Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 2

รายงานการวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง  การพัฒนาการอ่ านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่  3/2

ความสำคัญ
การจัดการเรี ยนการสอนมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาให้นกั เรี ยนเกิดทักษะทั้ง 4 ด้าน คือ การอ่าน การ
ฟัง การพูด การเขียน  โดยเฉพาะทักษะการอ่าน  เป็ นทักษะที่มีความสำคัญเพื่อใช้ในการสื่ อสาร และการ
เรี ยนรู ้ในระดับสูงขึ้นต่อไป  แต่จากการทดสอบของนักเรี ยนชั้น ป.3  /2 โรงเรี ยนอัสสัมชัญระยอง  จำนวน 
5  คน  จากนักเรี ยน  39  คน  พบว่า  นักเรี ยนมีพ้ืนฐานการอ่านสะกดคำที่ใช้ทวั่ ไปและคำศัพท์แต่แตกต่าง
กันมาก  และอ่านสะกดคำผิดเป็ นส่ วนมาก  จึงควรหาทางพัฒนาให้นกั เรี ยนสามารถอ่านสะกดคำที่ใช้ทวั่ ไป
และคำศัพท์ให้ถูกต้อง  ข้าพเจ้าในฐานะครู ผสู้ อนจึงสนใจที่จะสร้างแบบฝึ กการอ่านสะกดคำขึ้นเพื่อนำไปใช้
พัฒนาความสามารถในการอ่านสะกดคำของนักเรี ยนในชั้น ป. 3/2 

วัตถุประสงค์
1. เพื่อเปรี ยบเทียบความสามารถในการอ่านสะกดคำก่อนและหลังเรี ยน  โดยใช้แบบฝึ กการอ่าน
สะกดคำในบทเรี ยน
2. เพื่อให้นกั เรี ยนอ่านออกเสี ยงคำได้ถูกต้องและชัดเจน
3. เพื่อฝึ กทักษะกระบวนการอ่านออกเสี ยงจากชุดการพัฒนาการอ่าน
4. เพื่อศึกษาข้อมูลทักษะกระบวนการอ่าน

ตัวแปรที่ศึกษา
ในการวิจยั ครั้งนี้  ตัวแปรที่ศึกษาประกอบด้วย
1.  ตัวแปรอิสระ ได้แก่  ให้เด็กนักเรี ยนฝึ กอ่านจากชุดแบบฝึ กพัฒนาการอ่านสะกดคำ
2.  ตัวแปรตาม  ได้แก่  ความสามารถในการอ่านสะกดคำ

กรอบแนวคิดในการวิจัย
แบบฝึ กการอ่านสะกดคำ  หมายถึง  แบบฝึ กการอ่านสะกดคำที่ผวู ้ ิจยั ได้สร้างขึ้นมา  ให้เป็ นระบบ
ซึ่ งประกอบด้วย  คำศัพท์ที่รวบรวมจากคำศัพท์ที่นกั เรี ยนมักอ่านสะกดคำผิดในแบบฝึ กหัดภาษาไทย
ความสามารถในการอ่านสะกดคำ  หมายถึง  คะแนนที่ได้จากการอ่านแบบทดสอบ ก่อนเรี ยนและ
หลังเรี ยนที่ผวู ้ ิจยั ได้สร้างขึ้น
ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้ รับ
1. นักเรี ยนมีความสามารถในการอ่านสะกดคำดีข้ ึน
2. นักเรี ยนอ่านคำในภาษาไทยได้ถูกต้องมากขึ้น
3. นักเรี ยนมีแนวทางเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการอ่านภาษาไทยในเรื่ องอื่น ๆ ได้

ขอบเขตของการวิจัย
1. นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่  3/2  จำนวน 5 คน
2. แบบทดสอบ ฝึ กทักษะการพัฒนาการอ่านสะกดคำ
วิธีดำเนินการวิจัย
1. ขั้นตอนการสร้างแบบฝึ กการอ่านสะกดคำจากมาตราตัวสะกด ผูว้ ิจยั ดำเนินการดังนี้
1. ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
2. วิเคราะห์เนื้ อหาและรวบรวมคำที่นกั เรี ยนอ่านผิด
3. กำหนดโครงร่ างของแบบฝึ กหัดการอ่านสะกดคำในมาตราตัวสะกด
4. อ่านมาตราตัวสะกดต่าง ๆ ของแบบฝึ กอ่านตามโครงร่ าง
5. ให้เพื่อนครู ในหมวดภาษาไทยตรวจสอบคุณภาพของแบบฝึ กการพัฒนาการอ่านคำ
6. ปรับปรุ งแบบฝึ กและจัดทำแบบฝึ ก
2. การใช้แบบฝึ กการพัฒนาการอ่านคำ  ผูว้ ิจยั ดำเนินการดังนี้
1. ประชากรในการวิจยั   ได้แก่  นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 / 2 จำนวน    5  คน
  ปี การศึกษา  2546  มีปัญหาการอ่านสะกดคำไม่ถูกต้อง โดยศึกษากับประชากรทั้งหมด
2. เครื่ องมือเก็บรวบรวมข้อมูล  ได้แก่  แบบทดสอบวัดความสามารถในการพัฒนาการอ่านคำ  100 
คำ
3. การใช้แบบฝึ กอ่าน  ผูว้ ิจยั ใช้แบบฝึ กพัฒนาการอ่านคำ  จำนวน  2  ชุด คือ ชุดก่อนและหลังการอ่าน 
ในช่วงเวลาเช้าก่อนเข้าเรี ยนและพักเที่ยง  ในปี การศึกษา  2546
4. การเก็บรวบรวมข้อมูล  โดยให้นกั เรี ยนอ่านแบบทดสอบก่อนและหลังเรี ยน  จาก
แบบฝึ กพัฒนาการอ่านคำ
5. การวิเคราะห์ขอ้ มูล  โดยการหาค่าเฉลี่ยของคะแนนแบบทดสอบก่อนเรี ยน (X )   การ
1

ทดสอบหลังเรี ยน(X )   คะแนนความก้าวหน้า  (X - X )  ผลต่างของคะแนนคือ ค่า D


2 1 2

You might also like