Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 95

รวมฎีกา พ.ศ.2558 และ พ.ศ.

25591
(ชุดที่ ๑)
........................

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1557 - 1558/2559 การพิจารณาวาจําเลยที่ 1 ประกอบกิจการที่ไมได


แสวงหากําไรทางเศรษฐกิจอันจะเขาขอยกเวนไมตองนําบทบัญญัติ หมวด 11 คาชดเชย มาบังคับใชตาม
กฎกระทรวง (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 หรือไม ตองคํานึงถึง
ลักษณะการประกอบกิจการแทจริงและวัตถุประสงคในการจัดตั้งกิจการที่ระบุในขอบังคับประกอบดวย
ในคดีฟองขับไลและเรียกคาเสียหาย เมื่อจําเลยไมใหการตอสูในเรื่องกรรมสิทธิ์ คําขอในสวนของ
ขับไล จึงถือวาเปนคดีไมมีทุนทรัพย (ฎ.๑๐๗๐/๒๕๕๙)
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1070/2559 โจทกฟองวาโจทกเปนเจาของที่ดินพิพาท จําเลยทั้งสามบุก
รุกที่ดินของโจทก ขอใหขับไลจําเลยทั้งสามและบริวารกับเรียกคาเสียหาย 100,000 บาท ในสวนคําขอใหขับ
ไลจําเลยทั้งสามและบริวารนั้น ถือวาเปนคดีที่มีคําขอปลดเปลื้องทุกขอันไมอาจคํานวณเปนราคาเงินได เมื่อ
จําเลยทั้งสามใหการเพียงวาไมเคยบุกรุกเขาไปในที่ดินของโจทก หาไดใหการตอสูกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทวา
เปนที่ดินของจําเลยทั้งสาม กรณีจึงไมทําใหกลายเปนคดีมีทุนทรัพยตามราคาที่ดินพิพาทที่จําตองตีราคาทรัพย
พิพาทเพื่อใหโจทกเสียคาธรรมเนียมศาล คดีจึงอยูในอํานาจของศาลชั้นตนซึ่งเปนศาลจังหวัดที่จะพิจารณา
พิพากษาคดีไดตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 18 การที่ศาลชั้นตนไมไดกําหนดจํานวนทุนทรัพยที่ดิน
พิพาทกอนที่จะดําเนินกระบวนพิจารณาตอไป จึงไมใชการดําเนินกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบ
โจทก ฎี ก าเฉพาะขอให เ พิ ก ถอนกระบวนพิ จ ารณาที่ผิ ด ระเบี ย บแล ว ให ศ าลชั้ น ต น เริ่ ม ต น ดํ า เนิ น
กระบวนพิจารณาใหมเพียงประการเดียว ถือวาเปนคดีที่มีคําขอปลดเปลื้องทุกขอันไมอาจคํานวณเปนราคาเงิน
ได
คํา พิพากษาศาลฎี ก าที่ 975/2559 เมื่อศาลมีคําสั่ งตั้ งผูทําแผน พ.ร.บ.ล มละลาย พ.ศ.2483
มาตรา 90/26 วรรคหนึ่ง บัญญัติใหเจาหนี้ตองยื่นคําขอรับชําระหนี้ในการฟนฟูกิจการพรอมสําเนาตอเจา
พนักงานพิทักษทรัพยภายในหนึ่งเดือน นับแตวันโฆษณาคําสั่งตั้งผูทําแผนและใหเจาพนักงานพิทักษทรัพยสง
สําเนาคําขอรับ ชําระหนี้ ใหแกผูทําแผนโดยไมชักชาโดยเจ าหนี้ต ามมาตรา 90/27 และบุ คคลตามมาตรา
90/26 วรรคสอง เปนผูมีสิทธิขอรับชําระหนี้ในการฟนฟูกิจการ ผูทําแผนตองจัดทําแผนฟนฟูกิจการโดยมี
รายการตาง ๆ ตามที่บัญญัติไวในมาตรา 90/42 โดยที่มาตรา 90/60 วรรคหนึ่ง บัญญัติใหแผนซึ่งศาลมี

1
กุญชฐาน ทัดทูน (รวบรวม) สืบคนจาก http://deka.supremecourt.or.th/

1 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


คําสั่งเห็นชอบแลว ผูกมัดเจาหนี้ซึ่งอาจขอรับชําระหนี้ในการฟนฟูกิจการไดและเจาหนี้ซึ่งมีสิทธิไดรับชําระหนี้
ในการฟนฟูกิจการทั้งนี้ตามมาตรา 90/27 กลาวคือ เจาหนี้จะมีสิทธิไดรับชําระหนี้ตามที่กําหนดไวในแผน
แทนการไดรับชําระหนี้ตามมูลหนี้เดิม
คดีนี้ที่ประชุมเจาหนี้ไมอาจมีมติตามมาตรา 90/46 เลือกผูบริหารแผนคนใหมได และเจาพนักงาน
พิทักษทรัพยรายงานตอศาล ซึ่งศาลลมละลายกลางเห็นสมควรใหลูกหนี้ลมละลาย จึงมีคําสั่งพิทักษทรัพยของ
ลูกหนี้ เด็ดขาดตามมาตรา 90/68 วรรคสาม กรณีเชน นี้ตามมาตรา 90/77 วรรคหนึ่ง บัญญัติใหเ ฉพาะ
เจาหนี้ซึ่งมีสิทธิไดรับชําระหนี้ในการฟนฟูกิจการ รวมทั้งเจาหนี้ในหนี้อื่นที่อาจขอรับชําระหนี้ไดจากมูลหนี้ที่ได
เกิดขึ้นตั้งแตศาลมีคําสั่งใหฟนฟูกิจการเทานั้น ที่จะยื่นคําขอรับชําระหนี้ตอเจาพนักงานพิทักษทรัพยภายใน
กําหนดเวลาตามมาตรา 91
เนื่องจากมาตรา 90/78 บัญญัติวา "คําสั่งของศาลที่ใหพิทักษทรัพยของลูกหนี้เด็ดขาดตามความใน...
มาตรา 90/68... ไมกระทบถึงการใดที่ไดกระทําโดยสุจริตและเปนไปตามแผนแลวกอนศาลมีคําสั่งเชนวานั้น
และมีผลใหหนี้ที่เจาหนี้มีสิทธิไดรับชําระหนี้ในการฟนฟูกิจการกลับคืนสูสถานะดังที่เปนอยูเดิม เวนแตสภาพ
แหงหนี้ในขณะนั้ นจะไมเปด ชองให กระทําได" ฉะนั้น เมื่อศาลมีคําสั่ งพิทักษทรัพยของลูกหนี้ เด็ด ขาดตาม
มาตรา 90/68 วรรคสาม เจาหนี้ซึ่งไดขอรับชําระหนี้ในการฟนฟูกิจการตามมาตรา 90/60 วรรคหนึ่ง จึง
ชอบที่จะขอรับชําระหนี้ตามจํานวนหนี้ที่เจาพนักงานพิทักษทรัพยหรือศาลเคยมีคําสั่งอนุญาตใหไดรับชําระหนี้
ในการฟน ฟูกิจการไวตามมาตรา 90/32 หาใชจํานวนหนี้ต ามที่กําหนดไว ในแผนฟน ฟูกิจ การตามมาตรา
90/42 (3) (ข) ไม สวนเจาหนี้ซึ่งอาจขอรับชําระหนี้ในการฟนฟูกิจการผูใดไมยื่นคําขอรับชําระหนี้ เจาหนี้ผู
นั้นยอมหมดสิทธิที่จะรับชําระหนี้ไมวาการฟนฟูกิจการของลูกหนี้จะเปนผลสําเร็จตามแผนหรือไมตามมาตรา
90/61 เจาหนี้ผูนั้นจึงหมดสิทธิที่จะขอรับชําระหนี้ตามมาตรา 90/77 วรรคหนึ่ง เชนกัน
เจาหนี้ซึ่งเจาพนักงานพิทักษทรัพยหรือศาลมีคําสั่งอนุญาตใหไดรับชําระหนี้ในการฟนฟูกิจการ และ
เจาหนี้ซึ่งมีสิทธิไดรับชําระหนี้ในการฟนฟูกิจการตามมาตรา 90/61 (1) ยอมเปนผูมีสิทธิไดรับชําระหนี้ตาม
แผน และอาจไดรับชําระหนี้ทั้งหมดหรือบางสวนไปตามแผนแลว กอนศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยของลูกหนี้
เด็ดขาดตามมาตรา 90/68 วรรคสาม ซึ่งคําสั่งพิทักษทรัพยของลูกหนี้เด็ดขาดดังกลาวไมกระทบถึงการใดที่
ไดกระทําโดยสุจริตและเปนไปตามแผนแลวกอนศาลมีคําสั่งเชนวานั้น ดังนั้น สิทธิของเจาหนี้ที่จะไดรับชําระ
หนี้ตามแผนกอนศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยของลูกหนี้เด็ดขาดตามมาตรา 90/68 วรรคสาม จึงขึ้นอยูกับผลตาม
คําสั่งของเจาพนักงานพิทักษทรัพยหรือศาลที่เคยอนุญาตใหเจาหนี้นั้นไดรับชําระหนี้ในการฟนฟูกิจการหรือไม
ดวย เมื่อคดีนี้เจาหนี้อุทธรณคําสั่งศาลลมละลายกลางเกี่ยวกับคําขอรับชําระหนี้ในการฟนฟูกิจการ เพื่อให
ปรากฏสิทธิของเจาหนี้รายนี้ในการกลับคืนสูสถานะดังที่เปนอยูเดิม และเมื่อนําทรัพยสินที่เจาหนี้อาจไดรับ
ชําระหนี้ในการฟนฟูกิจการตามแผน (ถามี) ไปหักออกแลว จึงจะทราบยอดหนี้สุทธิที่เจาหนี้มีสิทธิขอรับชําระ
หนี้เมื่อศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยของลูกหนี้เด็ดขาดตามมาตรา 90/77 วรรคหนึ่ง ประกอบมาตรา 90/78
ศาลฎีกาจึงตองพิจารณาอุทธรณของเจาหนี้ตอไป

2 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


เจาหนี้ที่ยึดถือโฉนดที่ดินของลูกหนี้ไว ไมใชผูเสียหายโดยนิตินัยในความผิดฐานแจงความเท็จ ใน
กรณีที่ลูกหนี้ไปแจงความเท็จจริงเพื่อนําหลักฐานไปออกโฉนดที่ดินฉบับใหมแทนฉบับเดิมที่เจาหนี้ยึดถือไว
(ฎ.๙๖๑/๒๕๕๙)
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 961/2559 แมขอความที่จําเลยแจงจะเปนความเท็จเพราะความจริงโฉนด
ที่ดินอยูที่ ภ. และจําเลยนํารายงานประจําวันรับแจงเปนหลักฐานที่เจาพนักงานจดขอความอันเปนเท็จไปใช
อางเพื่อขอใหออกใบแทนโฉนดที่ดินก็ตาม แตก็เปนเรื่องที่จําเลยกระทําตอพันตํารวจโท บ.เจาพนักงาน ธ.
และ พ. เจ าพนั กงานที่ดิ น มิไดกลาวพาดพิงไปถึง ภ. หรือนํ ารายงานประจํ าวัน รับแจงเปนหลักฐานที่เจ า
พนักงานจดขอความอันเปนเท็จไปใชอางตอ ภ. อันจะถือวา ภ. ไดรับความเสียหายโดยตรงจากการกระทําของ
จําเลย อีกทั้งจําเลยมอบใหมารดานําโฉนดที่ดินทั้งสองฉบับไปเปนหลักประกันการกูยืมเงินกับ ภ. เทานั้น ซึ่ง
ภ. ไมมีสิทธิที่จะบังคับเอากับโฉนดที่ดินดังกลาวไดตามกฎหมาย ภ. จึงมิใชผูเสียหายในความผิดฐานแจงใหเจา
พนักงานจดขอความอันเปนเท็จลงในเอกสารราชการ และใชหรืออางเอกสารราชการซึ่งแจงใหเจาพนักงาน
ผูกระทําการตามหนาที่จดขอความอันเปนเท็จดังกลาว ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 2 (4) และไมมีสิทธิยื่นคํารองขอ
เขารวมเปนโจทกตาม ป.วิ.อ. มาตรา 30 การที่ศาลชั้นตนอนุญาตให ภ. เขารวมเปนโจทกจึงเปนการไมชอบ
เมื่อ ภ. มิใชคูความในคดีจึงไมมีสิทธิยื่นอุทธรณขอใหไมรอการลงโทษจําคุกใหแกจําเลยได ดังนี้ การที่ศาล
อุทธรณภาค 3 วินิจฉัยอุทธรณของ ภ. จึงเปนการไมชอบเชนกัน
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 901/2559 แมทางพิจารณาไดความวาปุยเคมีปลอมที่จําเลยทั้งสอง
รวมกันผลิตเพื่อการคาและรวมกันขายปุยเคมีปลอม เปนปุยสูตร 16 - 8 - 8 ชื่อการคา ทอปพรอดคัท
เครื่องหมายการคา ตรามังกรเรือ ทะเบียนเลขที่ 2438/2551 และขอเท็จจริงดังที่กลาวในฟองปรากฏวา
ปุยเคมีปลอมที่จําเลยทั้งสองรวมกันผลิตเพื่อการคาและรวมกันขายปุยเคมีปลอม เปนปุยสูตร 16 - 8 - 8 ชื่อ
การคา มังกรเรื อ เครื่ องหมายการคา ตรามังกรเรื อ ทะเบี ย นเลขที่ 2438/2551 ก็ต าม แต ขอแตกต าง
ดังกลาวก็แตกตางกันเฉพาะชื่อการคาเทานั้น สวนสูตร เครื่องหมายการคา เลขทะเบียน และผูผลิต ยังคงตรง
ตามคําฟอง เมื่อผลคือปุยเคมีปลอมที่ผลิตเพื่อการคาและขายปุยเคมีปลอมดังกลาวเปนปุยเคมีปลอมอันเกิด
จากการรวมกันผลิตและรวมกันขายของจําเลยทั้งสองแลว จึงเปนการแตกตางกันในขอที่มิใชสาระสําคัญ ทั้ง
จําเลยทั้งสองก็ใหการรับสารภาพแสดงใหเห็นวาจําเลยทั้งสองมิไดหลงตอสูในขอดังกลาว ขอเท็จจริงตามที่
ปรากฏในการพิจารณาจึงไมแตกตางกับขอเท็จจริงดังที่กลาวในฟองจนศาลตองยกฟอง ตาม ป.วิ.อ. มาตรา
192 วรรคสอง
คํ า พิ พ ากษาศาลฎี ก าที่ 882/2559 สาเหตุ ที่ จํ าเลยที่ 1 เลิ ก จ า งโจทกเ นื่ อ งจากโจทก ถูก ศาล
ลมละลายกลางมีคําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาด ซึ่งตามระเบียบของจําเลยที่ 1 วาดวยการพนักงานสําหรับฝาย
ขาย พ.ศ.2541 ขอ 37.2 กําหนดวา จําเลยที่ 1 อาจมีความจําเปนตองใหพนักงานออกจากงานในกรณีที่
พนักงานมีหนี้สินรุงรัง และจําเลยที่ 1 มีสิทธิเลิกจางโดยจายคาชดเชยใหตามกฎหมายได บุคคลที่ถูกศาลมี
คําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดตองเปนบุคคลที่มีหนี้สินลนพนตัว ดังนั้น โจทกยอมไดชื่อวาเปนผูที่มีหนี้สินรุงรังตาม
3 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
ความหมายของระเบียบดังกลาว ประกอบกับโจทกทําหนาที่ตัวแทนประกันชีวิตซึ่งตองเปนบุคคลที่มีความ
นาเชื่อถือหรือไววางใจของผูเอาประกันภัย หากผูเอาประกันภัยหรือบุคคลที่จะเขาทําสัญญาประกันชีวิตกับ
จําเลยที่ 1 รูวาโจทกถูกพิทักษทรัพยเด็ดขาดก็จะสงผลใหบุคคลดังกลาวไมเชื่อถือในการประกอบธุรกิจของ
จําเลยที่ 1 ไปดวย การที่จําเลยที่ 1 เลิกจางโจทกจึงมีเหตุอันสมควรแลว มิใชการเลิกจางที่ไมเปนธรรม
ขอที่โจทกอางวามูลหนี้ที่โจทกถูกฟองเปนคดีลมละลายเปนมูลหนี้ที่ ส. และโจทก ผิดสัญญากูเบิกเงิน
เกินบัญชีกับธนาคาร ก. ซึ่งตอมาธนาคารไดโอนสิทธิเรียกรองใหแกบริษัทบริหารสินทรัพย พ. ซึ่งมีกรรมการ
ของจําเลยที่ 1 เปนกรรมการของธนาคารและบริษัทบริหารสินทรัพยดังกลาวอันแสดงวาจําเลยที่ 1 ทราบอยู
แลววาโจทกมีหนี้สินอยูกอนที่จําเลยที่ 1 จะรับโจทกเขาทํางานนั้น เมื่อธนาคารและบริษัทบริหารสินทรัพยกับ
จําเลยที่ 1 ตางเปนนิติบุคคลแยกตางหากจากกัน จึงถือไมไดวาจําเลยที่ 1 ทราบวาโจทกมีหนี้สินขณะจําเลยที่
1 รับโจทกเขาทํางาน และขอที่โจทกอางวาจําเลยที่ 1 ยกเวนไมนํากรณีที่โจทกมีหนี้สินรุงรังมาเปนเหตุเลิก
จางนั้น ก็เปนความเขาใจของโจทกฝายเดียว
ขอที่โจทกอางวาระเบียบของจําเลยที่ 1 วาดวยการพนักงานสําหรับฝายขาย พ.ศ.2541 ขอ 37.2
วางเกณฑไวสูงกวาคุณสมบัติของผูขอรับใบอนุญาตเปนตัวแทนประกันชีวิตตาม พ.ร.บ.ประกันชีวิต (ฉบับที่ 2)
พ.ศ.2551 ที่กําหนดเอาไววาตองไมเปนบุคคลลมละลาย โจทกถูกศาลสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดและศาลมีคําสั่ง
ยกเลิกการลมละลายแลวโจทกยังมีคุณสมบัติเ ปนตัวแทนประกันชีวิต ระเบียบดังกลาวของจํ าเลยที่ 1 ไม
สอดคลองกับกฎหมายและไมเปนธรรมตอโจทกนั้น เมื่อระเบียบดังกลาวใชกับพนักงานของจําเลยที่ 1 ทุกคน
ไมไดเ ลือกบั งคับ ใช เฉพาะโจทก เงื่อนไขที่จําเลยที่ 1 จะเลิกจ างลูกจางตามระเบีย บดั งกลาวเมื่อไมขัดต อ
กฎหมายยอมใชบังคับได และขณะที่ถูกเลิกจางโจทกก็ถูกศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดแลว โจทกจะอางวา
ระเบียบดังกลาวไมเปนธรรมยอมไมได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 804/2559 พยานหลักฐานโจทกที่นําสืบประกอบคํารับสารภาพของจําเลย
ฟงไดวา จําเลยใชรถจักรยานยนตของกลางเปนยานพาหนะไปรับเมทแอมเฟตามีนจากชายไมทราบชื่อตามที่
ส. วาจางเพื่อนําไปสงลูกคาของ ส. โดยใชโทรศัพทเคลื่อนที่ติดตอกับ ส. และไดรับเงินคาจางกอน 5,000
บาท จากนั้นจําเลยใชโทรศัพทเคลื่อนที่ติดตอกับโทรศัพทของ ส. และ อ.ใหนําเงินมาใหจําเลยเพิ่มเพื่อเปน
คาใชจายในการเดินทาง ดังนี้ รถจักรยานยนตของกลางจึงเปนยานพาหนะที่จําเลยไดใชในการขนสงลําเลียง
เมทแอมเฟตามีน เงินของกลางจึงเปนเงินที่จําเลยไดจากการรับจางขนเมทแอมเฟตามีน และโทรศัพทเคลื่อนที่
จึงเปนเครื่องมือสื่อสารที่จําเลยใชในการติดตอกับ ส. และ อ. ในการรับและสงเมทแอมเฟตามีนของกลาง
รถจักรยานยนต เงินและโทรศัพทเคลื่อนที่ของกลางจึงเปนเครื่องมือ เครื่องใช ยานพาหนะ ที่จําเลยไดใชใน
การกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดใหโทษ อันพึงตองริบตาม พ.ร.บ.ยาเสพติดใหโทษ พ.ศ.2522 มาตรา
102
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 635/2559 ขอความที่ผูถูกกลาวหาลงแสดงในเฟซบุกมีขอความที่ไมเปน
ความจริงกลาวหาวาศาลดําเนินคดีไมเปนธรรม และไปถายรูปในบริเวณศาลนํามาลงประกอบขอความเท็จของ

