Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 22

งานวิจัยในชัน้ เรียน

เรื่อง
ผลการจัดกิจกรรม การละเล่ นของไทยโดยใช้ คำถามปลาย
เปิ ด ส่ งผลต่ อความคิดสร้ างสรรค์ ของเด็กปฐมวัย

ผู้วจิ ัย
ครูนารี   ชมเกษร

กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเรา


ชัน้ อนุบาล 3   ภาคเรียนที่ 2    ปี การศึกษา 2546

งานวิจัยในชัน้ เรี ยน
เรื่ อง
ผลการจัดกิจกรรม การละเล่ นของไทยโดยใช้ คำถามปลาย
เปิ ด ส่ งผลต่ อความคิดสร้ างสรรค์ ของเด็กปฐมวัย
ผู้วจิ ัย
ครูนารี   ชมเกษร

กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเรา


ชัน้ อนุบาล 3   ภาคเรียนที่ 2    ปี การศึกษา 2546
โดยได้ รับความเห็นชอบจาก
…………………………………….    ประธาน
(ภราดา จักรกรี   อินธิเสน)
……………………………………..   อาจารย์ที่ปรึกษา
(นางเสาวนิจ  จันพางาม)

ประกาศคุณูปการ
การวิจยั ในชันเรี
้ ยน เป็ นกระบวนการมุงหาคำตอบที่ครูทกุ คน ต้ องสนใจ
เพื่อเป็ นผลงานทางการศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษา ซึง่ การทำวิจยั ในชัน้
เรี ยน ต้ องขอขอบคุณคณะผู้บริหาร ครู และนักเรี ยน ที่ได้ ร่วมกันทำวิจยั ในครัง้ นี ้
ลุลว่ งไปด้ วยดี
ผู้วิจยั หวังว่า การทำวิจยั ในชันเรี
้ ยน ในครัง้ นี ้คงเป็ นประโยชน์ตอ่ สถาบัน
และวงการศึกษาสืบต่อมา

ผู้วิจยั
ครูนารี   ชมเกษร
กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ เรื่ องราวเกี่ยวกับตัวเรา
สารบัญ
                                                                                                                                  หน้ า
บทคัดย่อ 1
รายงานการวิจยั ในชันเรี ้ ยน ปี การศึกษา 2546 2
ขันตอนการเขี
้ ยนวิจยั ในชันเรี ้ ยน 3
งานวิจยั ในชันเรี ้ ยน 4
วิธีการดำเนินการวิจยั 5
ตารางคะแนนเด็ก 6
ผลการทดสอบ และสรุปผลและข้ อคิดที่ได้ จากการวิจยั 7
บรรณานุกรม 8
ภาคผนวก
เค้ าโครงงานวิจยั ในชันเรี ้ ยน 10
แผนการจัดกิจกรรม 12
ตัวอย่างแบบทดสอบ 18
แบบสังเกต 19

ชื่องานวิจยั   ผลการจัดกิจกรรม การละเล่ นของไทยโดยใช้ คำถามปลายเปิ ด


ส่ งต่ อ
                         ความคิดสร้ างสรรค์ ของเด็กปฐมวัย
ชื่อผู้วิจยั           ครูนารี   ชมเกษร
กลุม่ สาระการเรี ยนรู้     เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเรา
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาครูเสาวนิจ  จันพางาม

บทคัดย่ อ
การวิจยั ครัง้ มีจดุ มุงหมาย เพื่อส่งเสริมความคิดสร้ างสรรค์ให้ กบั เด็กปฐมวัย
กลุม่ ตัวอย่างคือเด็กปฐมวัยอายุระหว่าง 6 -  ปี จำนวน 28 คน ชันอนุ ้ บาลปี ที่ 3/3 
ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2546  ของโรงเรี ยนอัสสัมชัญ เครื่ องมือที่ใช้ ในการวิจยั ใน
ครัง้ นี ้คือเกมการละเล่นแบบไทย โดยใช้ คำถามปลายเปิ ด แบบบันทึกพฤติกรรม และ
แบบทดสอบความคิดสร้ างสรรค์ของเจลเลนและเออร์ บนั ใช้ สถิติร้อยละ ใช้ เวลา 6
สัปดาห์
การวิจยั ปรากฏว่าเด็กนักเรี ยนปฐมวัย มีความคิดสร้ างสรรค์ เพิ่มขึ ้นร้ อยละ
7.83

รายงานการวิจัยชัน้ เรียนปี การศึกษา 2546

ชื่องานวิจยั   ผลการจัดกิจกรรม การละเล่นของไทยโดยใช้ คำถามปลายเปิ ด ส่งต่อ


                              ความคิดสร้ างสรรค์ของเด็กปฐมวัย

ชื่อผู้วิจยั               ครู นารี   ชมเกษร


กลุม่ สาระการเรี ยนรู้ เรื่ องราวเกี่ยวกับตัวเอง
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ครูเสาวนิจ จันพางาม
เค้ าโครงการทำวิจยั ในชัเรี้ ยน ☑  มี ⬜  ไม่มี
ที่มาความสำคัญของการวิจยั ☑  มี ⬜  ไม่มี
ออกแบบเก็บข้ อมูล ☑  เสร็ จ ⬜  ไม่เสร็ จ
เก็บข้ อมูลเรี ยบร้ อย ☑  เสร็ จ ⬜  ไม่เสร็ จ
แปลผลและอภิปรายผล ☑  เสร็ จ ⬜  ไม่เสร็ จ
สรุปเป็ นรูปเล่ม ☑  เสร็ จ ⬜  ไม่เสร็ จ

