่ นจะผลิตส่วนประกอบนั้นเสียเอง ซึ่งต้นทุนเฉลีย่ ในการผลิตรถยนต์ยอ่ มลดลง ทั้งนี้
เพราะเกิดการประหยัดภายนอก อันเนื่องมาจากการขยายตัวของธุรกิจหรื ออุตสาหกรรมมากขึ้น

สรุ ป
ทฤษฎีการผลิตแบบดั้งเดิม เป็ นการอธิ บายความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยการผลิต (ที่ดิน
แรงงาน ทุน และการประกอบการ) ซึ่ งทฤษฎีน้ ีจะเกี่ยวพันกับกฎการลดน้อยถอยลง (Law of
Diminishing Return) ของผลผลิต ซึ่งอธิบายในกรณีมกี ารผลิตระยะสั้น มีตน้ ทุน 2 ชนิด คือ ต้นทุนคงที่
กับต้นทุนผันแปร ส่ วนการผลิตในระยะยาวจะใช้ตน้ ทุนผันแปรอย่างเดียว
ในการผลิตนั้น ผูผ้ ลิตควรให้ความสนใจในเรื่องการประหยัด ซึ่งประกอบด้วย การประหยัด
ภายในและการประหยัดภายนอก เพราะการขยายขนาดผลิตไม่มากนัก ควรใช้ปัจจัยภายในในการ
เพิ่มขีดความสามารถของพนักงาน ตลอดจนการใช้เครื่ องจักรที่มีประสิ ทธิ ภาพ แทนที่จะเพิ ่มทุน
โดยการจัดจ้างพนักงานใหม่ หรื อซื้ อเครื่ องจักร เครื่ องมือใหม่

ค่าเสื่ อมราคา (Depreciation)


ค่าเสื่ อมราคาจัดว่าเป็ นเงินทุนภายในที่สำคัญประเภทหนึ่ง สิ นทรัพย์ถาวรที่มีตวั ตนเท่านั้น
ที่จะนำมาคำนวณค่าเสื่ อมราคา เพราะค่าเสื่ อมราคาเป็ นการหักค่าใช้สินทรัพย์ถาวรในแต่ละปี
เนื่องจากสิ นทรัพย์ถาวรต้องจ่ายซื้ อเป็ นเงินทุนจำนวนสู ง แต่ใช้ได้หลายปี เมื่อใช้ไปจะมีการเสื่ อม
สภาพตามอายุการใช้ ได้แก่ อาคาร โรงงาน เครื่ องจักร รถยนต์ เป็ นต้น ยกเว้นที่ดิน ที่ไม่คิดค่าเสื่อม
ราคา เนื่องจากทีด่ นิ เป็ นสินทรัพย์ทไ่ี ม่มกี ารเสื่อมสภาพและราคาทีด่ นิ มีแนวโน้มทีจ่ ะเพิม่ สูงขึ้นตลอดเวลา
จึงต้องหักค่าเสื่ อมราคาของการใช้เพื่อสะสมไว้ซื้อสิ นทรัพย์ถาวรขึ้นใหม่ ค่าเสื่ อมราคาที่สะสมไว้น้ ี
เมื่อยังไม่ได้น ำไปซื้ อสิ นทรัพย์ถาวรขึ้นใหม่ สามารถนำมาใช้เป็ นเงินทุนสำหรับหมุนเวียนใน
กิจการได้

ความหมายของศัพท์ ต่างๆ ทีค่ วรทราบ


ราคาซาก (Scrap Value หรือ Salvage Value) หมายถึง มูลค่าที่คาดว่าจะขายสิ นทรัพย์
ถาวรนั้นได้เมื่อหมดอายุการใช้งาน หักด้วยค่ารื้ อถอนและค่าใช้จ่ายในการจำหน่ายสิ นทรัพย์น้ นั (ถ้า
มี)
มูลค่าเสื่อมราคาทั้งสิน้ หมายถึง ราคาต้นทุนเดิมของสินทรัพย์ทม่ี กี ารเสื่อมสภาพ หรื อราคาอืน่ ที่
นำมาใช้แทน ซึ่ งปรากฎอยูใ่ นงบการเงิน หักด้วยราคาซากที่ได้ประมาณไว้
มูลค่าเสื่อมราคาทั้งสิน้ = ราคาทุนของสิ นทรัพย์ – ราคาซาก
อายุการใช้ งาน (Useful Life) หมายถึง ระยะเวลาทีก่ จิ การคาดว่าจะใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์
ถาวรนั้นๆ
วิธีคดิ ค่าเสื่อมราคา
การคิดค่าเสื่ อมราคาสิ นทรัพย์ถาวรมีได้หลายวิธีที่ใช้กนั ค่าเสื่ อมราคาที่ได้ในแต่ละวิธีกจ็ ะ
ทำให้มีเงินทุนภายในสะสมเพิ่มขึ้น เป็ นจำนวนแตกต่างกัน แต่เมื่อกิจการได้เลือกวิธีการคำนวณ
ค่าเสื่ อมราคาวิธีใดแล้ว ก็จ ำเป็ นต้องใช้วิธีน้ นั อย่างสม่ำเสมอทุกงวดบัญชี จะเปลี่ยนแปลงวิธีการ
คำนวณค่าเสื่ อมราคาได้กต็ ่อเมื่อได้รับอนุมตั ิจากอธิ บดีกรมสรรพากร ตัวอย่างเช่น บริ ษทั รับเหมา
ก่อสร้างแห่งหนึ่งซื้ อเครื่ องจักรมาใหม่มูลค่า 25,800 บาท โดยคาดว่ามีอายุการใช้งาน 5 ปี และมี
มูลค่าซากในปลายปี ที่ 5 มูลค่า 800 บาท ธุรกิจจึงได้กระจายมูลค่าการใช้งานของเครื่ องจักร โดยคิด
ค่าเสื่ อมราคาแต่ละปี ซึ่ งวิธีคิดค่าเสื่ อมราคาสามารถคิดได้หลายวิธี คือ
1. วิธี Straight – Line : เป็ นวิธีคิดค่าเสื่ อมราคาโดยเฉลี่ยมูลค่าเสื่ อมราคาของสิ นทรัพย์
ให้เป็ นค่าเสื่ อมราคาในแต่ละปี เท่าๆ กัน ตลอดอายุการใช้งานของสิ นทรัพย์ถาวรนั้นๆ สู ตรในการ
คำนวณค่าเสื่ อมราคา มีดงั นี้
ค่าเสื่อมราคาต่ อปี = (ราคาทุนของสิ นทรัพย์ – ราคาซาก) / อายุการใช้ งาน
มูลค่าเครื่ องจักร 25,800 บาท
มูลค่าซาก 800 บาท
มูลค่าเครื่ องจักรหลังหักมูลค่าซาก 25,000 บาท
อายุการใช้งาน 5 ปี
ฉะนั้น ค่าเสื่ อมราคาต่อปี คือ 25,000 / 5 = 5,000 บาท
2. วิธี Double – Declining Balance (DDB) : เป็ นวิธีคิดค่าเสื่ อมราคาอีกวิธีหนึ่ง โดยคิด
ในปี แรกๆ สูงกว่าปี หลังๆ วิธีน้ ี เป็ นวิธีคิดค่าเสื่ อมราคาแบบอัตราเร่ ง นัน่ คือ คิดเป็ น 2 เท่าของวิธี
Straight – Line และค่าเสื่ อมราคาแต่ละปี ก็จะนำจำนวน 2 เท่าของวิธี Straight – Line นี้ไปคูณกับ
มูลค่าเครื่ องจักรที่หกั ค่าเสื่ อมราคาแต่ละปี ออกแล้ว ดังนั้น จากในตัวอย่างเดิม
วิธี Straight – Line หักค่าเสื่ อปี ละ 1/5 (6,800/34,000) ของมูลค่าเครื่ องจักรหลังหัก
มูลค่าซาก
วิธี Double – Declining Balance (DDB) จึงหักค่าเสื่ อมปี ละ (1/5) x 2 = 2/5 เท่าของ
เครื่ องจักรหลังหักมูลค่าซาก และหักค่าเสื่ อมแต่ละปี ออกแล้ว ดังนี้
ปี ที่ 1 ค่าเสื่ อมราคาจึงเป็ น 2/5 (25,000) = 2,000 บาท
ปี ที่ 2 ค่าเสื่ อมราคาจึงเป็ น 2/5 (23,000) = 9,200 บาท
ปี ที่ 3 ค่าเสื่ อมราคาจึงเป็ น 2/5 (13,800) = 5,520 บาท
และเนื่องจากปี ที่ 3 ค่าเสื่ อมราคาต่ำกว่าการคิดแบบ Straight – Line ปี ที่ 4 และ 5 จึงนำ
มูลค่าเครื่ องจักรที่เหลือหาร 2 จึงเป็ นปี ละ 3,312/2 = 1,656 บาท
3. วิธี Unit – of – Production Method : เป็ นวิธีคิดค่าเสื่ อมราคาตามความเป็ นจริ ง
ถ้าเครื่องจักรผลิต 1,000 ก็คอื ค่าเสื่อมราคา 1,000 ถ้าปี ตอ่ มาผลิต 2,000 ก็แสดงว่าใช้เครื่องจักรมากขึ้น
ก็ตอ้ งคิดค่าเสื่ อมราคามากขึ้น เป็ นวิธีคิดค่าเสื่ อมราคาตามจำนวนหน่วยที่ผลิตได้ (หน่วยของสิ นค้า
ทีผ่ ลิตโดยใช้เครื่องจักรนั้น) ในแต่ละงวด ดังนั้น จึงต้องคำนวณว่าเครื่องจักรนี้ ตลอดอายุจะสามารถ
ผลิตผลผลิตได้รวมทั้งหมดกี่หน่วย และแต่ละหน่วยของผลผลิตจะทำให้เครื่ องจักรเสื่ อมราคาเท่าใด
จากนั้น จะสามารถหาได้วา่ แต่ละงวดการผลิต จะเกิดค่าเสื่ อมราคาของเครื่ องจักรนี้ เท่าใด
จากตัวอย่างเดิม สมมติ เครื่ องจักรนี้ ผลิตสิ นค้าทั้งหมดได้ 5,000 หน่วย ฉะนั้น
ค่าเสื่ อมราคาต่อหน่วยผลผลิต = (25,800 – 800) / 5,000
= 5 บาท
ถ้าปี แรกผลิตสิ นค้าได้ 1,000 หน่วย แสดงว่าค่าเสื่ อมราคาเครื่ องจักรปี แรก = 5 x 1,000
= 5,000 และปี ต่อๆ ไปก็ค ำนวณเช่นเดียวกันนี้
4. วิธี Sum of Years’ Digits : เป็ นวิธีคดิ ค่าเสื่อมราคาแบบอัตราเร่ งเช่นกัน คือ ค่าเสื่อมราคาใน
ปี แรกๆ จะมากและค่อยๆ ลดลงในปี หลังๆ อัตรานี้ นำมาคำนวณค่าเสื่ อม คือ สัดส่ วนของจำนวนปี ที่
เหลือของอายุการใช้งานของเครื่ องจักร ต่อ จำนวนปี ของอายุการใช้งานที่เหลือรวมกัน นัน่ คือ
ปี ที่ 1 อายุการใช้งานที่เหลือของเครื่ องจักร คือ 5 ปี
ปี ที่ 2 อายุการใช้งานที่เหลือของเครื่ องจักร คือ 4 ปี
ปี ที่ 3 อายุการใช้งานที่เหลือของเครื่ องจักร คือ 3 ปี
ปี ที่ 4 อายุการใช้งานที่เหลือของเครื่ องจักร คือ 2 ปี
ปี ที่ 5 อายุการใช้งานที่เหลือของเครื่ องจักร คือ 1 ปี
ฉะนั้น จำนวนปี ของอายุการใช้งานที่เหลือรวมกัน คือ 5 + 4 + 3 + 2 + 1 = 15 ดังนั้น
ค่าเสื่ อมราคาปี ที่ 1 = 5/15 (25,000) = 8,333 บาท
ค่าเสื่ อมราคาปี ที่ 2 = 4/15 (25,000) = 6,667 บาท
ค่าเสื่ อมราคาปี ที่ 3 = 3/15 (25,000) = 5,000 บาท
ค่าเสื่ อมราคาปี ที่ 4 = 2/15 (25,000) = 3,333 บาท
ค่าเสื่ อมราคาปี ที่ 5 = 1/15 (25,000) = 1,667 บาท