4 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


ตนในเฟซบุ กวาศาลเรี ยกเงิน และมีขอความลงขมขูศาลวาจะยิ งทําราย ขอให ผูพิพากษาระวังตัว อัน เป น
ขอความที่ประสงคจะใหมีอิทธิพลเหนือความรูสึกของประชาชนหรือเหนือศาล และเปนการรายงานกระบวน
พิจารณาแหงคดีอยางไมถูกตองและเปนเท็จ แมผูถูกกลาวหาลงขอความในเฟซบุกโดยใชเครื่องคอมพิวเตอรที่
บานของผูถูกกลาวหา แตเมื่อขอความสวนหนึ่งเกิดจากการถายรูปบุคคลในบริเวณศาล เพื่อนําไปประกอบ
ขอความเท็จ ที่ต นใช แสดงต อสาธารณชน ย อมถือได วาเป น การประพฤติ ตนไมเ รี ย บร อยในบริเ วณศาล มี
ความผิดตาม ป.วิ.พ. มาตรา 31 (1) นอกจากนี้ การที่ผูถูกกลาวหาแสดงขอความเท็จ บิดเบือนขอเท็จจริงที่
ปรากฏในศาล แสดงความเท็จวาตนถูกศาลกลั่นแกลงเปนความผิดตาม ป.วิ.พ. มาตรา 32 (2) ดวย อันเปน
การกระทําตางกรรม ตางเจตนา และตางบทกฎหมาย ชอบที่จะลงโทษฐานละเมิดอํานาจศาลแกผูถูกกลาวหา
ไดทั้งสองกรรม.
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 478/2559 จําเลยที่ 1 ขมขูบังคับใหโจทกรวมไปโอนขายสิทธิการเชา
ที่ราชพัสดุ ซึ่งมีชื่ อของ ส. บุ ตรโจทกรว มถือสิทธิ และโจทกร วมยอมไปขอรอง ส. ใหโอนขายสิทธิการเช า
ดังกลาวโดยอางวาโจทกรวมกําลังเดือดรอน ส. ยอมโอนขายสิทธิการเชาที่ดินราชพัสดุใหผูอื่น เงินที่ขายไดเขา
บัญชี เงินฝากของโจทกร วม จะเห็น ได วาการกระทําตามคําขูบังคับ ของจํ าเลยที่ 1 ไมทําใหจํ าเลยที่ 1 ได
ประโยชนในลักษณะที่เปนทรัพยสินโดยตรงยอมไมเปนความผิดฐานกรรโชก แตการกระทําของจําเลยที่ 1
เปนการขมขืนใจโจทกรวมใหไปขอรอง ส. ใหโอนขายสิทธิการเชาที่ราชพัสดุ โดยทําใหโจทกรวมกลัววาจะเกิด
อันตรายแกโจทกรวมและคนในครอบครัว โจทกรวมเกิดความกลัวยอมกระทําการตามที่จําเลยที่ 1 ขมขูบังคับ
จึงเปนความผิดตอเสรีภาพตาม ป.อ. มาตรา 309 วรรคแรก ซึ่งเปนความผิดที่รวมอยูในความผิดฐานกรรโชก
ตามที่โจทกฟอง
**คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 453/2559 ป.วิ.พ. มาตรา 180 เปนบทบัญญัติเกี่ยวกับการแกไขคํา
ฟองหรือคําใหการ อันเปนกระบวนพิจารณาในศาลชั้นตน ซึ่งมีกําหนดเวลาไววาการขอแกไขตองยื่นคํารอง
กอนวันชี้สองสถานหรือกอนวันสืบพยานไมนอยกวาเจ็ดวันแตในชั้นอุทธรณและฎีกาไมมีวันกําหนดดังกลาว จึง
ไมอาจนํา ป.วิ.พ. มาตรา 180 มาใชบังคับในชั้นอุทธรณและฎีกาโดยอนุโลมได การที่จําเลยที่ 2 จะยื่นคํารอง
ขอแกไขเพิ่มเติมคําแกฎีกา ไมวาจะแกไขเพิ่มเติมในปญหาขอเท็จจริงหรือขอกฎหมาย ก็ถือวาเปนการยื่นคําแก
ฎีกา ซึ่งจําเลยที่ 2 ตองยื่นคํารองขอแกไขเพิ่มเติมในระยะเวลาแกฎีกา คดีนี้จําเลยที่ 2 ไดรับหมายสงสําเนา
ฎีกาเพื่อใหแกฎีกาภายในสิบหาวัน โดยวิธีปดหมายเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2553 ครบกําหนดจําเลยที่ 2
แกฎีกาวันที่ 29 มิถุนายน 2553 และจําเลยที่ 2 ไดยื่นคําแกฎีกาฉบับลงวันที่ 28 มิถุนายน 2553 ไวแลว
เมื่อจําเลยที่ 2 ยื่นคํารองขอแกไขเพิ่มเติมคําแกฎีกาในวันที่ 22 สิงหาคม 2557 พนกําหนดแกฎีกาแลว จึง
รับเปนคํารองขอแกไขเพิ่มเติมคําแกฎีกาของจําเลยที่ 2 ไมได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 425/2559 ขณะศาลฎีกาสงคําพิพากษาใหศาลชั้นตนอานคําพิพากษาให
คูความฟง จําเลยที่ 1 ถูกคุมขังอยูที่เรือนจําเขาบิน จังหวัดราชบุรี สวนจําเลยที่ 2 อยูที่เรือนจํากลางคลอง
เปรม การที่ศาลชั้นตนสงคําพิพากษาศาลฎีกาใหศาลจังหวัดราชบุรีอานใหจําเลยที่ 1 ฟงกอน แลวจึงอานคํา
5 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
พิพากษาศาลฎีกาใหจําเลยที่ 2 ฟง จึงเปนการอานคําพิพากษาศาลฎีกาใหจําเลยที่ 2 ฟงโดยชอบดวย ป.วิ.อ.
มาตรา 182 จําเลยที่ 2 จะกลาวอางวา การที่ศาลชั้นตนอานคําพิพากษาใหจําเลยที่ 1 ฟง ยอมมีผลถึงจําเลย
ที่ 2 ดวยไมได เมื่อตาม ป.วิ.อ. มาตรา 188 บัญญัติเพียงวา คําพิพากษามีผลตั้งแตวันที่ไดอานในศาลโดย
เปดเผยเปนตนไป โดยมิไดบัญญัติวา คดีถึงที่สุดเมื่อใด จึงตองนํา ป.วิ.พ. มาตรา 147 มาใชบังคับเทาที่พอจะ
ใช บั ง คั บ ได ตาม ป.วิ . อ. มาตรา 15 เมื่อ ศาลชั้ น ต น อ า นคํ า พิพ ากษาศาลฎี ก าให จํ า เลยที่ 2 ฟง เมื่อ 18
กันยายน 2555 คดีของจําเลยที่ 2 จึงถึงที่สุดในวันดังกลาว การที่ศาลชั้นตนออกหมายจําคุกเมื่อคดีถึงที่สุด
ใหแกจําเลยที่ 2 โดยระบุวาคดีถึงที่สุดวันที่ 18 กันยายน 2555 จึงชอบแลว
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 420/2559 การที่จําเลยทั้งสองนําเงินคาธรรมเนียมชั้นอุทธรณมาชําระ
ภายในระยะเวลาที่ศาลชั้นตนขยายระยะเวลาวางเงินคาธรรมเนียมใหจําเลยทั้งสอง แสดงวาจําเลยทั้งสอง
ประสงคที่จะตอสูคดีในชั้นอุทธรณตอไป เมื่อศาลชั้นตนมีคําสั่งในคําแถลงวางเงินคาขึ้นศาลของจําเลยทั้งสอง
แตเพียงวา รับไว นําฝาก โดยไมไดระบุไวดวยวา ศาลชั้นตนไดมีคําสั่งเกี่ยวกับอุทธรณของจําเลยทั้งสองใน
อุทธรณแลว แมจะมีตราประทับที่ดานลางอุทธรณของจําเลยทั้งสองวา ถาศาลไมอาจสั่งไดในวันนี้ ผูยื่นจะมา
ติดตามเพื่อทราบคําสั่งทุก ๆ 7 วัน มิฉะนั้นถือวาทราบคําสั่งแลว และทนายจําเลยทั้งสองลงลายมือชื่อทราบ
คําสั่งก็ตาม แตเมื่อศาลชั้นตนเคยสั่งในอุทธรณของจําเลยทั้งสองคนละวันกับที่จําเลยทั้งสองยื่นอุทธรณวา รอ
ไวสั่งเมื่อผูอุทธรณชําระคาขึ้นศาลครบถวนแลว จึงถือวาจําเลยทั้งสองไดทราบคําสั่งดังกลาวโดยอาศัยตรา
ประทับที่ดานลางอุทธรณของจําเลยทั้งสองมาครั้งหนึ่งแลว หากจะใหตราประทับที่ดานลางอุทธรณของจําเลย
ทั้งสองมีผลบังคับตลอดไปวาศาลชั้นตนสั่งอะไรในอุทธรณของจําเลยทั้งสองแลว จําเลยทั้งสองจะมาทราบ
ติดตามเพื่อรับทราบคําสั่งศาลชั้นตนทุก ๆ 7 วัน มิฉะนั้นถือวาทราบคําสั่งแลวอีก ยอมไมเปนธรรมแกจําเลย
ทั้งสอง ดังนี้ จึงถือวาจําเลยทั้งสองทราบคําสั่งรับอุทธรณของจําเลยที่ 2 แลวไมได และเปนหนาที่ของศาล
ชั้นตนตองแจงคําสั่งรับอุทธรณใหจําเลยที่ 2 ทราบโดยตรง การที่ศาลชั้นตนไมแจงคําสั่งดังกลาวใหจําเลยที่ 2
ทราบ เมื่อจําเลยที่ 2 ไมไดแถลงใหศาลชั้นตนทราบวาจะดําเนินการอยางไรในกรณีที่ไมสามารถสงหมายนัด
สําเนาอุทธรณใหโจทกไดตามคําสั่งศาลชั้นตน จึงยังถือไมไดวาจําเลยที่ 2 จงใจเพิกเฉยไมดําเนินคดีภายใน
เวลาที่ศาลชั้นตนกําหนดอันเปนการทิ้งฟองอุทธรณตาม ป.วิ.พ. มาตรา 174 (2)
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 342/2559 ศาลอุทธรณภาค 1 พิพากษายืนตามคําพิพากษาศาลชั้นตน
และใหจําเลยใชคาทนายความชั้นอุทธรณจํานวน 6,000 บาท แทนโจทก โดยไมไดสั่งเรื่องคาฤชาธรรมเนียม
อื่น เปนการไมชอบ เพราะคําสั่งในเรื่องคาฤชาธรรมเนียม แมจะไมมีคําขอของคูความฝายใดก็เปนหนาที่ของ
ศาลจะตองสั่งลงไวในคําพิพากษาตาม ป.วิ.พ. มาตรา 167 วรรคหนึ่ง แมไมมีคูความฝายใดกลาวอาง ศาล
ฎีกาก็มีอํานาจแกไขใหถูกตองได
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 120/2559 ตามหนังสือสัญญาขายฝากที่ดินที่จดทะเบียนตอพนักงาน
เจาหนาที่ ระบุวา จําเลยขายฝากเฉพาะที่ดินไมเกี่ยวกับสิ่งปลูกสรางเลขที่ 252 ดวย ซึ่งตองแปลความวาไม
รวมบานไมมีเลขที่บานดวย เพราะฉะนั้นการขายฝากสมบูรณเฉพาะที่ดินเทานั้น แมโจทกจะอางวาโจทกกับ
6 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
จําเลยตกลงขายฝากที่ดิ น พร อมบ าน 2 หลั ง คือบานเลขที่ 252 กับ บ านที่ไมมีเ ลขที่บ านอีก 1 หลั ง แต
พนักงานเจาหนาที่แจงวาจดทะเบียนขายฝากบาน 2 หลัง ดังกลาวดวยไมไดเพราะตองประเมินราคาจึงจด
ทะเบียนขายฝากเฉพาะที่ดิน โจทกกับจําเลยจึงไดทําสัญญาซื้อขายบาน 2 หลัง เพิ่มเติมตามที่ตกลงกันตาม
หนังสือสัญญาซื้อขาย แตสัญญาขายฝากเปนสัญญาซื้อขายประเภทหนึ่งจึงตองนําบทบัญญัติเรื่องซื้อขายมาใช
บังคับดวย ซึ่ง ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคหนึ่ง กําหนดวาการซื้อขายอสังหาริมทรัพยตองทําเปนหนังสือและ
จดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ มิฉะนั้นเปนโมฆะ เมื่อการขายฝากบานทั้งสองหลังไมไดจดทะเบียนต อ
พนักงานเจาหนาที่จึงตกเปนโมฆะ นอกจากนี้สัญญาขายฝากที่ดิน และสัญญาซื้อขาย ยังทําวันเดียวกันแสดงให
เห็นเจตนาโดยชัดแจงวาคูสัญญาตองการหลีกเลี่ยงคาธรรมเนียม จึงเปนนิติกรรมที่มีวัตถุประสงคขัดตอความ
สงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน จึงเปนโมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา 150 อีกดวย ดังนั้นโจทกไม
อาจอางวาบานทั้งสองหลังตกเปนกรรมสิทธิ์ของโจทกโดยหลักสวนควบได โจทกไมมีกรรมสิทธิ์ในบานทั้งสอง
หลัง
คูสัญญาไมไดตกลงขายฝากบานเลขที่ 252 ดวย บานหลังดังกลาวยังเปนของจําเลยโดยไมตกเปน
สวนควบของที่ดิน และกรณีไมตองดวย ป.พ.พ. มาตรา 1310 เพราะกรณีนี้ไมใชจําเลยปลูกบานเลขที่ 252
ในที่ดินของโจทก แมภายหลังขายฝากจําเลยจะไดตอเติมบานหลังดังกลาวก็ตาม เมื่อโจทกไมประสงคจะให
จําเลยอยูในที่ดินของโจทกอีกตอไป จําเลยตองรื้อบานหลังดังกลาวออกจากที่ดินของโจทก
สวนบานไมมีเลขที่ ขณะทําสัญญาขายฝากที่ดินบานหลังไมมีเลขที่บานยังอยูระหวางกอสราง การที่
โจทกปลอยใหจําเลยกอสรางบานหลังดังกลาวในที่ดินที่ขายฝากตอไปโดยโจทกไมไดหามปราม จําเลยซึ่งเปนผู
ปลูกสรางยอมเขาใจวาตนมีสิทธิที่จะปลูกสรางไดตอไปจนแลวเสร็จเพราะเชื่อตามสัญญาขายฝากวาตนมีสิทธิ
ไถที่ดินคืนไดภายในกําหนดในสัญญา การปลูกสรางบานไมมีเลขที่บานของจําเลยจึงเปนการสรางโรงเรือนใน
ที่ดินของผูอื่นโดยสุจริต แตเมื่อทําสัญญาขายฝากแลวจําเลยไมไถคืนภายในกําหนด ที่ดินที่ขายฝากยอมตกเปน
กรรมสิทธิ์ของโจทกโดยเด็ดขาด กรณีดังกลาวไมมีบทกฎหมายที่จะใชปรับไดโดยตรง จึงตองใชบทกฎหมายที่
ใกลเคียงอยางยิ่งตาม ป.พ.พ. มาตรา 4 วรรคสอง อันไดแก ป.พ.พ. มาตรา 1310 วรรคหนึ่ง ทําใหโจทกซึ่ง
เปนเจาของที่ดินเปนเจาของโรงเรือนนั้น แตตองใชคาแหงที่ดินเพียงที่เพิ่มขึ้นเพราะสรางโรงเรือนนั้นใหแก
จําเลยผูสราง และการที่โจทกปลอยใหจําเลยปลูกสรางบานตอไปในที่ดินของโจทกโดยมิไดหามปรามถือวา
โจทกประมาทเลินเลอในการสรางโรงเรือนของจําเลย โจทกจึงไมอาจบอกปดไมยอมรับโรงเรือนนั้น และตองใช
คาแหงที่ดินที่เพิ่มใหแกจําเลย
คําพิพากษาศาลฎีก าที่ 30/2559 การยื่ นคํารองขอคืนหลักประกัน คดีนี้ เปน ผลสืบเนื่องมาจาก
ผูประกันทั้งสองผิดสัญญาประกันไมสงตัวจําเลยตอศาลตามนัดในคดีความผิดฐานมีเมทแอมเฟตามีนไวใน
ครอบครองเพื่อจําหนาย ซึ่งการจะคืนหลักประกันใหแกผูประกันทั้งสองหรือไม ศาลตองพิจารณาถึงการนําตัว
จําเลยซึ่งเปนผูกระทําความผิดดังกลาวมาสงศาลประกอบดวย ดังนั้นคํารองขอคืนหลักประกันถือวาเกี่ยวเนื่อง
กับการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ.ยาเสพติดใหโทษ พ.ศ.2522 จึงเปนความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด อันอยูใน
บังคับของ พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดียาเสพติด พ.ศ.2550 มาตรา 15 วรรคหนึ่ง ซึ่งใหอุทธรณคําสั่งดังกลาวไปยัง
7 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
ศาลอุทธรณแผนกคดียาเสพติด ศาลอุทธรณแผนกคดียาเสพติดจึงมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีนี้
สวนที่ผูประกันทั้งสองฎีกาวา การชําระหนี้เปนการพนวิสัยเพราะพฤติการณอันเกิดขึ้นภายหลังการกอ
หนี้ซึ่งผูประกันทั้งสองไมตองรับผิดชอบเนื่องจากเปนเหตุเกิดจากศาลเอง ขอใหศาลฎีกาคืนหลักประกันใหแก
ผูป ระกันนั้ นเป นการโตแย งคําวิ นิ จฉัยของศาลอุทธรณเ กี่ย วกับ การบังคับ ตามสั ญญาประกันซึ่ง พ.ร.บ.วิ ธี
พิจารณาคดียาเสพติด พ.ศ.2550 มิไดบัญญัติไวโดยเฉพาะจึงตองนําบทบัญญัติแหง ป.วิ.อ. มาตรา 119 มา
ใชบังคับตาม พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดียาเสพติด พ.ศ.2550 มาตรา 3 เมื่อศาลอุทธรณวินิจฉัยวาผูประกันทั้งสอง
ไมส ามารถนํ าตัว จํ าเลยมาศาลได ต ามกําหนดนัด ย อมเปน การผิ ด สัญญาประกันที่ไดทําไวในคดี นี้ จึงมีคํา
พิพากษายืนตามคําสั่งศาลชั้นตนที่ใหผูประกันทั้งสองคืนหลักประกันใหแกศาลชั้นตน คําพิพากษาศาลอุทธรณ
ดังกลาวยอมเปนที่สุดตาม ป.วิ.อ. มาตรา 119 วรรคหนึ่ง
คําพิพากษาศาลฎีก าที่ 15732/2558 ในการพิพากษาคดี แพงศาลตองพิจารณาตามหลั กเรื่อง
ภาระการพิสู จ นและการชั่ งน้ํ าหนั กพยานหลั กฐานว าฝ ายใดมีน้ํ าหนั กดีกว ากัน เมื่อทางนําสื บ ของโจทกมี
หลักฐานอันควรเชื่อไดวา จําเลยซึ่งดํารงตําแหนงนายกองคการบริหารสวนตําบลใหมพัฒนา จัดทําโครงการ
ทัศนศึกษาดูงานที่องคการบริหารสวนตําบลบานสา อําเภอแจหม จังหวัดลําปาง โดยใชงบประมาณของทาง
ราชการ แตกลับนําคณะทัศนศึกษาดูงานไปลงแพที่เขื่อนกิ่วลม และมีการจัดเลี้ยงอาหารและสุราแกคณะ
เดินทางเพื่อจูงใจใหผูมีสิทธิเลือกตั้งลงคะแนนเลือกตั้งใหแกจําเลย โดยมิไดมีการอบรมและศึกษาดูงานให
เปนไปตามวัตถุประสงค การกระทําของจําเลยเปนการฝาฝนมาตรา 57 แหง พ.ร.บ.การเลือกตั้งสมาชิกสภา
ทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น พ.ศ.2545 จําเลยจึงตองรับผิดชดใชคาเสียหายเปนคาใชจายในการเลือกตั้งใหม
ตามมาตรา 99 วรรคหนึ่ง แหง พ.ร.บ. ดังกลาว
การใชสิทธิเรียกรองใหจําเลยรับผิดชดใชคาเสียหายดังกลาว มิใชคดีแพงที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา ที่
ศาลจะตองถือขอเท็จจริงตามคดีอาญาที่จําเลยถูกฟองขอใหลงโทษตามมาตรา 57 แหง พ.ร.บ. ดังกลาวแต
อยางใด
ในชั้นบังคับคดี จะขอแกไขชื่อจําเลยใหถูกตองตรงกับเอกสารที่ปรากฏหลักฐานทางทะเบียน จะ
ทําไดหรือไม (ฎ.๑๕๗๒๒/๒๕๕๘)
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 15722/2558 เมื่อขอเท็จจริงรับฟงไดวานายสมเกียรติ คลายทอง กับนาย
สมเกียรติ์ คลายทอง เปนบุคคลคนเดียวกัน การขอแกไขเพิ่มเติมชื่อนายสมเกียรติ์ เขามา จึงมิใชเปนกรณีฟอง
จําเลยที่ 3 ผิดตัวหรือฟองคดีตางบุคคลกันและมิใชเปนการเพิ่มเติมขอหาใหม หากแตเปนการเพิ่มเติมใน
รายละเอียดใหชัดเจนถูกตองตรงตามความเปนจริง แมจะอยูในชั้นบังคับคดี แตก็มิไดเปนการเปลี่ยนแปลงผล
ของคําพิพากษาหรือเปนการบังคับคดีนอกเหนือไปจากคําพิพากษาอยางใด ทั้งกรณีเชนนี้มิใชเปนการแกไขคํา
ฟองตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 179 ฉะนั้น จึงไมอยูในบังคับของมาตรา 180 และ
มาตรา 181 ที่จะตองถูกจํากัดระยะเวลาการยื่นคํารองวาตองยื่นกอนวันชี้สองสถานหรือกอนวันสืบพยาน
และไมจําตองสงสําเนาคํารองใหอีกฝายหนึ่งกอน
8 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 15667/2558 แมรายงานผลการตรวจชันสูตรบาดแผลของแพทยเอกสาร
ทายฟองระบุวา การบาดเจ็บของผูเสียหายใชเวลารักษา 2 สัปดาห หากไมมีภาวะแทรกซอนก็ตาม แตก็เปน
เพียงความเห็นของแพทยที่ทําไวขณะตรวจรักษาบาดแผลของผูเสียหายเทานั้น เมื่อโจทกบรรยายฟองวาการ
กระทําของจําเลยเปนเหตุใหผูเสียหายไดรับอันตรายสาหัส ตองทุพพลภาพปวยเจ็บดวยอาการทุกขเวทนาและ
ประกอบกรณียกิจตามปกติไมไดเกินกวายี่สิบวัน ซึ่งเขาองคประกอบความผิดตาม ป.อ. มาตรา 297 (8) แลว
ดังนี้ เมื่อจําเลยใหการรับสารภาพและความผิดดังกลาวมิใชเปนคดีที่มีอัตราโทษอยางต่ําจําคุกตั้งแตหาปขึ้นไป
หรือโทษสถานที่หนักกวานั้น ซึ่งศาลยอมพิพากษาลงโทษจําเลยตามฟองโดยไมตองสืบพยานหลักฐานตอไปได
ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 176 วรรคหนึ่ง ขอเท็จจริงจึงตองรับฟงตามฟองวา การกระทําของจําเลยเปนเหตุให
ผูเสียหายไดรับอันตรายสาหัสและลงโทษจําเลยตาม ป.อ. มาตรา 297 (8) ได เมื่อการกระทําของจําเลยเปน
ความผิดตามบทบัญญัติดังกลาวแลว จึงไมเปนความผิดอันยอมความไดตาม พ.ร.บ.คุมครองผูถูกกระทําดวย
ความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 มาตรา 4 วรรคสอง ตอนทาย แตอยางไรก็ตาม ความผิดฐานกระทําการ
อันเปนความรุนแรงในครอบครัวตาม พ.ร.บ.ดังกลาวมาตรา 4 วรรคหนึ่ง เปนความผิดอันยอมความไดตาม
มาตรา 4 วรรคสอง ตอนตน เมื่อผูเสียหายยื่นคํารองฉบับลงวันที่ 22 พฤษภาคม 2558 เอกสารทายอุทธรณ
หมายเลข 2 วา ไมประสงคหรือติดใจดําเนินคดีแกจําเลยอีกตอไป พอแปลความไดวาเปนการยอมความโดย
ถูกตองตามกฎหมาย สิทธิในการนําคดีอาญามาฟองในความผิดฐานดังกลาว ซึ่งเปนความผิดอันยอมความได
ยอมระงับไปตาม ป.วิ.อ. มาตรา 39 (2)
***คํ า พิ พากษาศาลฎี ก าที่ 15641/2558 ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1273/3 และ 1273/4 ซึ่ ง
แกไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.แกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย (ฉบับที่ 18) พ.ศ.2551 มาตรา
19 และมีผลใช บังคับเมื่อวัน ที่ 2 กรกฎาคม 2551 บัญญัติให บริษัทนั้นสิ้นสภาพนิติบุคคลตั้งแตเมื่อนาย
ทะเบียนขีดชื่อบริษัทออกเสียจากทะเบียน และบริษัทที่ถูกขีดชื่อจะกลับคืนสูทะเบียนมีฐานะนิติบุคคลอีกครั้ง
เมื่อศาลสั่งใหจดชื่อบริษัทกลับคืนเขาสูทะเบียน เมื่อปรากฏวาในวันที่โจทกยื่นฟองจําเลยที่ 1 และที่ 2 เปนคดี
ลมละลายนี้ (วันที่ 15 สิงหาคม 2554) ศาลจังหวัดนครสวรรคยังมิไดมีคําสั่งใหจดชื่อจําเลยที่ 1 และที่ 2
กลับคืนเขาสูทะเบียน ขณะฟองจําเลยที่ 1 และที่ 2 จําเลยจึงไมมีฐานะนิติบุคคลที่โจทกฟองได แมตอมาศาล
จังหวัดนครสวรรคมีคําสั่งใหจดชื่อจําเลยที่ 1 และที่ 2 กลับคืนเขาสูทะเบียนเมื่อวันที่ 23 กันยายน 2554
และตามมาตรา 1273/4 กําหนดใหถือวาบริษัทนั้นยังคงอยูตลอดมาเสมือนมิไดมีการขีดชื่อออกเลย ก็เปน
เพียงการรับรองสภาพนิติบุคคลภายหลังศาลมีคําสั่งเทานั้น หาทําใหโจทกซึ่งไมมีอํานาจฟองมาตั้งแตตนกลับ
กลายเปนมีอํานาจฟองไปไม
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 15503/2558 กระบวนพิจารณาในกรณีขอใหพิจารณาคดีใหม พ.ร.บ.
จัดตั้งศาลลมละลายและวิธีพิจารณาคดีลมละลาย พ.ศ.2542 มิไดบัญญัติไวโดยเฉพาะ จึงตองนําบทบัญญัติ
แหง ป.วิ.พ. มาใชบังคับโดยอนุโลม ตาม พ.ร.บ.จัดตั้งศาลลมละลายและวิธีพิจารณาคดีลมละลาย พ.ศ.2542
มาตรา 14 และการยื่นคํารองขอใหพิจารณาคดีใหมนั้น ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 199 จัตวา บัญญัติใหยื่นตอศาล

9 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


ภายในสิบหาวันนับจากวันที่ไดสงคําบังคับตามคําพิพากษาหรือคําสั่งใหแกจําเลยที่ขาดนัดยื่นคําใหการ ซึ่งใน
คดีลมละลายแมจะไมมีการสงคําบังคับใหแกจําเลยดังเชนในคดีแพงก็ตาม แตการที่เจาพนักงานพิทักษทรัพยมี
หมายเรียกไปยังจําเลยเพื่อไปใหการเกี่ยวกับกิจการและทรัพยสิน ตาม พ.ร.บ.ลมละลาย พ.ศ.2483 มาตรา
117 ถือเสมือนวาเปนการสงคําบังคับตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง ซึ่งจําเลยมีสิทธิยื่นคําขอใหพิจารณาคดีใหม
ภายในกําหนด 15 วัน นับแตไดรับหมายเรียกดังกลาว
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 15283/2558 แมคําพิพากษาศาลอุทธรณภาค 2 ในคดีนี้ยังคงมีผลผูกพัน
โจทกและผูคัดคานอยูก็ตาม แตเนื่องจากจําเลยที่ 1 ถูกพิทักษทรัพยเด็ดขาด อํานาจในการจัดการกิจการและ
รวบรวมทรัพยสินของจําเลยที่ 1 ยอมตกอยูแกเจาพนักงานพิทักษทรัพยแตผูเดียว ตาม พ.ร.บ.ลมละลาย พ.ศ.
2483 มาตรา 22 โจทกจะมีสิทธิไดรับชําระหนี้จากกองทรัพยสินของจําเลยที่ 1 ก็แตโดยปฏิบัติตามวิธีการที่
กลาวไว ใน พ.ร.บ.ลมละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 27, 91 และ 94 ขอเท็จจริงไดความวาศาลลมละลายกลาง
มีคําสั่งพิทักษทรัพยจําเลยที่ 1 เด็ดขาดเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2556 ในคดีหมายเลขแดงที่ ล.606/2556
แมคดีนี้เจาพนักงานบังคับคดีจะไดแจงอายัดเงินคาจางแปรสภาพหัวมันสําปะหลังไปยังผูคัดคานไวกอนแลวก็
ตาม แตเมื่อผูคัดคานยังไมไดสงเงินตามที่อายัดแกเจาพนักงานบังคับคดี ยอมถือไมไดวาการบังคับคดีสําเร็จ
บริบูรณกอนวันที่ศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพย การบังคับคดีโดยการอายัดเงินดังกลาวไมอาจใชยันเจาพนักงาน
พิทักษทรัพยของจําเลยที่ 1 ได ตาม พ.ร.บ.ลมละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 110 การที่เจาพนักงานพิทักษ
ทรัพยขอใหงดการพิจารณาและจําหนายคดีนี้ตามมาตรา 25 จึงเปนเรื่องที่เจาพนักงานพิทักษทรัพยจะไดใช
อํานาจวากลาวเอาความจากผูคัดคานตอไปตามที่ พ.ร.บ.ลมละลายฯ ใหอํานาจไว กรณีจึงไมมีประโยชนที่ศาล
ฎีกาจะพิจารณาฎีกาของผูคัดคานอีกตอไป
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 15158/2558 เจาหนี้ยื่นคําขอรับชําระหนี้ในมูลหนี้กูยืมและจํานองจาก
กองทรัพยสินของลูกหนี้ที่ 1 ในฐานะเจาหนี้มีประกันตาม พ.ร.บ.ลมละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 96 (3) จาก
การขายทอดตลาดทรัพยจํานอง แตตามสัญญากูยืมเงินที่เจาหนี้นํามาขอรับชําระหนี้ดังกลาวปรากฏวา เปน
สัญญาที่มีขอตกลงชําระเพื่อผอนทุนคืนเปนงวด ๆ จึงมีอายุความ 5 ป ตาม ป.พ.พ. มาตรา 193/33 (2)
และเจาหนี้ไมมีหลักฐานวาลูกหนี้ที่ 1 ผิดนัดเมื่อใด แมเจาหนี้จะอางวาในตอนที่รับโอนหนี้มาจากเจาหนี้เดิม
จะไมมีดอกเบี้ยคางชําระและเงินตนนอยกวาสัญญาก็ตาม แตพยานหลักฐานของเจาหนี้มีเพียงเอกสารการ
คํานวณภาระหนี้ของเจาหนี้ที่เจาหนี้จัดทําขึ้นเอง โดยไมมีหลักฐานวาลูกหนี้นําเงินไปชําระใหแกเจาหนี้เดิม
เมื่อใด อยางไร การที่เจาพนักงานพิทักษทรัพยฟงวาลูกหนี้ที่ 1 ผิดนัดตั้งแตงวดแรก (วันที่ 2 มีนาคม 2539)
จึงชอบแลว เมื่อเจาหนี้นําหนี้ตามสัญญากูยืมเงินมายื่นคําขอรับชําระหนี้ในวันที่ 20 ตุลาคม 2551 สิทธิ
เรียกรองในหนี้กูยืมเงินจึงขาดอายุความแลว และการขาดอายุความในสวนของหนี้กูยืมเงินถือวาหนี้กูยืมเงิน
ขาดอายุความทั้งหมด มิใชเพียงสวนที่เกิน 5 ป แตในสวนหนี้จํานองนั้น ตาม ป.พ.พ. มาตรา 745 บัญญัติให
ผูรับจํานองบังคับจํานองไดแมหนี้ที่ประกันขาดอายุความ แตจะบังคับดอกเบี้ยที่คางชําระในการจํานองเกินกวา
5 ป ไมได ดังนั้น แมหนี้ประธานตามสัญญากูยืมเงินจะขาดอายุความ แตเจาหนี้ยังคงมีสิทธิบังคับจํานองได ซึ่ง

10 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


ตามคําสั่งของศาลแพงในคดีที่เจาหนี้ไปยื่นคํารองขอรับชําระหนี้จํานองกอนเจาหนี้อื่น ศาลมีคําสั่งใหเจาหนี้
ไดรับชําระหนี้จากเงินที่ไดจากการขายทอดตลาดทรัพยจํานองของลูกหนี้ที่ 1 ในตนเงิน 427,449.64 บาท
พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ 14.3 ตอป แตจะบังคับเอาดอกเบี้ยที่คางชําระยอนหลังนับแตวันที่ศาลมีคําสั่ง
พิทักษทรัพยของลูกหนี้ที่ 1 เด็ ดขาดเกินกวา 5 ป ไมได ดั งนั้น แมลูกหนี้ ที่ 1 จะถูกพิทักษทรัพยเด็ดขาด
เจาหนี้จึงไมเสียสิทธิที่จะไดรับชําระหนี้จากทรัพยจํานองของลูกหนี้ที่ 1 หากเจาพนักงานพิทักษทรัพยรวบรวม
ทรัพยดังกลาวเขาสูกองทรัพยสินของลูกหนี้ที่ 1
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 15157/2558 คดีนี้ในชั้นตรวจคําขอรับชําระหนี้ของเจาหนี้ผูเปนโจทกซึ่ง
เปนเจาหนี้รายที่ 1 มีลูกหนี้ที่ 2 โตแยงคําขอรับชําระหนี้ดังกลาว ตอมาเจาพนักงานพิทักษทรัพยตรวจคํา
ขอรับชําระหนี้และคําคัดคานของลูกหนี้ที่ 2 แลว เห็นวาคดีพอวินิจฉัยไดจึงมีคําสั่งงดสอบสวนพยานฝาย
เจ าหนี้และลู กหนี้ ที่ 2 แล ว ทําความเห็ น เสนอตอศาลลมละลายกลางให ยกคําขอรั บ ชํ าระหนี้ ตาม พ.ร.บ.
ลมละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 107 (1) ตอมาศาลลมละลายกลางพิจารณาแลวมีคําสั่งยกคําขอรับชําระหนี้
ของเจาหนี้ตามความเห็นของเจาพนักงานพิทักษทรัพย คําขอรับชําระหนี้ของเจาหนี้ซึ่งศาลไดมีคําสั่งแล ว
ดังกลาว จึงลวงพนกําหนดเวลาที่เจาพนักงานพิทักษทรัพยอาจขอแกไขความเห็นคําขอรับชําระหนี้ไดแลว ทั้ง
กรณีดังกลาวไมใชกรณีตาม พ.ร.บ.ลมละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 108 (เดิม) ที่เจาพนักงานพิทักษทรัพยจะ
ขอใหศาลมีคําสั่งแกไขคําขอรับชําระหนี้ได การที่เจาพนักงานพิทักษทรัพยยื่นคํารองเพื่อขอแกไขความเห็นคํา
ขอรับชําระหนี้จึงมิอาจกระทําได
คําพิพากษาศาลฎี กาที่ 15144/2558 เมื่อเจาหนี้ยื่นคําขอรับชําระหนี้และเจาพนักงานพิทักษ
ทรัพยรายงานตอศาลใหมีคําสั่งยกเลิกการลมละลายเนื่องจากมีเจาหนี้ขอรับชําระหนี้ 2 ราย แลวเจาหนี้รายที่
1 ขอถอนคําขอรับชําระหนี้ไป สวนลูกหนี้ขอวางเงินชําระหนี้ตามคําขอรับชําระหนี้ของเจาหนี้รายที่ 2 พรอม
คาธรรมเนียม แตขอโตแยงคําขอรับชําระหนี้ ศาลลมละลายกลางจึงมีคําสั่งยกเลิกการลมละลายของลูกหนี้ตาม
มาตรา 135 (3) ตอมาเจาพนักงานพิทักษทรัพยมีความเห็นเกี่ยวกับคําขอรับชําระหนี้ของเจาหนี้ตอศาล
ลมละลายกลางและศาลลมละลายกลางมีคําสั่งยกคําขอรั บชําระหนี้ของเจาหนี้ แมศาลมีคําสั่งยกเลิกการ
ลมละลายของลูกหนี้ตาม พ.ร.บ.ลมละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 135 (3) ซึ่งทําใหลูกหนี้กลับมีอํานาจในการ
จัดกิจการและทรัพยสินของตนเองได แตผลของการยกเลิกการลมละลายเพราะหนี้สินของลูกหนี้ไดชําระเต็ม
จํานวนแลว ตามมาตรา 135 (3) ยอมทําใหลูกหนี้หลุดพนหนี้สินทั้งหมดที่อาจขอรับชําระหนี้ในคดีลมละลาย
ไปตามนัยแหงมาตรา 136 เมื่อคดียังมีปญหาเกี่ยวกับคําขอรับชําระหนี้ซึ่งลูกหนี้โตแยงอยูตามมาตรา 104
และมาตรา 135 (3) วรรคสอง อันจะมีผลตอสิทธิในการไดรับชําระหนี้ของเจาหนี้หรือไม เพียงใด ดังนี้ ศาล
ยอมมีอํานาจพิจารณาและสั่งคําขอรับชําระหนี้ของเจาหนี้ได ศาลฎีกาจึงตองพิจารณาอุทธรณของเจาหนี้ตอไป
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 15097/2558 ป.พ.พ. มาตรา 519 บัญญัติวา "บทบัญญัติทั้งหลายใน
ลักษณะซื้อขายนั้น ทานใหใชถึงการแลกเปลี่ยนดวย โดยใหถือวาผูเปนคูสัญญาแลกเปลี่ยนเปนผูขายในสวน
ทรัพยสินซึ่งตนไดสงมอบ และเปนผูซื้อในสวนทรัพยสินซึ่งตนไดรับในการแลกเปลี่ยนนั้น" แมหนังสือแบงแยก
11 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
โฉนดที่ดินจะระบุชื่อสัญญาวาเปนหนังสือแบงแยกโฉนดที่ดิน อันอาจจะแปลไดวาเปนสัญญาแลกเปลี่ยนที่ดิน
เสร็จเด็ดขาดก็ตาม แตเมื่อตามสัญญาโจทกกับจําเลยตกลงกันวาจะแลกโฉนดที่ดินกัน โดยจําเลยจะแบงที่ดิน
คืนใหโจทก 12 ไรเศษ ตามจํานวนที่จําเลยแบงขาย จึงไมใชสัญญาที่ตกลงกันใหความเปนผูมีกรรมสิทธิ์ใน
ที่ดินโอนไปทันทีที่มีการทําสัญญา แตจําเลยยังมีหนาที่แบงแยกที่ดินแลวจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ใหโจทก
ตามขอตกลงในสัญญา จึงเปนขอบงชี้วาโจทกกับจําเลยมีเจตนาที่จะไปจดทะเบียนโอนที่ดินที่แลกเปลี่ยนกันใน
ภายหลัง หามีเจตนาจะใหกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่แลกเปลี่ยนกันโอนทันทีในวันทําสัญญาไม หนังสือแบงแยกโฉนด
ที่ดินระหวางโจทกกับจําเลย จึงเปนสัญญาจะแลกเปลี่ยนที่ดินตาม ป.พ.พ. มาตรา 519 ประกอบมาตรา
456 วรรคสอง หาใชสัญญาแลกเปลี่ยนที่ดินเสร็จเด็ดขาดซึ่งจะตกเปนโมฆะเพราะไมไดทําเปนหนังสือและจด
ทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ตาม ป.พ.พ. มาตรา 519 ประกอบมาตรา 456 วรรคหนึ่ง แตอยางใดไม
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 15084/2558 ศาลชั้นตนมีคําพิพากษาเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2546
ใหจําเลยทั้งสองรวมกันชําระเงินพรอมดอกเบี้ยแกโจทก หากไมชําระใหยึดที่ดินโฉนดเลขที่ 57197 พรอมสิ่ง
ปลูกสรางซึ่งจําเลยทั้งสองจดทะเบียนจํานองเปนประกันหนี้ ออกขายทอดตลาดนําเงินมาชําระหนี้แกโจทก ถา
ไดเงินไมพอใหยึดทรัพยสินอื่นของจําเลยทั้งสองบังคับชําระหนี้แกโจทกจนครบถวน โจทกและจําเลยทั้งสองไม
อุทธรณ ตอมาในชั้นบังคับคดี โจทกรองขอใหเจาพนักงานบังคับคดียึดที่ดินจํานองออกขายทอดตลาดแตยัง
ขายไมได โจทกจึงยื่นคําขอตอเจาพนักงานบังคับคดีเพื่อยึดที่ดินโฉนดเลขที่ 20483 และ 20484 กับที่ดิน
ตามหนังสือรับรองการทําประโยชน (น.ส. 3 ก.) เลขที่1920 โดยโจทกเพิ่งยื่นคําขอตอเจาพนักงานบังคับคดี
เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2556 อันเปนการรองขอใหเจาพนักงานบังคับคดีดําเนินการบังคับคดีเมื่อลวงพน
ระยะเวลาสิบปนับแตวันมีคําพิพากษาชั้นที่สุดสําหรับคดีนี้แลว ทั้งไมปรากฏขอเท็จจริงวาศาลชั้นตนไดขยาย
ระยะเวลาการบังคับคดีใหโจทก ดังนี้ คําขอของโจทกจึงไมตองดวยระยะเวลาในการรองขอใหบังคับคดีภายใน
สิบปนับแตวันที่ศาลมีคําพิพากษาตาม ป.วิ.พ. มาตรา 271 โจทกจึงหมดสิทธิที่จะรองขอใหเจาพนักงานบังคับ
คดี ดํ า เนิ น การบั ง คั บ คดี ยึ ด โฉนดที่ ดิ น เลขที่ 20483 และ 20484 กั บ ที่ ดิ น ตามหนั ง สื อ รั บ รองการทํ า
ประโยชน (น.ส. 3 ก.) เลขที1่ 920
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 15022/2558 แมศาลจะมีคําสั่งรวมการพิจารณาพิพากษาคดีระหวาง
โจทกที่ 1 ที่ 2 ที่ 5 ที่ 6 และที่ 15 กับโจทกที่ 3 ที่ 4 ที่ 7 ที่ 8 ที่ 13 และที่ 16 เขาดวยกัน ทั้งออกคํา
บังคับและออกหมายตั้งเจาพนักงานบังคับคดีฉบับเดียวกันก็ตาม แตสิทธิเรียกรองของโจทกแตละรายเปนสิทธิ
ที่เกิดจากสัญญาจางแรงงานของโจทกแตละคน จึงเปนสิทธิเฉพาะตัว โจทกทั้งหมดมิไดเปนเจาหนี้รวมกัน การ
ที่โ จทกที่ 1 ที่ 2 ที่ 5 ที่ 6 และที่ 15 ขออายั ด เงินต อสิ ทธิเ รี ย กรองจากบุคคลภายนอก และแจงแกเ จ า
พนักงานบังคับคดีวายินดีรับเงินตามจํานวนที่บุคคลภายนอกแจงมา เปนการบังคับคดีเฉพาะตัว เมื่อโจทกที่ 3
ที่ 4 ที่ 7 ที่ 8 ที่ 13 และที่ 16 มิไดยื่นคํารองขอเฉลี่ยหนี้ของตนตาม ป.วิ.พ. มาตรา 290 ประกอบ พ.ร.บ.
จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522 มาตรา 31 โจทกที่ 3 ที่ 4 ที่ 7 ที่ 8 ที่ 13 และที่
16 จึงไมมีสิทธิที่จะไดรับสวนเฉลี่ยจากเงินจํานวนดังกลาว การที่เจาพนักงานบังคับคดีทําบัญชีและจายเงินแก