(  ครูนารี ชมเกษร )
 ผู้วิจยั

                                                                                                                          
                                                                                                                         (ครูเสาวนิจ จันพางาม)
                อาจารย์ที่ปรึกษา

ขัน้ ตอนการเขียนงานวิจัยในชัน้ เรียน

1. เรื่ อง
2. ความสำคัญและที่มา
3. จุดมุง่ หมาย
4. ตัวแปรที่ศกึ ษา
5. กรอบแนวคิดในการวิจยั
6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ รับ
7. ขอบเขตของการวิจยั
8. วิธีดำเนินการวิจยั
-  ตารางการวิจยั
9. เครื่ องมือที่ใช้ ในการวิจยั
10.ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
-  รายงานผล
-  ตาราง , แผนภูมิ  การนำเสนอข้ อมูล
11.สรุปผล
12.ข้ อคิดที่ได้ จากการวิจยั
ภาคผนวก
  

งานวิจัยในชัน้ เรี ยน
ผลการจัดกิจกรรม การละเล่นของไทยโดยใช้ คำถามปลายเปิ ด ส่งต่อ
ความคิดสร้ างสรรค์ของเด็กปฐมวัย

ความสำคัญและที่มา
ความคิดสร้ างสรรค์มีความสำคัญยิ่ง และได้ รับความสนใจ อย่างกว้ างขวางในระยะ 30 ปี เพราะ
ความคิดสร้ างสรรค์ เป็ นสื่อที่นำไปสูก่ ารแก้ ปัญหาอย่างสร้ างสรรค์ ของมนุษย์ และความคิดสร้ างสรรค์ เป็ น
ความสามารถที่สำคัญของมนุษย์ ซึง่ มีคณ ุ ภาพมากกว่าความสามารถในด้ านอื่น ๆ และเป็ นปั จจัยที่สำคัญ
อย่างยิ่ง ในการส่งเสริมความเจริญก้ าวหน้ าของประเทศชาติ ผลจากความคิดสร้ างสรรค์  ของมนุษย์ก่อให้
เกิดนวัตกรรม และความก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยีตา่ ง ๆ 
ความคิดสร้ างสรรค์ เป็ นลักษณะการคิดที่มีคณ ุ ค่าต่อสังคมและบุคคลอย่างยิ่ง การส่งเสริ มความ
คิดสร้ างสรรค์เป็ นหัวใจสำคัญของการเรี ยนระดับก่อนประถมศึกษา เพราะในช่วง 6 ขวบแรกของชีวิตเป็ น
ระยะที่เ ด็ก มีจ ิน ตนาการสูง ศัก ยภาพด้ า นความคิด สร้ า งสรรค์ก ำลัง พัฒ นา หากเด็ก ได้ ร ับ การจัด
ประสบการณ์หรื อกิจกรรมที่เหมาะสมต่อเนื่อง เป็ นสำคัญจึงเท่ากับเป็ นการวางรากฐานที่มนั่ คงสำหรับ
ความคิดสร้ างสรรค์ของเด็กในวัยต่อมา

จุดมุงหมาย
เพื่อให้ การส่งเสริมความคิดสร้ างสรรค์ของเด็กก่อนประถมศึกษา

ตัวแปรที่ศึกษา
กิจกรรมการละเล่นของไทย โดยใช้ คำถามปลายเปิ ดและความคิดสร้ างสรรค์ของเด็กปฐมวัย

ประโยชน์ คาดว่ าจะได้ รับ


เป็ นแนวทางในการพัฒนา การจัดกิจกรรมการละเล่นของไทยที่มีค ำถามปลายเปิ ด ซึง่ จะเอื ้อ
อำนวยต่อความคิดสร้ างสรรค์ของเด็กปฐมวัย

ขอบเขตของการวิจัย
1. กลุม่ ทดลองเป็ นเด็กปฐมวัยอายุระหว่าง  5 – 6 ปี อยูช่ นอนุ
ั ้ บาลปี ที่ 3/3 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การ
ศึกษา 2546
2. การวิจยั ครัง้ นี ้มุง่ พัฒนาความคิดสร้ างสรรค์ของเด็กปฐมวัย
3.  เวลาที่ใช้ ในการวิจยั 6 สัปดาห์ ๆ ละ 1 ครัง้ ๆ ละ 20 นาที
4. ตัวแปรที่ใช้ ในการวิจยั คือการจัดกิจกรรมการละเล่นแบบไทย โดยใช้ คำถามปลายเปิ ดและ
ความคิดสร้ างสรรค์ของเด็กปฐมวัย
             
วิธีดำเนินการวิจัย
1.   ขอรูปแบบการวิจยั ของโรงเรี ยน
2.  ทดสอบก่อนการทดลอง โดยใช้ แบบทดสอบความคิดสร้ างสรรค์จากผลงานการวาดภาพ TCT
– DP (The Test for Creative Thinking – Drawing Production ) ทังกลุ
้ ม่ ใช้ เวลา 15 นาที
3.  ครูเป็ นผู้ดำเนินการจัดกิจกรรมการละเล่นแบบไทย โดยใช้ คำถามปลายเปิ ด ดำเนินการทดสอบ
ในภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2546 เป็ นเวลา 6 สัปดาห์ ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 20 นาที พร้ อมบันทึกพฤติกรรม
ขณะทำกิจกรรม
4.   เมื่อสิ ้นสุดการจัดกิจกรรมได้ ทดสอบ ความคิดสร้ างสรรค์ ทังกลุ
้ ม่ ใช้ เวลา 15 นาที
5.   ตรวจการให้ คะแนนตามเกณฑ์การให้ คะแนน
6.   นำคะแนนที่ได้ จากแบบทดสอบ มาวิเคราะห์ด้วยวิธีทางสถิติตอ่ ไป