จากวิธีคิดค่าเสื่ อมราคาวิธีต่างๆ ทั้ง 4 วิธีที่กล่าวมาแล้วข้างต้นนี้ ในแต่ละบริ ษทั ไม่จ ำเป็ น


ต้องคิดค่าเสื่ อมราคาด้วยวิธีการแบบเดียวกันหมด ทั้งนี้ แล้วแต่แนวคิดของบริ ษทั นั้นๆ ว่าเป็ น
แนวคิดไหน และผูบ้ ริ หารจะรู้วา่ เงินทุนภายในมาจากค่าเสื่ อมราคาเท่าไร

บัญชีประชาชาติ รายได้ ประชาชาติ และดัชนีราคา


การทำงานของเศรษฐกิจทั้งระบบ (Whole Economy) มีระบบบัญชีประชาชาติ สามารถใช้
เป็ นเครื่ องมือตรวจสอบการทำงานของระบบเศรษฐกิจทั้งหมด ก่อนที่จะมีเหตุการณ์ที่ไม่ดีเกิดขึ้น
เช่นในช่วงปี ค.ศ. 1930 – 39 ได้เกิดเศรษฐกิจตกต่ำอย่างรุ นแรงที่เรี ยกกันว่า “Great Depression”
กล่าวกันว่า เป็ นเพราะประเทศในโลกส่วนใหญ่ไม่มบี ญั ชีรายได้ประชาชาติทส่ี มบูรณ์ จึงไม่สามารถ
รู ้เหตุการณ์ล่วงหน้าได้ทนั เวลา เพราะฉะนั้นหลังจากที่ได้เกิดเศรษฐกิจตกต่ำ ทำให้ประเทศต่างๆ
หันมาให้ความสนใจกับการเตรี ยมบัญชีประชาชาติที่สมบูรณ์มากขึ้นเป็ นลำดับ
บัญชีประชาชาติ (National Account) จึงมีความหมายถึง บัญชีของชาตินนั่ เอง ระบบบัญชี
ของชาติสมัยใหม่ สามารถให้ขอ้ มูลรวม (Aggregate Variables) ของทั้งประเทศได้ ข้อมูลรวมทีส่ ำคัญ
ได้แก่
1. มูลค่าสิ นค้าและบริ การที่ประชาชนทุกคนช่วยกันผลิตในรอบปี ที่ผา่ นมา ในวิชา
เศรษฐศาสตร์เรี ยกกว่า “ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ”
2. รายได้ที่ประชาชนทุกคนได้รับในรอบปี ที่ผา่ นมา วิชาเศรษฐศาสตร์เรี ยกว่า “รายได้
ประชาชาติ”
3. รายจ่ายที่ประชาชนทุกคนได้จ่ายออกไปในรอบปี ที่ผา่ นมา วิชาเศรษฐศาสตร์เรี ยกว่า
“รายจ่ายประชาชาติ”
ในบัญชีประชาชาติได้ใช้วธิ ี แยกข้อมูลรวมให้เป็ นข้อมูลย่อยลงไปอีก (Sub - Aggregate
Variables) เพื่อวิเคราะห์วา่ มีปัจจัยอะไรที่ท ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลเหล่านี้ เช่น ข้อมูลราย
ได้ประชาชาติ อาจแยกเป็ นรายได้ที่ประชาชนได้รับจากแหล่งต่างๆ ได้แก่ ค่าจ้างแรงงาน ค่าเช่า
ดอกเบี้ย และกำไร และในด้านรายจ่าย บัญชีประชาชาติอาจแยกออกเป็ นข้อมูลย่อย ดังนี้คอื การบริ โภค
การลงทุน การใช้จ่ายของภาครัฐบาล การส่ งออก และการนำเข้า เป็ นต้น ข้อมูลในส่ วนย่อยนี้
มีประโยชน์มาก เพราะทำให้เราเข้าใจบทบาทของตัวแปรต่างๆ และความสำคัญระหว่างตัวแปรทุก
ตัวที่มีผลกระทบซึ่ งกันและกัน รัฐบาล และภาคเอกชน ได้ใช้ขอ้ มูลในบัญชีประชาชาติเพื่อวิเคราะห์
ระบบเศรษฐกิจที่ได้ผา่ นมาแล้ว
บัญชีประชาชาติมีประโยชน์ต่อรัฐบาลมากเป็ นพิเศษ รัฐบาลสามารถพิจารณาว่าเศรษฐกิจ
เท่าทีผ่ า่ นไปแล้วนั้น มีขอ้ ดีและข้อเสียอย่างไรเพือ่ ทำการแก้ไข ก่อนทีจ่ ะมีปัญหาความรุนแรงในระบบ
เศรษฐกิจของประเทศมากจนไม่อาจแก้ปัญหาได้ทนั เวลา ระดับรายได้ และผลิตภัณฑ์ประชาชาติ
ย่อมเป็ นเครื่ องบ่งชี้ฐานะเศรษฐกิจของประเทศในช่วงเวลาต่างๆ กัน ทั้งนี้จะต้องคำนึงถึงจำนวน
ประชากรและระดับราคาสิ นค้าทัว่ ไป ประกอบด้วยข้อมูลผลิตภัณฑ์ประชาชาติท ำให้รู้โครงสร้าง
ทางเศรษฐกิจของประเทศในปี นั้นๆ ว่าเป็ นอย่างไร มีการผลิตในด้านการเกษตรคิดเป็ นร้อยละ
เท่าไรของผลิตภัณฑ์ท้ งั ประเทศ เป็ นต้น ส่ วนข้อมูลในด้านรายได้ประชาชาติ ทำให้มองเห็นได้วา่
รายได้ของประชาชนมาจากแหล่งใดบ้าง ส่ วนข้อมูลในด้านรายจ่ายประชาชาติ ทำให้มองเห็นองค์
ประกอบการใช้จา่ ยของประชาชนในประเทศ ซึ่งแบ่งออกเป็ นรายจ่ายเพือ่ การบริ โภค การลงทุน การจ่าย
ของรัฐบาล การนำเข้า และการส่งออก คิดเป็ นสัดส่วนเท่าไรของของรายจ่ายทั้งหมด เป็ นต้น
คำว่า ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ (National Product) คือ อะไร? ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ คือ “มูลค่า
สิ นค้าและบริ การที่ประชาชนไทยผลิตได้ในรอบระยะเวลาหนึ่ง” พูดอีกอย่างหนึ่งก็คือ ผลิตภัณฑ์
ประชาชาติเป็ นรายการสิ นค้าและบริ การทุกชนิดที่ประเทศไทยผลิตได้ในรอบระยะเวลาหนึ่ง
คูณด้วยราคาของสิ นค้าและบริ การนั้นๆ คำว่า ระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติหมายถึง ระยะเวลา 1 ปี
(ยังไม่เคยมีรายงานว่า มีประเทศใดเก็บข้อมูลผลิตภัณฑ์ประชาชาติในรอบระยะเวลาน้อยกว่า 1 ปี
หรื อมากกว่า 1 ปี )
คำว่า “เบื้องต้น (Gross)” ในบัญชีประชาชาติ มีความหมายว่า มูลค่าสิ นค้าและบริ การที่
ประเทศไทยผลิตได้ในรอบระยะเวลา 1 ปี ดังกล่าวนั้น ยังไม่ได้หกั ค่าเสื่ อมราคา (Depreciation)
ค่าเสื่ อมราคา คือ มูลค่าการสึ กหรอของสิ นค้าประเภททุน เช่น เครื่ องจักรกลที่น ำมาใช้ผลิตสิ นค้า