12 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 15000/2558 การที่โจทกยื่นคําฟองฉบับใหมแทนคําฟองฉบับเดิมก็เพื่อ
ความสะดวกในการพิจารณาพิพากษาของศาลชั้นตนเทานั้น ศาลชั้นตนตองพิจารณาคําฟองฉบับเดิมและคํา
รองขอแกฟองประกอบคําฟองฉบับใหมดวย จะถือคําฟองฉบับใหมฉบับเดียวแทนคําฟองฉบับเดิมไมได เมื่อ
โจทกไมไดขอแกไขฟองสวนที่เกี่ยวกับการขอนับโทษตอจากโทษในคดีอาญาหมายเลขดําที่ 277/2556 ทั้งใน
คําพิพากษาของศาลชั้นตนก็ระบุวาจําเลยที่ 1 เปนบุคคลคนเดียวกับจําเลยที่ 1 ในคดีอาญาหมายเลขดําที่
265/2556 การที่ ศ าลชั้ น ต น พิ พ ากษาให นั บ โทษจํ า เลยที่ 1 ต อ จากโทษในคดี อ าญาหมายเลขดํ า ที่
277/2556 จึ ง ขั ด แย ง กั น เชื่ อ ว า ศาลชั้ น ต น พิ จ ารณาจากคํ า ฟ อ งฉบั บ ใหม ที่ โ จทก พิ ม พ ผิ ด พลาด ไม ไ ด
พิจารณาจากคําฟองฉบับเดิม ถือวาเปนการเขียนหรือพิมพผิดพลาดตาม ป.วิ.อ. มาตรา 190
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 14890/2558 เจาพนักงานบังคับคดีประกาศขายทอดตลาดที่ดินโฉนด
เลขที่ 245 มีชื่อจําเลยที่ 1 ถือกรรมสิทธิ์ เนื้อที่ 54.6 ตารางวา มีสิ่งปลูกสรางที่จะทําการขายดวย คือ บาน
เดี่ยวตึกชั้นเดียว ขนาด 6x12 เมตร จํานวน 1 หลัง ไมปรากฏเลขทะเบียน ผูรองซื้อที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง
ดังกลาวได หลังจากนั้นผูรองใหเจาพนักงานที่ดินทําการรังวัด ปรากฏวาบานหลังดังกลาวมีสวนที่ปลูกอยูบน
ที่ดินโฉนดเลขที่ 245 เพียง 6x2 เมตร เทานั้น จึงถือวาบานเดี่ยวตึกชั้นเดียวขนาด 6x12 เมตร ตามที่เจา
พนักงานบังคับคดีประกาศขายทอดตลาดไมมีอยูจริง ดังนั้น การยึดบานทั้งหลังออกขายทอดตลาดของเจา
พนักงานบังคับคดีจึงเปนการบังคับคดีไมชอบและฝาฝนบทบัญญัติของกฎหมาย ศาลมีอํานาจเพิกถอนการยึด
ทรัพยและการขายทอดตลาดที่ดินพรอมบานหลังดังกลาวไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา 296 วรรคหนึ่ง
เมื่อปรากฏวาผูซื้อทรัพยขอใหเจาพนักงานที่ดินทําการรังวัดและทราบวามีสวนของบานอยูในที่ดิน
โฉนดเลขที่ 245 เพียงบางส ว นเมื่อวั น ที่ 25 พฤศจิ กายน 2556 จึ งยื่ น คําร องต อศาลชั้ น ต น เมื่อวั น ที่ 3
ธันวาคม 2556 ภายใน 15 วัน นับแตวันที่ทราบพฤติการณอันเปนมูลแหงขออาง โดยมิไดดําเนินการอันใด
ขึ้นใหม ทั้งมิไดใหสัตยาบันหลังจากไดทราบเรื่องการบังคับคดีไมชอบ ผูรอง (ผูซื้อทรัพย) จึงมีสิทธิยื่นคํารอง
ขอใหเพิกถอนบังคับคดีตาม ป.วิ.พ. มาตรา 296 วรรคสาม
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 14884/2558 ผูรองกับจําเลยที่ 1 หยากันโดยความยินยอมของทั้งสอง
ฝาย ป.พ.พ. มาตรา 1532 (ก) บัญญัติใหจัดการแบงทรัพยสินของสามีภริยาตามที่มีอยูในเวลาจดทะเบียน
การหยา ขอตกลงตามสําเนาบันทึกดานหลังทะเบียนการหยาระหวางผูรองกับจําเลยที่ 1 จําเลยที่ 1 ยินยอม
ยกที่ดิน โฉนดเลขที่ 32498 พร อมสิ่ งปลู กสร างเลขที่ 6/82 ให เป น กรรมสิ ทธิ์ของผู ร อง เป น สัญญาแบ ง
ทรัพยสินระหวางสามีภริยาตามบทมาตราดังกลาว มิใชสัญญาใหทรัพยสินอันจะตองทําเปนหนังสือและจด
ทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่จึงจะสมบูรณตามที่บั ญญัติไวใน ป.พ.พ. มาตรา 525 เมื่อนายทะเบียนจด
ทะเบียนหยาใหแลว ถือวาทั้งสองฝายไดจัดการแบงทรัพยสินกันเรียบรอยแลว ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางจึงเปน
ของผูรองแตเพียงผูเดียว การที่จําเลยที่ 1 ยังมิไดจดทะเบียนโอนที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางสวนของตนใหแกผู
รอง มีผ ลเพียงทําให การไดมาโดยนิ ติกรรมซึ่งอสั งหาริมทรัพย ของผูรองยั งไมบริบู รณต าม ป.พ.พ. มาตรา
1299 วรรคหนึ่ง เทานั้น แตสิทธิของผูรองตามสัญญาแบงทรัพยสินที่นายทะเบียนจดทะเบียนหยาใหแลวและ
ผูรองไดครอบครองทรัพยเพียงผูเดียวตลอดมา ทั้งเปนผูชําระหนี้จํานองและไถถอนจํานองจากธนาคาร ก. ถือ
13 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
ไดวาผูรองเปนผูอยูในฐานะอันจะใหจดทะเบียนสิทธิของตนไดอยูกอนตาม ป.พ.พ. มาตรา 1300 ผูรองไมใชผู
ไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพยโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรมและโจทกเปนเพียงเจาหนี้ตามคําพิพากษาของจําเลยที่ 1
ซึ่งนํายึดที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางออกขายทอดตลาดนําเงินมาชําระหนี้โจทกเทานั้น โจทกมิใชผูรับโอนที่ดิน
พร อ มสิ่ ง ปลู ก สร า งอั น มี ค า ตอบแทนและโดยสุ จ ริ ต และได จ ดทะเบี ย นสิ ท ธิ โ ดยสุ จ ริ ต แล ว โจทก จึ ง มิ ใ ช
บุคคลภายนอกที่ไดรับความคุมครองตาม ป.พ.พ. มาตรา 1300 ดังนั้น แมผูรองจะมิไดจดทะเบียนการไดมา
ซึ่งกรรมสิทธิ์ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง สวนของจําเลยที่ 1 ตอพนักงานเจาหนาที่ก็ยกขึ้นเปนขอตอสูโจทกได
โจทกในฐานะเจาหนี้ตามคําพิพากษาจะบังคับใหกระทบถึงสิทธิของผูรองไมไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา 287 โจทก
จึงไมมีสิทธิยึดที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางเพื่อชําระหนี้ตามคําพิพากษา ผูรองมีสิทธิเรียกรองขอใหปลอยทรัพยที่
ยึดได
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 14882/2558 การที่จําเลยในฐานะผูจัดการมรดกจดทะเบียนโอนสิทธิ
ครอบครองที่ดินพิพาทซึ่งเปนทรัพยมรดกเพียงอยางเดียวของเจามรดกมาเปนของจําเลยในฐานะผูจัดการ
มรดก เปนการครอบครองทรัพยมรดกนั้นในฐานะผูจัดการมรดกแทนทายาทอื่นทุกคนรวมถึงโจทกทั้งสองและ
ผูรองสอดทั้งสองดวย แมหลังจากนั้นจําเลยในฐานะผูจัดการมรดกไดจดทะเบียนโอนสิทธิครอบครองในที่ดิน
พิพาทมาเปนของจําเลยในฐานะสวนตัว ก็จะถือวาจําเลยในฐานะสวนตัวไดเปลี่ยนเจตนาการครอบครองที่ดิน
พิพาทจากการครอบครองแทนทายาททุกคนมาเปนการครอบครองในฐานะสวนตัวหาไดไม เพราะจําเลยยัง
มิไดบอกกลาวไปยังทายาททุกคนวา ไมมีเจตนายึดถือทรัพยมรดกแทนทายาททุกคนตอไปตาม ป.พ.พ. มาตรา
1381 ดั งนั้ น เมื่อจําเลยยั งมิได ดําเนิ น การจั ดแบ งทรั พย มรดกให แกทายาททุกคนตามสิ ทธิ ของทายาทที่
กฎหมายกําหนดไว หรือตามที่ทายาทตกลงกัน ก็ตองถือวาการจัดการทรัพยมรดกยังไมเสร็จสิ้น จึงจะนําอายุ
ความหาป ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1733 วรรคสอง มาใชบังคับไมได ฟองของโจทกทั้งสองและผูรองสอดทั้งสอง
จึงยังไมขาดอายุความ
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 14861/2558 สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางพิพาทระบุราคา
ทรั พ ย สิ น เป น เงิ น 399,000 บาท ผู ร อ งอ า งว า ชํ า ระราคาให จํ า เลยครบตั้ ง แต ป 2543 โดยมี สํ า เนา
ใบเสร็จรับเงินมาแสดงเปนหลักฐาน แตเอกสารดังกลาวมีรายการชําระครั้งสุดทายวันที่ 27 กันยายน 2541
และมียอดเงินที่ชําระเพียง 64,000 บาท สวนที่ผูรองนําสืบวา ผูรองเขาครอบครองที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง
พิพาทตั้ งแต ป 2541 ก็เปน การเขาครอบครองทรั พยสิ นกอนเวลาที่ผูรองอางวาชํ าระราคาเสร็จสิ้ นเมื่อป
2543 จึงมิใชพฤติการณที่บงชี้วาผูรองปฏิบัติการชําระหนี้ครบถวนแลว อีกทั้งไมปรากฏหลักฐานวาผูรองเคย
เรียกรองใหจําเลยโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางพิพาท พยานหลักฐานที่ผูรองนําสืบไมมีน้ําหนักรับฟง
วา ผูรองชําระราคาที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางพิพาทใหแกจําเลยครบตามสัญญา สัญญาจะซื้อจะขายเปนสัญญา
ตางตอบแทน เมื่อผูรองยังไมชําระหนี้ของตนจึงไมมีสิทธิขอใหผูคัดคานที่ 1 ชําระหนี้ตอบแทนดวยการโอน
กรรมสิทธิ์ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางพิพาทตามสัญญา ทั้งกรณีตามคํารองเปนการขอใหศาลลมละลายกลางมี
คําสั่งใหผูคัดคานที่ 1 โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางพิพาทใหแกผูรองตามสัญญาจะซื้อจะขายอันเปน

14 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


การโอนทรัพยสินโดยทางนิติกรรม คดีจึงไมมีประเด็นวา ผูรองไดกรรมสิทธิ์ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางพิพาทโดย
การครอบครองปรปกษ อันเปนการไดกรรมสิทธิ์ ที่ดินพร อมสิ่งปลูกสร างพิพาทโดยการครอบครอง ที่ศาล
ลมละลายกลางวินิจฉัยและมีคําสั่งใหผูคัดคานที่ 1 โอนกรรมสิทธิ์ทรัพยสินดังกลาวใหผูรองจึงเปนการวินิจฉัย
นอกประเด็ น ไมช อบด ว ย ป.วิ . พ. มาตรา 142 วรรคหนึ่ ง ประกอบ พ.ร.บ.จั ด ตั้ งศาลล มละลายและวิ ธี
พิ จ ารณาคดี ล ม ละลาย พ.ศ.2542 มาตรา 14 ป ญ หาดั ง กล า วเป น ข อ กฎหมายอั น เกี่ ย วด ว ยความสงบ
เรียบรอยของประชาชน แมไมมีคูความฝายใดยกขึ้นอุทธรณ ศาลฎีกาก็มีอํานาจยกขึ้นวินิจฉัยได ตาม ป.วิ.พ.
มาตรา 142 (5) มาตรา 246 และมาตรา 247 (เดิม) ประกอบ พ.ร.บ.จัดตั้งศาลลมละลายและวิธีพิจารณา
คดีลมละลาย พ.ศ.2542 มาตรา 28
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 14802/2558 โจทกอุทธรณวา เมื่อโจทกไดใหเชาซื้อทองรูปพรรณแก
จําเลยแลว กรรมสิทธิ์ในทองรูปพรรณดังกลาวยังคงเปนของโจทก สวนจําเลยคงมีสิ ทธิครอบครองและใช
ประโยชนเทานั้น การที่จําเลยนําทองรูปพรรณไปขายใหแกบุคคลภายนอกโดยโจทกไมไดอนุญาต ถือไดวา
จําเลยเบียดบังทองรูปพรรณของโจทกไปเปนของตนเองหรือผูอื่นโดยทุจริตแลว แม จ. เบิกความวา จําเลยตก
ลงจะเอาทองรูปพรรณของโจทกมาคืนหรือจะนําเงินมาชดใชคาเสียหายก็ตาม แตก็เ ปนเรื่องการกระทําที่
เกิดขึ้นหลังจากความผิดยักยอกไดเกิดขึ้นสําเร็จแลว การกระทําของจําเลยเปนเพียงการบรรเทาผลรายใหไดรับ
การลงโทษทางอาญานอยลงเทานั้น หาใชเปนการตกลงจะชดใชคาเสียหายในทางแพงแลวผิดสัญญากันไม
ดังนี้ อุทธรณของโจทกดังกลาวไมไดโตเถียงขอเท็จจริงที่ศาลชั้นตนวินิจฉัยมา แตโตเถียงวาการที่จําเลยนํา
ทองรูปพรรณที่เชาซื้อจากโจทกไปขายใหแกบุคคลภายนอกโดยโจทกไมไดอนุญาต เปนการเบียดบังเอาทรัพย
ของโจทกไปเปนของตนเองหรือผูอื่นโดยทุจริต อันเปนความผิดฐานยักยอกแลว มิใชเปนการผิดสัญญาทางแพง
จึงเปนอุทธรณในปญหาขอกฎหมาย
คํ า พิ พ ากษาศาลฎี ก าที่ 14779/2558 วั ด โจทก เ ป น วั ด ที่ ส ร า งในป 2478 แต ยั ง ไม ไ ด รั บ
พระราชทานวิสุงคามสีมาวัดโจทกจึงมีสถานะเปนวั ดประเภท "ที่สํานักสงฆ" ตามพระราชบัญญัติลักษณะ
ปกครองคณะสงฆ ร.ศ. 121 มาตรา 5 ที่บั งคับใชในขณะนั้น และไดสรางวัด ขึ้นถูกตองตามหลักเกณฑที่
กฎหมายกําหนดไว 5 ประการ โดยนายอําเภอและเจาคณะแขวงเห็นวาเปนไปตามหลักเกณฑทั้ง 5 ขอแลว
ใหเจาคณะแขวงมีอํานาจทําหนังสืออนุญาตใหสรางที่สํานักสงฆ และใหนายอําเภอประทับตรากํากับในหนังสือ
นั้น และเจาของที่ดินนั้นจะตองจัดการโอนโฉนดเนื้อที่วัดถวายแกสงฆตามกฎหมายกอน จึงจะสรางที่สํานัก
สงฆได ดังนั้น การสรางที่สํานักสงฆตามกฎหมายดังกลาวยอมมีหลักฐานเปนหนังสือที่สามารถตรวจสอบไดคือ
จดหมายของผูประสงคจะสรางที่สํานักสงฆถึงนายอําเภอ 1 ฉบับ หนังสือของเจาคณะแขวงอนุญาตใหสรางที่
สํานักสงฆซึ่งนายอําเภอประทับตรากํากับ 1 ฉบับ และโฉนดที่ดินซึ่งเจาของที่ดินจดทะเบียนโอนใหเปนที่วัด
แลว เอกสารดังกล าวเปนเอกสารราชการ ควรจะมีการเก็บรักษาหรือบัน ทึกไวเป นหลั กฐานเกี่ย วกับ เรื่อง
ดังกลาวของหนวยราชการที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะโฉนดที่ดินที่มีผูอุทิศใหสรางวัดนั้นยอมเปนหลักฐานที่สามารถ
ตรวจสอบไดงายวามีการสรางวัดหรือที่สํานักสงฆถูกตองตามกฎหมายหรือไม แตโจทกไมมีหนังสือเกี่ยวกับการ

15 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


สรางที่สํานักสงฆตามกฎหมายดังกลาวขางตนจากอําเภอ เจาคณะแขวงหรือโฉนดที่ดินมาแสดง ดังนั้น โจทก
จึงไมใชวัดตามมาตรา 31 แหงพระราชบัญญัติดังกลาว ไมมีฐานะเปนนิติบุคคลตามกฎหมายโจทกจึงไมมี
อํานาจฟอง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 14756/2558 การพิจารณาวาจะสั่งรับหรือไมรับฎีกาของจําเลยนั้นเปน
หนาที่ของศาลชั้นตนตาม ป.วิ.อ. มาตรา 223 ประกอบ พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดียาเสพติด พ.ศ.2550 มาตรา
3 การที่ศาลชั้นตนมีคําสั่งใหสงฎีกาของจําเลยใหศาลฎีกาสั่งจึงเปนการไมชอบ แตเมื่อคดีขึ้นมาสูศาลฎีกาแลว
เห็นสมควรวินิจฉัยไปเลย โดยไมตองยอนสํานวนไปใหศาลชั้นตนมีคําสั่ง คดีนี้เปนคดีความผิดเกี่ยวกับยาเสพ
ติด ดังนั้น คําพิพากษาศาลอุทธรณเปนที่สุดตาม พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดียาเสพติด พ.ศ.2550 มาตรา 18
วรรคหนึ่ง ตองหามมิใหฎีกาตามบทบัญญัติดังกลาว หากจําเลยจะยื่นฎีกาจะตองยื่นคําขอโดยทําเปนคํารองไป
พรอมกับฎีกาตอศาลฎีกาภายในกําหนดหนึ่งเดือนนับแตวันอานหรือถือวาไดอานคําพิพากษาศาลอุทธรณ เพื่อ
ขอใหรับฎีกาไววินิจฉัยตาม พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดียาเสพติด พ.ศ.2550 มาตรา 19 วรรคหนึ่ง เมื่อจําเลยมิได
ปฏิบัติตามมาตรา 19 วรรคหนึ่ง จึงเปนฎีกาที่ไมชอบ
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 14689/2558 จําเลยซึ่งเปนผูจัดการฝายบัญชี มีหนาที่จัดทําขอมูล
เกี่ยวกับเงินเดือนของพนักงาน ไดดําเนินการใหโจทกรวมโอนเงินเดือนเขาบัญชีเงินฝากของตนเองและ ส. เกิน
กวาเงินเดือนที่มีสิทธิไดรับจริง ซึ่งแสดงใหเห็นวาจําเลยไดใชโอกาสที่ตนเองเปนผูจัดทําบัญชีเงินเดือนของ
พนักงานทําการแสวงหาประโยชนดวยการปรับแตงบัญชีเงินเดือนของพนักงาน เพิ่มเงินเดือนใหแกตนเองใหมี
อัตราสูงกวาความเปนจริง ทําใหจําเลยไดรับเงินจากโจทกรวมไปเปนเงินทั้งสิ้น 466,500 บาท และจําเลยยัง
ไดปรับแตงขอมูลอัตราเงินเดือนของ ส. ใหสูงขึ้น เปนเหตุให ส. ไดรับเงินเกินไปกวาเงินเดือนที่แทจริงจํานวน
96,000 บาท แตเมื่อ ส. นําเงินสวนที่ไดรับเกินมาดังกลาวไปคืนใหแกจําเลย จําเลยก็นําไปเปนประโยชนสวน
ตนโดยไมคืนเงินใหแกโจทกรวม กรณีเปนเรื่องที่จําเลยลักเงินของโจทกรวมซึ่งเปนนายจางโดยใชกลอุบาย
ปรับแตงบัญชีเงินเดือนใหโจทกรวมนําเงินฝากเขาบัญชีเงินฝากของจําเลยและ ส. เกินกวาเงินเดือนที่มีสิทธิ
ไดรับ แลวจําเลยนําเงินจํานวนดังกลาวไปเปนประโยชนสวนตน จึงเปนความผิดฐานลักทรัพยของนายจาง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 14645/2558 ขอเท็จจริงปรากฏตามสําเนาคําพิพากษาทายอุทธรณของ
จําเลยวา คดีที่โจทกขอใหเพิ่มโทษนั้น ศาลอุทธรณลงโทษจําคุกและปรับ แตโทษจําคุกใหรอการลงโทษไว จึง
เปนกรณีที่ความปรากฏแกศาลจากอุทธรณของจําเลยวา ภายในเวลาที่ศาลรอการลงโทษไวในคดีกอน จําเลย
มากระทําความผิดเปนคดีนี้อีก จึงตองนําโทษจําคุกที่รอการลงโทษไวในคดีกอนมาบวกเขากับโทษในคดีนี้ แม
โจทกมิไดขอใหบวกโทษก็ตาม ทั้งกรณีมิใชการพิพากษาเกินคําขอและไมเปนการเพิ่มเติมโทษจําเลยเพราะ
กฎหมายบัญญัติใหศาลที่พิพากษาคดีหลังบวกโทษที่รอการลงโทษไวในคดีกอนเขากับโทษในคดีหลังดวยเสมอ
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 14596/2558 แมคดีนี้เริ่มตนโดยการที่โจทกทั้งหามีหนังสือฉบับลงวันที่ 4
กรกฎาคม 2540 รองทุกขตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกข สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา วามีกลุม

16 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


บุคคลบุกรุกที่ดินสาธารณประโยชนหนองปลาแขยง หนองหินตั้ง และบุงกระเบา และมีการออกเอกสารสิทธิ
ในที่ดินสาธารณประโยชนดังกลาว ตอมาคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขใหโอนเรื่องรองทุกขของโจทกทั้งหาไป
ยังศาลปกครองตามมาตรา 103 วรรคสาม แหง พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.
2542 ศาลปกครองกลางรับเปนคําฟองคดีหมายเลขดําที่ 99/2544 โดยไมปรากฏวา ศาลปกครองกลางมี
คําสั่งใหโจทกทั้งหาจัดทําคําฟองมายื่นใหม แตเมื่อศาลปกครองกลางมีคําสั่งใหโอนคดีนี้มายังศาลชั้นตน ศาล
ชั้นตนเห็นวา การดําเนินกระบวนพิจารณาในคดีนี้ตองเปนไปตาม ป.วิ.พ. จึงมีคําสั่งใหโจทกจัดทําคําฟองมายื่น
ใหมและโจทกทั้งหาไดยื่นคําฟองใหมตอศาลชั้นตนและศาลชั้นตนมีคําสั่งใหรับคําฟองของโจทกทั้งหา โดย
จําเลยทั้งสี่และผูรองทั้งสิบสองมิไดโตแยงคัดคานวา การที่ศาลชั้นตนมีคําสั่งใหโจทกทั้งหาจัดทําคําฟองตาม ป.
วิ.พ. มายื่นใหมและมีคําสั่งรับคําฟองของโจทกทั้งหาเปนการไมถูกตอง จึงตองถือวา คําฟองฉบับใหมของโจทก
ทั้งหา เปนคําฟองของโจทกทั้งหาในคดีนี้ เมื่อพิจารณาคําฟองดังกลาว โจทกทั้งหาบรรยายมาดวยวา โจทกทั้ง
หาเปนราษฎรอําเภอกบินทรบุรี จังหวัดปราจีนบุรี ใชประโยชนในที่ดินสาธารณประโยชนหนองปลาแขยง
หนองหิ น ตั้ ง และบุ งกระเบา โดยจั บ ปลา เลี้ ย งสั ต ว และเก็บ ฟน ทั้งบรรยายด ว ยว า จํ าเลยที่ 1 เป น เจ า
พนักงานของรัฐมีหนาที่รับจดทะเบียนและออกเอกสารสิทธิในที่ดินทองที่ จําเลยที่ 2 เปนหนวยงานของรัฐ ตน
สังกัดของจําเลยที่ 1 จําเลยที่ 3 เปนเจาหนาที่ของรัฐมีอํานาจหนาที่ปกครองและกํากับดูแลจําเลยที่ 4 จําเลย
ที่ 4 เปนหนวยงานปกครองทองถิ่นมีอํานาจตามกฎหมายในการดูแลรักษาที่ดินสาธารณประโยชนรวมทั้ง
ดํ า เนิ น คดี แ ก ผู บุ ก รุ ก และฟ อ งขอให เ พิ ก ถอนเอกสารสิ ท ธิ ผู บุ ก รุ ก ทั้ ง มี อํ า นาจตรวจสอบรั ง วั ด ที่ ดิ น
สาธารณประโยชนในทองที่ของตนดวย จําเลยที่ 1 และที่ 2 รวมกันออกเอกสารสิทธิใหผูบุกรุกโดยมิชอบ สวน
จําเลยที่ 3 และที่ 4 ละเลยตอหนาที่ดูแลรักษา เปนเหตุใหผูบุกรุกเขาครอบครองที่ดินสาธารณประโยชนโดยมิ
ชอบ ดังนี้ หากขอเท็จจริงเปนดังที่โจทกทั้งหากลาวอางมาในคําฟอง ยอมทําใหโจทกทั้งหาไมอาจใชประโยชน
ในที่ดินสาธารณประโยชนดังกลาวไดตามปกติ ตองถือวาโจทกทั้งหามีขอโตแยงสิทธิกับจําเลยทั้งสี่ตาม ป.วิ.พ.
มาตรา 55 แลว โจทกทั้งหาจึงมีอํานาจฟองคดีนี้
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 14588/2558 ในชั้นไตสวนมูลฟอง ศาลชั้นตนเห็นวาโจทกทั้งสองมี
พฤติการณประวิงคดีและคดีพอวินิจฉัยไดแลว จึงใหงดไตสวนมูลฟอง คําสั่งดังกลาวเปนคําสั่งระหวางพิจารณา
และในวันเดียวกันศาลชั้นตนมีคําพิพากษายกฟอง ซึ่ง ป.วิ.อ. มาตรา 196 บัญญัติวา คําสั่งระหวางพิจารณาที่
ไมทําใหคดีเสร็จสํานวน หามมิใหอุทธรณคําสั่งนั้นจนกวาจะมีคําพิพากษาหรือคําสั่งในประเด็นสําคัญและมี
อุทธรณคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้ นดว ย เมื่อโจทกทั้งสองอุทธรณคําสั่งระหว างพิจ ารณาของศาลชั้นต นตอง
อุทธรณคําพิพากษาของศาลชั้นตนดวย แตอุทธรณของโจทกทั้งสองที่อุทธรณวา การที่ศาลชั้นตนมีคําสั่งใหงด
ไต ส วนพยานโจทก ทั้งสองโดยอางว า คดี พอวิ นิ จ ฉัย ได แล ว เป น การใช ดุ ล พินิ จ ที่ไมถูกต องและไมช อบด ว ย
กฎหมายนั้น อุทธรณของโจทกทั้งสองในสวนที่อุทธรณคําพิพากษาศาลชั้นตนไมไดคัดคานคําพิพากษาศาล
ชั้นตนที่วินิจฉัยวาขอความที่จําเลยทั้งสองแจงตอพนักงานสอบสวนไมเปนขอความเท็จวาไมถูกตองและไมชอบ
ดวยกฎหมายอยางไร จึงไมชอบดวย ป.วิ.อ. มาตรา 193 วรรคสอง ถือวาโจทกทั้งสองไมไดอุทธรณคัดคานคํา