เครื่ องมือที่ใช้ ในการวิจัย


แผนการกิจกรรมการละเล่นแบบไทย โดยใช้ คำถามปลายเปิ ด แบบทดสอบความคิดสร้ างสรรค์
ของเจลเลนและเออร์ บนั แบบสังเกตพฤติกรรม
การวิเคราะห์ ข้อมูล วิเคราะห์ ด้วยวิธีทางสถิติ
ตารางคะแนนเด็กที่เข้ าทดสอบ
เลขที่ คะแนนก่ อนสอบ คะแนนหลังสอบ
1 23 26
2 15 16
3 21 21
4 11 22
5 10 16
6 11 23
7 25 30
8 34 40
9 18 22
10 17 20
11 17 32
12 8 26
13 34 35
14 23 31
15 10 26
16 15 28
17 28 28
18 11 14
19 23 26
20 18 39
21 32 22
22 28 31
23 25 22
24 14 24
25 21 25
26 20 18
27 17 21
28 14 17
รวม 543 =  26.94  % 701 = 34.77 %
ผลการทดสอบคะแนนหลังสอบมากกว่ าคะแนนก่ อนสอบ 7.83 %

สรุ ปผล
ผลการวิจยั ในครัง้ นี ้ แสดงให้ เห็นว่าความคิดสร้ างสรรค์ของเด็กปฐมวัยที่ได้ รับการจัดกิจกรรมการ
ละเล่นแบบไทย โดยใช้ คำถามปลายเปิ ด มีความคิดสร้ างสรรค์ร้อยละ 7.83  ข้ อคิดจากการวิจยั และจาก
การบันทึกพฤติกรรมการละเล่นแบบไทย ช่วยสร้ างบรรยากาศที่สนุกสนาน ทำให้ เด็กเกิดความสบายใจ
และแสดงออกอย่างอิสระ ทังเปิ ้ ดโอกาสให้ เด็กเกิดความคิด จากการใช้ คำถามปลายเปิ ดของครู เด็กแสดง
ความคิดเห็นและจินตนาได้ กว้ างไกล มีความคิดที่หลากหลาย แปลกใหม่ไม่ซ้ำกัน เด็กมีความเชื่อมัน่ ในตัว
เอง กล้ าแสดงความคิดเห็นและสนใจที่จะรับฟั งความคิดเห็นร่วมกัน ทำให้ เด็กเกิดความเชื่อมัน่ ในตนเอง
และกล้ าแสดงออก

ข้ อคิดที่ได้ จากการวิจัย
คำถามที่ยวั่ ยุหรื อท้ าทายให้ เด็กนักเรี ยนอยากตอบหรื อกระตุ้นให้ ผ้ เู รี ยนคิดนำไปสูก่ ารพัฒนาความ
คิดและเกิดความคิดสร้ างสรรค์ ช่วยให้ เด็กเกิดการเรี ยนรู้และช่วยส่งเสริ มพัฒนาการทางสติปัญญา ซึง่ เป็ น
วิธีการสร้ างนิสยั การเรี ยนรู้ด้วยตนเองต่อไป

บรรณานุกรม
กรมวิชาการและกระทรวงศึกษาธิการ คูม่ ือหลักสูตรก่อนประถมศึกษา พุทธศักราช 2540
                                                        กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์ครุ ุสภา ลาดพร้ าว 2540

จินตนา ปรี ดานนท์                                “การพัฒนาทักษะการใช้ คำถามของครูปฐมวัย ด้ วยบทเรี ยน


แบบ 
                                                              โปรแกรม”  วิทยานิพนธ์ปริ ญญาครุศาสตร์ มหาบัณฑิต ภาค
วิชา        
                                                               ประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์ 
                                                                 มหาวิทยาลัย 2532

ฉันทนา ภาคบงกช      การเล่นสร้ างสรรค์ กรุงเทพมหานคร คณะศึกษาศาสตร์  


                                                              มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒประสานมิตร 2531  

ผะอบ  โปษะกฤษณะ การละเล่นของไทย พิมพ์ครัง้ ที่ 4 กรุงเทพมหานคร อัมริ นทร์


พริน้ ติ ้ง 2539

ล้ วน สายยศและอังคณา สายยศ เทคนิคการวิจยั ทางการศึกษา  พิมพ์ครัง้ ที่ 4 กรุงเทพมหานคร 


                            สุวีริยสาสน์ 2538      

สุชาดา แจ่มจันทร์ “ลักษณะคำถามและทักษะการใช้ คำถามของครูภาษาไทยชัน้


ประถมศึกษาปี ที่ 5 ในโรงเรี ยนของอำเภอบ้ านโป่ ง สังกัด
องค์การบริ หารส่วนจังหวัดราชบุรี” วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
ครุศาสตร์ มหาบัณฑิต ภาควิชาประถมศึกษา คณะครุศาสตร์
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2525   

อารี พันธ์มณี ความคิดสร้ างสรรค์ กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์ 1412  2537

  “การวัดระดับความคิดสร้ างสรรค์ของเด็กไทย”   วิทยานิพนธ์ปริ ญญาศึกษาศาสตร์ มหาบัณฑิต 


กรุงเทพมหานคร  มหาวิทยาลัยเซาท์เธิน อิลลินอยส์ ณ.คาริ บอนเดล 2532 
( อัดสำเนา)

ภาคผนวก

แผนการสอน การเล่ นอีตัก


ขัน้ เตรียม
ครู นำเมล็ดน้ อยหน่ าและกระทงที่ทำจากกระดาษมาให้ เด็กดู แล้ วถามเด็กว่ า
เคยเล่ นเกม
อีตักหรื อไม่ ใครอยากเล่ นบ้ าง