ย่อมต้องเสื่ อมสภาพไปตามอายุ หรื อแม้แต่โต๊ะเก้าอี้ที่ใช้งานก็ตอ้ งมีการซ่อมแซมตามระยะเวลา
มูลค่าเงินทีเ่ ราต้องจ่ายในการรักษาสภาพของอุปกรณ์การผลิตนี่เองเรี ยกว่า “ค่าเสื่อมราคา (Depreciation)”
มูลค่า GNP หักด้วยค่าเสื่ อมราคา เรี ยกว่า “Net National Product (NNP)” เนื่องจากค่าเสื่ อมราคา
ถือเป็ นรายจ่ายในการลงทุนเพื่อทดแทนส่ วนที่สึกหรอ เพื่อรักษาปริ มาณสิ นค้าประเภททุนให้อยูใ่ น
ระดับเดิม รัฐบาลจึงยอมให้เอกชนหักรายการนี้ ออกไปจากฐานการคำนวณภาษี แต่มกั ปรากฏว่า
เอกชนมักประเมินค่าเสื่ อมราคาสูงเกินไป จนตัวเลขค่าเสื่ อมราคาเชื่อถือไม่ได้ นักวิชาการจึงนิยมใช้
ข้อมูลผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP) เป็ นส่ วนใหญ่ในการประเมินความสามารถในการผลิต
สิ นค้าและบริ การของประชาชน
สินค้าและบริ การทีอ่ ยูใ่ นข่ายสำรวจให้ปรากฏรายการในข้อมูลผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้นจะ
ต้องเป็ นสิ นค้าและบริ การที่น ำมาใช้อุปโภคบริ โภคโดยตรง ไม่ใช้สินค้าที่จะนำไปใช้ผลิตสิ นค้า
หรื อบริ การอย่างอื่นต่อไปเป็ นอันขาด คือ ต้องเป็ นสิ นค้าที่น ำไปบริ โภคขั้นสุ ดท้าย (Final Product)
เท่านั้น เพื่อป้ องกันความซ้ำซ้อนในการเก็บข้อมูลประชาชาติ
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (Gross National Product, GNP) จึงหมายถึง “มูลค่าสิ นค้า
และบริ การขั้นสุดท้ายก่อนหักค่าเสื่อมราคา ซึ่งประชาชนไทยร่ วมกันผลิตได้ในรอบระยะเวลาหนึ่งปี ” ถ้า
มีการหักค่าเสื่ อมราคาแล้วเรี ยกว่า “ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ (Net National Product, NNP)”
ในบางกรณี การรวบรวมข้อมูลประชาชาติท ำได้ไม่ทวั่ ถึง คือ เก็บข้อมูลได้เฉพาะคนที่อยูใ่ น
ประเทศไทยเท่านั้น และยังมีคนไทยมีรายได้ในต่างประเทศมากมาย ทีเ่ ราไม่มตี วั เลขว่าพวกเขามีรายได้
เท่าไรแน่ มูลค่าสิ นค้าและบริ การขั้นสุ ดท้ายก่อนหักค่าเสื่ อมราคาที่รวบรวมข้อมูลเฉพาะที่ผลิตใน
ราชอาณาจักรไทย จะต้องเรี ยกว่า “ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (Gross Domestic Product, GDP)”
GNP หรื อ GDP มีประโยชน์หลายอย่างที่สำคัญ คือ เป็ นข้อมูลที่ใช้วดั ผลการดำเนินงาน
ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจของชาติเป็ นส่ วนรวม ทุกชาติในโลกในปั จจุบนั ใช้ขอ้ มูลตัวนี้ เป็ นหลัก
ในการประเมินความสำเร็ จของเศรษฐกิจของชาติท้ งั สิ้ น ตัวอย่างเช่น ถ้าท่านถามนักเศรษฐศาสตร์
คนหนึ่งว่าเศรษฐกิจของไทยเมือ่ ปี พ.ศ. 2531 และ พ.ศ. 2532 ปี ไหนจะประสบความสำเร็จมากกว่ากัน
นักเศรษฐศาสตร์จะคิดถึงข้อมูล GNP หรื อ GDP เป็ นฐานในการตอบอย่างแน่นอน ในเมื่อ GDP
ในปี พ.ศ. 2531 เท่ากับ 1,506,977 ล้านบาท และ GDP ในปี พ.ศ. 2532 เท่ากับ 1,790,810 ล้านบาท
เพราะฉะนั้นเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2532 จึงต้องดีกว่าเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2531 ทั้งนี้เพราะ GNP หรื อ
GDP เป็ นข้อมูลแสดงความสามารถร่ วมกันของประชาชนในการผลิตสิ นค้าและบริ การ ตัวอย่าง
ข้อมูลผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (GDP) และผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP) ของประเทศไทย
ผลิตภัณฑ์ ในประเทศเบือ้ งต้ น (GDP) จำแนกตามสาขาการผลิต
ณ ราคาประจำปี (หน่ วย : ล้ านบาท)
สาขาการผลิต 2528 2529 2530
1. เกษตรกรรม 169,895 180,841 198,284
2. เหมืองแร่ และการย่อยหิน 40,167 34,398 38,203
3. อุตสาหกรรม 224,456 255,029 295,512
4. การก่อสร้าง 56,824 56,564 62,995
5. ไฟฟ้ า ประปา 23,590 28,689 31,858
6. คมนาคม การขนส่ ง 78,076 85,371 92,947
7. ค้าส่ ง และค้าปลีก 153,130 169,828 192,381
8. การเงินการธนาคาร ประกันภัย และธุรกิจ 35,988 37,376 48,671
อสังหาริ มทรัพย์
9. ที่อยูอ่ าศัย 41,091 44,842 48,802
10. บริ หารราชการป้ องกันประเทศ 48,545 50,612 52,712
11. บริ การ 142,637 151,129 171,665
ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (GDP) 1,014,399 1,094,679 1,234,030
บวก : ผลตอบแทนปัจจัยการผลิตสุ ทธิ -17,597 -22,437 -22,599
จากต่างประเทศ
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP) 996,802 1,072,242 1,211,431
หัก : ภาษีทางอ้อม 113,917 127,652 150,091
หัก : ค่าเสื่ อมราคาของทุน 81,436 93,365 102,919
รายได้ประชาชาติ (NI) 801,449 851,225 958,421
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติต่อคน 19,287 20,364 22,599