17 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


พิพากษาศาลชั้ นต น อุทธรณของโจทกทั้งสองเป นเพีย งการอุทธรณคําสั่ งระหวางพิจ ารณาของศาลชั้ นต น
เทานั้น ไมชอบดวย ป.วิ.อ. มาตรา 196
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 14334/2558 ทรัพยสินในความผิดฐานรับของโจรคดีนี้มิใชทรัพยสินใน
ความผิดฐานรับของโจรในคดีอาญาหมายเลขแดงที่ ๔๗๑ - ๔๗๒/๒๕๕๗ และ ๒๓๑๐/๒๕๕๗ ของศาลชั้นตน
ซึ่งจําเลยที่ ๒ ถูกฟองเปนจําเลยที่ 1 ในทั้งสามคดีดังกลาว และชวงเวลากระทําความผิดที่โจทกฟองคดีนี้กับ
คดีทั้งสามก็เปนคนละชวงเวลากัน กรณีไมอาจรับฟงไดวาจําเลยที่ ๒ รับของโจรคดีนี้ในคราวเดียวกับการรับ
ของโจรในคดีทั้งสาม ฟองโจทกในคดีนี้จึงไมเปนฟองซ้ํากับคดีทั้งสาม
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 14281/2558 คูสมรสของจําเลยทั้งสี่ทําสัญญาค้ําประกันหนี้ตามสัญญา
กูยืมเงินของบริษัท น. ตอบริษัทเงินทุนหลักทรัพย ว. เจาหนี้เดิม โดยจําเลยทั้งสี่ลงลายมือชื่อเปนพยานและ
เปนผูใหความยินยอมในฐานะเปนภริยาของคูสมรสที่ทําสัญญาค้ําประกัน จําเลยทั้งสี่จึงเปนลูกหนี้รวมตาม ป.
พ.พ. มาตรา 1490 (4 ) ซึ่งตองรับผิดตาม ป.พ.พ. มาตรา 1489 แตจําเลยทั้งสี่ก็มิใชผูค้ําประกันหนี้ตอ
โจทกโดยตรง ความรับผิดของจําเลยทั้งสี่ตอโจทกเปนเพียงลูกหนี้รวมตามบทบัญญัติของกฎหมายครอบครัวซึ่ง
มิใชความรับผิดตามสัญญาค้ําประกันในฐานะผูค้ําประกัน กรณีจึงไมอาจนําบทบัญญัติตาม ป.พ.พ. มาตรา
692 มาใชบังคับกับจําเลยทั้งสี่ได สวนการที่โจทกนําคดีไปฟองคูสมรสของจําเลยทั้งสี่ แมจะมีผลทําใหอายุ
ความในหนี้ที่คูสมรสของจําเลยทั้งสี่ที่ตองรับผิดตอโจทกสะดุดหยุดลงตาม ป.พ.พ. มาตรา 193/14 (2) ก็
ตาม แตอายุความที่สะดุดหยุดลงดังกลาวยอมเปนโทษเฉพาะคูสมรสของจําเลยทั้งสี่ในฐานะผูค้ําประกัน ไมมี
ผลเปนโทษแกจําเลยทั้งสี่ซึ่งเปนลูกหนี้รวมตาม ป.พ.พ. มาตรา 295
คํา พิพากษาศาลฎี ก าที่ 14252/2558 จําเลยยื่น คํารองขอให วิ นิ จฉัย ชี้ ขาดป ญหาขอกฎหมาย
เบื้องตน ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 15 ประกอบ ป.วิ.พ. มาตรา 24 เมื่อศาลชั้นตนรับอุทธรณของโจทกที่ 2 แลว
จึงตองถือวาคดีอยูในระหวางการพิจารณาของศาลอุทธรณภาค 6 แมศาลอุทธรณภาค 6 จะวินิจฉัยคํารองของ
จําเลยดังกลาวในรูปแบบของคําพิพากษาก็ตาม แตการที่ศาลอุทธรณภาค 6 มีคําสั่งคํารองขอใหชี้ขาดปญหา
ขอกฎหมายเบื้องต น ของจํ าเลยดั งกล าวเป น คําสั่งระหว างพิจารณาของศาลอุทธรณภ าค 6 ทั้งการที่ศาล
อุทธรณภาค 6 ยกคําสั่งศาลชั้นตนที่มีคําสั่งรับอุทธรณของโจทกที่ 2 ก็ไมทําใหคดีเสร็จสํานวนไปจากศาล
อุทธรณภาค 6 เพราะศาลอุทธรณภาค 6 ยังตองพิจารณาตอไป เนื่องจากศาลอุทธรณภาค 6 มีคําสั่งใหศาล
ชั้นตนดําเนินการใหลงชื่อผูอุทธรณใหถูกตองตามกฎหมายเสียกอนแลวมีคําสั่งใหม จึงไมใชกรณีที่ศาลอุทธรณ
ภาค 6 มีคําพิพากษาหรือคําสั่งในประเด็นแหงคดีแลว การที่จําเลยฎีกาขอใหชี้ขาดปญหาขอกฎหมายดังกลาว
ขางตนอีก จึงเปนฎีกาคัดคานคําสั่งระหวางพิจารณาของศาลอุทธรณภาค 6 ซึ่งตองหามมิใหฎีกาตาม ป.วิ.อ.
มาตรา 225 ประกอบมาตรา 196
***คํา พิพากษาศาลฎี กาที่ 14225/2558 จําเลยที่ 1 และ ป. ทําหนั งสื อสั ญญาโอนหุน ให แก
โจทกรวมทั้งสามในวันที่ 1 ตุลาคม 2547 เมื่อหุนดังกลาวเปนของจําเลยที่ 1 และ ป. โดยจําเลยที่ 1 ซึ่งเปน

18 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


กรรมการผูมีอํานาจกระทําแทนบริษัทก็ทราบเรื่องดังกลาวดีตั้งแตวันนั้น ถือวาบริษัททราบเรื่องการโอนหุน
ดังกลาวแลว โจทกรวมทั้งสามใชยันกับบริษัทไดวาเปนผูถือหุนของบริษัทแลว แมจะไมไดมีการจดแจงชื่อโจทก
รวมทั้งสามในสมุดทะเบียนผูถือหุนของบริษัทก็ตาม และเปนหนาที่ของกรรมการบริษัทดังกลาวที่จะตองไปจด
แจงชื่อโจทกรวมทั้งสามในสมุดทะเบียนผูถือหุน เมื่อบริษัทมีการเรียกประชุมวิสามัญผูถือหุนยอมมีผลใหโจทก
รวมทั้งสามไมไดรับแจงใหเขารวมประชุมดวย และที่ประชุมก็มีมติใหแกไขขอบังคับเกี่ยวกับการแบงประเภท
ของหุน และกําหนดคุณสมบัติผูที่จะเขามาเปนผูบริหารเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม จึงทําใหโจทกรวมทั้งสาม
เสียหายเนื่องจากไมสามารถคัดคานเกี่ยวกับการแกไขเปลี่ยนแปลงขอบังคับของบริษัทดังกลาวได โจทกรวมทั้ง
สามยอมเปนผูเสียหายโดยตรงในกรณีนี้ที่จะแจงความรองทุกขดําเนินคดีแกจําเลยทั้งสองซึ่งเปนกรรมการ
บริษัทดังกลาวได
คํา พิพากษาศาลฎีก าที่ 14062/2558 แมโ จทกไมได บ รรยายฟองวาจํ าเลยทั้งเการ ว มกัน ออก
ขอกําหนดเพื่อกลั่นแกลงโจทกหรือผูหนึ่งผูใดใหไดรับความเสียหาย แตการที่โจทกบรรยายฟองวา การที่จําเลย
ทั้งเกาออกขอกําหนดเพื่อใหจําเลยทั้งเกามีอํานาจอนุมัติหรือไมอนุมัติใหบุคคลใดยายตามอําเภอใจของจําเลย
ทั้งเกา เปนที่เขาใจไดวาจําเลยทั้งเกากระทําไปเพื่อใหเกิดความเสียหายแกโจทกหรือผูอื่น ฟองของโจทกจึงไม
ขาดองคประกอบของความผิดตาม ป.อ. มาตรา 157
คํ า พิ พ ากษาศาลฎี ก าที่ 14047/2558 ที่ โ จทก อุ ท ธรณ ว า โจทก มิ ไ ด ทํ า ธุ ร กิ จ แข ง กั บ จํ า เลย
เนื่องจากขณะโจทกสงจดหมายอิเล็กทรอนิกสถึงลูกความของบริษัท ด. โจทกเชื่อโดยสุจริตใจวาลูกความของ
บริษัทดังกลาวไมไดเปนลูกความของจําเลยอีกตอไป เนื่องจากจําเลยโอนกิจการรวมถึงลูกความของจําเลยไป
ยังบริ ษัทนี้ แล ว ถือไมได ว าโจทกจ งใจทําให จํ าเลยได รั บ ความเสี ย หายนั้ น ศาลแรงงานภาค 8 วิ นิ จ ฉัย ว า
พยานหลักฐานที่จําเลยนําสืบมีน้ําหนักนาเชื่อมากกวาพยานโจทก จึงฟงขอเท็จจริงตามที่จําเลยนําสืบไดความ
วา จําเลยเลิกจางโจทกเนื่องจากโจทกกระทําผิดซ้ําคําเตือนและจงใจทําใหจําเลยไดรับความเสียหาย โดยเปด
บริษัทที่ปรึกษากฎหมายแหงใหมและทําหนังสือเชิญชวนลูกความของจําเลยไปใชบริการ อันเปนการทําธุรกิจ
แขงขันกับจําเลย ขออางของโจทกที่วาขณะโจทกสงจดหมายอิเล็กทรอนิกสใหแกลูกความของจําเลย ลูกความ
ทั้งหมดของจําเลยโอนไปยังบริษัท ด. แลวฟงไมขึ้น การกระทําของโจทกทําใหจําเลยเสียลูกคา ขาดรายได เปน
การจงใจทําใหจํ าเลยไดรั บความเสี ยหาย ดังนั้น อุทธรณของโจทกจึงเป นอุทธรณโ ตเถียงขอเท็จ จริ งที่ศาล
แรงงานภาค 8 รับฟงเพื่อนําไปสูขอกฎหมาย อันเปนอุทธรณในขอเท็จจริง ตองหามอุทธรณตาม พ.ร.บ.จัดตั้ง
ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522 มาตรา 54 วรรคหนึ่ง
โจทกตกลงใหจําเลยกูเงินจากสถาบันการเงินเพื่อไปเชารถยนตใหแกโจทกแลวนําคาจางของโจทก
ชําระคาเชารถยนต วันที่ 24 มีนาคม 2552 จําเลยทําสัญญาเชาแบบลีสซิ่งกับบริษัท ต. โดยมีขอตกลงวาให
บริษัท ต. ซื้อรถยนตตามคํารองของจําเลยเพื่อใหจําเลยเชามีกําหนดเชา 36 เดือน จําเลยนําคาจางของโจทก
ชําระคาเชารถยนตมาตลอดจนกระทั่งเดือนกุมภาพันธ 2553 โจทกประสงคนําคาเชาไปชําระเอง แตก็ไม
นําไปชําระ บริษัท ต. ทวงถามคาเชารถยนตมายังจําเลย จําเลยแจงใหโจทกทราบแตโจทกปฏิเสธไมชําระคา
19 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
เชารถยนตอีกตอไป ดังนี้เปนเรื่องที่โจทกประสงคเชารถยนตมาใชเอง แตใหจําเลยทําสัญญาเชาแทนโจทกโดย
โจทกชําระคาเชารถยนต มิใชกรณีจําเลยจัดสวัสดิการใหแกโจทกซึ่งเปนลูกจาง แตเปนกรณีที่โจทกและจําเลย
มีขอตกลงพิเศษเปนการเฉพาะในลักษณะที่จําเลยเปนเพียงตัวแทนโจทกในการทําสัญญาเชาและเปนผูนําคา
เชารถยนตไปชําระใหแกผูใหเชาแทนโจทก จึงมิใชขอตกลงหักคาจางเพื่อชําระหนี้ที่เปนสวัสดิการที่จําตองมี
หลักฐานเปนหนังสือวาโจทกยินยอมใหหักคาเชารถยนตออกจากคาจางของโจทกตามมาตรา 76 (3) และ
มาตรา 77 แหง พ.ร.บ.คุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 จําเลยมีสิทธิหักคาเชารถยนตออกจากคาจางของโจทกได
ตามขอตกลงระหวางโจทกกับจําเลย
คํา พิพากษาศาลฎี กาที่ 13989/2558 โจกทฟองขอให เ พิกถอนการประเมินภาษีเ งินได บุ คคล
ธรรมดาตามหนังสือแจงการประเมิน 6 ฉบับ และเพิกถอนคําวินิจฉัยอุทธรณการประเมินดังกลาว กรณีจึง
พิพาทกันเกี่ยวกับทรัพยสินของโจทก ฉะนั้น เมื่อขณะโจทกยื่นฟองคดีนี้โจทกเปนบุคคลลมละลาย อํานาจใน
การฟองรองคดียอมเปนของเจาพนักงานพิทักษทรัพยแตผูเดียวตาม พ.ร.บ.ลมละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 22
(3) แมโจทกไดยื่นคํารองขอใหเจาพนักงานพิทักษทรัพยฟองคดีแทนโจทกแลว เจาพนักงานพิทักษทรัพยมี
คําสั่งไมดําเนินการฟองคดีแทนโจทก ก็ไมทําใหอํานาจฟองคดีของเจาพนักงานพิทักษทรัพยเปลี่ยนแปลงไป
โจทกไมมีสิทธิฟองคดีและยื่นคํารองขอยกเวนคาธรรมเนียมศาลไดดวยตนเอง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13922/2558 โจทกเขารับการรักษาที่โรงพยาบาลตามสิทธิดวยอาการ
เหนื่อยหายใจติดขัด ลิ้นหัวใจไมตรัลรั่วขั้นปานกลางถึงขั้นรุนแรง โรงพยาบาลตามสิทธิจึงสงตัวโจทกมารักษาที่
สถาบันโรคทรวงอกซึ่งเปนโรงพยาบาลตามสิทธิระดับบน แพทยของสถาบันโรคทรวงอกตรวจอาการโจทกครั้ง
แรกพบวาโจทกมีอาการโรคหัวใจ ลิ้นหัวใจไมตรัลรั่ว ลิ้นหัวใจขาด แนะนําใหทําการผาตัด หากมิไดรับการ
ผาตัดภายใน 1 ป นับแตวันที่เขารักษาครั้งแรกที่สถาบันโรคทรวงอก โจทกจะมีโอกาสเสียชีวิตได ระหวางรอ
คิวนัดหมายผาตัด แพทยรักษาโดยใหรับประทานยา โจทกเขามาพบแพทยเพื่อตรวจรักษาตามนัดอีก 2 ครั้ง
แตละครั้งทิ้งชวงหางกันระหวาง 2 ถึง 3 เดือนเศษ โจทกก็ยังคงมีอาการลิ้นหัวใจไมตรัลรั่วขั้นรุนแรง กอนถึง
กําหนดนัดหมายครั้งที่สี่ซึ่งหางออกไปประมาณ 4 เดือน ปรากฏวาโจทกมาพบแพทยกอนกําหนดเนื่องจากมี
อาการเหนื่อยมากขึ้น ซึ่งแพทยตรวจพบวาโจทกมีอาการแยลงโดยมีอาการเสนยึดลิ้นหัวใจขาดรวมกับอาการ
ลิ้นหัวใจไมตรัลรั่วคอนขางรุนแรง แตการตรวจรักษาเปนการตรวจภายนอกโดยฟงปอดและหัวใจแลวเพิ่มยา
ขับปสสาวะใหโจทกไปรับประทาน ดังนี้ตลอดเวลาประมาณ 7 เดือน ที่โจทกเขารักษาที่สถาบันโรคทรวงอก
อาการและภาวะโรคของโจทกมีแนวโนมที่จะมีความรุนแรงเพิ่มขึ้นตามลําดับ แตโจทกยังคงไดรับการรักษา
ดวยการใหรับประทานยาระหวางที่รอนัดหมายผาตัด ซึ่งสถาบันโรคทรวงอกยังคงไมอาจจัดคิวนัดหมายผาตัด
ใหแกโจทกได เนื่องจากมีคนไขรอคิวผาตัดจํานวนมาก ตอมาโจทกมีอาการเหนื่อยมากและหายใจไมออก ญาติ
ของโจทกไดนําโจทกสงโรงพยาบาลกรุงเทพดวยเกรงวา หากโจทกตองเขารับการรักษาที่สถาบันโรคทรวงอก
ตอก็คงไดรับการรักษาโดยการใหรับประทานยาเพิ่มเทานั้น เมื่อปรากฏวาภายในกําหนด 1 ป นับแตวันที่โจทก
เขารับการรักษาที่สถาบันโรคทรวงอก โจทกก็ยังไมไดคิวนัดหมายผาตัดที่สถาบันโรคทรวงอก การที่แพทย

20 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


โรงพยาบาลกรุงเทพตรวจอัลตราซาวดและวินิจฉัยแจงใหโจทกทราบวา โจทกมีอาการลิ้นหัวใจรั่วอยางรุนแรง
และเริ่มมีภาวะหัวใจลมเหลว จึงมีความจําเปนตองผาตัดเปนกรณีเรงดวนมิฉะนั้นอาจมีอันตรายถึงแกชีวิต
กรณียอมเปนธรรมดาที่โจทกซึ่งเปนผูปวยและญาติของโจทกในภาวะเชนนั้นจะตองเชื่อวาอาการของโจทกมี
ลักษณะรุนแรงอันอาจเปนอันตรายถึงแกชีวิต และตองทําตามคําแนะนําของแพทยเพื่อรักษาชีวิตของโจทก
โดยเร็ ว จึ ง ถื อว า เป น อาการของโรคซึ่ง เกิ ด ขึ้ น โดยเฉีย บพลั น ที่ จํ า ต องได รั บ การผ า ตั ด เป น การด ว น ส ว น
กระบวนการที่แพทยทําการผาตัดใหแกโจทก สืบเนื่องจากขณะนั้นโจทกซึ่งมีอายุเกิน 40 ป มีอาการลิ้นหัวใจ
รั่ว จึงมีความจําเปนตองตรวจดูภาวะเสนเลือดหัวใจตีบโดยทําอัลตราซาวดและฉีดสีที่หัวใจ และตองรักษาฟน
ใหแกโจทกกอนก็เพื่อปองกันมิใหเชื้อโรคในชองปากแพรกระจายลงไปที่หัวใจ ซึ่งตองใชเวลาดําเนินการกอน
การผาตัด 1 วัน อันเปนการตรวจสอบตามขั้นตอนการเตรียมความพรอมเพื่อความปลอดภัยในการผาตัด ซึ่ง
ยอมอยูในระยะเวลาที่ตอเนื่องกับความฉุกเฉินที่จะตองผาตัดทันทีและยอมมีความตอเนื่องตลอดมา จึงเปนการ
ยากที่จะใหโจทกซึ่งเจ็บปวยหนักและไดรับคําแนะนําจากแพทยใหตองผาตัดเปนกรณีเรงดวนจะมีความคิดที่จะ
เปลี่ย นไปเขารั บบริ การทางการแพทย ที่สถาบันโรคทรวงอกได การที่โจทกเ ขารับ การรักษาที่โรงพยาบาล
กรุงเทพถือวาเปนกรณีเจ็บปวยฉุกเฉินและมีเหตุผลสมควรที่ไมสามารถไปรับบริการทางการแพทยจากสถาบัน
โรคทรวงอกได ตาม พ.ร.บ.ประกันสังคม พ.ศ.2533 มาตรา 59 โจทกมีสิทธิไดรั บเงินทดแทนคาบริการ
ทางการแพทยจากจําเลยเฉพาะคาใชจายที่เกิดขึ้นจริงตามความจําเปนภายในระยะเวลาไมเกิน 72 ชั่วโมง นับ
แตเวลาที่โจทกเขารับบริการทางการแพทยครั้งแรกที่โรงพยาบาลกรุงเทพ ตามประกาศสํานักงานประกันสังคม
เรื่อง กําหนดจํานวนเงินทดแทนคาบริการทางการแพทย (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2541 ซึ่ง
เปนประกาศที่ใชอยูในขณะนั้นขอ 4.1
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13790/2558 คดีกอนการฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติดของจําเลยที่ได
ปฏิบัติตามแผนที่กําหนดแตมีผลไมเปนที่พอใจ คณะอนุกรรมการฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติดจึงมีคําสั่งให
สงตัวจําเลยใหแกพนักงานสอบสวนเพื่อดําเนินคดีตอไป กรณีจึงถือไดวาจําเลยอยูในระหวางถูกดําเนินคดีใน
ความผิดฐานเดิม แมพนักงานสอบสวนจะยังไมไดดําเนินการใดแกจําเลย แตด วยคดีกอนจําเลยตองหาว า
กระทําความผิดฐานเสพยาเสพติดใหโทษในประเภท 1 และคดีนี้จําเลยก็ตองหาวากระทําความผิดฐานเสพยา
เสพติดใหโทษในประเภท 1 เชนเดียวกัน ดังนั้นจึงมิใชกรณีที่จําเลยถูกดําเนินคดีในความผิดฐานอื่นตามที่โจทก
กล าวอางในฎี กาและไมใช กรณีที่จําเลยต องหาหรื อถูกดํ าเนิ น คดี ในความผิ ด ฐานอื่น ตามมาตรา 24 แห ง
พระราชบัญญัติฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด พ.ศ.2545 ดังที่โจทกกลาวในคําฟอง เมื่อไมปรากฏวาจําเลย
ตองหาหรืออยูในระหวางถูกดําเนินคดีในความผิดฐานอื่นซึ่งเปนความผิดที่มีโทษจําคุกหรืออยูในระหวางการ
รั บ โทษจํ า คุ ก ตามคํ า พิ พ ากษาและไม ป รากฏว า มี เ หตุ อื่ น ที่ ต อ งห า มมิ ใ ห จํ า เลยเข า สู ก ระบวนการฟ น ฟู
สมรรถภาพผูติดยาเสพติด กรณีจึงตองดําเนินการตามมาตรา 19 แหงพระราชบัญญัติดังกลาว เมื่อคดีนี้ยัง
ไมไดมีการดําเนินการตามมาตรา 19 ใหแลวเสร็จเสียกอน โจทกจึงยังไมมีอํานาจฟอง