ขัน้ เล่ น
1. ครู อธิบายวิธีการเล่ นอีตัก
2. ให้ เด็กจัดกลุ่มตามความสนใจ 5 – 6 คน เพื่อเล่ นอีตัก
3. ให้ แต่ ละกลุ่มส่ งตัวแทนมารั บเมล็ดน้ อยหน่ า และกระทง
4. ให้ เด็กผลัดกันเล่ นที่ละคน คนเล่ นจะนำเมล็ดน้ อยหน่ าใส่ ในกำมือ แล้ วหว่ าน
ลงบนพืน้ ใช้ กระทงตักเมล็ดน้ อยหน่ าขึน้ มาในกระทงทีละเมล็ด ไม่ ให้ เมล็ดอื่น
กระเทือน ถ้ ากระเทือนต้ องตายและเปลี่ยนให้ คนต่ อไปตักบ้ าง
5. คนที่ 2 ก็เริ่มหว่ านและตักเมล็ดน้ อยหน่ าเหมือนเดิม ถ้ าตายก็เปลี่ยนให้ คนอื่น
ตักต่ อไปจนหมดเมล็ดน้ อยหน่ า
6. ถ้ าใครตักได้ มากจะเป็ นผู้ชนะ

ข้ นสรุ ป
ครู สนทนากับเด็กเกี่ยวกับเรื่ องการเล่ นอีตัก โดยใช้ คำถามต่ อไปนี ้
1. เด็กคิดว่ าทำไมเมล็ดน้ อยหน่ าจึงมีขนาดแตกต่ างกัน
2. ถ้ าไม่ มีเมล็ดน้ อยหน่ า เด็กจะใช้ เมล็ดอะไรแทนได้
3. สมมุตวิ ่ า ถ้ าใช้ ลูกปิ งปองใหญ่ แทนเมล็ดน้ อยหน่ า เด็กจะใช้ อะไรตัก เพราะเหตุ
ใด

แผนการสอน การเล่ นลิงชิงหลัก


ขัน้ เตรียม
ครู นำเสาหลักมาให้ เด็กดูและถามเด็กว่ า เคยเล่ นเกมลิงชิงหลักหรื อไม่
ใครอยากเล่ นบ้ าง
ขัน้ เล่ น
1. ครู อธิบายวิธีการเล่ นลิงชิงหลัก
2. ให้ เด็กจัดกลุ่มตามความสนใจ 5 – 6 คน เพื่อลิงชิงหลัก
3. ให้ แต่ ละกลุ่มสมมุตเิ ป็ นลิงหลักลอยไม่ มีหลักจับ 1 คน อีก 4 คน เป็ นลิงจับหลัก
ผู้เป็ นลิงหลักลอยจะต้ องพยายามแย่ งหลัก ในขณะที่ผ้ ูเล่ นทัง้ หมดเปลี่ยนทันที
4. ลิงที่หาหลักเกาะไม่ ได้ จะต้ องคอยสังเกตดูว่าตนจะชิงหลักไหน ก็รีบวิ่งไปชิง
หลักนัน้ ไว้ ถ้ าจับหลักได้ ก่อน ผู้ท่ มี าช้ าก็ต้องยอมเป็ นลิงหลักลอยคอยชิงหลัก
ของคนอื่น

ข้ นสรุ ป
ครู สนทนากับเด็กเกี่ยวกับเรื่ องการเล่ นลิงชิงหลัก โดยใช้ คำถามต่ อไปนี ้
1. เด็กคิดว่ าถ้ าสมมุติเราลงไปเล่ นในน้ำ เราจะรู้ สึกอย่ างไร
2. ถ้ าเสาหลักเคลื่อนทีได้ เด็กจะเล่ นอย่ างไร

แผนการสอน การเล่ นปิ ดตาตีกลอง


ขัน้ เตรียม
ครู นำกลองและไม้ ตีกลองมาให้ เด็กดู แล้ วถามเด็กว่ าเคยเล่ นเกม
ปิ ดตาตีกลองหรื อไม่ ใครอยากเล่ นบ้ าง

ขัน้ เล่ น
1. ครู อธิบายวิธีการเล่ นปิ ดตาตีกลอง
2. ให้ เด็กจัดกลุ่มตามความสนใจ เพื่อเล่ นปิ ดตาตีกลอง โดยแบ่ งเป็ น  2  กลุ่ม
3. ให้ แต่ ละกลุ่มส่ งตัวแทนมารั บผ้ า เพื่อเอาไว้ ปิดตา และรั บไม้ ตีกลองกลุ่มละ 1
อัน 
4. ให้ ผ้ ูเล่ นแต่ ละกลุ่มที่จะตีกลอง ใช้ ผ้าปิ ดตาแล้ วหมุนรอบตัว 3 รอบ ก่ อนเดินไป
ตีกลองทีละคน โดยให้ ผ้ ูเล่ นยืนห่ างจากกลองประมาณ 10 เมตร
5. ถ้ ากลุ่มไหนตีกลองถูกมากที่สุด เป็ นกลุ่มที่ชนะ

ข้ นสรุ ป
ครู สนทนากับเด็กเกี่ยวกับเรื่ องการเล่ นปิ ดตาตีกลอง โดยใช้ คำถามต่ อไปนี ้
1. เด็กคิดว่ าทำไมกลองที่แต่ ละคนตีกลองจึงดังแตกต่ างกัน
2. ถ้ ากลองเคลื่อนที่ได้ เด็กจะเล่ นอย่ างไร
3. สมมุตวิ ่ า กลองที่เด็กเดินไปตีมีขนาดเล็กเท่ ากับมดแดง เด็กคิดว่ าเป็ นเพราะ
อะไร

แผนการสอน การเล่ นเป่ ากบ


ขัน้ เตรียม
ครู นำยางวงมาให้ เด็กดู แล้ วถามเด็กว่ าเคยเล่ นเกมเป่ ากบหรื อไม่ ใครอยากเล่ น
บ้ าง