จากตาราง ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (GDP) ในปี พ.ศ. 2530 มีมลู ค่า 1,234,030 ล้านบาท
เป็ นผลรวมจากมูลค่าผลิตภัณฑ์ในสาขาเศรษฐกิจต่างๆ เช่น เกษตรกรรม อุตสาหกรรม ฯลฯ
ซึ่ งดำเนินการผลิตในรอบปี พ.ศ. 2530 ภายในอาณาเขตประเทศไทยเท่านั้น ถ้าเราต้องการทราบ
มูลค่าผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP) ต้องบวกด้วยมูลค่าผลตอบแทนปั จจัยการผลิตสุ ทธิ จาก
คนไทยในต่างประเทศเสี ยก่อน

การคำนวณผลิตภัณฑ์ ประชาชาติเบือ้ งต้ น (GNP)


ในหลักการคำนวณ GNP ในทางวิชาการ ให้ใช้มูลค่าสิ นค้าและบริ การขั้นสุ ดท้าย (Final
Product) แต่ในทางปฏิบตั ิท ำได้ยากมาก เพราะมีปัญหาการเก็บข้อมูลซ้ำซ้อนอยูต่ ลอดเวลา (Double
Counting) ยกตัวอย่างเช่น ร้านขายของชำขายน้ำตาลให้ลูกค้าของตน เมื่อเจ้าหน้าที่ทางราชการ
ไปสอบถาม เจ้าของร้านทราบได้อย่างไรว่าน้ำตาลทีข่ ายไปนั้น เป็ นสินค้าขั้นสุดท้ายหรื อสินค้าขั้นกลาง
ถ้าลูกค้านำไปชงกาแฟกินในครอบครัวก็เป็ นสินค้าขั้นสุดท้าย แต่ถา้ เขานำไปทำขนมขายก็เป็ นสินค้าขั้น
กลาง ปัญหาคือ ไม่มีใครตอบคำถามนี้ได้ถูกต้องแน่นอน ในทางปฏิบตั ิเราจึงใช้วิธีการคำนวณโดย
หามูลค่าเพิ่ม (Value Added) เพื่อหลีกเลี่ยงปั ญหาการนับซ้ำในระหว่างการคำนวณผลิตภัณฑ์
ประชาชาติเบื้องต้น
การคำนวณผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้นโดยวิธีหามูลค่าเพิม่ (Value Added) มีหลักการง่ายๆ ว่า
ในเมือ่ มูลค่าเพิม่ จะต้องเกิดขึ้นในทุกขั้นตอนของกระบวนการผลิต (Production Process) ในหน่วยผลิต
ต่างๆ อยูแ่ ล้ว ถ้าเก็บตัวเลขมูลค่าเพิ่มในทุกหน่วยผลิตในระบบเศรษฐกิจและเอาตัวเลขทั้งหมดมา
รวมกัน เราก็จะได้มูลค่าผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP)
ตัวอย่าง บริ ษทั ก. ขายไม้ให้โรงเลื่อย (บริ ษทั ข) ในราคา 500 บาท โรงเลื่อยนำไปทำไม้
แปรรู ป (Timber) และขายให้โรงงานทำเฟอร์นิเจอร์ในราคา 700 บาท โรงงานทำเฟอร์นิเจอร์ใช้ไม้
แปรรู ปทำโต๊ะเขียนหนังสื อ และขายให้ลูกค้าในราคา 1,000 บาท การคำนวณผลิตภัณฑ์ประชาชาติ
เบื้องต้นในส่ วนนี้ท ำได้ 2 วิธี คือ (1) คิดจากผลิตภัณฑ์ข้ นั สุ ดท้าย (Final Product) คือ ราคาโต๊ะเขียน
หนังสื อมูลค่า 1,000 บาท หรื อ (2) รวบรวมมูลค่าเพิ่มที่เกิดขึ้นในทุกขั้นตอนการผลิต ได้แก่ การเอา
มูลค่าเพิม่ ที่เกิดขึ้นในบริ ษทั ก บริ ษทั ข และบริ ษทั ค รวมกัน (500 + 200 + 300) ซึ่ งจะได้มูลค่า
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้นเท่ากับวิธีที่ 1 แต่สามารถหลีกเลี่ยงการนับซ้ำได้ มูลค่าเพิ่มที่เกิดขึ้น
ประกอบด้วย ค่าจ้างแรงงาน ดอกเบี้ย ค่าเช่า และกำไร ไม่มีวตั ถุดิบ เพราะวัตถุดิบที่น ำมาเป็ นปั จจัย
การผลิต คือสิ นค้าขั้นกลางนัน่ เอง
กระบวนการผลิตเฟอร์ นิเจอร์
ขั้นตอนการผลิต ผลผลิต ราคาขาย ราคาสิ นค้ า มูลค่ าเพิม่
(1) ขั้นกลาง (2) (1) – (2)
บริ ษทั ก ปลูกป่ า ไม้ 500 - 500
บริ ษทั ข โรงเลื่อย ไม้แปรู ป 700 500 200
บริ ษทั ค เฟอร์นิเจอร์ โต๊ะหนังสื อ 1,000 700 300

มูลค่า GNP ที่ได้อธิบายไปแล้วนั้น เป็ นการมองมูลค่าจากสิ นค้าและบริ การ (Goods and


Services) แต่มูลค่าผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP) อาจมองได้อีก 2 ด้าน ได้แก่ (1) พิจารณา
ในด้านรายจ่าย และ (2) พิจารณาในด้านรายได้ ซึ่ งถ้าเป็ นระบบเศรษฐกิจแบบง่าย คือมีแต่ผผู ้ ลิต
(Firms) และผูบ้ ริ โภค (Consumers) ไม่มีรัฐบาลและไม่มีการติดต่อกับต่างประเทศ มูลค่า GNP จะ
ต้องเท่ากับมูลค่ารายจ่ายประชาชาติและเท่ากับมูลค่ารายได้ประชาชาติ ดังสมการต่อไปนี้
รายจ่ายประชาชาติ รายได้ประชาชาติ
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ
ต่อสิ นค้าและบริ การ = = จากการผลิตและจำหน่าย
เบื้องต้น (GNP)
(Expenditures) สิ นค้าและบริ การ (Income)

ขอยกตัวอย่างให้พอเข้าใจในประเด็นนี้ ดังนี้ นายดำเป็ นช่างรองเท้า ตั้งร้านขายรองเท้าที่