21 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13718/2558 ศาลชั้นตนขยายระยะเวลาอุทธรณใหจําเลยถึงวันที่ 27
สิงหาคม 2557 ตอมาวันที่ 28 สิงหาคม 2557 ทนายจําเลยยื่นคํารองขอขยายระยะเวลาอุทธรณอีก 1
เดือน อางเหตุวายังไมไดรับถอยคําสํานวนและคําพิพากษาที่ขอคัดถายไวเนื่องจากอยูระหวางดําเนินการทาง
ธุรการ กรณีเปนการยื่นคํารองขอขยายระยะเวลาอุทธรณ ภายหลังจากที่กําหนดระยะเวลาขยายอุทธรณสิ้นสุด
ลงแลว ซึ่งจําเลยขอขยายไดเฉพาะกรณีที่มีเหตุสุดวิสัยตาม ป.วิ.พ. มาตรา 23 ประกอบ ป.วิ.อ. มาตรา 15
แตขออางตามคํารองถือเปนความบกพรองของทนายจําเลยเองที่ไมติดตามเอกสารที่ขอคัดถายไวแตเนิ่น ๆ จึง
ไมเปนเหตุสุดวิสัยอันจะทําใหทนายจําเลยมีสิทธิยื่นคํารองขอขยายระยะเวลายื่นอุทธรณเมื่อสิ้นระยะเวลา
อุทธรณแลวได ศาลชั้นตนจึงไมมีอํานาจสั่งขยายระยะเวลาอุทธรณใหจําเลย การที่ศาลชั้นตนอนุญาตใหขยาย
ระยะเวลาอุทธรณถึงวันที่ 27 กันยายน 2557 และเมื่อจําเลยยื่นอุทธรณในวันที่ 26 กันยายน 2557 ศาล
ชั้นตนก็มีคําสั่งรับอุทธรณของจําเลย คําสั่งศาลชั้นตนที่ใหรับอุทธรณของจําเลยยอมไมชอบ ที่ศาลอุทธรณภาค
3 พิจารณาอุทธรณของจําเลยจึงไมชอบเชนกัน และไมกอใหโจทกมีสิทธิฎีกา ปญหาดังกลาวเปนปญหาขอ
กฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอย แมไมมีคูความฝายใดยกขึ้นฎีกา ศาลฎีกาก็มีอํานาจยกขึ้นวินิจฉัยได
ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 195 วรรคสอง ประกอบมาตรา 225
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13707/2558 โจทกบังคับใหจําเลยทําสัญญากูยืมเงิน 100,000 บาท
ทั้ ง ที่ ค วามจริ ง กู ยื ม เงิ น กั น เพี ย ง 10,000 บาท เป น การใช สิ ท ธิ โ ดยไม สุ จ ริ ต โจทก จึ ง ไม อ าจแสวงหา
ผลประโยชนจากสัญญากูที่ทําขึ้นโดยไมสุจริต ปญหาวาโจทกใชสิทธิโดยสุจริตหรือไม เปนปญหาเกี่ยวดวย
ความสงบเรียบรอยของประชาชน ศาลฎีกามีอํานาจยกขึ้นวินิจฉัยได
คําพิพากษาศาลฎี กาที่ 13666/2558 ตาม ป.วิ. พ. มาตรา 193 ตรี บัญญัติใหศาลสอบถาม
คูความฝายที่จะตองนําพยานเขาสืบวา ประสงคจะอางอิงพยานหลักฐานใดแลวใหศาลบันทึกไว ยอมแสดงวา
ในการพิจารณาคดีมโนสาเร เปนหนาที่ของศาลที่จะตองบันทึกเกี่ยวกับพยานหลักฐานที่จะนําเขาสืบไดเองไว
ในรายงานกระบวนพิจารณา โดยคูความไมจําตองจัดทําบัญชีระบุพยานยื่นตอศาลลวงหนาตามกําหนดเวลาที่
บัญญัติไวใน ป.วิ.พ. มาตรา 88 ดังนั้น การที่ศาลชั้นตนมีคําสั่งไมรับบัญชีระบุพยานฉบับที่สองของโจทก จึงไม
ชอบดวย ป.วิ.พ. มาตรา 193 ตรี
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13648/2558 แมขอเท็จจริงรับฟงไดวา จําเลยจัดใหผูเสียหายอยูอาศัย
และไมใหผูเสียหายออกจากบานจําเลยก็ตาม แตขอเท็จจริงไมปรากฏวา นับแตวันแรกที่ผูเสียหายทํางานกับ
จําเลยจนถึงวั นที่ผู เ สี ย หายทํางานกับ จํ าเลยครบ 7 เดื อน จําเลยได กระทําการใดอัน เป นการขมขืน ใจให
ผูเสียหายทํางานโดยทําใหผูเสียหายกลัววาจะเกิดอันตรายตอชีวิต รางกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง หรือทรัพยสิน
ของผูเสียหาย โดยขูเข็ญดวยประการใด ๆ โดยใชกําลังประทุษราย หรือโดยทําใหผูเสียหายอยูในภาวะที่ไม
สามารถขัดขืนไดแตอยางใด คงไดความแตเพียงวา จําเลยใหผูเสียหายทํางานตั้งแตเวลา 4 นาฬิกา จนถึง 24
นาฬิกา ให รั บ ประทานอาหาร 2 มื้อ และไมจ ายเงินเดื อนให ผู เ สี ยหายเทานั้ น ส วนการทํางานเดื อนที่ 8
ขอเท็จจริงฟงไดวา เหตุที่จําเลยทํารายผูเสียหายมาจากผูเสียหายทํางานไมเรียบรอยและพูดขอเงินคาจางจาก
22 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
จําเลย อันเปนการลงโทษผูเสียหายเทานั้น จึงมิใชเปนการใชกําลังประทุษรายผูเสียหายเพื่อใหผูเสียหายทํางาน
ให จํ าเลย การกระทําของจํ าเลยจึ งยังไมครบองคป ระกอบความผิ ดฐานคามนุ ษย ตาม พ.ร.บ.ปองกัน และ
ปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551 มาตรา 6 (2)
คํ า พิพ ากษาศาลฎี ก าที่ 13646/2558 ขอ เท็จ จริ ง รั บ ฟ งเป น ยุ ติ ว า จํ า เลยที่ 1 ใช อํา นาจใน
ตําแหนงกระทําการทุจริตเบียดบังเอาเงินงบประมาณไปเปนประโยชนสวนตัว การกระทําของจําเลยที่ 1 จึง
เปนความผิดตาม ป.อ. มาตรา 147 แมโจทกระบุ ป.อ. มาตรา 151 ไวในคําขอทายฟอง โดยไมไดระบุมาตรา
147 ก็ตาม แตโจทกบรรยายฟองแลววา จําเลยที่ 1 ซึ่งเปนเจาพนักงานและเจาหนาที่รัฐมีอํานาจหนาที่ใน
การบริหารจัดการ จัดการและรักษางบประมาณตาง ๆ ขององคการบริหารสวนตําบลหวยแกว ตามโครงการ
ขุดลอกลําเหมืองหนองถุ หมูที่ 5 และหมูที่ 6 เปนเงินงบประมาณจํานวน 116,000 บาท ไดใชจายเงิน
งบประมาณตามโครงการดังกลาวจํานวน 69,600 บาท สวนที่เหลืออีกจํานวน 46,400 บาท ขาดหายไป
โดยไดเบียดบังเอาเงินงบประมาณจํานวน 46,400 บาท ดังกลาวรวมทั้งเงินงบประมาณตามโครงการอื่นดังที่
บรรยายในคําฟองไปเปนประโยชนสวนตนหรือผูอื่น อันเปนการเสียหายแกรัฐ องคการบริหารสวนตําบลหวย
แกว และประชาชนทั่วไป จึงเปนการอางบทมาตราผิด ศาลอุทธรณภาค 5 มีอํานาจลงโทษจําเลยที่ 1 ตาม
ฐานความผิดที่ถูกตองได ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192 วรรคหา คําพิพากษาศาลอุทธรณภาค 5 จึงไมเปนการ
พิพากษาเกินคําขออันจะตองหามตามมาตรา 192 วรรคหนึ่ง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13600/2558 จําเลยที่ 1 เปนผูลงลายมือชื่อสั่งจาย จึงตองรับผิดใชเงิน
ตามเช็คพรอมดอกเบี้ย นับแตวันที่ธนาคารปฏิเสธการจายเงิน ตาม ป.พ.พ. มาตรา 900, 914 ประกอบ
มาตรา 989 วรรคหนึ่ง และมาตรา 224 วรรคหนึ่ง แตในสวนของจําเลยที่ 2 นั้น เมื่อโจทกฟองเรียกใหชําระ
เงินตามเช็ค แตไมปรากฏวาจําเลยที่ 2 ลงลายมือชื่อในเช็ค ในอันที่จะตองรับผิดตามที่บัญญัติไวในประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยเรื่องตั๋วเงิน จําเลยที่ 2 จึงไมตองรับผิดตามเนื้อความในเช็ค ไมวาจําเลยที่ 2
เปนสามีภริยากันตามกฎหมายและจะเปนหนี้รวมระหวางสามีภริยาหรือไมก็ตาม
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13598/2558 จําเลยที่ 1 เปนหนวยงานของรัฐที่ทําหนาที่แกไขปญหา
การคางชําระหนี้ของลูกหนี้ของสถาบัน การเงินดวยการรับโอนสินทรัพยดอยคุณภาพนํามาบริหารจัดการตาม
วิธีการที่กําหนดใน พ.ร.ก.บรรษัทบริหารสินทรัพยไทย พ.ศ.2544 การที่จําเลยที่ 1 ขายทอดตลาดที่ดินทั้ง
สองแปลงอันเปนทรัพยจํานองของโจทกตามบทบัญญัติมาตรา 76 ที่บัญญัติวา ในการจําหนายทรัพยสินที่เปน
หลักประกันให บสท. ดําเนินการโดยวิธีการขายทอดตลาด แตถา บสท. เห็นวาการจําหนายโดยวิธีอื่นจะเปน
ประโยชนกับ บสท. และลูกหนี้มากกวา ก็ใหจําหนายโดยวิธีอื่นได หรือจะรับโอนทรัพยสินนั้นไวในราคาไมนอย
กวาราคาที่จะพึงไดรับจากการขายทอดตลาดแทนการจําหนายก็ได และมาตรา 82 บัญญัติวา การเพิกถอน
การจําหนายทรัพยสินตามวิธีการที่กําหนดไวในมาตรา 76 จะกระทํามิได จําเลยที่ 1 ขายทอดตลาดที่ดินทั้ง
สองแปลงตามมาตรา 76 อันเปนการบริหารสินทรัพยดอยคุณภาพตามที่ พ.ร.ก. นี้บัญญัติไวโดยเฉพาะ หาก
โจทกไดรับความเสียหายจากการขายทอดตลาด ยอมใชสิทธิเรียกรองตาม พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของ
23 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
เจาหนาที่ พ.ศ.2539 ได โจทกจึงไมมีอํานาจฟองขอใหเพิกถอนการขายทอดตลาด ปญหานี้เปนปญหาขอ
กฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน แมจําเลยที่ 1 ไมไดยกขึ้นกลาวในศาลอุทธรณ ศาล
ฎีกามีอํานาจยกขึ้นวินิจฉัยได ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 142 (5) และตามมาตรา 41 แหง พ.ร.ก. ดังกลาวบัญญัติ
ใหจําเลยที่ 1 เขาสวมสิทธิเปนคูความแทน หรือในกรณีศาลมีคําพิพากษาบังคับคดีแลว ใหจําเลยที่ 1 เขาสวม
สิทธิเปนเจาหนี้ตามคําพิพากษานั้น เปนเพียงการใหอํานาจจําเลยที่ 1 ใชสิทธิในฐานะคูความหรือดําเนินการ
บังคับคดีตาม ป.วิ.พ. ในฐานะเจาหนี้ตามคําพิพากษาไดดวย ไมใชเปนเหตุใหจําเลยที่ 1 ไมมีอํานาจในการ
บริหารสินทรัพยดอยคุณภาพตามมาตรา 53 แหง พ.ร.ก. นี้ หากจําเลยที่ 1 เห็นวาจะเปนประโยชนแกจําเลย
ที่ 1 และโจทกซึ่งเปนลูกหนี้มากกวาการบังคับคดีตาม ป.วิ.พ. จึงหาใชบทบังคับวาเมื่อจําเลยที่ 1 เขาสวมสิทธิ
เปนคูความแทนหรือเปนเจาหนี้ตามคําพิพากษาแลว จําเลยที่ 1 ตองดําเนินการบังคับคดีตาม ป.วิ.พ. เทานั้น
จําเลยที่ 1 มีอํานาจขายทอดตลาดหรือจําหนายทรัพยสินโดยวิธีอื่นตาม พ.ร.ก.บรรษัทบริหารสินทรัพยไทย
พ.ศ.2544 ตามมาตรา 74 และ 76
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13592/2558 พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ.2469 มาตรา 27 บัญญัติวา "ผูใดนํา
หรือพาของที่ยังมิไดเสียคาภาษี หรือของตองจํากัด หรือของตองหาม หรือที่ยังมิไดผานศุลกากรโดยถูกตองเขา
มาในพระราชอาณาจักรสยามก็ดี... หรือเกี่ยวของดวยประการใด ๆ ในการหลีกเลี่ยง หรือพยายามหลีกเลี่ยง
การเสียคาภาษีศุลกากร หรือในการหลีกเลี่ยง หรือพยายามหลีกเลี่ยงบทกฎหมาย และขอจํากัดใด ๆ อันเกี่ยว
แกการนําของเขา สงของออก ขนของขึ้น เก็บของในคลังสินคา และการสงมอบของโดยเจตนาจะฉอคาภาษี
ของรัฐบาล ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่จะตองเสียสําหรับของนั้น ๆ ก็ดี หรือหลีกเลี่ยงขอหามหรือ
ขอจํากัดอันเกี่ยวแกของนั้นก็ดี สําหรับความผิดครั้งหนึ่ง ๆ ใหปรับเปนเงินสี่เทาของราคาของซึ่งไดรวมคาอากร
เขาด ว ยแล ว หรื อจํ าคุกไมเ กิ น สิ บ ป หรื อทั้งปรั บ ทั้งจํ า " ดั ง นี้ ความผิ ด ฐานนี้ ไมว าจะเป น พยายามกระทํ า
ความผิดหรือกระทําความผิดสําเร็จ กฎหมายกําหนดโทษไวเทากัน ที่ศาลอุทธรณลงโทษปรับจําเลยในความผิด
ฐานดังกลาวสองในสามของโทษปรับที่กฎหมายกําหนดไวจึงเปนการไมชอบ
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13572/2558 การที่โจทกกลาวอางวา โจทกเปนผูซื้อแรของกลางที่เจา
พนักงานยึดหรืออายัดไวบนที่ดินของจําเลย จากการขายหรือจําหนายของอธิบดีโดยสํานักงานอุตสาหกรรม
จังหวัดมุกดาหารตาม พ.ร.บ.แร พ.ศ.2510 มาตรา 15 จัตวา (1) แตจําเลยไมยินยอมใหโจทกเขาไปขนแร
ของกลางออกจากที่ดินของจําเลย การกระทําของจําเลยตามที่โจทกฟองเปนการโตแยงสิทธิของโจทกแลว
โจทกจึงมีอํานาจฟองจําเลยมิใหขัดขวางการขนยายแรของโจทกได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13533/2558 แมรายงานการแสดงขอเท็จจริงเกี่ยวกับเด็กหรือเยาวชน
ของผูอํานวยการสถานพินิจ จะมีความสําคัญแกการพิพากษาคดีเนื่องจาก พ.ร.บ.ศาลเยาวชนและครอบครัว
และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 มาตรา 131 บัญญัติวา ศาลจะลงโทษหรือใชวิธีการ
สําหรับเด็กและเยาวชนไดตอเมื่อไดรับทราบรายงานดังกลาว แตก็มีวัตถุประสงคเพียงเพื่อใหขอเท็จจริงตาง ๆ
ตลอดจนสิ่งแวดลอมทั้งปวงเกี่ยวกับจําเลยและบิดามารดา ผูปกครอง หรือบุคคลซึ่งจําเลยอาศัยอยูดวยหรือ
24 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
บุคคลซึ่งใหการศึกษา ใหทําการงานหรือมีความเกี่ยวของตามมาตรา 115 เขาสูสํานวนคดี โดยมาตรา 118
บัญญัติไวชัดเจนวา ศาลจะรับฟงรายงานเกี่ยวกับขอเท็จจริงตามมาตรา 115 ได เฉพาะที่มิใชขอเท็จจริง
เกี่ยวกับการกระทําความผิดที่ถูกฟองโดยไมตองมีพยานบุคคลประกอบได เพื่อเสนอรายงานและความเห็นตอ
ศาลเกี่ยวกับการลงโทษ หรือการใชวิธีการสําหรับเด็กและเยาวชนแกจําเลยเทานั้น ขอเท็จจริงตามรายงานก็
มิใชขอเท็จจริงที่ไดมาจากการสืบพยานของคูความ จึงไมสามารถนํามารับฟงในฐานะเปนพยานหลักฐานที่จะ
นํามาวินิจฉัยเกี่ยวกับการกระทําความผิดของจําเลยได การที่ศาลอุทธรณภาค 9 รับฟงรายงานดังกลาวแลว
เชื่อวาจําเลยกระทําความผิดฐานรับของโจรนั้น จึงมิชอบดวยกฎหมาย
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13476 - 13482/2558 เมื่อโจทกเปนนิติบุคคลอันเปนบุคคลสมมุติโดย
อาศัยอํานาจของกฎหมาย การยึดถือครอบครองที่ดินของรัฐจึงตองเปนไปโดยชอบดวยกฎหมายโดยโจทกตอง
ไดรับอนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่ตามที่กฎหมายบัญญัติ และตองเปนกิจการที่อยูในขอบวัตถุประสงคของ
โจทกตามที่ไดจดทะเบียนไวดวย โจทกไมไดจดทะเบียนใหมีวัตถุประสงคในการยึดถือครอบครองที่ดินพิพาทซึ่ง
เปนที่ดินของรัฐอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินตาม ป.พ.พ. มาตรา 1304 (1) ทั้งไมปรากฏวาโจทกไดรับ
อนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่ใหครอบครองทําประโยชนในที่ดินพิพาทตามกฎหมาย โจทกจึงไมมีสิทธิยึดถือ
ครอบครองที่ดินพิพาทและไมมีอํานาจฟองขับไลจําเลยทั้งแปดและบริวารออกจากที่ดินพิพาท
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13361/2558 คดีอาญา จําเลยถึงแกความตายระหวางพิจารณาคดีของ
ศาลฎีกา สิทธินําคดีอาญามาฟองยอมระงับไปตาม ป.วิ.อ. มาตรา 39 (1) จึงใหจําหนายคดีเสียจากสารบบ
ความ สําหรับคดีสวนแพงใหศาลชั้นตนดําเนินการตาม ป.วิ.พ. มาตรา 42 หากครบกําหนดหนึ่งปนับแตจําเลย
ถึงแกความตาย ไมมีบุคคลใดรองขอเขามาเปนคูความแทน หรือเขามาตามหมายเรียกของศาลก็ใหศาลชั้นตน
จําหนายคดีเสียจากสารบบความ
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13316/2558 การที่ ศ. ทําคํารองขอขยายระยะเวลาชําระคาธรรมเนียม
ศาลโดยลงชื่อเปนผูเรียงและเขียนโดยอาศัยใบมอบฉันทะของจําเลยที่ 2 ที่ระบุไวใหทําคํารองไดนั้น เปน
กิจการอื่นนอกจากที่ ป.วิ.พ. มาตรา 64 บัญญัติไว และเปนกิจการสําคัญที่คูความหรือทนายความจะตอง
กระทําดวยตนเอง ไมอาจแตงตั้งใหบุคคลทําการแทนได ทั้งการมอบฉันทะดังกลาวไมทําให ศ. อยูในฐานะ
คูความตาม ป.วิ.พ. มาตรา 1 (11) เมื่อ ศ. มิใชผูซึ่งจดทะเบียนและรับใบอนุญาตใหเปนทนายความ และมิได
กระทําในฐานะเปนขาราชการผูปฏิบัติการตามหนาที่หรือเปนเจาหนาที่ของหนวยงานของรัฐ องคการของรัฐ
หรือรัฐวิสาหกิจ ผูปฏิบัติการตามหนาที่หรือมีอํานาจหนาที่กระทําไดโดยบทบัญญัติแหงกฎหมายวาดวยวิธี
พิจารณาความหรือกฎหมายอื่น การเรียงคํารองอันเกี่ยวแกการพิจารณาคดีในศาลใหแกจําเลยที่ 2 ของ ศ.
ดั ง กล า วจึ ง ขั ด ต อ พ.ร.บ.ทนายความ พ.ศ.2528 มาตรา 33 ดั ง นั้ น คํ า ร อ งขอขยายระยะเวลาชํ า ระ
คาธรรมเนีย มศาลของจําเลยที่ 2 ดังกลาวจึ งเปน คําร องที่ไมช อบด วยกฎหมาย ปญหาขอนี้เป นป ญหาขอ
กฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน ศาลฎีกามีอํานาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยไดตาม ป.วิ.พ.
มาตรา 142 (5) ประกอบมาตรา 246, 247
25 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13287/2558 ผูรองไดรับโอนที่ดินสามยทรัพยมาจากโจทกที่ 1 ภาระจํา
ยอมที่มีอยูในที่ดินพิพาทของจําเลยยอมติดไปกับสามยทรัพยที่โอนดวย ผูรองจึงมีสิทธิใชประโยชนในทางภาระ
จํายอมได ดังนั้น ที่ผูรองยื่นคํารองวาไดซื้อที่ดินจากโจทกที่ 1 ขอใหมีคําสั่งใหที่ดินของจําเลยตกเปนภาระจํา
ยอมของผูรองแทนโจทกที่ 1 จึงไมมีกฎหมายเปดชองใหผูรองซึ่งเปนผูรับโอนสามยทรัพยสามารถยื่นคํารองตอ
ศาลขอใหรับรองสิทธิในภาระจํายอมได เพราะการเสนอคดีตาม ป.วิ.พ. มาตรา 55 ตองมีกฎหมายสนับสนุน
ปญหาเรื่องอํานาจในการเสนอคํารองเปนขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน
แมไมมีคูความฝายใดยกขึ้นอาง ศาลฎีกาก็มีอํานาจยกขึ้นวินิจฉัยเองไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา 142 (5) ประกอบ
มาตรา 246 และ 247
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13204/2558 จําเลยเปนสถาบันการเงินประกอบกิจการธนาคารพาณิชย
ออกหนังสือค้ําประกันใหแกบริษัท ค. ผูรับจางไปมอบใหแกโจทกเพื่อค้ําประกันการปฏิบัติงานและผลงานตาม
สัญญาจางเหมากอสรางอาคารโครงการ บ. ที่ทําไวกับโจทก ทั้งในหนังสือค้ําประกันทั้งสองฉบับมีการประทับ
ขอความวา หากหมดอายุการบังคับหรือหมดภาระผูกพันแลวโปรดคืนธนาคาร (หมายถึงจําเลย) อันเปนการ
แสดงวาหนังสือค้ําประกันทั้งสองฉบับเปนเอกสารของจําเลยที่มีวัตถุประสงคเพื่อเปนการค้ําประกันการทํางาน
กอสรางของบริ ษัท ค. ผู รับ จ างที่ทําสั ญญาจางเหมากอสรางอาคารไวกับ โจทกห าใช เ อกสารดั งกล าวเป น
หลักทรัพยเพื่อความมั่นคงหรือหลักประกันอันเปนกรรมสิทธิ์ของบริษัท ค. ผูรับจางตามที่โจทกกลาวอางมาไม
เมื่อจําเลยไมตองรับผิดชําระเงินตามหนังสือค้ําประกันทั้งสองฉบับ หนังสือค้ําประกันทั้งสองฉบับยอมสิ้นภาระ
ผูกพันแลว จึงตองมีการคืนหนังสือค้ําประกันทั้งสองฉบับใหจําเลย
แมจะมีคําพิพากษาถึงที่สุดในอีกคดีหนึ่งพิพากษาใหโจทกคดีนี้คืนหนังสือค้ําประกันทั้งสองฉบับแก
บริษัท ค. ผูรับจาง ก็ตาม แตถาหากโจทกคืนใหบริษัท ค. ผูรับจางไปแลวบริษัท ค. ผูรับจางก็ตองนําไปคืนให
จําเลยเนื่องจากเปนเอกสารของจําเลย เมื่อโจทกยังไมไดคืนใหแกบริษัท ค. ผูรับจาง ทั้งไมมีสิทธิที่จะยึดหนวง
หนังสือค้ําประกันทั้งสองฉบับของจําเลยเนื่องจากสิ้นภาระผูกพันแลว จําเลยยอมมีสิทธิฟองแยงขอใหโจทกคืน
หนังสือค้ําประกันทั้งสองฉบับใหแกจําเลยได
คํา พิพากษาศาลฎี ก าที่ 13163/2558 นิ ติ สั มพัน ธ ที่จะเป น สั ญญาจางแรงงานนั้น เป น ไปตาม
บทบัญญัติ ป.พ.พ. มาตรา 575 และ พ.ร.บ.คุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 มาตรา 5 คือ นายจางวาจางอีก
ฝายหนึ่งเปนลูกจางเพื่อทําการงานให นายจางมีอํานาจบังคับบัญชาใหลูกจางตองปฏิบัติตามคําสั่งและระเบียบ
ขอบังคับในการทํางาน เมื่อไมปรากฏวาโจทกมีความรับผิดชอบในหนาที่การงานอะไรเปนกิจจะลักษณะ ไม
ตองเขาทํางานทุกวัน ยอมแสดงวาโจทกมิไดอยูภายใตการบังคับบัญชาของผูบริหารของบริษัทจําเลย นอกจาก
อ. ซึ่งเปนบิดาโจทกเทานั้น โจทกจึงไมมีนิติสัมพันธเปนลูกจางของจําเลย เพราะไมไดทํางานใหจําเลยและไมได
อยูภายใตระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานและการบังคับบัญชาตามสายงานปกติของจําเลย การที่โจทก

26 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


เขามาทํางานในบริษัทจําเลยก็เพื่อชวยเหลืองานของบิดาเทานั้นยอมเปนความสัมพันธสวนบุคคล และไมถือวา
อ. จางโจทกแทนจําเลยโดยชอบ จึงไมผูกพันจําเลยซึ่งเปนนิติบุคคลแยกตางหาก
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13160/2558 โจทกเปนพนักงานบัญชีและการเงินมีหนาที่จายและรับคืน
เงิน การปฏิบัติหนาที่ของโจทกตองอาศัยความละเอียด รอบคอบ ซื่อสัตย และไดรับความไววางใจจากนายจาง
แมจะไดความวาการที่โจทกนําเงินไปเก็บรักษาไวที่บานจะไมเปนการผิดระเบียบของจําเลย แตการนําเงินของ
จําเลยไปเก็บรักษาไวที่บานของโจทกโดยไมไดนํามาคืนจนกระทั่งเวลาผานไปเกือบ 5 เดือน และโจทกนํามา
คืน ให เ มื่ อจํ า เลยตรวจพบและทวงถาม ทั้ง ยั งอ างเหตุ ค วามหลงลื ม อัน แสดงถึงความไมร อบคอบและไม
รับผิดชอบตอหนาที่ จําเลยผูเปนนายจางยอมมีเหตุผลที่จะหวาดระแวงและไมไววางใจใหโจทกทํางานตอไป
ถือไดวาเปนการเลิกจางที่มีเหตุอันสมควร ไมเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13105/2558 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามิไดบัญญัติถึงการ
ดําเนิน กระบวนพิจารณาซ้ําไว โดยเฉพาะ และ ป.วิ .พ. มาตรา 144 ได บัญญัติร ายละเอีย ดเกี่ยวกับเรื่ อง
ดังกลาวไววา เมื่อศาลใดมีคําพิพากษาหรือคําวินิจฉัยชี้ขาดคดีหรือในประเด็นขอใดแหงคดีแลว หามมิใหดําเนิน
กระบวนพิจารณาในศาลนั้นอันเกี่ยวกับคดีหรือประเด็นที่ไดวินิจฉัยชี้ขาดแลวนั้นอีก ซึ่งเปนหลักการตรวจสอบ
ทํานองเดียวกับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา จึงนําเรื่องหามดําเนินกระบวนพิจารณาซ้ํา ตาม ป.
วิ.พ. มาตรา 144 มาใชบังคับในการดําเนินคดีอาญา ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 15 ไดโดยอนุโลม
โจทกรวมเคยฟองจําเลยเรื่องบุกรุกที่เกิดเหตุสถานที่เดียวกันกับคดีนี้ และศาลอุทธรณภาค 8 มีคํา
พิพากษาถึงที่สุดวา ที่เกิดเหตุอยูในเขตที่ดินพระราชทาน หากคดีนี้ศาลดําเนินกระบวนพิจารณาคดีไปตามขอ
ตอสูของจําเลยที่วา มีพยานหลักฐานใหมมาพิสูจนไดวาที่เกิดเหตุคดีนี้อยูนอกเขตที่ดินพระราชทาน ศาลก็ตอง
วินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอยางเดียวกันวาที่เกิดเหตุอยูในเขตที่ดินพระราชทานหรือไม อันเปนการดําเนินกระบวน
พิจารณาเกี่ยวกับคดีหรือประเด็นที่ไดวินิจฉัยชี้ขาดแลว ฉะนั้นที่ศาลชั้นตนวินิจฉัยวาที่เกิดเหตุอยูในเขตที่ดิน
พระราชทานโดยอาศัย ป.วิ.พ. มาตรา 144 ประกอบ ป.วิ.อ. มาตรา 15 จึงชอบแลว
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13089 - 13090/2558 ความผิดฐานยักยอก ตาม ป.อ. มาตรา
352 นั้น ทรัพยอันเปนวัตถุแหงการกระทําที่ผูกระทําความผิดครอบครองอยูจะตองเปนวัตถุที่มีรูปรางหรือจับ
ตองสัมผัสได แตหุนตามฟองเปนเพียงสิ่งที่แสดงใหเห็นถึงสิทธิและหนาที่หรือสวนไดเสียของโจทกรวมทั้งสองที่
มีอยูในบริษัทจําเลยที่ 1 จึงไมใชทรัพยที่จะเบียดบังยักยอกได ทั้งปรากฏวาการกระทําของจําเลยทั้งสามเปน
เพียงการยื่นคําขอจดทะเบียนแกไขบัญชีรายชื่อผูถือหุนตอนายทะเบียนเทานั้น ยังหามีผลเปนการเปลี่ยนแปลง
กรรมสิทธิ์ในหุนของโจทกรวมทั้งสองไม การกระทําของจําเลยทั้งสามตามฟองจึงไมเปนความผิดฐานยักยอก
ปญหานี้เ ป นขอกฎหมายที่เ กี่ย วกับ ความสงบเรี ยบร อย ศาลฎี กามีอํานาจยกขึ้น วินิ จฉัยเองไดต าม ป.วิ. อ.
มาตรา 195 วรรคสอง ประกอบ มาตรา 225

27 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13069/2558 ประกาศขายทอดตลาดของเจาพนักงานบังคับคดีระบุวาผู
ซื้อจะตองตรวจสอบภาระหนี้สินและเปนผูชําระหนี้สินคางชําระตอนิติบุคคลอาคารชุดกอนจึงจะโอนกรรมสิทธิ์
ได เมื่อโจทกประมูลซื้อหองชุดไดแตไมยอมชําระคาใชจายสวนกลางพรอมเบี้ยปรับที่เจาของกรรมสิทธิ์หองชุด
พิพาทคนเดิมคางชําระ จําเลยทั้งสองจึงไมมีหนาที่ตองออกหนังสือรับรองรายการหนี้หรือการปลดหนี้หองชุด
พิพาทใหแกโจทกและโจทกไมอาจเรียกรองคาเสียหายจากจําเลยทั้งสองได
คําพิพากษาศาลชั้นตนมิไดระบุวันเริ่มตนใหชําระเงินเพิ่ม เปนขอผิดพลาดเล็กนอย แกไขใหถูกตองได
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 143 วรรคหนึ่ง
ที่ศาลชั้นตนพิพากษาเกินคําขอในฟองแยง เปนปญหาขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอย
ของประชาชน ศาลอุทธรณแกไขใหถูกตองได ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 142 (5) ประกอบมาตรา 246
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13041/2558 โจทกซึ่งเปนผูจัดสรรที่ดินในโครงการเปนผูสรางรั้วปดกั้น
ที่ดินพิพาทเอง เมื่อจําเลยมิไดปดกั้นที่ดินพิพาท จําเลยจึงมิไดเปนฝายกระทําละเมิดตอโจทก กรณีที่โจทกฟอง
จําเลยใหรื้อถอนรั้วที่ปดกั้นที่ดินพิพาท จึงเปนเรื่องที่โจทกใชสิทธิโดยไมสุจริต ทั้งการที่โจทกไมจัดใหมีที่กลับ
รถเปนการแกไขเปลี่ยนแปลงแผนผังโครงการที่มีที่กลับรถเปนการฝาฝน พ.ร.บ.การจัดสรรที่ดิน พ.ศ.2543
มาตรา 32 เปนการที่โจทกไมไดปฏิบัติตามกฎหมายที่กําหนดใหโจทกตองกระทําการดังกลาว โจทกจึงไมมี
อํานาจฟอง
ตาม พ.ร.บ.การจัดสรรที่ดิน พ.ศ.2543 มาตรา 43 วรรคหนึ่ง บัญญัติให สาธารณูปโภคที่ผูจัดสรร
ที่ดินไดจัดใหมีขึ้นเพื่อการจัดสรรที่ดินตามแผนผังและโครงการที่ไดรับอนุญาตเชนถนนสวนสนามเด็กเลนใหตก
อยูในภาระจํายอมเพื่อประโยชนแกที่ดินจัดสรรและเปนหนาที่ของผูจัดสรรที่ดินที่จะบํารุงรักษาสาธารณูปโภค
ดังกลาวใหคงสภาพดังเชนที่ไดจัดทําขึ้นนั้นตอไป และจะกระทําการใดอันเปนเหตุใหประโยชนแหงภาระจํา
ยอมลดไปหรือเสื่อมความสะดวกมิได ประกอบกับมาตรา 33 วรรคหนึ่ง ยังบัญญัติหามมิใหผูจัดสรรที่ดินทํา
นิติกรรมกับบุคคลใดอันกอใหเกิดภาระผูกพันแกที่ดินอันเปนสาธารณูปโภคและที่ดินที่ใชเพื่อบริการสาธารณะ
ทั้งนี้ พ.ร.บ.การจัดสรรที่ดิน พ.ศ.2543 เปนกฎหมายเฉพาะบัญญัติขึ้นเพื่อใหความคุมครองประโยชนของผู
ซื้อที่ดินจัดสรรและประชาชนทั่วไป จึงไมสามารถนําบทบัญญัติเกี่ยวกับการสิ้นไปของภาระจํายอมที่เกิดขึ้น
ตาม ป.พ.พ. ซึ่งเปนกฎหมายทั่วไปมาใชบังคับแกภาระจํายอมที่เกิดขึ้น และยังเปนประโยชนแกที่ดินจัดสรร
ตาม พ.ร.บ.การจัดสรรที่ดิน พ.ศ.2543 ซึ่งเปนกฎหมายเฉพาะได โจทกซึ่งเปนผูจัดสรรที่ดินกอสรางรั้วปดกั้น
ที่ดินพิพาทที่ไดกันไวเปนที่กลับรถอันเปนสาธารณูปโภคประเภทถนนของโครงการ แตที่ดินพิพาทอยูภายในรั้ว
บานของจําเลยก็ตาม จําเลยก็ไมอาจอางวาไดครอบครองที่ดินพิพาทดวยเจตนาเปนเจาของอันจะทําใหจําเลย
ไดกรรมสิทธิ์ที่ดินพิพาทโดยการครอบครองปรปกษได สวนความเสียหายที่จําเลยไดรับ ชอบที่จะไปฟองรองวา
กลาวเอาแกโจทกเปนอีกคดีหนึ่ง เนื่องจากจําเลยไมไดฟองแยงเรียกคาเสียหายในสวนนี้มาดวย

28 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12983/2558 การที่จําเลยแอบติ ดตั้งกลองบันทึกภาพไวที่ใตโต ะ
ทํางานของโจทกรวม และบันทึกภาพสรีระรางกายของโจทกรวมตั้งแตชวงลิ้นปจนถึงอวัยวะชวงขามองเห็น
กระโปรงที่โจทกรวมสวมใส ขาทอนลางและขาทอนบนของโจทกรวม โดยที่กลองบันทึกภาพมีแสงไฟสําหรับ
เพิ่มความสวางเพื่อใหมองเห็นภาพบริเวณใตกระโปรงของโจทกรวมใหชัดเจนยิ่งขึ้น การกระทําของจําเลยสอ
แสดงใหเห็นถึงความใครและกามารมณ โดยที่โจทกรวมมิไดรูเห็นหรือยินยอม อันเปนการกระทําที่ไมสมควร
ในทางเพศตอโจทกรวม โดยโจทกรวมตกอยูในภาวะที่ไมสามารถขัดขืนได แมจําเลยจะมิไดสัมผัสตอเนื้อตัว
รางกายของโจทกรวมโดยตรง แตการที่จําเลยใชกลองบันทึกภาพใตกระโปรงโจทกรวมในระยะใกลชิด โดย
โจทกรวมไมรูตัวยอมรับฟงไดวา จําเลยไดกระทําโดยประสงคตอผลอันไมสมควรในทางเพศตอโจทกรวม โดย
ใช กํ าลั ง ประทุ ษ ร า ยตามมาตรา 1 (6) แห ง ประมวลกฎหมายอาญา ซึ่ง การใช กํา ลั ง ประทุ ษร า ยอัน เป น
องคป ระกอบความผิดตาม ป.อ. มาตรา 278 นอกจากหมายความวา ทําการประทุษรายแกกายแล ว ยั ง
หมายความว าทํา การประทุษ ร ายแก จิ ต ใจด ว ย ไมว าจะทําด ว ยใช แรงกายภาพหรื อด ว ยวิ ธี อื่ น ใด และให
หมายความรวมถึงการกระทําใด ๆ ซึ่งเปนเหตุใหบุคคลหนึ่งบุคคลใดอยูในภาวะที่ไมสามารถขัดขืนได การ
กระทําของจําเลยดังกลาว ทําใหโจทกรวมตองรูสึกสะเทือนใจอับอายขายหนา จึงถือวาเปนการประทุษรายแก
จิตใจของโจทกรวมแลว การกระทําของจําเลยจึงเปนการกระทําอนาจารโจทกรวม ครบองคประกอบความผิด
ตาม ป.อ. มาตรา 278
ห องตรวจคนไขที่เ กิด เหตุ เป น ส ว นหนึ่ งของโรงพยาบาลเนิ น สงา อัน เป น สถานที่ร าชการซึ่งเป น
สาธารณสถาน แมประชาชนที่ไปใชบริการในหองตรวจคนไขที่เกิดเหตุจะตองไดรับอนุญาต และผานการคัด
กรองจากพยาบาลหน า ห องตรวจกอน แต ก็เ ป น เพีย งระเบี ย บขั้น ตอนและวิ ธี ป ฏิ บั ติ ในการใช บ ริ การของ
โรงพยาบาลเทานั้น หาทําใหหองตรวจคนไขดังกลาวซึ่งเปนสาธารณสถานที่ประชาชนมีความชอบธรรมจะเขา
ไปได ตองกลับกลายเปนที่รโหฐานแตอยางใดไม หองตรวจคนไขที่เกิดเหตุจึงยังคงเปนสาธารณสถาน ดังนั้น
การกระทําของจําเลยจึงครบองคประกอบความผิดฐานกระทําดวยประการใด ๆ อันเปนการรังแก หรือขมเหง
ผูอื่น หรือกระทําใหผูอื่นไดรับความอับอาย หรือเดือดรอนรําคาญในที่สาธารณสถานตาม ป.อ. มาตรา 397
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12981/2558 หลังจากจําเลยทั้งหกซึ่งเปนจําเลยอุทธรณไดรับสําเนาคํา
ฟองอุทธรณ และคํารองขอยื่น อุทธรณในปญหาขอกฎหมายโดยตรงตอศาลฎีกาของโจทกแลว ปรากฏว า
ภายในกําหนดเวลายื่นคําแกอุทธรณ จําเลยทั้งหกไดยื่นคํารอง คัดคานคํารองของโจทกวา อุทธรณของโจทกไม
มีสาระหรือเหตุผลที่จะยังใหศาลฎีกาวินิจฉัย แมมิไดคัดคานวาอุทธรณของโจทกมิใชเปนการอุทธรณในปญหา
ขอกฎหมายโดยตรง แตก็ถือวาจําเลยอุทธรณไดคัดคานคํารองขออนุญาตอุทธรณโดยตรงตอศาลฎีกาของโจทก
แลว กรณีจึงไมตองดวยบทบัญญัติของ ป.วิ.พ. มาตรา 223 ทวิ ในอันที่ศาลชั้นตนจะสั่งอนุญาตใหโจทกยื่น
อุทธรณโดยตรงตอศาลฎีกาได คําสั่งศาลชั้นตนที่อนุญาตใหโจทกยื่นอุทธรณโดยตรงตอศาลฎีกา จึงไมชอบดวย
กฎหมาย