ขัน้ เล่ น
1. ครู อธิบายวิธีการเล่ นเป่ ากบ
            2.   ให้ เด็กจัดกลุ่มตามความสนใจ เพื่อเล่ นเป่ ากบ โดยแบ่ งเป็ น 2 กลุ่ม
3. ให้ แต่ ละกลุ่มส่ งตัวแทนมารั บยางวง
4. ให้ ผ้ ูเล่ นแต่ ละกลุ่มวางยางลงบนพืน้ คนละเส้ น ผลัดกันเป่ าคนละครั ง้ ตาม
ลำดับก่ อนหลังกระเทือนต้ องตายและเปลี่ยนให้ คนต่ อไปตักบ้ าง
5. ถ้ าผู้เล่ นที่สามารถเป่ าเส้ นยางของตนไปกบ (ทับ) เส้ นยางของผู้เล่ นอีกคน
หนึ่งได้ “กิน"”เส้ นยางที่กบนัน้ กลุ่มที่ได้ เส้ นยางมากที่สุด เป็ นกลุ่มที่ชนะ
ข้ นสรุ ป
ครู สนทนากับเด็กเกี่ยวกับเรื่ องการเล่ นเป่ ากบ โดยใช้ คำถามต่ อไปนี ้
1.     เด็กคิดว่ าทำไมยางวงที่แต่ ละคนเป่ า จึงกระโดดแตกต่ างกัน
2. สมมุตวิ ่ ายางวงที่เด็กเป่ ามีขนาดใหญ่ เท่ ากับล้ อรถยนต์ เด็กคิดว่ าจะเป็ นเช่ น
ไร

แผนการสอน การเล่ นรีรีข้าวสาร


ขัน้ เตรียม
ครู สอนให้ เด็กนักเรียนร้ องเพลงประกอบ รี ๆ ข้ าวสาร สองทะนานข้ าว
เปลือก
เลือกท้ องใบลานเก็บเบีย้ ใต้ ถุนร้ าน คดข้ าวใส่ จาน พานคนข้ างหลังไว้ แล้ ว
ถามเด็กว่ าเคยเล่ นรี ๆ ข้ าวสารหรือไม่ ใครอยากเล่ นบ้ าง
ขัน้ เล่ น
1. ครู อธิบายวิธีการเล่ น รี รี ข้ าวสาร
2. ให้ เด็ก 2 คนสมมุตชิ ่ ือตนเองและชื่อเพื่อน เช่ น จำปี จำปา
3. เด็กทัง้ สองคนยกมือขึน้ สูงประสานจับมือกันทัง้ 2 มือ เด็กที่เหลือกอดเอวต่ อ
กันเป็ นแถวพร้ อมกับร้ องบทเพลงพร้ อมกัน
4. เมื่อถึงคำสุดท้ ายในบทร้ อง ผู้เล่ นจำปี และจำปา ลดแขนลงมาคล้ องผู้เล่ นคน
สุดท้ ายในแถวแล้ วถามว่ า “เอาจำปี หรื อจำปา “
5. ผู้เล่ นที่ถูกจับเลือกอย่ างใดอย่ างหนึ่ง แล้ วถอยไปรออยู่ห่าง ๆ ผู้เล่ นที่เหลือเล่ น
ต่ อไป จนจำปี และจำปาผู้เล่ นได้ ทุกคน เป็ นอันจบการเล่ น

ข้ นสรุ ป
ครู สนทนากับเด็กเกี่ยวกับเรื่ องการเล่ นรี รี ข้ าวสาร โดยใช้ คำถามต่ อไปนี ้
1. เด็กคิดว่ าทำไมเด็กแต่ ละคนที่ถูกจับเลือกอยู่กับเพื่อนแตกต่ างกัน เพราะ
เหตุใด
2. สมมุตวิ ่ าถ้ าเด็กที่เล่ นไม่ มีขา เด็กคิดว่ าจะเป็ นอย่ างไร

แผนการสอน การเล่ นงูกนิ หาง


ขัน้ เตรียม
ครู ฝึกให้ นักเรี ยนร้ องเพลงประกอบ พ่ องู  : แม่ งเู อ๋ ย     แม่ ง ู :  เอ๋ ย (ลูกงูช่วย
ตอบ) พ่ องู : กิน น้ำบ่ อไหน    แม่ งู : กินน้ำบ่ อโศก      ลูกงู : โยกไปก็โยกมา     พ่ องู :
แม่ งเู อ๋ ย     แม่ งู : เอ๋ ย              พ่ องู ; กินน้ำบ่ อไหน    แม่ งู : กินน้ำบ่ อหิน    ลูกงู :
บินไปก็บนิ มา   พ่ องู ; กินหัวกินหาง         แม่ ง ู : กินกลางตลอดตัว

ขัน้ เล่ น
1. ครู อธิบายวิธีการเล่ นงูกนิ หาง
2. เลือกคนหนึ่งเป็ นพ่ องู อีกคนหนึ่งเป็ นแม่ งู
3. พ่ องูยืนหันหน้ าเข้ าหาแม่ งู นอกนัน้ เป็ นลูกงู จับเอวกันเป็ นแถวต่ อจากเอวแม่ งู
ความยาวของลูกงูนัน้ ขึน้ อยู่กับจำนวนผู้เล่ น
4. พ่ องูถามแม่ งตู อบบทเพลง เมื่อพ่ องูจับลูกงูได้ พ่ องูจะถามลูกงูว่า  พ่ องู : อยู่กับ
พ่ อหรื ออยู่กับแม่   ลูกงู : อยู่กับแม่     พ่ องู ; ลอยแพไป    ( พ่ องูผลักลูกงูให้
ห่ างออกไป ) ถ้ าลูกงูตอบว่ า “อยู่กับพ่ อ”    พ่ องู : หักคอจิม้ น้ำพริก

ข้ นสรุ ป
ครู สนทนากับเด็กเกี่ยวกับเรื่ องการเล่ นงูกนิ หาง โดยใช้ คำถามต่ อไปนี ้
1. เด็กคิดว่ าทำไมพ่ องูจงึ จับลูกงูกนิ เพราะเหตุใด
2. สมมุตวิ ่ าถ้ าแม่ งแู ปลงร่ างเป็ นยักษ์ เด็กคิดว่ าจะเป็ นอย่ างไร
โรงเรียนอัสสั มชันระยอง
แบบสังเกต  ผลการจัดกิจกรรมการละเล่ นแบบไทย  โดยใช้ คำถามปลายเปิ ด  ส่ งผลต่ อความคิดสร้ างสรรค์  
ของเด็กปฐมวัย
ชื่อเกม     ครัง้ ที่  วันที่     เดือน       พ.ศ.
คำถาม 1.
2.
3.
รายชื่อนักเรียนอนุบาล  3/3
ชื่อ - พฤติกรรม หมายเหตุ
นามสกุล
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
19.
20.
21
22.
23.
24.
25.
26.
27.
28.