กาดสวนแก้ว มีรองเท้าในสต๊อกประมาณ 100 คู่ ซึ่ งยังไม่ได้ขาย คือ ยังไม่มีใครมาซื้ อนัน่ เอง
รองเท้าทั้ง 100 คู่เหล่านี้ สมมติวา่ มีราคาเท่ากันหมดคู่ละ 200 บาท ดังนั้น สต๊อกรองเท้าของนายดำ
จึงมีมลู ค่า 20,000 บาท ตราบใดทีส่ ินค้ายังไม่ได้ขาย จะไม่นบั เป็ นส่วนหนึ่งของผลิตภัณฑ์ประชาชาติ
เบื้องต้น (GNP) ต่อมามีนกั เรี ยนนักศึกษามาซื้ อรองเท้าของนายดำไปทั้งหมด รวมกัน 20 คู่ๆ ละ
200 บาท เท่ากับนายดำขายรองเท้าได้มูลค่ารวม 4,000 บาท ยอดขายรองเท้ามูลค่า 4,000 บาทนี้
เท่านั้น ที่จะถูกบันทึกในรายการบัญชีประชาชาติเบื้องต้น คำถามมีวา่ ทำไมจึงบอกว่า มูลค่า
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP) จะต้องเท่ากับรายจ่ายของชาติและรายได้ของชาติ คำตอบคือ
มูลค่า GNP เท่ากับ 4,000 บาทนี้ ก็คือ รายจ่ายขอนักเรี ยนนักศึกษาทั้งหมดรวมกันนัน่ เอง และใน
ขณะเดียวกัน เงินมูลค่า 4,000 บาท ก็คือรายได้ท้ งั หมดที่นายดำได้รับ
ข้อมูลผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (GDP) แยกตามรายจ่ายของประเทศไทย (Expenditure
Approach) ในตาราง เป็ นการคำนวณยอดรวดของรายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริ โภค และการสะสมทุน
ทั้งภาครัฐบาลและภาคเอกชน รวมทั้งมูลค่าของสิ นค้าและบริ การที่ส่งไปจำหน่ายต่างประเทศ
หักด้วยมูลค่าของสิ นค้าและบริ การนำเข้าจากต่างประเทศ ยอดรวมของรายจ่ายที่ได้น้ ีเองเมื่อรวมกับ
ค่าความคลาดเคลื่อนทางสถิติแล้ว จะเท่ากับผลิตภัณฑ์เบื้องต้นของประเทศ (GDP)
ผลิตภัณฑ์ ในประเทศเบือ้ งต้ น แยกตามรายจ่ ายของประเทศไทย
ณ ราคาประจำปี (หน่ วย : ล้ านบาท)
2529 2530
(1) รายจ่ายในการอุปโภคบริ โภคของประชาชน 713,138 789,375
(Private Consumption Expenditure)
(2) รายจ่ายในการอุปโภคบริ โภคของรัฐบาล 144,607 147,724
(Government Consumption Expenditure)
(3) การสะสมทุนเบื้องต้น 237,447 290,492
(Gross Fixed Capital Formation)
(4) ส่ วนเปลี่ยนแปลงของสิ นค้าคงกลัง 3,833 27,963
(Change in Inventories)
สิ นค้าและบริ การส่ งออก (Exports) 290,169 37,152
สิ นค้าและบริ การนำเข้า (Imports) -267,148 -368,288
(5) มูลค่าสิ นค้าและบริ การส่ งออกสุ ทธิ (X – M) 23,021 3,233

รายจ่ายสำหรับผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น 1,122,046 1,258,787


(1) + (2) + (3) + (4) + (5)
บวก ความคลาดเคลื่อนทางสถิติ -27,367 -24,757
ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (GDP) 1,094,679 1,234,030
* การสะสมทุนทั้งในภาครัฐบาลและภาคเอกชนรวมอยูใ่ นหมวดเดียวกันในข้อ (3)

องค์ ประกอบค่าใช้ จ่าย มีดงั นี้


1. การบริโภคของครัวเรือน หมายถึง สินค้าและบริ การทีค่ รัวเรื อน รวมทั้งสถาบันไม่แสวงหา
กำไร นำไปบริ โภคโดยตรง มิใช่เพื่อการผลิต แบ่งออกเป็ นสิ นค้าคงทน สิ นค้าสิ้ นเปลือง และบริ การ
2. การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริ โภคของรัฐบาล เป็ นการใช้จ่ายของรัฐบาลในส่ วนที่ไม่
เกี่ยวกับการผลิต เช่น เงินเดือน และค่าจ้างในการบริ หารราชการ ค่าเชื้อเพลิง น้ำประปา ค่าวัสดุ
ค่าอาวุธยุทโธปกรณ์ และการก่อสร้างทางทหาร
3. การสะสมทุน ได้แก่ การใช้จ่ายที่ก่อให้เกิดผลผลิตขึ้นในระยะต่อไป ประกอบด้วย
การลงทุนในรู ปสิ นทรัพย์ที่ก่อให้เกิดผลผลิต และมีมูลค่าค่อนข้างสู ง มีอายุการใช้งานเกิน 1 ปี
การสะสมทุนเบื้องต้น (Gross Fixed Capital Formation) หักด้วย ค่าเสื่ อมราคา (Depreciation) เรี ยก
ว่า การสะสมทุนสุ ทธิ (Net Fixed Capital Formation)
4. การส่ งออกและการนำเข้า หมายถึง สิ นค้าและบริ การที่เราส่ งไปจำหน่ายต่างประเทศ
และสิ นค้าที่สงั่ เข้ามาจำหน่ายในประเทศ การที่ตอ้ งนำสิ นค้าและบริ การนำเข้ามาหักออก ก็เพื่อให้
เป็ นบวก แสดงว่า สามารถผลิตสิ นค้าและบริ การได้เกินกว่าความต้องการภายในประเทศ จนมีเหลือ
ส่ งไปขายต่างประเทศได้ แต่ถา้ เป็ นลบ แสดงว่าเรายังผลิตสิ นค้าและบริ การในประเทศไม่เพียงพอ
ต้องอาศัยการนำเข้ามาชดเชยความต้องการในประเทศ
ประเทศไทยเริ่ มจัดเก็บข้อมูลรายได้ประชาชาติ (National Income) ปี พ.ศ. 2510 โดยการ
คำนวณผลตอบแทนปัจจัยการผลิต ได้แก่ แรงงาน ที่ดิน ทุน และการประกอบการ ซึ่ งรายได้
ประชาชาติ มีดงั นี้
1. ค่าตอบแทนแรงงานของลูกจ้าง ได้แก่ เงินเดือน ค่าจ้าง และค่าตอบแทนอื่นๆ ที่ให้กบั
ลูกจ้าง ทั้งทีเ่ ป็ นเงินสดและไม่ใช่เงินสด เช่น ค่าคอมมิชชัน่ เงินสวัสดิการ โบนัส อาหาร ทีอ่ ยูอ่ าศัย ฯลฯ
2. รายได้จากการเกษตร การประกอบอาชีพอิสระ และการประกอบการอืน่ ๆ ทีม่ ใิ ช่นิตบิ คุ คล
ได้แก่ รายได้ของเกษตรกร แพทย์ สถาปนิก วิศวกร แม่คา้ หาบเร่ ร้านขายของเบ็ดเตล็ด ฯลฯ รายการนี้รวม
รายได้และกำไรสุทธิจากการประกอบการและค่าแรงของเจ้าของ ซึ่งรวมบุคคลในครอบครัว
ที่ท ำงานโดยไม่ได้รับค่าจ้างด้วย
3. รายได้จากทรัพย์สินของครัวเรื อน ได้แก่ ค่าเช่า เงินปั นผล ดอกเบี้ยที่ครัวเรื อน และ
สถาบันการกุศลได้รับ
4. เงินออมของนิติบุคคล ซึ่ งเป็ นเงินออมสุ ทธิ เงินปั นผล และกำไรที่น ำส่ งรัฐของธุรกิจ
นิติบุคคลเอกชน รัฐวิสาหกิจที่จดทะเบียนเป็ นบริ ษทั จำกัด
5. ภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็ นภาษีทางตรง ที่รัฐบาลเก็บจากธุรกิจนิติบุคคลเอกชนและ
วิสาหกิจนิติบุคคล หรื อรัฐวิสาหกิจที่จดทะเบียนเป็ นบริ ษทั จำกัด
6. รายได้ของรัฐบาลจากทรัพย์สินและการประกอบการ
7. ดอกเบี้ยหนี้สาธารณะ เป็ นรายการที่น ำมาหักจากรายได้ท้ งั สิ้ นในการคำนวณรายได้
ประชาชาติ เนื่องจากส่ วนหนึ่งเป็ นดอกเบี้ยที่เกิดจากการกูย้ มื มาเพื่อใช้จ่ายในการซื้ อสิ นค้าและ
บริ การของรัฐบาล
8. ดอกเบี้ยหนี้บริ โภค เป็ นรายการหักเช่นเดียวกับรายการดอกเบี้ยหนี้สาธารณะ เนื่องจาก
เป็ นดอกเบี้ยที่เกิดจากการใช้จ่าย และการกูย้ มื มาเพื่อใช้ในการบริ โภคของครัวเรื อน ซึ่ งไม่ก่อให้เกิด
ผลผลิต