29 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12980/2558 จําเลยเปนผูซอมรถยนตที่โจทกรับประกันภัยซึ่งประสบ
อุบัติเหตุไดรับความเสียหาย เมื่อจําเลยซอมเสร็จและสงมอบรถยนตใหผูเอาประกันภัยแลว แตเมื่อคนขับรถ
ของผูเอาประกันภัยนํารถไปขับปรากฏวาเครื่องยนตดับและเกิดความเสียหายอันเนื่องจากการที่จําเลยไมใช
ความระมัดระวังในการซอมรถยนตใหเพียงพอ ซึ่งตามกรมธรรมประกันภัยรถยนต หมวดการคุมครองความ
เสียหายตอรถยนต ขอ 7 ระบุวา การยกเวนความเสียหายตอรถยนต การประกันภัยนี้ไมคุมครอง... 7.2 การ
แตกหักของเครื่องจักรกลไกของรถยนต หรือการเสีย หรือการหยุดเดินของเครื่องจักรกลไก หรือเครื่องไฟฟา
ของรถยนตอันมิไดเกิดจากอุบัติเหตุ ดังนั้น เมื่อโจทกอางวาการที่เครื่องยนตของรถยนตที่โจทกรับประกันภัย
ไดรับความเสียหาย เกิดจากการที่จําเลยไมใชความระมัดระวังในการซอม เทากับเปนการอางวาความเสียหาย
ไมไดเกิดขึ้นจากอุบัติเหตุ ซึ่งตองดวยขอยกเวนตามขอ 7.2 ความเสียหายของเครื่องยนตดังกลาวจึงไมไดรับ
ความคุมครองตามกรมธรรมประกันภัย โจทกไมจําตองจายคาสินไหมทดแทนใหผูเอาประกันภัย การที่โจทก
จายคาสินไหมทดแทนไปจึงไมไดรับชวงสิทธิจากผูเอาประกันภัยที่จะมาฟองเรียกเอาจากจําเลย ปญหาเรื่อง
อํานาจฟองเปนขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน แมคูความไมไดกลาวอางขึ้นในฎีกา
ศาลฎีกาก็มีอํานาจยกขึ้นวินิจฉัยตาม ป.วิ.พ. มาตรา 142 (5)
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12931/2558 บรรษัทเงินทุนระหวางประเทศหรือบรรษัทการเงินระหวาง
ประเทศหรือ International Finance Corporation หรือ IFC เปนทบวงการชํานัญพิเศษ (Specialized
Agencies) แหงสหประชาชาติ และ พ.ร.ฎ.ระบุทบวงการชํานัญพิเศษ พ.ศ.2504 มาตรา 3 (4) ซึ่ง พ.ร.บ.
คุมครองการดําเนินงานของสหประชาชาติและทบวงการชํานัญพิเศษในประเทศไทย พ.ศ.2504 มาตรา 5 (1)
ไดบัญญัติวา "...ทบวงการชํานัญพิเศษนั้น ๆ เปนนิติบุคคลและใหถือวามีภูมิลําเนาในประเทศไทย..." ดังนั้น
เจ า หนี้ จึ ง เป น นิ ติ บุ ค คลซึ่ ง มี ภู มิ ลํ า เนาในประเทศไทย ไม ใ ช เ จ า หนี้ ต า งประเทศซึ่ ง มี ภู มิ ลํ า เนาอยู น อก
ราชอาณาจักร เจ าหนี้จึ งไมจํ าต องปฏิบั ติ ตามเงื่อนไขในการขอรั บ ชําระหนี้ในคดี ล มละลายตามที่ พ.ร.บ.
ลมละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 178 กําหนด
ในการขอรับชําระหนี้ในมูลหนี้ที่อาจขอรับชําระหนี้ไดตาม พ.ร.บ.ลมละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 94
นั้น นอกจากเจาหนี้มีหนาที่ตองนําพยานมาแสดงใหเห็นวาหนี้ที่ขอรับชําระเปนหนี้ที่มีอยูจริงแลว จะตองแสดง
วาลูกหนี้ตองรับผิดใชหนี้ดังกลาว
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12888/2558 ประธานกรรมการโจทกรวมรูวาจําเลยที่ 1 โกงเงินของ
โจทกรวมไปตั้งแตวันที่จําเลยที่ 1 ทําบันทึกคํารับสารภาพใหไวเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ 2550 แลว แตโจทก
รวมฎีกาวาไมรูเรื่องความผิดตั้งแตวันดังกลาว เนื่องจากยังไมไดตรวจสอบรายละเอียดวาจําเลยที่ 1 โกงเงิน
โจทกรวมไปเมื่อใด จํานวนเทาใด และโกงอยางไร แตเมื่อโจทกรวมมิไดนําสืบใหชัดแจงวาโจทกรวมรูเรื่อง
ความผิดตั้ งแต วันใดที่มิใชวัน ที่ 9 กุมภาพันธ 2550 ที่จํ าเลยที่ 1 ทําบัน ทึกคํารับสารภาพไว และรู เรื่อง
ความผิดกอนไปแจงความรองทุกขไมเกิน 3 เดือน คดีจึงไมปรากฏชัดวาโจทกรวมรูตัวผูกระทําผิดและรูเรื่อง
ความผิดตั้งแตเมื่อใดกอนวันที่ 14 กรกฎาคม 2550 อันเปนวันรองทุกขไมเกิน 3 เดือน กรณีไมอาจทราบแน
30 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
ชัดวาคดียังไมขาดอายุความ หรือไมแนชัดวาโจทกรวมมีสิทธิฟองคดีไดหรือไม จึงสมควรยกประโยชนใหแก
จําเลยทั้งสองวาสําหรับขอหาฉอโกงนั้น คดีขาดอายุความแลว โจทกรวมไมมีสิทธิฟองคดีขอหานี้
ความผิดฐานฉอโกงตามฟองคดีนี้ บรรยายว าจําเลยทั้งสองรับ เงิน จากธนาคารตามเช็คไปเป นของ
จําเลยทั้งสองโดยทุจริตอันครบองคประกอบความผิดฐานลักทรัพย เปนการบรรยายฟองรวมการกระทําอื่นซึ่ง
อาจเปนความผิดไดอยูในตัวเอง ศาลจะลงโทษจําเลยทั้งสองในการกระทําผิดอื่นนั้นตามที่พิจารณาไดความก็ได
ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192 วรรคทาย เมื่อศาลอุทธรณภาค 5 มิไดพิจารณาลงโทษความผิดของจําเลยทั้งสอง
ตามที่พิจารณาไดความ ศาลฎีกาก็มีอํานาจพิจารณาตามมาตรานี้โดยอาศัย ป.วิ.อ. มาตรา 215 และมาตรา
225 ไดเพราะขอเท็จจริงยุติวาจําเลยที่ 1 ไดมอบเช็คใหจําเลยที่ 2 ไปขึ้นเงินที่ธนาคารจากบัญชีเงินฝากของ
โจทกรวม ไดเงินของโจทกรวมมาจํานวน 125,616 บาท โดยไมปรากฏหลักฐานวาจําเลยที่ 2 มอบเงิน
ดังกลาวใหแกจําเลยที่ 1 และจําเลยที่ 1 มอบเงินคืนใหโจทกรวมแลวดังที่จําเลยทั้งสองนําสืบตอสู จําเลยที่ 1
ซึ่งเปนลูกจางของโจทกรวมจึงมีความผิดฐานรวมกันลักทรัพยนายจางตาม ป.อ. มาตรา 335 (7) (11) วรรค
สอง สวนจําเลยที่ 2 มิไดเปนลูกจางของโจทกรวม ยอมไมอาจรวมกับจําเลยที่ 1 กระทําความผิดฐานลักทรัพย
นายจางได จําเลยที่ 2 จึงมีความผิดตาม ป.อ. มาตรา 335 (7) วรรคแรก ซึ่งมิใชความผิดอันยอมความไดและ
มีอายุความ 10 ป คดีโจทกจึงยังไมขาดอายุความ แมความผิดฐานฉอโกงตามฟองรวมการกระทําความผิดฐาน
ลักทรัพยนายจางดวย ซึ่งศาลมีอํานาจลงโทษในความผิดฐานลักทรัพยนายจางไดตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192
วรรคทาย ประกอบมาตรา 215 และ 225 ก็ตาม แตศาลฎีกาไมอาจกําหนดโทษจําเลยทั้งสองใหสูงกวาโทษ
ที่ศาลชั้นตนพิพากษามา เพราะจะเปนการพิจารณาเพิ่มเติมโทษจําเลยทั้งสอง โดยที่โจทกรวมมิไดฎีกาขอให
เพิ่มเติมโทษ
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12868/2558 แมกอนวันที่ศาลอุทธรณภาค 3 มีคําพิพากษา จําเลยยื่นคํา
แถลงการณเปนหนังสือตาม ป.วิ.อ. มาตรา 205 วรรคสอง แตตามวรรคสามของบทบัญญัติดังกลาวกําหนดวา
คําแถลงการณเปนหนังสือมิใหถือเปนสวนหนึ่งของอุทธรณ ใหนับวาเปนแตคําอธิบายขออุทธรณเทานั้น การที่
จํ า เลยยื่ น คํ า แถลงการณ เ ป น หนั ง สื อ ว า จํ า เลยได ว างเงิ น ชดใช ค า เสี ย หายให แ ก ผู เ สี ย หายทั้ ง สองเพื่ อ
ประกอบการพิจารณาของศาลอุทธรณภาค 3 ในการรอการลงโทษใหแกจําเลย จึงเปนแตเพียงคําอธิบายขอ
อุทธรณของจําเลยเพิ่มเติมเทานั้น เมื่อศาลชั้นตนสงคําแถลงการณเปนหนังสือนั้นไปยังศาลอุทธรณภาค 3
และศาลอุทธรณภาค 3 มีคําสั่งวา คดีนี้จําเลยยื่นคําแถลงการณเพิ่มเติมหลังจากที่ศาลอุทธรณภาค 3 ทําคํา
พิพากษาเสร็จและสงไปใหศาลชั้นตนเพื่ออานใหคูความฟงแลว จึงไมอาจเปลี่ยนแปลงผลคําพิพากษาไปในทาง
ที่เปนคุณหรือเปนโทษแกจําเลยไดนั้น ถือวาศาลอุทธรณภาค 3 ไดพิจารณาคําแถลงการณเปนหนังสือของ
จําเลยแลว แมศาลอุทธรณภาค 3 จะไมไดแกไขคําพิพากษาศาลอุทธรณภาค 3 โดยยังคงระบุวา จําเลยไมเคย
ชดใชคาเสียหายใหแกผูเสียหายทั้งสอง ก็มิใชกรณีที่ศาลอุทธรณภาค 3 มิไดปฏิบัติใหถูกตองตามกระบวน
พิจารณา อันเปนเหตุใหศาลฎีกาตองยอนสํานวนไปใหศาลอุทธรณภาค 3 พิจารณาและพิพากษาใหมตาม ป.
วิ.อ. มาตรา 208 (2) ประกอบมาตรา 225

31 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12840/2558 ศาลชั้น ตนพิพากษาวา จําเลยที่ 4 มีความผิดตามฟอง
ลงโทษจําคุก 4 เดือน ลดโทษใหกึ่งหนึ่งตาม ป.อ. มาตรา 78 คงจําคุก 2 เดือน เปลี่ยนโทษจําคุกเปนกักขัง
แทน การที่ศาลอุทธรณมีคําพิพากษาไมเปลี่ยนโทษจําคุกเปนกักขังแทนนั้น ศาลอุทธรณยังพิพากษาวาจําเลยที่
4 มีความผิดตามฟองโจทกอยูเพียงแตลงโทษแตกตางไปจากศาลชั้นตนเทานั้น คําพิพากษาศาลอุทธรณจึงเปน
การพิพากษาแกคําพิพากษาศาลชั้นตน มิใชพิพากษากลับ จึงหามมิใหคูความฎีกาในปญหาขอเท็จจริงตาม ป.
วิ.อ. มาตรา 219 ตรี ประกอบ พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง พ.ศ.2499
มาตรา 4 ที่จําเลยที่ 4 ฎีกาวา เพิ่งเขามาเปนกรรมการของจําเลยที่ 1 ไมรูเห็นเกี่ยวของกับการที่จําเลยที่ 1
เปนหนี้โจทก... และขอใหรอการลงโทษจําคุกใหแกจําเลยที่ 4 นั้น เปนฎีกาในปญหาขอเท็จจริง ตองหามมิให
ฎีกาตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกลาว ทั้งเปนกรณีที่ไมอาจรับรองใหฎีกาขอเท็จจริงได ศาลฎีกาจึงไมรับ
วินิจฉัยให
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12802/2558 เมื่อผูเสียหายทั้งสองยื่นคํารองขอใหบังคับจําเลยชดใชคา
สินไหมทดแทนแกตนตาม ป.วิ.อ. มาตรา 44/1 คํารองดังกลาวยอมถือเปนสวนหนึ่งของคดีอาญาและไมตอง
เสียคาธรรมเนียมตาม ป.วิ.อ. มาตรา 253 วรรคหนึ่ง เมื่อคดีสวนอาญายังไมถึงที่สุดเพราะโจทกยังคงอุทธรณ
คําพิพากษาศาลชั้นตนอยู การกําหนดคาสินไหมทดแทนในทางแพงซึ่งศาลจําตองถือตามขอเท็จจริงตามที่
ปรากฏในคําพิพากษาสวนอาญาดังที่บัญญัติไวใน ป.วิ.อ. มาตรา 46 จึงตองรอฟงขอเท็จจริงในคดีสวนอาญา
ใหเปนที่ยุติเสียกอน แมผูรองทั้งสองจะมิไดอุทธรณคําพิพากษาศาลชั้นตน แตปญหาดังกลาวเปนขอกฎหมายที่
เกี่ยวกับความสงบเรียบรอย ศาลอุทธรณภาค 2 ยอมมีอํานาจหยิบยกคดีสวนแพงขึ้นวินิจฉัย เพื่อใหเปนไป
ตามผลแหงคดีอาญาไดตาม ป.วิ.อ. มาตรา 195 วรรคสอง ประกอบมาตรา 215 ที่ศาลอุทธรณภาค 2 หยิบ
ยกคดีสวนแพงขึน้ วินิจฉัย และกําหนดคาสินไหมทดแทนใหแกผูรองทั้งสองซึ่งเปนผูเสียหายคดีนี้จึงชอบแลว
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12797/2558 ที่ศาลชั้นตนและศาลอุทธรณภาค 8 พิพากษาวา จําเลยทั้ง
สามมีความผิดตาม ป.อ. มาตรา 364 นั้น แมคําขอทายฟองของโจทกจะระบุอาง ป.อ. มาตรา 364 ไวดวย
แตโจทกไมไดกลาวบรรยายในคําฟองวา จําเลยทั้งสามเขาไปในเคหสถานในความครอบครองของผูอื่นโดยไมมี
เหตุอันสมควร อันจะเปนความผิดตามมาตรา 364 ดังนั้น ศาลจะพิพากษาลงโทษจําเลยทั้งสามตาม ป.อ.
มาตรา 364 ไมได เปนการพิพากษาเกินคําขอหรือที่มิไดกลาวในฟอง ตองหามตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192
วรรคหนึ่ง แมจําเลยที่ 2 ใหการรับสารภาพและคดีถึงที่สุดตามคําพิพากษาศาลชั้นตนไปแลวและไมมีคูความ
ฝายใดฎีกาก็ตาม แตปญหาดังกลาวเปนขอกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอย ศาลฎีกามีอํานาจยกขึ้น
วินิจฉัยและพิพากษาแกไขใหถูกตองไดตาม ป.วิ.อ. มาตรา 195 วรรคสอง ประกอบมาตรา 225
ตามบันทึกการตรวจยึดและบัญชีของกลางคดีอาญาระบุวา ปายผาผืนแรกมีขอความวา "ที่ดินคนไทย
ทําไมใหตางชาติทํากิน" ผืนที่สองมีขอความวา "แผนดินไทยแตคนไทยไมมีที่ทํากิน ตองยกเลิกสัญญา" สวนไม
กระดานอัดแผนแรกเขียนขอความเกี่ยวกับระเบียบการเขามาอยูในที่ดินที่เกิดเหตุและแผนที่สองเขียนขอความ
เกี่ยวกับคาสมัครสมาชิก แมปายผาและไมกระดานอัดซึ่งมีขอความดังกลาวแขวนหรือติดไวในที่เกิดเหตุ แต
32 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
ปายผาและไมกระดานอัดไมใชทรัพยสินที่บุคคลไดใชหรือมีไวเพื่อใชในการกระทําความผิดในคดีนี้โดยตรง จึง
ริบทรัพยสินดังกลาวไมได ที่ศาลลางทั้งสองมีคําพิพากษาใหริบทรัพยสิน ไมตองดวยความเห็นของศาลฎีกา
ปญหาดังกลาวเปนขอกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอย แมไมมีคูความฝายใดฎีกา ศาลฎีกามีอํานาจ
ยกขึ้นวินิจฉัยและแกไขใหถูกตองได ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 195 วรรคสอง ประกอบมาตรา 225 เมื่อไมริบ
ทรัพยสินดั งกลาวจึงตองคืนแกเจาของ แมโจทกมิไดมีคําขอมาก็ตาม ศาลฎีกามีอํานาจสั่งคืนของกลางแก
เจาของไดตาม ป.วิ.อ. มาตรา 49 ประกอบมาตรา 186 (9)
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12795/2558 การใชดุลพินิจชั่งน้ําหนักฟงพยานหลักฐานของโจทกและ
จําเลย เปนการใชดุลพินิจในการคนหาเหตุผลจากพยานหลักฐานเหลานั้นวาควรจะรับฟงไดเพียงใดหรือไม
ฝายใดมีน้ําหนักนาเชื่อถือกวากัน ศาลมีอํานาจหยิบยกขอเท็จจริงตาง ๆ ที่ไดความจากการนําสืบของทั้งสอง
ฝายมาใชดุลพินิจรับฟงไดตามสมควรตามพฤติการณแหงคดี อันเปนอํานาจโดยอิสระของศาลชั้นตนในการ
คนหาเหตุผลเพื่อหาขอเท็จจริงแหงคดีใหไดขอยุติ ขอที่โจทกรวมอุทธรณโตแยงวาเหตุผลที่ศาลชั้นตนหยิบ
ยกขึ้นวินิจฉัยเปนเพียงรายละเอียดปลีกยอย ก็เปนเพียงความคิดเห็นของโจทกรวม ทั้งไมมีกฎหมายบัญญัติ
บังคับวา หากเปนรายละเอียดปลีกยอยแลวจะนํามาใชประกอบดุลพินิจไมได การใชดุลพินิจในการวินิจฉัยชั่ง
น้ําหนักพยานของศาลชั้นตนจึงไมขัดตอกฎหมาย ไมถือเปนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบ
อุทธรณของโจทกรวมเปนการอุทธรณโดยยกเอาเรื่องการใชดุลพินิจในการชั่งน้ําหนักพยานซึ่งเปน
ปญหาขอเท็จจริง แลวนําเอาหลักกฎหมายที่ไมเกี่ยวของมาปรับเพื่อใหเปนปญหาขอกฎหมาย จึงเปนอุทธรณ
ในปญหาขอเท็จจริง
โจทกฟองขอใหลงโทษตาม ป.อ. มาตรา 352 วรรคแรก ซึ่งมีอัตราโทษจําคุกอยางสูงไมเกินสามป
หรือปรับไมเกินหกพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ เมื่อศาลชั้นตนพิพากษายกฟองจึงตองหามอุทธรณในปญหา
ขอเท็จจริง
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12685/2558 การขูเข็ญวาจะเปดเผยความลับซึ่งเปนองคประกอบ
ความผิดตาม ป.อ. มาตรา 338 หมายความวา การขูเข็ญวาจะเปดเผยเหตุการณขอเท็จจริงที่ไมประจักษแก
บุคคลทั่ว ไป และเปน ขอเท็จ จริงที่เจ าของความลับประสงคจ ะปกปด ไมใหบุคคลอื่นรู ดังนี้ ความลับจึ งไม
จําเปนตองเปนการกระทําที่ชอบดวยกฎหมาย หรือไมชอบดวยกฎหมายหรือผิดศีลธรรมอันดีของประชาชน
หากเปนเหตุการณที่เกิดขึ้นจริงและเจาของขอเท็จจริงประสงคจะปกปดไมใหบุคคลอื่นรูก็ถือวาเปนความลับ
แล ว เมื่ อ ฎี ก าของจํ า เลยยอมรั บ ข อ เท็ จ จริ ง ว า จํ า เลยมี ภ ริ ย าอยู แ ล ว แต จํ า เลยกั บ ผู เ สี ย หายสมั ค รใจมี
ความสัมพันธฉันชูสาวกันมาประมาณ 1 ป ขอเท็จจริงที่จําเลยกับผูเสียหายมีความสัมพันธฉันชูสาวกันจึงเปน
ขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นจริง เมื่อเปนการกระทําที่ผิดศีลธรรมอันดีของประชาชน แสดงวาผูเสียหายประสงคจะ
ปกปดไมใหบุคคลอื่นโดยเฉพาะภริยาจําเลยรูเรื่องดังกลาว เรื่องนั้นจึงเปนความลับของผูเสียหาย การที่จําเลยขู
เข็ญผูเสียหายวาหากผูเสียหายไมนําเงินจํานวน 20,000 บาท มาใหจําเลย จําเลยจะนําเรื่องความสัมพันธฉัน

33 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


ชูสาวระหวางจําเลยซึ่งมีครอบครัวแลวกับผูเสียหายไปเปดเผยตอบุคคลอื่น จึงเปนการขูเข็ญวาจะเปดเผย
ความลับของผูเสียหาย ครบองคประกอบความผิดตาม ป.อ. มาตรา 338
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12681/2558 โจทกบรรยายฟองวา จําเลยลักสรอยคอทองคําหนัก 3
บาท 1 เส น พร อ มพระสมเด็ จ หลวงพอ โสธร 1 องค ของ อ. ผู เ สี ย หายไป โดยใช ร ถจั ก รยานยนต เ ป น
ยานพาหนะเพื่อสะดวกแกการกระทําผิด การพาทรัพยนั้นไป และเพื่อใหพนการจับกุม ขอใหลงโทษตาม ป.อ.
มาตรา 335, 336 ทวิ ซึ่งขอหาความผิดตามฟองมิใชเปนคดีที่มีอัตราโทษอยางต่ําจําคุกตั้งแตหาปขึ้นไปหรือ
โทษสถานที่หนักกวานั้น เมื่อศาลชั้นตนสอบคําใหการ และจําเลยใหการรับสารภาพตามฟองโจทกทุกประการ
ศาลชั้นตนยอมพิพากษาโดยไมสืบพยานหลักฐานตอไปไดตาม ป.วิ.อ. มาตรา 176 วรรคหนึ่ง และขอเท็จจริง
ยอมรับฟงเปนยุติไดวา จําเลยกระทําความผิดฐานลักทรัพยโดยใชรถจักรยานยนตเปนยานพาหนะเพื่อสะดวก
แกการกระทําผิด การพาทรัพยนั้นไปและเพื่อใหพนการจับกุม ศาลอุทธรณภาค 2 จะยกเอาขอเท็จจริงตามคํา
รองขอฝากขังผูตองหาครั้งที่ 1 ลงวันที่ 15 มีนาคม 2557 มาฟงวาจําเลยใชยานพาหนะในการเดินทางไปมา
เทานั้น มิใชใชยานพาหนะเพื่อสะดวกแกการกระทําผิดหรือการพาทรัพยนั้นไปมาเปนเหตุยกฟองในความผิด
ตาม ป.อ. มาตรา 336 ทวิ หาไดไม
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12675/2558 ความผิดฐานยักยอกตาม ป.อ. มาตรา 352 เปนความผิด
อันยอมความได โจทกรวมตองรองทุกขภายใน 3 เดือน นับแตวันรูเรื่องความผิดและรูตัวผูกระทําความผิด
มิฉะนั้น คดีเปนอันขาดอายุความ ตาม ป.อ. มาตรา 96 คดีนี้ขอเท็จจริงปรากฏตามคําเบิกความของโจทกรวม
เองวา เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2555 จําเลยยอมรับกับโจทกรวมวาไดยักยอกเงินคาจําหนายสินคาของโจทก
รวมไปจริง ดังนี้ จึงเทากับโจทกรวมไดรูเรื่องความผิดและรูตัวผูกระทําความผิดตั้งแตวันดังกลาวแลว การที่
โจทกรวมใหจําเลยนําเงินมาชดใชคืนและจะตรวจสอบบัญชีเพื่อทราบยอดเงินที่สูญหายไปใหชัดแจงอีกครั้ง
ดังที่อาง เปนเรื่องที่โจทกรวมยอมผอนผันหรือใหโอกาสแกจําเลยในฐานะทีเ่ คยเปนลูกจางของตนเทานั้น ไมทํา
ใหสิทธิในการรองทุกขของโจทกรวมขยายออกไป ดังนั้นเมื่อโจทกรวมเพิ่งไปรองทุกขเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน
2555 จึงพนกําหนด 3 เดือน นับแตวันที่โจทกรวมรูเรื่องความผิดและรูตัวผูกระทําความผิดแลว คดีของโจทก
และโจทกรวมในความผิดฐานยักยอกจึงขาดอายุความตาม ป.อ. มาตรา 96 สิทธินําคดีอาญามาฟองของโจทก
และโจทกรวมยอมระงับไปตาม ป.วิ.อ. มาตรา 39 (6) พนักงานอัยการโจทกจึงไมมีสิทธิเรียกทรัพยสินหรือ
ราคาแทนโจทกรวมได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12622/2558 ผูรองเปนผูรับประกันภัยความซื่อสัตยของจําเลยที่ 1 ผูเปน
ลูกจางไวจากโจทกผูเปนนายจางระหวางปฏิบัติงานจําเลยที่ 1 รับชําระหนี้จากลูกคาแลวไมนําสงโจทกและไม
สงเงินทดรองคืนโจทก เขาเงื่อนไขความคุมครองตามกรมธรรมประกันภัย ผูรองจึงใชคาสินไหมทดแทนแก
โจทก ผูรองสามารถเขารับชวงสิทธิของโจทกเรียกรองเอาคาสินไหมทดแทนที่ใชไปจากจําเลยทั้งสอง (จําเลยที่
2 เปนผูค้ําประกันความรับผิดของจําเลยที่ 1 ตอโจทก) ไดตาม ป.พ.พ. มาตรา 880 วรรคหนึ่งและมาตรา

34 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


226 วรรคหนึ่ ง ซึ่งหมายถึงการใช สิ ทธิ ฟองคดี ต อศาลโดยผู รั บ ประกัน ภั ย เป นโจทกฟองในนามของผู รั บ
ประกันภัยแทนผูเอาประกันภัย ไมใชการรับชวงสิทธิของผูเอาประกันภัยในการบังคับคดี
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 271 การบังคับคดีเปนสิทธิของคูความฝายชนะคดีหรือเจาหนี้ตามคําพิพากษา
เท า นั้ น เมื่อ ไมมี ก ฎหมายบั ญ ญั ติ รั บ รองสิ ทธิ ใ ห ผู รั บ ประกัน ภั ย เข า รั บ ช ว งสิ ท ธิ ใ นการบั งคั บ คดี ข องผู เ อา
ประกันภัยได ผูรองซึ่งเปนบุคคลภายนอกจึงเขารับชวงสิทธิในการบังคับคดีตามคําพิพากษาเอาแกจําเลยทั้ง
สองไมได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12620/2558 พ.ร.บ.คุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 มาตรา 10 วรรคสอง
บัญญัติวาในกรณีนายจางเรียกหรือรับหลักประกันเพื่อชดใชคาเสียหายที่ลูกจางเปนผูกระทํา เมื่อนายจางเลิก
จาง หรือลูกจ างลาออก หรื อสัญญาประกัน สิ้นอายุใหนายจางคืนหลักประกัน ใหแกลูกจาง หมายความว า
นายจางตองคืนเงินหลักประกันใหแกลูกจาง นายจางจะหักไปชําระหนี้อื่นที่ไมใชคาเสียหายจากการทํางาน
ใหแกนายจางไมได
แมโจทกยินยอมใหจําเลยหักเงินหลักประกันการทํางานของโจทกไปชําระคาประกันอุบัติเหตุสวน
บุคคลของโจทก ซึ่งเปนการยินยอมใหจําเลยไมตองคืนเงินหลักประกันใหแกโจทกทั้งที่ไมใชหนี้คาเสียหายจาก
การทํางานใหแกจําเลยขัดตอ พ.ร.บ.คุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 มาตรา 10 วรรคสอง ซึ่งเปนกฎหมายเกี่ยว
ดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน ขอตกลงเปนโมฆะ ไมมีผลใชบังคับ เมื่อจําเลยเลิกจางโจทกจึงตองคืน
เงินหลักประกันการทํางานแกโจทกเต็มจํานวน
มาตรา 10 วรรคสอง บัญญัติใหนายจางคืนเงินหลักประกันการทํางานใหลูกจางภายใน 7 วัน นับแต
วันเลิกจาง เมื่อจําเลยไมคืนภายในกําหนดนั้นจําเลยตกเปนผูผิดนัด ตองเสียดอกเบี้ยระหวางผิดนัดอัตรารอย
ละ 15 ตอป ตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12563/2558 แมในชั้นสอบสวนทั้ง ธ. และ อ. จะใหการตอพันตํารวจตรี
ส. พนักงานสอบสวนวา จําเลยกับ พ. รวมกันลักรถจักรยานยนตของผูเสียหายมาขายให ธ. 2 คัน และยัง
รวมกันลักรถจักรยานยนตของผูเสียหายมาขายให อ. อีก 1 คัน แตในชั้นพิจารณาทั้ง ธ. และ อ. ไมไดมาเบิก
ความยืนยันการกระทําผิดของจําเลย เพื่อใหจําเลยมีโอกาสถามคานเพื่ออธิบายขอเท็จจริง ยอมทําใหจําเลย
เสียเปรียบในการตอสูคดี ทั้งปรากฏจากคําใหการชั้นสอบสวนของ ธ. วา กอนรับซื้อรถจักรยานยนตหมายเลข
ทะเบี ย น รตจ กรุ ง เทพมหานคร 284 เมื่ อ วั น ที่ 19 สิ ง หาคม 2551 พ. ได โ ทรศั พ ท ม าติ ด ต อ ขาย
รถจักรยานยนตใหโดยอางวาเปนสิทธิพิเศษของตนที่มีสิทธิซื้อในราคาเริ่มเปดประมูล แตตองการขายสิทธิ
ดังกลาว ตอมาวันที่ 2 กันยายน 2551 พ. ขับรถกระบะของผูเสียหายบรรทุกรถจักรยานยนต ยี่หอฮอนดา
หมายเลขทะเบียน รษต กรุงเทพมหานคร 653 มาขายใหอีกโดยขับมาคนเดียว กลับบอกวาครั้งนี้เปนสิทธิ
ของตน สวนครั้งกอนเปนสิทธิของจําเลย พฤติการณของ พ. ตามคําใหการในชั้นสอบสวนดังกลาวมีขอเคลือบ
แคลงสงสัยวา จําเลยรวมกระทําผิดกับ พ. หรือไม และตามคําใหการชั้นสอบสวนของ อ. ที่วา รถจักรยานยนต
35 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
ฮอนดา หมายเลขทะเบียน วจม กรุงเทพมหานคร 424 มี พ. ขับมาขายโดยไมปรากฏวามีจําเลยเขาไปมีสวน
รวมกระทําผิดดวยนั้นก็สอดคลองกับที่ น. เบิกความวา รถจักรยานยนตคันดังกลาว ตองโทรศัพทสอบถามจาก
บุคคลที่เคยมาประมูลซื้อรถ จึงทราบวา พ. เปนผูขับรถจักรยานยนตไปขาย ดังนี้ ลําพังคําใหการชั้นสอบสวน
ของ ธ. และ อ. ตามบันทึกคําใหการชั้นสอบสวน จึงไมอาจฟงลงโทษจําเลยได
การที่จําเลยกับพวกคบคิดกันลักรถจักรยานยนตของผูเสียหายซึ่งจอดไวในโกดัง แลวจําเลยกับพวก
ชวยกันยกรถจักรยานยนตขึ้นทายกระบะเพื่อให ส. บรรทุกออกไป ยอมเล็งเห็นเจตนาไดวา จําเลยกับพวก
ประสงคจะใชรถกระบะเปนยานพาหนะเพื่อสะดวกแกการกระทําความผิดหรือการพาทรัพยนั้นไป สวนรถ
กระบะซึ่งเปนยานพาหนะที่ใชในการกระทําความผิดจะเปนของผูใดหาใชขอสําคัญไม การกระทําของจําเลย
กับพวกจึงเปนความผิดฐานลักทรัพยที่เปนของนายจางโดยใชยานพาหนะซึ่งตองรับโทษหนักขึ้นตาม ป.อ.
มาตรา 336 ทวิ
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12501/2558 แมคําสั่ งอนุญาตใหพิจารณาคดีใหมจะมีผลใหถือวาคํา
พิพากษาเดิมที่พิพากษาใหโจทกจําเลยหยาขาดกันเปนอันเพิกถอนไปในตัว แตคําพิพากษาที่ถูกเพิกถอนนั้น ก็
มีผลผูกพันเฉพาะโจทกกับจําเลยซึ่งเปนคูความในคดี หามีผลตอผูรองสอดซึ่งเปนบุคคลภายนอกคดีที่อางวา
ถูกกระทบสิทธิเนื่องจากเปนผูจดทะเบียนสมรสกับโจทกหลังจากศาลมีคําพิพากษาดังกลาวแลวไม ผูรองสอด
จึงไมมีสิทธิยื่นคํารองสอดเขามาเปนคูความฝายที่สามตามมาตรา 57 (1)
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12437/2558 คดีกอนและคดีนี้โจทกฟองโดยมีขออางที่อาศัยเปนหลัก
แหงขอหาอยางเดียวกัน แตคดีนี้อางเพิ่มเติมวา การที่จําเลยกับพวกเพิกเฉยไมไปจดทะเบียนใหที่ดินพิพาทตก
เป น ภาระจํ ายอมแกที่ ดิ น ของโจทก เป น เหตุ ให ส ถาบั น การเงิน ไมอนุ มัติ สิ น เชื่ อในการกอสร างที่พักให แ ก
พนั กงานโจทก ทําใหโ จทกเสี ย หาย ต องจ ายเงินคาที่พักให แกพนักงานโจทก และขอเรี ยกคาเสี ยหาย ซึ่ง
คาเสียหายดังกลาวสืบเนื่องมาจากจําเลยกับพวกไมไปจดทะเบียนใหที่ดินพิพาทตกเปนภาระจํายอมแกที่ดิน
ของโจทกตามฟองในคดีกอน อันเปนคาเสียหายที่โจทกสามารถฟองเรียกไดในคดีกอนอยูแลว ที่โจทกอางวา
คาเสียหายที่โจทกฟองในคดีนี้เกิดขึ้นภายหลังจากที่ฟองคดีกอนนั้น ขอเท็จจริงไดความวา เดิมโจทกฟองคดี
กอนเปนคดีผูบริโภค ตอมาประธานศาลอุทธรณมีคําวินิจฉัยชี้ขาดวา ไมเปนคดีผูบริโภค และศาลชั้นตนมีคําสั่ง
รับคดีไวพิจารณาเปนคดีแพงสามัญใหงดชี้สองสถานและกําหนดวันนัดพิจารณาตอเนื่อง แตคาเสียหายที่โจทก
ฟองในคดีนี้เกิดจากสถาบันการเงินไมอนุมัติสินเชื่อซึ่งไดแจงใหโจทกทราบแลว โจทกจึงชอบที่จะขอแกไข
เพิ่มเติมคําฟองไดในคดีกอน ซึ่งเปนการขอเพิ่มจํานวนทุนทรัพยในฟองเดิมที่ยังอยูระหวางการพิจารณาและมี
ความเกี่ยวของกัน ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 179 และ 180 การที่โจทกกลับมาฟองเรียกคาเสียหายในคดีนี้อันเปน
การฟองเรื่องเดียวกันขณะที่คดีกอนยังอยูในระหวางการพิจารณาของศาล ฟองโจทกคดีนี้จึงเปนฟองซอนกับ
คดีกอน ตองหามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 173 วรรคสอง (1)