คู่มือการใช้ แบบทดสอบความคิดสร้ างสรรค์ จากผลการวาดภาพ


1)  การใช้ แบบทดสอบ
1.  ผู้ถกู ทดสอบจะได้ รับ  แบบทดสอบความคิดสร้ างสรรค์  TCT – DP และ
ดินสอดำ  ซึง่ ไม่มียางลบ  เพื่อมิให้ ผ้ ตู อบเปลี่ยนภาพที่วาดแล้ ว
2.  ผู้ทดสอบอ่านคำสัง่ ช้ าๆ  และชัดเจนดังนี ้
“ ภาพที่วางอยูข่ ้ าหน้ าท่าน / เด็กๆ  ขณะนี ้  เป็ นภาพที่ยงั ไม่สมบูรณ์  ผู้วาดเริ่ม
ลงมือวาด  แต่ถกู ขัดจังหวะเสียก่อน  ขอให้ ทา่ น / เด็กๆ  วาดภาพต่อให้ สมบูรณ์   จะ
วาดเป็ นภาพอะไรก็ได้ ตามท่ าน / เด็กๆ  ต้ องการ  ไม่มีการวาดภาพใดๆ  ที่ถือว่า
ผิด  ภาพทุกภาพที่วาดถือเป็ นสิง่ ที่ถกู ต้ องทังสิ
้ ้น  เมื่อวาดภาพเสร็ จแล้ วขอให้ เอามา
ส่งให้ ครู ”
ผู้ทดสอบอาจย้ำอีกครัง้ หนึง่ ก็ได้ วา่
“ จะวาดภาพอะไรก็ได้ ตามต้ องการ ”
3.  ในช่วงเวลาของการทดสอบ  หากมีคำถาม  ก็อาจตอบได้ ในลักษณะนี ้คือ
“ เด็กๆ  อยากจะวาดอะไรก็ได้ ตามที่อยากจะวาด  ทุกรูปที่วาดเป็ นสิง่ ที่ถกู ทัง้
สิ ้นทำอย่างไรก็ได้   ไม่มีสงิ่ ใดผิด ”
หากผู้ถกู ทดสอบยังคงมีคำถาม  เช่น  หากถามถึงชิ ้นส่วนที่ปรากฏอยูน่ อก
รอบ  ก็ให้ ตอบในทำนองเดิม  ห้ าม  อธิบายเนื ้อหา  หรือวิธีการใดๆ  เพิ่มเติม
นอกจากนี ้  ควรหลีกเลี่ยงการพาดพิงถึงเวลาที่ควรใช้ ในการวาดภาพ  ควรพูด
ทำนองที่วา่   “ เริ่มวาดไปได้ เลย  ไม่ต้องกังวลเรื่ องเวลา ”  อาจเพิ่มเติมได้ วา่   “เราคง
ไม่ใช้ เวลาทังชั้ ว่ โมงในการวาดภาพหรอกนะ
4.  ผู้ทดสอบต้ องจดบันทึกเวลาการทำแบบทดสอบของผู้ที่ทำเสร็จก่อน  12 
นาที  โดยจด อายุ  เพศ  ชื่อ  และประเทศของผู้ถกู ทดสอบในช่องว่างมุมขวาบนของ
กระดาษทดสอบ  เช่น  อายุ  8  ปี   เพศ ชาย  ชื่อ  จอห์น  ประเทศ  สหรัฐอเมริกา 
เป็ นต้ น  
5.  ผู้ทดสอบบอกให้ ถกู ทดสอบตังชื
้ ่อเรื่ อง  หรือชื่อภาพด้ วย  แต่ควรพูดเบาๆ 
โดยไม่รบกวนผู้ถกู ทดสอบคนอื่นที่ยงั ทำไม่เสร็จ  แล้ วเขียนชื่อเรี ยงไว้ ที่มมุ ขวาบน 
เพราะจะใช้ เป็ นข้ อมูลสำคัญในการแปลผลกการวาดภาพ  เช่น  อายุ  8  ปี   เพศ 
ชาย  ชื่อ  จอห์น  ประเทศ  สหรัฐอเมริกาชื่อภาพ  พระอาทิตย์ขึ ้น
6.  หลักจากเวลาทดสอบผ่านไป  15  นาที  ให้ เก็บแบบทดสอบคืน  ให้ เขียน 
อายุ  เพศ  ชื่อ  ประเทศ  และชื่อภาพไว้ ที่มมุ ขวาบนของแบบทดสอบ  TCT – DP 
ทำนองเดียวกันที่อธิบายไว้ ในข้ อ  5
2)  เกณฑ์ การประเมินผลเพื่อให้ คะแนน
      แบบทดสอบความคิดสร้ างสรรค์   TCT - DP
     นำภาพวาดแต่ละภาพมาประเมินตามเกณฑ์   11  ข้ อ  ดังนี ้
1)  การต่ อเติม  (Cn)
ชันส่
้ วนที่ได้ รับการต่อเติม  (ครึ่งวงกลม  จุด  มุมฉาก  เส้ นโค้ ง  เส้ นประ  และ
สี่เหลี่ยมจัตรุ ัสเล็กปลายเปิ ดนอกกรอบสี่เหลี่ยมใหญ่ )  จะได้ คะแนนการต่อเติม  ชิ ้น
ส่วนละ  1  คะแนน  คะแนนสูงสุดคือ  6  คะแนน
2)  ความสมบูรณ์   (Cm)
หากมีการต่อเติมจากเดิมในข้ อ  1  ให้ เต็ม  หรือให้ สมบูรณ์มากขึ ้น  จะได้
คะแนนชิ ้นส่วนละ  1  คะแนน  ถ้ าต่อเติมภาพโดยใช้ รูปที่กำหนด  2  รูป  มารวมเป็ น
รวมเดียว  เช่น  โยงเป็ นรูปบ้ าน  ต่อเป็ นอิฐ  ปล่องไฟ  ฯลฯ  ให้   1  คะแนน  คะแนน
สูงสุดในข้ อนี ้คือ  6  คะแนน
4)  การต่ อเนื่องด้ วยเส้ น  (Cl)
แต่ละภาพหรื อส่วนของภาพ  (ทังภาพที ้ ่สร้ างเสร็จขึ ้นใหม่ในข้ อ  3)  หากมีเส้ น
ลากโยงเข้ าด้ วยกัน  ทังภายใน 
้ และภายนอกรอบ  จะให้ คะแนนการโยงเส้ นละ  1 
คะแนนคะแนนสูงสุดในข้ อนี ้  คือ  6  คะแนน
5)  การต่ อเนื่องที่ทำให้ เกิดเป็ นเรื่องราว  (Cth)
ภาพใด  หรื อส่วนใดของภาพที่ทำให้ เกิดเป็ นเรื่ องราว  หรื อเป็ นภาพรวมจะได้
อีก  1  คะแนน  ต่อ  1  ชิ ้น  การเชื่อมโยงนี ้อาจเป็ นการเชื่องโยงด้ วยเส้ น  จากข้ อ  1 
หรื อไม่ใช้ เส้ นก็ได้   เช่น  เส้ นประของแสงอาทิตย์,  เงาต่างๆ  , การแตะก้ นของภาพ 
ความสำคัญอยูท่ ี่การต่อเติมนัน  ้ ทำให้ ได้ ภาพที่สมบูรณ์ตามความหมายที่ผ้ ถู กู
ทดสอบ  ตังชื ้ ่อไว้   คะแนนสูงสุดในข้ อนี ้  คือ  6  คะแนน
6)  การข้ ามเส้ นกัน้ เขตโดยการใช้ ชนิ ้ ส่ วนที่กำหนดให้ นอกกรอบใหญ่  
(Bfd)
การต่อเติม  หรื อโยงเส้นปิ ดรู ปสี่ เหลี่ยมจัตรัสปลายเปิ ด  ซึ่งอยูน่ อกกรอง
สี่ เหลี่ยมใหญ่  จะได้คะแนน  6  คะแนนเต็ม