ตัวอย่างบัญชีรายได้ประชาชาติของประเทศไทยในหลักการทางบัญชีประชาชาติ เราอาจสรุ ปได้


ดังนี้
ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (GDP) + ผลตอบแทนปั จจัยการผลิตสุ ทธิ จากต่างประเทศ
= ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP)
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP) – (ภาษีทางอ้อม + ค่าเสื่ อมราคา)
ในข้อเท็จจริ ง ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP) ในทางบัญชีไม่ได้ตกเป็ นรายได้แก่
ประชาชนทั้งหมด จะต้องนำมาหักภาษีทางอ้อมให้แก่รัฐบาล และค่าเสื่ อมราคาซึ่ งธุรกิจเป็ นผูห้ กั
เก็บไว้เสี ยเอง เพื่อเป็ นเงินทุนสำรองนำมาซ่อมแซมสิ นค้าประเภททุนที่สึกหรอของบริ ษทั หรื อวิสา
หกิจนั้นๆ ต่อไป เราได้เคยเรี ยนในตอนต้นสรุ ป
รายจ่ายประชาชาติ รายได้ประชาชาติ
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ
ต่อสิ นค้าและบริ การ = = จากการผลิตและจำหน่าย
เบื้องต้น (GNP)
(Expenditures) สิ นค้าและบริ การ (Income)
เป็ นเรื่ องทางทฤษฎี ซึ่ งตามหลักบัญชีประชาชาติ เมื่อมีรัฐบาลเกิดขึ้น รัฐบาลมีการเก็บภาษี
มูลค่าเพิ่มต่างๆ และมีการยินยอมให้เอกชนหักค่าเสื่ อมราคาของธุรกิจของตนได้ จึงทำให้มูลค่า
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติไม่เท่ากับรายได้ประชาชาติ

การจำแนกรายได้ ประชาชาติของประเทศไทย ณ ราคาประจำปี


(หน่ วย : ล้ านบาท)
2529 2530
(1) ค่าตอบแทนแรงงานของลูกจ้าง 318,451 352,014
(2) รายได้จากการเกษตรและการประกอบการที่มิใช่นิติบุคคล 389,789 449,527
(3) รายได้จากทรัพย์สินของครัวเรื อน 123,837 120,795
(4) เงินออมของนิติบุคคล 30,361 46,280
(5) ภาษีเงินได้นิติบุคคล 15,705 18,003
(6) เงินโอนจากนิติบุคคล 1,838 1,948
(7) รายได้ของรัฐบาลจากทรัพย์สินและการประกอบการ 15,647 16,872
หัก : ดอกเบี้ยหนี้สาธารณะ 36,245 37,848
หัก : ดอกเบี้ยหนี้บริ โภค 8,158 9,170
รายได้ประชาชาติ (National Income) 851,225 958,421

เราสามารถสรุ ปลักษณะพิเศษของข้อมูล GDP และ GNP ไม่วา่ จะพิจารณาในด้านรายจ่าย


ประชาชาติ หรื อพิจารณาในด้านรายได้ประชาชาติ ดังนี้
1. GDP และ GNP เป็ นตัวแปรโฟล (Flow Variable) จึงต้องมีการระบุเงื่อนเวลาประกอบ
ข้อมูลด้วยเสมอ ซึ่ งโดยปกติค่าของ GDP และ GNP ของทัว่ โลกคิดเป็ นมูลค่าต่อหนึ่งปี อยูแ่ ล้ว ใน
ช่วงระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม ดังนั้น ถ้าเราระบุตวั เลข GDP หรื อ GNP โดยไม่ระบุ
ช่วงเวลา เช่น GDP ของประเทศไทยมีมูลค่า 1,790,810 ล้านบาท คนทัว่ ไปย่อมไม่สามารถเข้าใจได้
อย่างน้อยควรระบุปี พ.ศ. เช่น GDP ในปี พ.ศ. 2532 เป็ นต้น ทุกคนจะเข้าใจตรงกันว่า GDP
หรื อ GNP ในปี พ.ศ. 2532 เป็ นข้อมูลที่เก็บระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม 2532
2. ค่าของ GDP หรื อ GNP ประเมินจากราคาตลาด (Market Price) บัญชีประชาชาติของไทย
เรี ยกว่า “ราคาประจำปี (Current Price)” เช่น เก็บข้อมูลในปี พ.ศ. 2534 ก็ใช้ราคาในปี พ.ศ. 2534
เป็ นต้น
3. สิ นค้าและบริ การที่น ำเข้ามาคำนวณ จะต้องเป็ นสิ นค้าและบริ การขั้นสุ ดท้าย (Final
Product) เท่านั้น สิ นค้าขั้นกลาง (Intermediation Product) ซึ่ งเป็ นสิ นค้าที่จะนำไปผลิตสิ นค้าอีก
ชนิดหนึ่งไม่นบั รวมเข้าในรายการ GDP หรื อ GNP เพื่อหลีกเลี่ยงการเก็บข้อมูลซ้ำซ้อนกันนัน่ เอง
(Double Counting) ด้วยเหตุน้ ี การคำนวณมูลค่าและบริ การ คือ GNP ต้องใช้หลักการคำนวณโดยวิธี
หามูลค่าเพิ่ม (Value Added)
4. วิธีคิดบัญชีประชาชาติ มีอยูด่ ว้ ยกัน 3 วิธี คือ (ก) คำนวณในด้านการผลิต (Output
Approach) (ข) คำนวณในด้านรายจ่าย (Expenditure Approach) และ (ค) คำนวณในด้านรายได้
(Income Approach) กองบัญชีประชาชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง
ชาติ (สศช.) มีหน้าที่จดั ทำสถิติต่างๆ ตามระบบบัญชีประชาชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 เป็ นต้นมา
5. GNP เป็ นข้อมูลผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้นทีไ่ ด้เกิดขึ้นมาแล้วในอดีต คือเราไม่สามารถ
คำนวณ GNP ในปี ปัจจุบนั ได้เป็ นอันขาด เราจะได้ GNP ในปี ทผ่ี า่ นมาแล้วเท่านั้น การรวบรวมข้อมูลที่ได้
เกิดขึ้นแล้วอาจะมีขอ้ ผิดพลาดได้มากมาย

ดัชนีราคา (Price Index)


การวิเคราะห์ดชั นีราคา เป็ นการวิเคราะห์ถงึ ขนาดการเปลีย่ นแปลงของราคาผลิตผลชนิดต่างๆ ที่
เกิดขึ้นในแต่ละปี ว่าเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรื อลดลง คิดเป็ นร้อยละเท่าไรเมื่อเปรี ยบเทียบกับราคา
ผลผลิตชนิดนั้นในปี ฐาน หากเลขดัชนีราคาที่ค ำนวณได้มีค่ามากกว่า 100 หมายความว่า ราคาของ
ผลผลิตในปี น้ นั ๆ มีคา่ สูงกว่าราคาของผลผลิตชนิดนั้นในปี ทก่ี ำหนดให้เป็ นฐาน และถ้าหากว่าเลขดัชนี
ราคาในปี หนึ่งที่ค ำนวณได้มีคา่ น้อยกว่า 100 ก็แสดงว่า ผลิตผลในปี นั้นมีคา่ ต่ำกว่าราคาของผลิตผล
ชนิดนั้นในปี ที่ก ำหนดให้เป็ นฐาน
การคำนวณเลขดัชนีข้ ึนมา เพื่อให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลได้ง่ายและชัดเจนยิง่ ขึ้น
เมือ่ ต้องการนำข้อมูลหนึ่งไปเปรี ยบเทียบกับข้อมูลอีกชุดหนึ่ง เพราะตัวเลขจากข้อมูลจริ งไม่สามารถบอก
ขนาดของการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลในแต่ละช่วงเวลาที่ต่างกันได้อย่างชัดเจน