36 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12436/2558 ศาลชั้นตนไตสวนและวินิจฉัยคําขอใหพิจารณาคดีใหมของ
โจทกวา คําขอของโจทกบรรยายเพียงเหตุที่โจทกขาดนัดพิจารณา แตมิไดบรรยายขอคัดคานวา หากศาล
พิจารณาคดีใหมแลวโจทกจะเปนฝายชนะคดี ถือวาคําขอพิจารณาคดีใหมของโจทกมิไดบรรยายใหครบถวน
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 207 ประกอบมาตรา 199 จัตวา โจทกอุทธรณคําสั่งศาลชั้นตน จึงเปนการอุทธรณคําสั่ง
ศาลชั้นตนที่ไมอนุญาตใหพิจารณาคดีใหม ดังนั้น ไมวาศาลอุทธรณภาค 2 จะมีคําพิพากษาเปนประการใด คํา
พิพากษาศาลอุทธรณภาค 2 ยอมเปนที่สุดตาม ป.วิ.พ. มาตรา 207 ประกอบมาตรา 199 เบญจ วรรคสี่
โจทกยอมไมมีสิทธิฎีกาอีกตอไป ปญหานี้เปนปญหาขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน
ศาลฎีกามีอํานาจยกขึ้นวินิจฉัยเองไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา 247 ประกอบมาตรา 246, 142 (5) ศาลชั้นตนสั่ง
รับฎีกาของโจทกยอมไมชอบ ศาลฎีกาไมรับวินิจฉัย
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12434/2558 คําสั่งไมอนุญาตใหเลื่อนคดีและงดสืบพยานจําเลยของศาล
ชั้นตนเปนคําสั่งระหวางพิจารณา จําเลยจะอุทธรณคําสั่งไดจะตองโตแยงคําสั่งนั้นไว และตองอุทธรณคําสั่ง
หลังจากที่ศาลชั้นตนมีคําพิพากษาแลวตาม ป.วิ.พ. มาตรา 226 วรรคหนึ่ง แตจําเลยมิไดโตแยงคําสั่งระหวาง
พิจารณานั้น จึงตองหา มมิใหอุทธรณต ามบทกฎหมายดั งกลาว แมศาลชั้น ตน จะมีคําสั่ งรั บอุทธรณในสว น
อุทธรณคําสั่งของจําเลยไวดวย ศาลอุทธรณภาค 5 ก็ไมมีอํานาจวินิจฉัยอุทธรณของจําเลยในสวนนี้ได การที่
ศาลอุทธรณภาค 5 วินิจฉัยอุทธรณคําสั่งดังกลาวจึงไมชอบและถือวาปญหานี้ไมไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบ
ในศาลอุทธรณภาค 5 การที่จําเลยฎีกาปญหานี้ขึ้นมาจึงไมชอบดวย ป.วิ.พ. มาตรา 249 วรรคหนึ่ง
คําพิพากษาศาลฎีก าที่ 12386/2558 นอกจากคําฟองอุทธรณคําสั่งของลูกหนี้ที่ 1 มี ป. ลง
ลายมือชื่อเปนผูอุทธรณ โดยไมปรากฏวา ป. เปนทนายความของลูกหนี้ที่ 1 หรือเปนผูไดรับมอบอํานาจจาก
ลูกหนี้ที่ 1 ใหมีสิทธิดําเนินกระบวนพิจารณาแทนในศาล ทั้งไมปรากฏวาในสํานวนคําขอรับ ชําระหนี้ของ
เจาหนี้รายนี้ ลูกหนี้ที่ 1 ไดอางสงหนังสือมอบอํานาจที่มีระบุให ป. มีอํานาจยื่นอุทธรณแทนลูกหนี้ที่ 1 และ
หนังสือมอบอํานาจปดอากรแสตมปครบถวน ที่อยูในฐานะคูความซึ่งมีอํานาจยื่นคําฟองอุทธรณตอศาลไดแลว
ป. ยังลงลายมือชื่อเปนผูเรียงคําฟองอุทธรณซึ่งตาม พ.ร.บ.ทนายความ พ.ศ.2528 มาตรา 33 บัญญัติวา
"หามมิใหผูซึ่งไมไดจดทะเบียนและรับใบอนุญาต หรือผูซึ่งขาดจากการเปนทนายความหรือตองหามทําการเปน
ทนายความวาความในศาล หรือแตงฟอง คําใหการ ฟองอุทธรณ แกอุทธรณ ฟองฎีกา แกฎีกา คํารองหรือคํา
แถลงอันเกี่ยวแกการพิจารณาคดีในศาลใหแกบุคคลอื่น ทั้งนี้ เวนแตจะไดกระทําในฐานะเปนขาราชการผู
ปฏิบัติการตามหนาที่หรือเปนเจาหนาที่ของหนวยงานของรัฐ องคการของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ ผูปฏิบัติการตาม
หนาที่ หรือมีอํานาจหนาที่กระทําไดโดยบทบัญญัติแหงกฎหมายวาดวยวิธีพิจารณาความหรือกฎหมายอื่น"
และการฝาฝนมาตรา 33 นี้ มีโทษทางอาญาตามมาตรา 82 แหงพระราชบัญญัติดังกลาว เมื่อไมปรากฏวา ป.
เปนผูซึ่งไดจดทะเบียนและรับใบอนุญาตเปนทนายความหรือเปนบุคคลซึ่งอยูในขอยกเวนตามมาตรา 33 การ
ที่ ป. เรี ย งคําฟองอุทธรณคําสั่ งให ลู กหนี้ ที่ 1 จึงเป น การฝ าฝ นต อบทบัญญัติ ดั งกล าวด วย ดั งนั้ น คําฟอง
อุทธรณคําสั่งของลูกหนี้ที่ 1 จึงไมชอบดวยกฎหมาย

37 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12384/2558 การที่ลูกหนี้รวมตามคําพิพากษาซึ่งเปนผูค้ําประกันหนี้ของ
ลูกหนี้ชั้นตนรวมกับจําเลยในคดีนี้ ชําระหนี้บางสวนใหแกเจาหนี้และเจาหนี้มีหนังสือปลดภาระหนี้ใหแกลูกหนี้
รวมตามคําพิพากษารายนั้นแลวก็ตาม หนังสือดังกลาวเปนเพียงการแสดงเจตนาของเจาหนี้วาไมประสงคที่จะ
เรียกใหลูกหนี้รวมตามคําพิพากษารายนั้นชําระหนี้ตามคําพิพากษาแกเจาหนี้จนสิ้นเชิง ตาม ป.พ.พ. มาตรา
291 เทานั้น ไมมีผลทําใหจําเลยในคดีนี้ซึ่งเปนลูกหนี้รวมตามคําพิพากษาหลุดพนจากความรับผิดในหนี้สวนที่
เหลือภายหลังหักชําระหนี้แตอยางใดเพราะหนี้ตามคําพิพากษายังมิไดชําระโดยสิ้นเชิง จําเลยจึงตองรับผิด
ชําระหนี้สวนที่เหลือแกเจาหนี้
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12352/2558 การระบุวัน เดือน ปในหนังสือมอบอํานาจเปนการมุงหมาย
ใหทราบวามีการมอบอํานาจเมื่อใดเพื่อแสดงวาขณะตัวแทนทําการนั้นตัวแทนมีอํานาจหรือไม
แมหนังสือมอบอํานาจจะไมไดลงวัน เดือน ป ส. ผูลงลายมือชื่อในคําฟองในฐานะเปนผูแทนโจทกโดย
แนบหนังสือมอบอํานาจมาทายคําฟอง ซึ่งหนังสือมอบอํานาจระบุวาโจทกมอบอํานาจให ส. ฟองจําเลยโดยให
มีอํานาจถอนฟองและประนีประนอมยอมความ จึงเปนที่เขาใจอยูในตัววาโจทกมอบอํานาจกอนหรืออยางนอย
ในวันที่ ส. ฟองคดีตอศาลแรงงานกลางนั้นเอง ส. จึงมีอํานาจฟองและดําเนินกระบวนพิจารณาตามที่โจทกระบุ
ไวในหนังสือมอบอํานาจ การที่ ส. แถลงขอถอนฟองซึ่งกระทําไดตามหนังสือมอบอํานาจและศาลแรงงานกลาง
อนุญาตจึงไมใชการดําเนินกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบ
ตามรายงานกระบวนพิจารณาของศาลแรงงานกลางที่ระบุวา "ไกลเกลี่ยแลว" หมายถึง ไกลเกลี่ยโดย
องคคณะผูพิพากษาที่ลงลายมือชื่อในรายงานกระบวนพิจารณาคือผูพิพากษาศาลแรงงานกลาง ผูพิพากษา
สมทบฝายนายจาง และผูพิพากษาสมทบฝายลูกจาง ตาม พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน
พ.ศ.2522 มาตรา 17
การไกลเกลี่ยตามมาตรา 38 วรรคหนึ่ง มีวัตถุประสงคหลักใหคดีระงับโดยนายจางและลูกจางมีความ
เขาใจอันดีตอกันเพื่อที่ทั้งสองฝายจะไดมีความสัมพันธกันตอไป โดยการตกลงหรือประนีประนอมยอมความนั้น
ตองเปนไปดวยความสมัครใจของทั้งสองฝาย แตหากนายจางกับลูกจางไมสมัครใจที่จะใหมีความสัมพันธใน
ฐานะนายจางลูกจางกันตอไป บทบัญญัตินี้ก็ไมไดหามมิใหนายจางและลูกจางตกลงกันหรือประนีประนอมยอม
ความกันเปนอยางอื่น การที่ศาลแรงงานกลางไกลเกลี่ยแลวผูรับมอบอํานาจโจทกกับผูรับมอบอํานาจจําเลยตก
ลงกันโดยฝายจําเลยตกลงจายเงินชวยเหลือใหโจทกและโจทกถอนฟองซึ่งเปนขอตกลงที่ไมขัดตอกฎหมาย การ
ไกลเกลี่ยของศาลแรงงานกลางจึงไมใชกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบ
ในชั้นไกลเกลี่ยศาลแรงงานกลางยังไมไดรับฟงขอเท็จจริงอันเปนฐานที่จะวินิจฉัยวาโจทกมีสิทธิไดรับ
คาชดเชยหรือไมเพียงใด เงินที่จําเลยตกลงจายใหโจทกระบุชัดเจนวาเปน "เงินชวยเหลือ" ไมใชคาชดเชย การที่
ศาลแรงงานกลางไกลเกลี่ยจึงไมใชการไกลเกลี่ยใหโจทกซึ่งเปนลูกจางไดรับเงินต่ํากวาคาชดเชยตามกฎหมาย

38 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12346/2558 ป.พ.พ. มาตรา 1474 (2) บัญญัติวา สินสมรสไดแก
ทรัพยสินที่ฝายใดฝายหนึ่งไดมาระหวางสมรสโดยพินัยกรรมหรือโดยการใหเปนหนังสือ เมื่อพินัยกรรมหรือ
หนังสือยกใหระบุวาเปนสินสมรส จึงเปนกรณีที่กฎหมายกําหนดชัดเจนแลววา หากผูใหทรัพยสินแกสามีหรือ
ภริยาคนใดคนหนึ่งในระหวางสมรสประสงคจะยกใหเปนสินสมรส ผูยกใหตองระบุไวในหนังสือยกใหใหชัดเจน
และกฎหมายมิไดจํากัดวาตองเปนการยกใหโดยเสนหาเทานั้น ที่ ป.พ.พ. มาตรา 1471 (3) บัญญัติวา สิน
สวนตัวไดแก ทรัพยสินที่ฝายใดฝายหนึ่งไดมาในระหวางสมรสโดยการรับมรดกหรือโดยการใหโดยเสนหานั้น
เปนการขยายความวา เมื่อเปนการใหไมวาจะเปนการใหโดยเสนหาหรือไม ผูใหตองระบุใหชัดแจงวาประสงค
จะใหเปนสินสมรส ดังนั้น เมื่อขอเท็จจริงรับฟงเปนยุติวา น. บิดาของจําเลยที่ 1 ทําหนังสือยกที่ดินพิพาท
ใหแกจําเลยที่ 1 โดยเสนห า โดยไมไดระบุวาเปนสิ นสมรสก็ตองถือเปนสินสว นตัวของจําเลยที่ 1 แมจะมี
ขอเท็จจริงตามที่โจทกนําสืบวา น. ยกที่ดินพิพาทใหแกจําเลยที่ 1 โดยมีเงื่อนไขและคาตอบแทนเนื่องจาก
โจทก แ ละจํ า เลยที่ 1 นํ า เงิ น ไปชํ า ระหนี้ เ พื่ อ ไถ ถ อนจํ า นองที่ ดิ น พิ พ าทตามคํ า ขอร อ งของ น. ก็ ไ ม มี ผ ล
เปลี่ยนแปลงผลตามกฎหมายที่บัญญัติไวชัดแจงแลวได สวนที่ดินที่แบงแยกจากที่ดินพิพาทหลังจากไดรับการ
ยกใหมาแลวก็ยอมเปนสินสวนตัวของจําเลยที่ 1 เชนกัน
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12339/2558 เมื่อโจทกขอใหเจาพนักงานบังคับคดี สํานักงานบังคับคดี
จังหวัดสมุทรปราการ อายัดเงินที่จําเลยที่ 2 จะไดรับจากการเฉลี่ยทรัพยในคดีหมายเลขแดงที่ 299/2546
ของศาลจังหวัดสมุทรสาคร เจาพนักงานบังคับคดี สํานักงานบังคับคดีจังหวัดสมุทรปราการดําเนินการให กรณี
ฟงไดวา จําเลยที่ 2 ถูกบังคับคดีตามหมายบังคับคดีของศาลจังหวัดสมุทรปราการ ทางนําสืบของโจทกจึงตอง
ดวยขอสันนิษฐานตาม พ.ร.บ.ลมละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 8 (5) วาจําเลยที่ 2 มีหนี้สินลนพนตัว เนื่องจาก
การยึดหมายความรวมถึงการอายัดดวย
คํา พิพากษาศาลฎี กาที่ 12269/2558 จํ าเลยที่ 2 รู อยู กอนแลว วา ฉ. จะไปทําบัต รประจําตั ว
ประชาชนในชื่อของ ก. การที่จําเลยที่ 2 ขอรองใหจําเลยที่ 1 ชวยเปนผูรับรองเปนเหตุให ฉ. สามารถทําบัตร
ประจําตัวประชาชนไดสําเร็จ ถือเปนการใหความชวยเหลือ ฉ. ขณะกระทําความผิดจําเลยที่ 2 จึงมีความผิด
ฐานสนับสนุน ฉ. ในการกระทําความผิดตาม พ.ร.บ.บัตรประชาชน พ.ศ.2526 ซึ่งศาลฎีกามีอํานาจลงโทษ
จําเลยที่ 2 ฐานเปนผูสนับสนุนการกระทําความผิดดังกลาวไดเพราะโทษเบากวาความผิดฐานเปนตัวการ ไมได
เปนการเกินคําขอหรือที่มิไดกลาวในฟองตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192 วรรคแรก
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12247/2558 แมการบังคับคดีตามคําพิพากษาตามสัญญาประนีประนอม
ยอมความกําหนดใหตองบังคับเอาแกทรัพยสินจํานองกอน หากไมครบจํานวนหนี้จึงจะบังคับเอาแกทรัพยสิน
อื่น เมื่อขอเท็จจริงฟงไดวา เจาพนักงานบังคับคดีประเมินราคาหองชุดทรัพยสินจํานองของจําเลยที่ 1 จํานวน
595,045 บาท และในวันที่โจทกยื่นคํารองขอใหยึดหองชุดของจําเลยที่ 2 เพิ่มเติมจําเลยทั้งสองเปนหนี้ตาม
คําพิพากษา 1,346,641.92 บาท หากขายทอดตลาดหองชุดทรัพยสินจํานองของจําเลยที่ 1 ไปตามราคา
ดังกลาวก็ยังคงเหลือหนี้ตามคําพิพากษาอีกมากเพียงพอสมควรแกการใหยึดหองชุดของจําเลยที่ 2 เพื่อบังคับ
39 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
ชําระหนี้แกโจทกเพิ่มเติม และโจทกขอใหเจาพนักงานบังคับคดียึดหองชุดทรัพยสินจํานองของจําเลยที่ 1
ภายหลังจําเลยทั้งสองผิดนัดไมชําระหนี้ตามสัญญาประนีประนอมยอมความประมาณ 2 ป 6 เดือน แตยังขาย
ไมได ถือไดวาโจทกขอบังคับคดีแกทรัพยจํานองภายในเวลาอันสมควร ประกอบกับจําเลยที่ 1ถูกพิทักษทรัพย
เด็ดขาดเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2555 ทําใหการจัดการทรัพยสินของจําเลยที่ 1 อาจลาชา นอกจากนี้ หากตอง
รอใหมีการขายทอดตลาดหองชุดทรัพยสินจํานองของจําเลยที่ 1 เสร็จกอนถึงจะกลับมายึดทรัพยสินอื่นไดก็
เกื อ บครบ 10 ป นั บ แต วั น มีคํ า พิ พ ากษาเป น เหตุ ใ ห โ จทก อ าจเสี ย สิ ท ธิ ใ นการบั ง คั บ คดี ทั้ ง ๆ ที่ก ารขาย
ทอดตลาดทรัพยสินจํานองยังไมเสร็จสิ้นนั้นมิใชเกิดจากความผิดของโจทก การยึดหองชุดของจําเลยที่ 2 ไว
กอนแตยังไมตองนําออกขายจนกวามีการขายทอดตลาดทรัพยสินจํานองเสร็จสิ้นและไดเงินไมพอชําระหนี้จึง
คอ ยนํ าห อ งชุ ด ของจํ า เลยที่ 2 ออกขายทอดตลาดก็ ไ มขั ด ต อขั้ น ตอนการบั ง คั บ คดี ต ามคํ า พิพ ากษาและ
กอใหเกิดความเปนธรรมแกทุกฝาย โจทกจึงมีสิทธินํายึดหองชุดของจําเลยที่ 2 เพิ่มเติมได
เมื่อเจาหนี้ตามคําพิพากษาไดรองขอใหบังคับคดีภายใน 10 ป นับแตวันมีคําพิพากษาแลว หลังจาก
นั้นเจาพนักงานบังคับคดีก็มีสิทธิดําเนินการบังคับคดีตอไปจนเสร็จสิ้น แมจะพนกําหนดเวลา 10 ป ดังกลาว
แลวก็ตามหรือไมทําใหเจาหนี้ตามคําพิพากษาหมดสิทธิในการบังคับคดีเอาแกทรัพยสินที่ยึดหรืออายัดไวให
เสร็จแตอยางใด ดังนั้น เมื่อศาลฎีกาใหโจทกมีสิทธินํายึดหองชุดของจําเลยที่ 2 เพิ่มเติม กรณีถือไดวาโจทกได
ปฏิบัติตามขั้นตอนครบถวนภายในเวลาการบังคับคดีแลว จึงไมมีเหตุขยายระยะเวลาบังคับคดีใหแกโจทก
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12170/2558 แมจําเลยจะไมใชคูความซึ่งเปนฝายชนะคดีหรือเจาหนี้
ตามคําพิพากษาที่มีสิทธิขอใหบังคับคดีตาม ป.วิ.พ. มาตรา 271 แตกรณีนี้เปนเรื่องที่ศาลพิพากษาใหโจทก
และจําเลยแบงแยกกรรมสิทธิ์รวมตามขอตกลงเรื่องกรรมสิทธิ์รวมฉบับลงวันที่ 24 กุมภาพันธ 2524 และ
แผนที่ดานหลังบันทึกดังกลาว ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1364 วรรคหนึ่ง ซึ่งโจทกและจําเลยตางมีภาระรวมกันที่
จะตองไปดําเนินการแบงแยกที่ดินใหเปนไปตามคําพิพากษา เมื่อคํารองของจําเลยฉบับลงวันที่ 11 เมษายน
2554 ที่ขอใหบังคับโจทกปฏิบัติตามคําพิพากษาเปนคํารองที่สืบเนื่องมาจากคํารองฉบับลงวันที่ 1 กรกฎาคม
2551 ที่จําเลยยื่นตอศาลขอใหออกหมายเรียกโจทกและเจาพนักงานที่ดินมาสอบถามเรื่องที่โจทกไมยอมลง
ลายมือชื่อรับทราบผลการรังวัดแบงแยกกรรมสิทธิ์รวมอันเปนเหตุขัดของทําใหเจาพนักงานที่ดินไมอาจออก
โฉนดที่ดินใหแกจําเลยได จึงเปนกรณีที่ปรากฏขอเท็จจริงในเบื้องตนวาโจทกไมใหความรวมมือในการแบงแยก
ที่ดิน ยอมถือวามีเหตุขัดของ ทําใหไมอาจปฏิบัติตามคําพิพากษาของศาลได ศาลชั้นตนควรตองสอบถามให
โจทกและจําเลยกอนไมควรดวนยกคํารองของจําเลยไปเสียทีเดียว
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12167/2558 ตาม พ.ร.บ.ลมละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 90/39 วรรค
หนึ่ง วรรคสอง วรรคหาและวรรคหก บัญญัติใหเจาพนักงานพิทักษทรัพยเปนผูดําเนินการทวงหนี้ ขอออกคํา
บังคับและขอออกหมายบังคับคดีตอศาล เพื่อบังคับตามสิทธิเรียกรองที่เกิดขึ้นกอนศาลมีคําสั่งใหฟนฟูกิจการ
ของลูกหนี้ตามที่ผูทําแผนหรือผูบริหารแผนแจง อันเปนอํานาจและหนาที่โดยเฉพาะของเจาพนักงานพิทักษ
ทรัพยที่จะตองดําเนินการ แมเจาพนักงานพิทักษทรัพยจะขอใหศาลออกคําบังคับและสงคําบังคับเพื่อบังคับคดี
40 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
แกผูถูกทวงหนี้ไวแลวโดยชอบก็ตาม แตลูกหนี้ก็ไมมีสิทธิขอใหศาลออกหมายบังคับคดีตามมาตรา 90/39
วรรคหก ได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12164/2558 ขอเท็จจริงฟงไดวาเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2543 จําเลยยื่น
คําขอรับชําระหนี้ในการฟนฟูกิจการของบริษัท พ. (เจาหนี้รายที่ 131) จํานวน 5,067,601,483.97 บาท
ผูทําแผนของบริษัท พ. โต แยงคําขอรั บ ชํ าระหนี้ ดั งกล าว ตอมาจํ าเลยขอถอนคําขอรั บ ชําระหนี้ บ างส ว น
คงเหลือหนี้ที่ขอรับชําระหนี้ในการฟนฟูกิจการของบริษัท พ. จํานวน 1,589,191,974.13 บาท ตอมาวันที่
5 และ 30 กันยายน 2544 ผูบริหารแผนของจําเลยมีหนังสือถึงบริษัท พ. เพื่อขอหักกลบลบหนี้ตามคําขอรับ
ชําระหนี้ของบริษัท พ. เจาพนักงานพิทักษทรัพยมีคําสั่งยกคํารอง จําเลยอุทธรณตอศาลฎีกา ศาลฎีกาวินิจฉัย
วาสิทธิเรียกรองของจําเลยในหนี้ดังกลาวยังมีขอตอสูอยูเนื่องจากบริษัท พ. โตแยงคําขอรับชําระหนี้ของจําเลย
และยังอยูในระหวางการดําเนินการตามขั้นตอนของ พ.ร.บ.ลมละลาย พ.ศ.2483 จึงไมอาจจะเอามาหักกลบ
ลบหนี้ไดตาม ป.พ.พ. มาตรา 344 ตอมาเมื่อเจาพนักงานพิทักษทรัพยมีคําสั่งใหจําเลยไดรับชําระหนี้ในการ
ฟนฟูกิจการของบริษัท พ. ในมูลหนี้คากอสรางคางจายและเงินทดรองจายคางจาย การคืนเงินค้ําประกันและ
มั ด จํ า ต า ง ๆ เงิ น ชดเชยความเสี ย หายตามสั ญ ญารั บ จ า งช ว งลงวั น ที่ 1 ตุ ล าคม 2552 เป น เงิ น ทั้ ง สิ้ น
1,389,191,974.13 บาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 7.5 ตอป ของต นเงิน 1,388,831,921.18
บาท นับแตวันถัดจากวันที่ศาลมีคําสั่งใหฟนฟูกิจการของลูกหนี้เปนตนไปจนกวาชําระเสร็จ หนี้ของจําเลยจึงไม
มีขอตอสูแลว ดังนั้น เมื่อผูบริหารแผนของจําเลยมีหนังสือลงวันที่ 16 มีนาคม 2547 ถึงผูบริหารแผนของ
บริษัท พ. เพื่อขอหักกลบลบหนี้อีกครั้ง การแสดงเจตนาดังกลาวจึงมีผลยอนหลังขึ้นไปจนถึงเวลาซึ่งหนี้ทั้งสอง
ฝายจะอาจหักกลบลบกันไดเปนครั้งแรก ซึ่งคือ วันที่ 5 และ 30 กันยายน 2544 อันเปนเวลากอนที่ศาลฎีกา
มีคําพิพากษากลับคําสั่งศาลลมละลายกลางเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2545 เปนเห็นชอบดวยแผนฟนฟูกิจการ
ของบริษัท พ. ทั้งสิทธิเรียกรองของจําเลยและบริษัท พ. ตางเกิดกอนวันที่ศาลมีคําสั่งใหฟนฟูกิจการของบริษัท
พ. (วัน ที่ 12 มิถุน ายน 2543) ผู บริ หารแผนของจํ าเลยจึงชอบที่จะใช สิทธิหั กกลบลบหนี้ ตาม พ.ร.บ.
ลมละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 90/33 ได ดังนั้น มูลหนี้ของบริษัท พ. จึงหมดสิ้นไปตั้งแตวันที่แจงหักกลบลบ
หนี้ครั้งแรก เมื่อบริษัท พ. ไดรับชําระหนี้ในการฟนฟูกิจการของจําเลยโดยการหักกลบลบหนี้ไปแลว บริษัท พ.
จึ ง ไม มี สิ ท ธิ เ รี ย กร อ งตามมู ล หนี้ ดั งกล า วที่จ ะทํ า สั ญ ญาซื้ อขายในวั น ที่ 31 ตุ ล าคม 2548 และโอนสิ ท ธิ
เรียกรองนั้นใหแกโจทกตอไป การที่จําเลยใชสิทธิหักกลบลบหนี้ในการชําระหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการใหแก
บริษัท พ. จึงชอบแลว
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12156/2558 เมื่อศาลฎีกาไดวินิจฉัยปญหาขอกฎหมายที่วาศาลชั้นตนนับ
โทษจําคุกคดีนี้ตอจากโทษจําคุกในคดีอาญาอีกคดีชอบหรือไม และถึงที่สุดแลว จําเลยจะยื่นคํารองตอศาล
ชั้นตนขอใหเพิกถอนการนับโทษตอและออกหมายจําคุกเมื่อคดีถึงที่สุดใหแกจําเลยใหมโดยอาง ป.วิ.อ. มาตรา
160 และ ป.อ. มาตรา 91 อีกไมได เพราะหากศาลฎีกาฟงตามที่จําเลยอางแลววินิจฉัยใหเพิกถอนการนับ