7)  การข้ ามเส้ นกัน้ เขตอย่ างอิสระโดยไม่ ใช่ ส่วนที่ก ำหนดให้ นอกกรอบ
ใหญ่   (Bfi)
การต่อเติม  โยงเส้ นออกไปนอกรอบ  หรือการวาดภาพนอกกรอบสี่เหลี่ยม
ใหญ่จะได้ คะแนน  6  คะแนนเต็ม
8)  การแสดงความลึก  ใกล้ – ไกล  หรือมิตขิ องภาพ  (Pe)
ภาพที่วาดให้เห็นส่ วนลึก  มีระยะใกล้  - ไกล  หรื อวาดภาพในลักษณะ  3  มิติ 
ให้คะแนนภาพละ  1  คะแนน  หากภาพที่ปรากฏเป็ นเรื่ องราวทั้งภาพ  แสดงความเป็ น
สามมิติมีความลึก หรื อใกล้-ไกล ให้คะแนน 6 คะแนนเต็ม คะแนนสูงสุ ดในข้อนี้ คือ 6
คะแนน
9)  อารมณ์ ข้น  (Hu)
ภาพที่แสดงให้ เห็นหรื อก่อให้ เกิดอารมณ์ข้น  จะได้ ชิ ้นส่วน  1  คะแนน  หรือดู
ภาพรวม  ถ้ าให้ อารมณ์ข้นมากก็จะให้ คะแนนมากขึ ้นเป็ นลำดับ  ภาพที่แสดงอารมณ์
ขันนี ้ประเมินจากผู้ทดสอบในหลายๆ  ทาง  เช่น
ก)  ผู้วาดสามารถล้ อเลียนตัวเองจากภาพวาด
ข)  ผู้วาดผนวกชื่อที่แสดงอารมณ์ขนั เข้ าไป  หรื อวาดเพิ่มเข้ าไป  และ / หรื อ
3. ผู้วาดผนวกกลายเส้ นและภาษาเข้ าไปเหมือนการวาดภาพการ์ ตนู   คะแนน
สูงสุด
ของข้ อนี ้คือ  6  คะแนน
10) การคิดแปลกใหม่   ไม่ คดิ ตามแบบแผน  (Uc)
ภาพที่แสดงความคิดที่แปลกใหม่แตกต่างไปจากความคิดปกติธรรมทัว่ ไป  มี
เกณฑ์การให้คะแนน  ดังนี้
a)  การวาง  หรื อการใช้ กระดาษแตกต่างไปจากเมื่อวางกระดาษทดสอบให้
แบบปกติธรรมดา เช่น พับ หมุน หรื อพลิกกระดาษไปข้ างหลัง  แล้ วจึงวาดภาพ ให้   3 
คะแนน
b)  ภาพที่เป็ นนามธรรม  หรื อไม่เป็ นภาพของจริง  เช่นการใช้ ชื่อที่เป็ น
นามธรรมหรื อสัตว์ประหลาด  ให้   3  คะแนน
c)  ภาพรวมของรูปทรง  เครื่ องหมายสัญลักษณ์  ตัวอักษรหรื อตัวเลข  และ /
หรื อ  การใช้ ชื่อหรื อภาพที่เหมือการ์ ตนู   ให้   3  คะแนน
d. ภาพที่ตอ่ เติมไม่ใช้ ภาพที่วาดกันแพร่หลายทัว่ ไป  ให้   3  คะแนน  แต่หากมี
การต่อเติมภาพในลักษณะต่างๆ  ต่อไปนี ้