เลขดัชนีแบ่ งตามลักษณะของข้ อมูลที่นำมาคำนวณได้ 3 ประเภท


1. เลขดัชนีราคา (Price Index Numbers) หมายถึง เลขดัชนีเกี่ยวกับราคาประเภทต่างๆ
เช่น เลขดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ เลขดัชนีราคาขายส่ ง เลขดัชนีราคาผูบ้ ริ โภค
2. เลขดัชนีปริมาณ (Quantitative Index Numbers) หมายถึง เลขดัชนีที่เกี่ยวกับปริ มาณ
ประเภทต่างๆ เช่น เลขดัชนีปริ มาณผลผลิตข้าวโพดทีผ่ ลิตได้ของประเทศ เลขดัชนีปริ มาณการส่งออก
ของข้าวไทย
3. เลขดัชนีมลู ค่า (Value Index Numbers) หมายถึง เลขดัชนีของมูลค่าผลิตผลประเภทต่างๆ
เช่น เลขดัชนีของมูลค่าข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้

ตารางเลขดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ เลขดัชนีปริมาณผลผลิต และเลขดัชนีมูลค่ าของข้ าวโพด


ปี เพาะปลูก ดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ ดัชนีปริมาณผลผลิต ดัชนีมูลค่ า
2519/20 100 100 100
2520/21 98 63 62
2521/22 96 104 101
2522/23 125 107 134
2523/24 146 112 163
2524/25 131 129 168
2525/26 122 112 137
2526/27 149 133 198
2527/28 140 158 220
2528/29 109 184 201
2529/30 96 161 154
ทีม่ า : ศูนย์สถิติการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2530. สถิติการเกษตรของประเทศไทย
ปี เพาะปลูก 2529/30. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เอกสารสถิติการเกษตร เลขที่ 375.
หมายเหตุ : กำหนดให้ปีเพาะปลูก 2519/20 เป็ นปี ฐาน

วิธีการคำนวณเลขดัชนีราคา แบ่ งออกได้ เป็ น 2 วิธี คือ


1. การคำนวณเลขดัชนีราคา โดยไม่ มีการถ่ วงน้ำหนัก (Unweighted Price Indexes)
การคำนวณเลขดัชนีราคา โดยไม่มีการถ่วงน้ำหนัก หรื อเลขดัชนีราคาธรรมดานี้
เป็ นวิธีการคำนวณเลขดัชนีอย่างง่ายๆ โดยมีหลักว่าเลขดัชนีราคาในระยะเวลาทีต่ อ้ งการคำนวณก็คอื ราคา
สิ นค้าชนิดนั้นในระยะเวลาที่ตอ้ งการคำนวณคิดเทียบเป็ นร้อยละกับราคาสิ นค้าชนิดเดียวกันใน
ระยะเวลาที่ก ำหนดเป็ นฐาน ซึ่ งเขียนเป็ นสู ตรได้ดงั นี้
Pi
Ii = x 100 โดย Ii = เลขดัชนีราคาสิ นค้าในปี ที่ i
Po Pi = ราคาของสิ นค้าในปี ที่ i
Po = ราคาสิ นค้าในปี ฐาน

ตารางราคาของปอเบลเกรด A ในตลาดกรุ งเทพกับการคำนวณดัชนีราคาแบบธรรมดา


ปี พ.ศ. ราคาปอเบลเกรด A 1/ ดัชนีราคา 2/
บาท/กก. %
2520 5.84 100.00
2521 5.15 88.18
2522 5.78 98.97
2523 6.36 108.90
2524 6.29 107.71
2525 6.39 109.42
2526 6.47 110.79
2527 6.08 104.11
2528 5.51 94.35
2529 5.80 99.32
2530 5.77 98.80
1/ จากธนาคารกรุ งไทย. รายงานเศรษฐกิจ. ปี ที่ 21 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ์ 2531.
Pi
2/ จากการคำนวณโดยใช้สูตร Ii = x 100
โดยกำหนดให้ปี 2520 เป็ นฐาน Po

5.84
ตัวอย่างเช่น I2520 = x 100 = 100.00
5.84
5.15
I2521 = x 100 = 88.18
5.84
5.77
I2530 = x 100 = 9
5.84
2. การคำนวณเลขดัชนีโดยมีตัวถ่ วงน้ำหนัก (Weighted Price Indexes)
การคำนวณเลขดัชนีราคาโดยมีตวั ถ่วงน้ำหนัก มีสูตรการคำนวณต่างๆ ดังนี้
1. สูตรของ Laspayers
piqo
Ioi = x 100
poqo
piqo + p2qo + …… + pnqo
Ioi = x 100
poqo + poq2 + …… + poqo

2. สูตรของ Paasche
piqi
Ioi = x 100
po qi
p1q1 + p2q2 + …… + pnqn
Ioi = x 100
poq1 + poq2 + …… + poqn

3. สูตรของ Edgeworth – Marshall


pi (qo + qi)
Ioi = x 100
po (qo + qi)
pi (qo + q1) + p2 (p2 + q2) + ….. + pn (qo + qn)
Ioi = x 100
po(qo + q1) + po (qo + q2) + ….. + po (qo + qn)

โดยกำหนดให้ Ioi = คือเลขดัชนีราคาในช่วงเวลา i ซึ่ งหาได้โดยให้เวลา


o เป็ นปี ฐาน และเวลา i เป็ นช่วงเวลาที่ตอ้ งการหา
หรื อคำนวณ
Po = คือ ราคาของผลผลิตในปี ฐาน
Pi = คือ ราคาของผลผลิตในปี ที่ตอ้ งการคำนวณ
qo = คือ ปริ มาณของผลผลิตในปี ฐาน
n = คือ จำนวนปี

ตัวอย่างการคำนวณเลขดัชนีราคาโดยใช้สูตรต่างๆ ได้ใช้ขอ้ มูลราคาและปริ มาณของ


ผลผลิตข้าว
ตารางปริมาณผลผลิตข้ าวและราคาข้ าวเปลือกที่ชาวนาได้ รับ
ปี เพาะปลูก บาท / n. (p) ล้ านตัน (q)
2520/21 2.40 13.92
2521/22 2.27 17.47
2522/23 2.71 15.78
2523/24 3.17 17.37
2524/25 2.88 17.77
2525/26 2.94 16.88
2526/27 2.79 19.55
2527/28 2.33 19.91
2528/29 2.30 20.26
2529/30 2.41 18.87
ทีม่ า : ศูนย์สถิตกิ ารเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2530. สถิตกิ ารเกษตรของประเทศไทย
ปี เพาะปลูก 2529/30. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เอกสารสถิติการเกษตร เลขที่ 375.

จากตารางคำนวณค่าดัชนีราคาโดยใช้สูตรต่างๆ ตามที่กล่าวมาข้างต้น ถ้ากำหนดให้ปี


2520/21 เป็ นปี ฐาน จะได้คา่ ดัชนีราคาตามสู ตรต่างๆ ดังต่อไปนี้

1. สูตรของ Laspayers
piqo
Ioi = x 100
poqo
โดยกำหนดให้ปี 2520/21 เป็ นปี ฐานจะได้ po = 2.40 , qo = 13.92
piqo 2.40 x 13.92
po qo 2.40 x 13.92
Ioo ปี 2520/21 = x 100 = x 100 = 100.00%

(2.40 x 13.92 + 2.27 x 13.92)


Io1 ปี 2521/22 = x 100 = 97.29%
2.40 x 13.92 + 2.40 x 13.92

2. สูตรของ Paasche
piqi
Ioi = x 100
po qi
โดยกำหนดให้ปี 2520/21 เป็ นปี ฐานจะได้ po = 2.40

Ioo ปี 2520/21 = 2.40 x 13.92 x 100 = 100.00%


2.40 x 13.92
(2.40 x 13.92 + 2.27 x 17.47)
Io1 ปี 2521/22 = x 100 = 96.99%
2.40 x 13.92 + 2.40 x 17.47

3. สูตรของ Edgeworth – Marshall


pi (qo + qi)
Ioi = x 100
po (qo + qi)
โดยกำหนดให้ปี 2520/21 เป็ นปี ฐานจะได้ po = 2.40 , qo = 13.92

2.40 (13.92 +13.92)


Ioo ปี 2520/21 = x 100 = 100.00%
2.40 (13.92 +13.92)
2.40 (13.92 +13.92) + 2.27 x (13.92+17.47)
Io1 ปี 2521/22 = x100 = 97.13%
2.40 (13.92 +13.92) + 2.40 x (13.92+17.47)