1.  รูปครึ่งวงกลม  ต่อเป็ นพระอาทิตย์  หน้ าคนหรื อวงกลม


2.  รูปมุมฉาก  ต่อเป็ น  บ้ าน  กล่อง  หรือสี่เหลี่ยม
3.  รูปเส้ นโค้ ง  ต่อเป็ นงู  ต้ นไม้   หรือดอกไม้
4.  รูปเส้ นประ  ต่อเป็ นถนน  ตรอก  หรื อทางเดิน
5.  รูปจุด  ทำเป็ นตาของนก  หรือสายฝน
รูปทำนองนี ้ต้ องหักออก  1  คะแนน  จาก  3  คะแนนเต็มในข้ อ  10 d นี ้ แต่
ไม่มีคะแนนติดลบ / คะแนนสูงสุดในข้ อ  10  นี ้คือ  ( a + b + c + d )  เท่ากับ  12 
11)  ความเร็ว  (Sp)
ภาพที่ใช้เวลาวาดน้อยกว่า  12  นาที  จะได้คะแนนเพิ่มดังนี้
ต่ำกว่า 2 นาที ได้ 6 คะแนน
ต่ำกว่า 4 นาที ได้ 5 คะแนน
ต่ำกว่า 6 นาที ได้ 4 คะแนน
ต่ำกว่า 8 นาที ได้ 3 คะแนน
ต่ำกว่า 10 นาที ได้ 2 คะแนน
ต่ำกว่า 12 นาที ได้ 1 คะแนน
มากกว่าหรื อเท่ากับ 12 นาที ได้ 0 คะแนน

คะแนนรวมของแบบทดสอบ  TCT – DP
ด้ านหลังของข้ อสอบมีช่องเล็กๆ  อยู ่ 11  ช่อง  แต่ละช่องจะมีรหัสสำหรับให้  
คะแนน  วิธีการให้ คะแนนเพียงแต่พบั ส่วนล่างของแบบทดสอบขึ ้นมา  ก็สามารถให้
คะแนนได้ ทนั ที  คะแนนรวมสูงสุดของแบบทดสอบ  TCT – DP  คือ  72  คะแนน

(แปลและเรี ยบเรี ยง  โดย  :  อนินทิตา  โปษะกฤษณะ  :  2535)

เค้ าโครงงานวิจัยในชัน้ เรียน


ชื่อผู้วจิ ัย ครูนารี ชมเกษร
สาระการเรียนรู้    เรื่ องราวเกี่ยวกับตัวเรา  เอกลักษณ์ของความเป็ นไทย    ช่ วงชัน้
ที่     อ.3
ชื่อเรื่อง    ผลของการจัดกิจกรรมการละเล่นของไทยโดยใช้ คำถามปลายเปิ ดส่งผลต่อความคิดสร้ างสรรค์ของเด็ก
ปฐมวัน
สภาพปัญหา
ความคิดสร้ างสรรค์เป็ นลักษณะการคิดที่มีคณ ุ ค่าต่อสังคมและบุคคล
อย่างยิ่งการส่งเสริมความคิดสร้ างสรรค์เป็ นหัวใจสำคัญของการเรี ยนระดับก่อน
ประถมศึกษา  เพราะในช่วง  6  ขวบแรกของชีวิตเป็ นระยะที่เด็กมีจินตนาการสูง 
ศักยภาพด้ านความคิดสร้ างสรรค์กำลังพัฒนา  หากเด็กได้ รับการจัดประสบการณ์
หรื อกิจกรรมที่เหมาะสมต่อเนื่องเป็ นสำคัญก็เท่ากับเป็ นการวางรากฐานที่มนั่ คง
สำหรับความคิดสร้ างสรรค์ของเด็กในวัยต่อมา

หากเลือกที่คาดว่ าจะแก้ปัญหา
การส่ งเสริ มการละเล่นแบบไทยโดยใช้ค ำถามปลายเปิ ด  โดยเล่นเกมอี
ตัก  เกมลิงชิงหลัก  เกมป่ ากบ  เกมปิ ดตาตีกลอง  เกมรี รีขา้ วสาร  เกมงูกินหาง

จุดประสงค์การวิจัย
เพื่อส่งเสริมความคิดสร้ างสรรค์ของเด็กระดับก่อนประถมศึกษา
ระยะเวลาในการดำเนินงาน
10  พฤศจิกายน  2546 – 19  ธันวาคม  2546
ขั้นตอนการดำเนินงาน
1.  จัดเตรี ยมแผนการสอน  แบบทดสอบ  แบบสังเกต
2.  ทำการทดสอบเด็กก่อนเรี ยน
3.  ดำเนินการจัดกิจกรรมตามแผนที่วางไว้   ใช้ เวลาประมาณ  6 
สัปดาห์
4.  ทดสอบหลังเรี ยน
5.  จัดรวบรวมคะแนน  เปรี ยบเทียบคะแนนก่อนและหลัง
6.  สรุปประเมินผล

ผลการดำเนินงาน / ผลการแก้ ปัญหาจากการนำไปปฏิบัตจิ ริง


รอผลการดำเนินการ

สรุ ปผลการดำเนินงาน
รอผลการดำเนินงาน

อภิปรายผล
รอผลการดำเนินงาน

ข้ อเสนอแนะ

You might also like