การเปลีย่ นฐานเลขดัชนี
การเปลี่ยนฐานเลขดัชนีจากระยะเวลาหนึ่งไปเป็ นอีกระยะเวลาหนึ่งนั้น ใช้กรณี ที่เวลาที่ใช้
เป็ นฐานอยูเ่ ดิมนั้นเป็ นเวลาทีผ่ า่ นมานานแล้ว ไม่เหมาะสมกับการทีจ่ ะใช้เปรี ยบเทียบกับข้อมูลใหม่ๆ
ที่เกิดขึ้น หรื อบางครั้งเราต้องการที่จะเปรี ยบเทียบดัชนีของข้อมูลหลายๆ ชุดที่มีเวลาที่ใช้เป็ นฐาน
แตกต่างกัน ถ้าไม่เปลีย่ นเวลาทีใ่ ช้เป็ นฐานของข้อมูลเหล่านี้ให้เป็ นเวลาเดียวกันแล้ว การเปรี ยบเทียบ
ก็จะทำได้ไม่ชดั เจน ดังนั้น จึงจำเป็ นต้องเปลี่ยนฐานของดัชนีของข้อมูลต่างๆ ให้อยูใ่ นฐานเดียวกัน
โดยมีสูตรการคำนวณดังนี้
เลขดัชนีของปี ที่ i
เลขดัชนีปีที่ i เมื่อมีฐานเวลาใหม่ = x 100
เลขดัชนีของปี ที่ก ำหนดให้เป็ นฐานใหม่
ตัวอย่างการคำนวณดังตารางเดิมกำหนดให้ปี 2522 เป็ นปี ฐาน ต่อมาต้องการเปลี่ยนเวลา
ปี ฐานใหม่โดยกำหนดให้ปี 2525 เป็ นปี ฐานใหม่
100
ดังนั้นเลขดัชนีในปี 2522 เมื่อมีเวลาฐานเป็ นปี 2525 = x 100 = 50%
200
280
หรื อเลขดัชนีในปี 2530 เมื่อเวลาฐานเป็ นปี 2525 = x 100 = 140%
200

ตารางการเปลีย่ นฐานเลขดัชนี
ปี พ.ศ. เลขดัชนีเดิม 100 เลขดัชนีใหม่
กำหนดให้ ปี 2522 เป็ นปี ฐาน 1/
กำหนดให้ ปี 2525 เป็ นปี ฐาน
200
2522 100 x 100 = 50.00

2523 105 105 x 100 = 52.50


200
2524 115 115 x 100 = 57.50
200
2525 200 200 x 100 = 100.00
200
2526 250 250 x 100 = 125.00
200
2527 300 300 x 100 = 150.00
200
2528 260 260 x 100 = 130.00
200
270
200
2529 270 x 100 = 135.00

2530 280 280 x 100 = 140.00


200
1/ ตัวเลขจากการสมมุติ

ประโยชน์ ของเลขดัชนีราคา มีดงั ต่ อไปนี้


1. ใช้ในการปรับมูลค่าของข้อมูลต่างๆ ในกรณีทต่ี อ้ งการทราบค่าการเปลีย่ นแปลงทีแ่ ท้จริ ง
เมื่อระดับราคาเปลี่ยนแปลงไป เช่น เมื่อปรับรายได้ดว้ ยดัชนีราคาจะได้รายได้ที่แท้จริ ง (Real
Income) ปรับค่าจ้างแรงงานด้วยดัชนีราคาจะได้ค่าจ้างแรงงานที่แท้จริ ง
2. ช่วยในการกำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจต่างๆ นโยบายบางอย่างของผูบ้ ริ หารกำหนด
ขึ้นมาโดยการศึกษาจากเลขดัชนีที่สร้างขึ้นมา เช่น นโยบายการปรับค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำให้แก่ผใู ้ ช้
แรงงานหรื อการปรับอัตราเงินเดือน ผูบ้ ริ หารจำเป็ นต้องศึกษาถึงดัชนีราคาผูบ้ ริ โภคหรื อดัชนีราคา
ค่าครองชีพที่สูงขึ้นด้วย เพื่อที่จะได้ปรับค่าจ้างได้สอดคล้องกับอัตราค่าครองชีพที่สูงขึ้น
3. ใช้ในการวัดอำนาจซื้ อ (Purchasing Power) ผลิตผลเกษตรของผูบ้ ริ โภค กล่าวคือ ดัชนี
ราคาของผลิตผลเกษตรจะเป็ นตัววัดการเปลี่ยนแปลงอำนาจซื้ อผลิตผลเกษตรว่าผูบ้ ริ โภคมีอ ำนาจ
ซื้อเพิม่ ขึ้นหรื อลดลงจากปี ฐาน ตัวอย่างเช่น สมมุตใิ ห้ปี 2525 เป็ นปี ฐานและมีคา่ ดัชนีราคาประเภทต่างๆ
ในปี 2530
ตารางดัชนีราคาประเภทต่ างๆ ในปี 2530 โดยกำหนดให้ ปี 2525 เป็ นปี ฐาน
ประเภทของดัชนีราคา เลขดัชนีราคา (%)
ดัชนีราคาผลิตผลเกษตรที่เกษตรกรได้รับ 130
ดัชนีราคาสิ นค้าที่เกษตรกรจ่าย 145
ดัชนีราคาผลิตผลเกษตร 120
ดัชนีราคาสิ นค้าอุตสาหกรรม 155
จากข้อมูลดังกล่าวในตาราง เราสามารถวัดอำนาจการซื้อสินค้าของสินค้าประเภทต่างๆ ได้ดงั นี้
1. การวัดอำนาจการซื้อผลิตผลเกษตร โดยการพิจารณาจากรายได้และรายจ่ายของครอบครัว
เกษตรกร คำนวณได้โดยใช้สูตร

อำนาจการซื้ อผลิตผลเกษตร = ดัชนีราคาผลิตผลเกษตรที่เกษตรกรได้รับ x 100


ดัชนีราคาสิ นค้าที่เกษตรกรจ่าย
หมายความว่า อำนาจการซื้อผลิตผลการเกษตรในปี 2530 เท่ากับร้อยละ 89.66 ของปี ฐาน
2525 ซึ่ งแสดงว่าในปี 2530 ผูบ้ ริ โภคมีอ ำนาจการซื้ อสิ นค้าผลิตผลเกษตรลดลงจากปี 2525
2. การวัดอำนาจการแลกเปลี่ยนระหว่างผลิตผลเกษตรกับสิ นค้าอุตสาหกรรม
ดัชนีราคาผลิตผลเกษตร
อำนาจการแลกเปลี่ยน = x 100
ดัชนีราคาสิ นค้าอุตสาหกรรม
= 120 x 100 = 77.42%
155
แสดงว่าในปี 2530 เมือ่ เทียบกับปี ฐานในปี 2525 แล้วอำนาจการเปลีย่ นของผลิตผลเกษตร
เสียเปรี ยบ กล่าวคือ ในปี 2530 ผลิตผลเกษตรในปริ มาณเดียวกันสามารถแลกเปลีย่ นสินค้าอุตสาหกรรม
ได้เพียงร้อยละ 77.42 ของปริ มาณสิ นค้าอุตสาหกรรมในปี ฐานเท่านั้น
สรุ ป
บัญชีประชาชาติ หมายถึง ระบบบัญชีที่รวบรวมข้อมูลต่างๆ ในประเทศซึ่ งเกี่ยวพันถึง
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ (National Product) ผลิตภัณฑ์ในประเทศ (Domestic Product) และรายได้
ประชาชาติ (National Income)
ดัชนีราคา (Price Index) เป็ นการวิเคราะห์ถึงขนาดการเปลี่ยนแปลงของราคาผลิตผลต่างๆ
ที่เกิดขึ้นในแต่ละปี ว่าเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรื อลดลงคิดเป็ นร้อยละเท่าไร เมื่อเปรี ยบเทียบกับราคา
ผลผลิตชนิดนั้นในปี ฐาน เลขดัชนีแบ่งได้เป็ นเลขดัชนีราคา เลขดัชนีปริ มาณ และเลขดัชนีมูลค่า
ประโยชน์ของเลขดัชนีราคา คือ ใช้ปรับค่าของข้อมูลต่างๆ ในกรณีทต่ี อ้ งการทราบว่าการเปลีย่ นแปลง
ที่แท้จริ ง ช่วยในการกำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจและใช้ในการวัดอำนาจซื้ อผลิตผลแทนผูบ้ ริ โภค

You might also like