41 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


โทษตอและออกหมายจําคุกเมื่อคดีถึงที่สุดใหแกจําเลยใหม ยอมมีผลเปนการแกไขคําพิพากษาศาลฎีกา ขัดตอ
ป.วิ.อ.
คํ า พิพ ากษาศาลฎี ก าที่ 12152/2558 คดี ร อ งขอคืน ของกลางที่ศ าลสั่ ง ริ บ นั้ น ประเด็ น ที่ต อ ง
วินิจฉัยตามคํารองของผูรองมีเพียงวาศาลจะสั่งคืนอาวุธปนของกลางใหแกเจาของซึ่งมิไดรูเห็นเปนใจดวยใน
การกระทําความผิดของจําเลยหรือไมเทานั้นสว นอาวุธป นของกลางเปน อาวุธปน ที่มีเครื่ องหมายทะเบีย น
หรือไมยุติไปตามคําพิพากษาศาลชั้นตนในคดีหลักซึ่งถึงที่สุดแลว ที่ผูรองทั้งสองอางวา ผูรองที่ 1 ใหจําเลยยืม
อาวุธปนของกลาง สวนผูรองที่ 2 ฝากอาวุธปนของกลางอีกกระบอกหนึ่งใชกับจําเลย เมื่อผูรองทั้งสองทราบ
วาจําเลยถูกดําเนินคดีเกี่ยวกับอาวุธปนของกลาง ผูรองทั้งสองยอมนําใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนของกลาง
ใหจําเลยตอสูในคดีหลักเพื่อพิสูจนวาอาวุธปนของกลางเปนอาวุธปนที่มีเครื่องหมายทะเบียนหรือไมได เมื่อ
จําเลยไมไดตอสูในคดีหลัก ผูรองทั้งสองจะยกประเด็นดังกลาวขึ้นมาในคํารองขอคืนของกลางตอไปอีกไมได
ป.อ. มาตรา 36 บัญญัติวา "ในกรณีที่ศาลสั่งใหริบทรัพยสินตามมาตรา 33 หรือมาตรา 34 ไปแลว
หากปรากฏในภายหลังโดยคําเสนอของเจาของที่แทจริงวา ผูเปนเจาของที่แทจริงมิไดรูเห็นเปนใจดวยในการ
กระทําความผิด ก็ใหศาลสั่งใหคืนทรัพยสิน..." เมื่อคดีหลักของคดีนี้ ศาลชั้นตนมีคําพิพากษาใหริบอาวุธปนของ
กลางตาม ป.อ. มาตรา 32 ตามคําขอทายฟองของโจทก ผูรองทั้งสองจึงไมมีอํานาจยื่นคําขอใหคืนอาวุธปน
ของกลางตามบทบัญญัติดังกลาวขางตนได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12142/2558 คําสั่งของศาลชั้นตนที่ไมเพิกถอนกระบวนพิจารณาคําสั่งคดี
มีมูล เปนคําสั่งระหวางพิจารณาที่ไมทําใหคดีของจําเลยเสร็จสิ้นไป เพราะศาลชั้นตนยังตองดําเนินกระบวน
พิจารณาสืบพยานโจทกและจําเลยตอไป จึงหามมิใหอุทธรณคําสั่งนั้นจนกวาจะมีคําพิพากษาหรือคําสั่งใน
ประเด็นสําคัญตาม ป.วิ.อ. มาตรา 196
***คํ า พิพากษาศาลฎี ก าที่ 12137/2558 ความผิ ด ฐานปลอมเอกสารต องเป น การกระทําต อ
เอกสารอันเปนผลใหเอกสารนั้นผิดแผกแตกตางไป ดวยเจตนาใหผูหนึ่งผูใดหลงเชื่อวาเอกสารนั้นเปนเอกสารที่
แทจริง แมสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนจะเปนเอกสารราชการ แตขอเท็จจริงไดความวามีเพียงการปลอม
ลายมือชื่อของโจทกรวมลงในสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนที่แทจริงของโจทกรวม โดยไมมีการเติมหรือตัด
ทอนขอความ หรือแกไขสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนใหแตกตางไปจากสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนนี้แต
อยางใด สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนดังกลาวยังคงเปนเอกสารที่แทจริง การปลอมลายมือชื่อโจทกรวมลงใน
สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนจึงเปนเพียงการปลอมเอกสารตาม ป.อ. มาตรา 264 วรรคแรก เทานั้น เมื่อ
จําเลยใชสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของโจทกรวมดังกลาว จึงไมเปนความผิดฐานใชเอกสารราชการปลอม
คงมีความผิดฐานใชเอกสารปลอมตาม ป.อ. มาตรา 268 วรรคแรก ประกอบมาตรา 264 วรรคแรก
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12091/2558 กอนจับกุมโจทกทั้งสองไดมีการจับกุม ช. กับพวกใน
ขอหาลักทรัพยในเวลากลางคืน ช. ใหการวาโจทกทั้งสองเปนผูใชจางวาน จึงมีการสอบสวน ขยายผลและ
42 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
จับกุมโจทกทั้งสองมาลงบันทึกประจําวันไว และตามสําเนารายงานประจําวันเกี่ยวกับคดีระบุวา พันตํารวจเอก
ส. ผูกํากับการสถานีตํารวจนครบาลพระโขนง สั่งใหจําเลยทั้งสิบสามซึ่งเปนเจาหนาที่ฝายสืบสวนปราบปราม
นําตัว ช. ไปสอบสวนขยายผล โดยนั ดโจทกที่ 2 มารับ รถยนต ที่หน าห างสรรพสิน คา ซึ่งเป น เรื่ องจํ าเป น
เรงดวนหากตองไปขอหมายจับจากศาลชั้นตนแลวผูรวมกระทําความผิดอาจหลบหนีไปไดตาม ป.วิ.อ. มาตรา
78 (3) ทั้งรถที่ถูกลักอยูที่บานของโจทกที่ 2 และโจทกที่ 2 เปนผูพาเจาพนักงานตํารวจไปทําการตรวจคนเอง
จึงไมจําตองขอหมายคนจากศาลตาม ป.วิ.อ. มาตรา 92 (4) และมาตรา 94 การกระทําของจําเลยทั้งสิบสาม
เปนการปฏิบัติหนาที่ตามคําสั่งของผูบังคับบัญชาผูมีอํานาจสั่งการโดยชอบ จึงไมมีความผิดฐานปฏิบัติหนาที่
โดยมิชอบตาม ป.อ. มาตรา 157
ฟองของโจทกทั้งสองมิไดบรรยายถึงขอเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องที่จําเลยทั้งสิบสามรวมกันทํารายรางกาย
โจทกทั้งสองขณะโจทกทั้งสองถูกควบคุมตัว ฟองของโจทกทั้งสองจึงมิไดบรรยายถึงการกระทําที่อางวาจําเลย
ทั้งสิบสามกระทําความผิด เปนฟองที่ไมชอบดวย ป.วิ.อ. มาตรา 158 (5)
การที่จําเลยทั้งสิบสามจับกุมโจทกทั้งสองสืบเนื่องจากคําซัดทอดของ ช. กับพวก ตอมามีการแจง
ขอหาและทําหลักฐานการจับกุม การระบุวันที่จับกุมและบันทึกคําใหการชั้นสอบสวนคลาดเคลื่อนไปบางเปน
เพียงรายละเอียด แต ส าระสําคัญมีความถูกตองตามพฤติ การณและขอเท็จจริ งที่เ กิด ขึ้น และมีการนําสื บ
พยานหลักฐานในชั้นพิจารณาไปตามขอเท็จจริงดังกลาว ซึ่งจําเลยทั้งสิบสามอาจเชื่อวาโจทกทั้งสองมีสวนรวม
ในการกระทําความผิดฐานลักทรัพย จึงมิใชเปนพยานหลักฐานเท็จ การกระทําของจําเลยทั้งสิบสามจึงไมมีมูล
ความผิดฐานแจงขอความอันเปนเท็จ ทําพยานหลักฐานอันเปนเท็จ หรือนําสืบพยานหลักฐานอันเปนเท็จตาม
ป.อ. มาตรา 162, 172, 173, 174, 179 และ 180
โจทกที่ 2 พาเจาพนักงานตํารวจไปตรวจคนที่บานของโจทกที่ 2 โดยความยินยอมของโจทกที่ 2 เอง
การกระทําของจําเลยทั้งสิบสามจึงไมมีมูลเปนความผิดฐานบุกรุกเคหสถานในเวลากลางคืนตาม ป.อ. มาตรา
365 (3) ประกอบมาตรา 362
ของกลางทั้งหมดเจาพนักงานตํารวจนําไปเปนของกลางคดีอาญา ทั้งโจทกทั้งสองไดอานขอความใน
บันทึกการจับกุมที่ระบุวามีการยึดเงินสด ธนบัตรฉบับละ 1,000 บาท 20 ฉบับ รวมเปนเงิน 20,000 บาท
แลวมิไดโตแยงวาจํานวนเงินดังกลาวไมถูกตองตรงกับความเปนจริงแตอยางใด เชื่อวาเจาพนักงานตํารวจ
บันทึกขอความในบันทึกการจับกุมโดยถูกตองแลว การกระทําของจําเลยทั้งสิบสามจึงไมมีมูลเปนความผิดฐาน
ปลนทรัพยตาม ป.อ. มาตรา 340
คํ า พิ พ ากษาศาลฎี ก าที่ 12079/2558 โจทก บ รรยายฟ อ งว า จํ า เลยชิ ง ทรั พ ย โ ดยลั ก กุ ญ แจ
รถจักรยานยนต 1 ดอก ของผูเสียหายไป ทางพิจารณาไดความวาผูเสียหายเก็บกระเปาสะพายไวใตเบาะ
รถจักรยานยนต จําเลยใชมีดทํารายผูเสียหาย ใหผูเสียหายเปดเบาะรถ ผูเสียหายจะดึงกุญแจรถจักรยานยนต
ออกจากตัวรถแตจําเลยเงื้อมีดขมขู ผูเสียหายจึงวิ่งหลบหนี จากนั้นจําเลยใชกุญแจรถดังกลาวไขเบาะรถแตไม
43 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
สามารถเปดได จําเลยจึงเอากุญแจรถดังกลาวไป พฤติการณแสดงวาจําเลยประสงคจะเอาทรัพยในกระเปา
สะพายเปนอันดับแรก เมื่อไมสามารถเปดเบาะรถจักรยานยนตไดจึงเอากุญแจรถจักรยานยนตอันเปนทรัพยอีก
ชิ้นหนึ่งไป เมื่อจําเลยประสงคตอทรัพยของผูเสียหาย แมจะไมสามารถเปดเบาะรถจักรยานยนตเพื่อเอาทรัพย
ในกระเปาสะพาย แตการกระทําของจําเลยเพื่อเอาทรัพยยังไมขาดตอน การที่จําเลยเอากุญแจรถจักรยานยนต
ของผูเสียหายไปยอมเปนการกระทําเพื่อแสวงหาประโยชนที่มิควรไดโดยชอบดวยกฎหมายสําหรับตนเองหรือ
ผูอื่นอันเปนการกระทําโดยทุจริต และเปนการลักทรัพยของผูเสียหายซึ่งโจทกไดกลาวในฟองแลว มิใชเปนเรื่อง
ขอเท็จจริงที่ปรากฏในการพิจารณาแตกตางกับขอเท็จจริงที่กลาวในฟอง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 11238/2558 โจทกฟองขับไลจําเลยทั้งหาออกจากที่ดินของโจทก จําเลย
ทั้งหาใหการและฟองแยงวา จําเลยทั้งหาอยูในที่ดินแปลงดังกลาวเปนสัดสวน เนื้อที่ 70 ตารางวา โดยความ
สงบและโดยเปดเผยดวยเจตนาเปนเจาของติดตอกันมาแลวเปนเวลาเกินกวาสิบปโดยมิไดอาศัยสิทธิของผูใด
ขอใหยกฟอง และพิพากษาวา ที่ดินพิพาทตกเปนกรรมสิทธิ์ของจําเลยทั้งหา ใหโจทกไปดําเนินการแบงแยก
ที่ดนิ และโอนกรรมสิทธิ์ใหแกจําเลยทั้งหา หากโจทกไมดําเนินการใหถือเอาคําพิพากษาของศาลแทนการแสดง
เจตนาของโจทก จึงเปนกรณีที่โจทกกับจําเลยทั้งหาโตเถียงความเปนเจาของกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทแปลง
เดียวกัน ฟองแยงของจําเลยทั้งหาจึงเกี่ยวกับคําฟองเดิม ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 177 วรรคสาม สวนคําขอทาย
ฟองแยงแมจะขอมาเปนขอเดียว แตแยกไดเปน 2 สวน คือ สวนแรกขอใหพิพากษาวาที่ดินพิพาทเนื้อที่ 70
ตารางวา ตกเปนกรรมสิทธิ์ของจําเลยทั้งหา กับสวนที่สองขอใหโจทกไปดําเนินการแบงแยกที่ดินพิพาทและ
โอนกรรมสิทธิ์ใหแกจําเลยทั้งหา ถึงแมคําขอทายฟองแยงสวนที่สองจะไมมีกฎหมายใหศาลบังคับโจทกปฏิบัติ
เชนนั้น ก็ชอบที่ศาลชั้นตนจะพิพากษายกฟองแยงในสวนที่สองเทานั้น แตศาลชั้นตนจะตองสั่งรับฟองแยงใน
สวนที่ขอใหพิพากษาวาจําเลยทั้งหาไดกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทเนื้อที่ 70 ตารางวา โดยการครอบครองปรปกษ
ไวพิจารณาและพิพากษาไปตามรูปคดี
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 11216/2558 ผูรองยื่นคํารองขอใหตั้งผูรองเปนผูจัดการมรดกของเจา
มรดกสามราย ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 4 จัตวา วรรคหนึ่ง บัญญัติวา "คํารองขอแตงตั้งผูจัดการมรดกใหเสนอตอ
ศาลที่เจามรดกมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาลในขณะถึงแกความตาย" แตเจามรดกทั้งสามรายมีภูมิลําเนาตางทองที่
กัน ตามมาตรา 5 บัญญัติวา "คําฟองหรือคํารองขอซึ่งอาจเสนอตอศาลไดสองศาลหรือกวานั้น ไมวาจะเปน
เพราะภูมิลําเนาของบุคคลก็ดี เพราะที่ตั้งของทรัพยสินก็ดี เพราะสถานที่ที่เกิดมูลคดีก็ดี หรือเพราะมีขอหา
หลายขอก็ดี ถามูลความแหงคดีเกี่ยวของกัน โจทกหรือผูรองจะเสนอคําฟองหรือคํารองขอตอศาลใดศาลหนึ่ง
เชนวานั้นได" เมื่อขอเท็จจริงไดความวาเจามรดกทั้งสามรายมีทรัพยสินอันเปนมรดกรวมกัน ยอมถือไดวาคํา
รองขอแตงตั้งผูจัดการมรดกของเจามรดกทั้งสามรายดังกลาวมีมูลความแหงคดีเกี่ยวของกันพอที่จะพิจารณา
รวมกันได ผูรองยอมมีอํานาจที่จะยื่นคํารองขอแตงตั้งผูจัดการมรดกของเจามรดกทั้งสามรายตอศาลชั้นตน
เดียวกัน

44 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 11198/2558 แมจําเลยทั้งสองจะมีเจตนาทํารายผูเสียหาย แตไมไดความ
วาจําเลยทั้งสองรูเห็นหรือคบคิดกับพวกของจําเลยทั้งสองที่เปนผูมีและพาอาวุธปนมายิงผูเสียหาย การที่พวก
ของจําเลยทั้งสองใชอาวุธปนยิงผูเสียหายจึงเปนการกระทําของพวกจําเลยทั้งสองโดยลําพังในขณะนั้นเอง ไม
อาจอนุมานไดวา จําเลยทั้งสองเปนตัวการรวมมีและพาอาวุธปน และฐานพยายามฆาผูเสียหาย จําเลยที่ 1 จึง
ไมมีความผิดฐานรวมมีและพาอาวุธปนและไมมีเจตนารวมในความผิดฐานพยายามฆา ดังนั้น แมพวกจําเลยที่
1 จะใชอาวุธปนยิงผูเสียหายโดยมีเจตนาฆาอันถือไดวามีการทํารายรางกายรวมอยูในการกระทําของพวก
จําเลยที่ 1 ดวยก็ตาม แตจําเลยที่ 1 ยอมไมตองรวมรับผิดในผลของการกระทําของพวกจําเลยที่ 1 ที่เปนผูใช
อาวุธปนยิงผูเสียหายดังกลาว เพราะเปนการกระทําคนละเจตนาและเกินขอบเขตเจตนาของจําเลยที่ 1 ที่มี
รวมกันมาตั้งแตตน จําเลยที่ 1 ยังคงตองรับผิดในการกระทําของจําเลยที่ 1 เทานั้น เมื่อโจทกไมบรรยายมาใน
คําฟองวา มีการทํารายรางกายผูเสียหายและผูเสียหายไดรับอันตรายจากการทํารายรางกายหรือไมอยางไร คง
บรรยายฟองวาผูเสียหายถูกคนรายใชอาวุธปนยิง กระสุนปนถูกผูเสียหาย ทําใหไดรับอันตรายสาหัส ดังนั้น แม
ขอเท็จจริงจะไดความจากทางนําสืบของโจทกวา จําเลยที่ 1 กับพวกใชขวดขวางผูเสียหายก็ตาม ศาลก็ไมอาจ
นําขอเท็จจริงดังกลาวมาลงโทษจําเลยที่ 1ในความผิดฐานทํารายรางกายผูเสียหายได เพราะเปนขอเท็จจริงที่
มิไดกลาวไวในฟอง ถือวาโจทกไมประสงคจะใหนําขอเท็จจริงดังกลาวมาลงโทษจําเลยที่ 1 ตาม ป.วิ.อ. มาตรา
192 วรรคสี่ แมป ญหาขอนี้ จํ าเลยที่ 1 จะไมย กขึ้นฎี กา แตเ ป นป ญหาขอกฎหมายที่เกี่ย วกับ ความสงบ
เรียบรอยของประชาชน ศาลฎีกามีอํานาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยและแกไขใหถูกตองได ปญหาขอนี้เปนเหตุอยูใน
สวนลักษณะคดี ศาลมีอํานาจพิพากษาตลอดไปถึงจําเลยที่ 2 ซึ่งเปนผูรวมกระทําผิดกับจําเลยที่ 1 ใหไดรับผล
ดุจจําเลยที่ 1 ผูฎีกาไดดวยตาม ป.วิ.อ. มาตรา 213 ประกอบมาตรา 225
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 11161/2558 ป.พ.พ. มาตรา 193/17 วรรคสอง บัญญัติวา "ใน
กรณีที่คดีนั้นศาลไมรับหรือคืนหรือใหยกคําฟองเพราะเหตุคดีไมอยูในอํานาจศาล หรือศาลใหยกคําฟองโดยไม
ตัดสิทธิโจทกที่จะฟองใหม และปรากฏวาอายุความครบกําหนดไปแลวในระหวางการพิจารณา หรือจะครบ
กําหนดภายในหกสิบวันนับแตวันที่คําพิพากษาหรือคําสั่งนั้นถึงที่สุด ใหเจาหนี้มีสิทธิฟองคดีเพื่อตั้งหลักฐาน
สิทธิเรียกรองหรือเพื่อใหชําระหนี้ภายในหกสิบวันนับแตวันที่คําพิพากษาหรือคําสั่งนั้นถึงที่สุด" มิไดหมายความ
ถึงกรณีที่ศาลไมรับหรือคืนหรือใหยกคําฟองเพราะเหตุคดีไมอยูในอํานาจศาลเทานั้น แตหากยังหมายถึงกรณีที่
ศาลใหยกคําฟองโดยไมตัดสิทธิโจทกที่จะฟองใหมดวย ซึ่งฟองแยงถือเปนคําฟองอยางหนึ่งตาม ป.วิ.พ. มาตรา
1 (3) การที่ศาลชั้นตนในคดีแพงหมายเลขดําที่ 525/2553 มีคําสั่งไมรับฟองแยงของจําเลย (โจทกในคดีนี้)
มีผลตาม ป.วิ.พ.มาตรา 177 วรรคสาม คือ เปนการไมรับหรือยกฟองแยงโดยจําเลย (โจทกในคดีนี้) มีสิทธิ
ตามกฎหมายที่จะฟองเปนคดีตางหากอยูแลว โดยเหตุนี้ศาลชั้นตนหาจําตองระบุวาไมตัดสิทธิโจทกที่จะฟองอีก
ไม เพราะเปนเรื่องที่โจทกก็มีสิทธิตามกฎหมายที่จะฟองเปนคดีตางหากอยูแลว ดังนั้น หากปรากฏวาอายุ
ความครบกําหนดไปแลวในระหวางการพิจารณา หรือจะครบกําหนดภายในหกสิบวันนับแตวันที่คําสั่งนั้นถึง
ที่สุด โจทกยอมมีสิทธิฟองคดีเพื่อตั้งหลักฐานสิทธิเรียกรองหรือเพื่อใหชําระหนี้ภายในหกสิบวันนับแตวันที่
คําสั่งนั้นถึงที่สุด
45 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 11118/2558 ในระหวางที่จําเลยที่ 1 รับจางทํางานใหแกสํานักงาน น.
ซึ่งเปนองคการมหาชนภายใตการกํากับดูแลของกระทรวง ว. นั้น โจทกรวมดํารงตําแหนงเปนผูอํานวยการ
สํานักงาน น. และในชวงระยะเวลาเดียวกันนั้น จําเลยที่ 1 รับจางทํางานใหแกศูนย พ. ซึ่งเปนองคการระหวาง
ประเทศที่ใหทุนสนับสนุนทางวิชาการดานเกษตรอินทรียแกสํานักงาน น. เพื่อดําเนินงานโครงการนวัตกรรม
เชิงยุทธศาสตรดานเทคโนโลยีชีวภาพในหัวขอ "การเพิ่มขีดความสามารถในการสงออกของภาคเกษตรอินทรีย
ไทย" (Strengthening the Export Capacity of Thailand's Organic Agriculture) โดยทั้งโจทกรวมและ
จําเลยที่ 1 รวมอยูในทีมงานซึ่งดําเนินงานตามโครงการนี้ดังนั้นไมวาการดําเนินงานตามโครงการนี้จะอยูใน
ขอบเขตการทํางานตามที่สํานักงาน น. วาจางจําเลยที่ 1 หรือไมก็ตาม เมื่อปรากฏชื่อโจทกรวมและจําเลยที่ 1
เปนผูรวมดําเนินโครงการนั้นยอมถือไดวาทั้งโจทกรว มและจําเลยที่ 1 เปนผูรว มดําเนิน งานตามโครงการ
ดังกล าว ซึ่งต อมาทีมดํ าเนิ น งานตามโครงการดังกล าวได จั ดทํารายงานฉบั บ สมบู ร ณขึ้น ทั้งภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษอันมีใจความสําคัญและรายนามผูเขียนรวมกันตรงกันกับบทความที่โจทกรวมและจําเลยที่ 1 ตาง
คนตางสงไปพิมพเผยแพรในวารสารทางวิชาการฉบับหนึ่ง คงมีความแตกตางในลําดับของรายนามผูเขียน ซึ่ง
โจทกรวมและจําเลยที่ 1 ตางก็โตแยงวาตนเองเปนผูเขียนหลักในบทความดังกลาว ดังนั้นเมื่อทั้งรายงานฉบับ
สมบูรณฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษรวมทั้งบทความที่โจทกรวมและจําเลยที่ 1 ตางคนตางสงไปพิมพ
เผยแพรในวารสารทางวิชาการดังกลาวมีรายนามผูเขียนรวมกัน 7 คน เหมือนกัน และมีชื่อทั้งโจทกรวมและ
จําเลยที่ 1 เปนผูเขียนรวมกันเหมือนกันโดยไมปรากฏขอเท็จจริงวาผูเขียนคนใดเขียนในเนื้อหาสวนใด จึงตอง
ฟงขอเท็จจริงวาบุคคลทั้งเจ็ดคนดังกลาวเปนผูเขียนบทความดังกลาวรวมกันทั้งหมด แมไมปรากฏขอเท็จจริง
วาจําเลยที่ 1 มีสวนเกี่ยวของใด ๆ กับการดําเนินการตามโครงการนวัตกรรม ชื่อ "โครงการวิเคราะหเชิงลึก
การผลิต หน อไมฝรั่งอิน ทรีย ตามกรอบยุ ทธศาสตร ดานเกษตรอินทรีย ของประเทศไทย" ที่บ ริษัท ส. ไดรั บ
ทุนอุดหนุนการดําเนินโครงการจากสํานักงาน น. แต เมื่อปรากฏวาหัว ขอโครงการที่บริษัท ส. ดําเนินการ
ดังกลาวมีความคลายคลึงกันกับหัวขอโครงการที่สํานักงาน น. ไดรับทุนสนับสนุนจากศูนย พ. ที่โจทกรวมและ
จําเลยที่ 1 รวมอยูในทีมดําเนินงาน และระยะเวลาการดําเนินโครงการของบริษัท ส. เปนชวงเวลาที่ใกลเคียง
กันกับระยะเวลาดําเนินโครงการของสํานักงาน น. ที่ไดรับทุนสนั บสนุนจากศูนย พ. และใกลเคียงกับชว ง
ระยะเวลาที่ทั้งโจทกรวมและจําเลยที่ 1 ตางคนตางสงไปพิมพเผยแพรในวารสารทางวิชาการ จึงมีเหตุผลให
จําเลยที่ 1 เชื่อวาเนื้อหาการดําเนินโครงการของบริษัท ส. ดังกลาวอาจมีความทับซอนกันกับเนื้ อหาการ
ดําเนินโครงการตามรายงานฉบับสมบูรณที่มีชื่อโจทกรวมและจําเลยที่ 1 พรอมทั้งทีมงานจัดทําขึ้น เมื่อปรากฏ
ขอเท็จจริงวาโจทกรวมทําดุษฎีนิพนธในการศึกษาระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตในหัวขอดุษฎีนิพนธที่มีความ
ใกลเคียงกันกับหัวขอดําเนินงานวิจัยในโครงการที่สํานักงาน น. ไดรับทุนสนับสนุนจากศูนย พ. ที่โจทกรวมและ
จําเลยที่ 1 อยูในทีมดําเนินงาน และคลายคลึงกันกับหัวขอบทความที่โจทกรวมและจําเลยที่ 1 ตางคนตาง
สงไปพิมพเผยแพรที่วารสารทางวิชาการ ทั้งยังเปนชวงระยะเวลาเดียวกันทั้งหมด โดยเอกสารทางวิชาการที่
กลาวถึงทั้งหมดนั้นมีเนื้อหาอันเปนใจความสําคัญเหมือนกันโดยบรรณานุกรมของดุษฎีนิพนธที่โจทกรวมทําขึ้น
ก็อางอิงถึงรายงานฉบับสมบูรณที่โจทกรวมและจําเลยที่ 1 พรอมทั้งทีมงานไดจัดทําขึ้นดวย ทั้งยังไดความอีก

46 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


ดวยวา จําเลยที่ 1 สนใจศึกษาตอระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตโดยจะเสนอหัวขอดุษฎีนิพนธเกี่ยวกับเกษตร
อินทรียซึ่งจําเลยที่ 1 เคยสงบทความทางวิชาการพิมพเผยแพรในวารสารทางวิชาการมาแลวนั้น แตอาจารยที่
ปรึกษาของจําเลยที่ 1 แจงวา ไมสามารถกระทําการดังกลาวได ดังนั้นเมื่อจําเลยที่ 1 ทราบขอเท็จจริงวาโจทก
รวมซึ่งเปนผูรวมดําเนินงานโครงการวิจัยและมีชื่อจําเลยที่ 1 เปนผูเขียนรวมกันในบทความทางวิชาการที่มีการ
พิมพเผยแพรในวารสารทางวิชาการกอนที่โจทกรวมจะสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตทําดุษฎี
นิพนธในหัวขอที่ใกลเคียงกัน ยอมมีเหตุผลใหจําเลยที่ 1 เชื่อไดวาโจทกรวมนําผลงานทางวิชาการที่จําเลยที่ 1
เปนผูรวมวินิจฉัยและรวมเขียนบทความไปใชในการเขียนดุษฎีนิพนธของโจทกรวม ทั้งนี้ไมวาจําเลยที่ 1 จะ
เปนเจาของลิขสิทธิ์หรือเจาของลิขสิทธิ์รวมในผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวของตามที่กลาวอางถึงขางตนหรือไม
แตเมื่อจําเลยที่ 1 มีชื่อเปนผูเขียนรวมในผลงานทางวิชาการที่กลาวอางถึงดังกลาว จึงถือไดวาจําเลยที่ 1 อยู
ในฐานะผูสรางสรรครวม ทั้งในวงวิชาการนั้นพึงมีบรรทัดฐานดานจรรยาบรรณของนักวิชาการในระดับสากล
เชนเดียวกัน กลาวคือ การที่โจทกรวมซึ่งเปนผูวิจัยหรือผูเขียนผลงานทางวิชาการนําผลงานทางวิชาการของผู
สรางสรรครวมกันมาใชในผลงานทางวิชาการของตน ก็ควรอยางยิ่งที่โจทกรวมจะไดบอกกลาวผูสรางสรรค
รวมกันทุกคนรวมทั้งจําเลยที่ 1 วาจะนําบทความที่เขียนรวมกันนั้นไปใชในดุษฎีนิพนธของโจทกรวม และเมื่อ
โจทกฟองวา จําเลยที่ 1 รวมกับจําเลยที่ 2 และที่ 3 กระทําความผิดฐานหมิ่นประมาทโจทกรวม โดยในสวน
ของจําเลยที่ 1 คือการกระทําในสวนที่ใหสัมภาษณแกจําเลยที่ 2 แลวจําเลยที่ 2 ลงพิมพเผยแพรขอความคํา
ให สั มภาษณ ของจํ า เลยที่ 1 ในหนั ง สื อ พิม พเ ป น บทความภาษาอั งกฤษ จึ ง ต องพิจ ารณาจากขอความใน
บทความที่เปนภาษาอังกฤษเปนเบื้องตน ซึ่งเมื่อพิจารณาจากขอความภาษาอังกฤษในบทความที่ตีพิมพใน
หนังสือพิมพแลว เห็นไดว าขอความดั งกลาวไมไดกลาวยืน ยัน ขอเท็จ จริงวาจําเลยที่ 1 เปนผู ให สัมภาษณ
ขอความดังกลาวตามฟองทั้งหมด ทั้งใจความสําคัญของขอความที่กลาวอางไวในบทความภาษาอังกฤษลวน
เปนขอเท็จจริงที่เกี่ยวของกับดุษฎีนิพนธของโจทกรวม รายงานการดําเนินงานวิจัยที่โจทกรวมและจําเลยที่ 1
รวมอยูในทีมดําเนินงาน และบทความที่โจทกรวมและจําเลยที่ 1 ตางคนตางสงพิมพเผยแพรในวารสารทาง
วิ ช าการ รวมทั้ ง เกี่ย วข อ งกั บ รายงานการดํ า เนิ น งานตามโครงการที่ บ ริ ษั ท ส. เป น ผู ดํ า เนิ น การ ซึ่ ง งาน
สรางสรรคในลักษณะงานนิพนธอันเปนงานวรรณกรรมทั้งหกชิ้นดังกลาวนี้มีความเกี่ยวของเชื่อมโยงกันหรือ
อาจถึงขนาดที่กล าวไดว าทับ ซอนกัน ในเนื้ อหาอัน เปน สาระสํ าคัญได ต ามที่ได กล าวมาแลว ขางตน ทั้งหมด
ประกอบกับปรากฏตามสรุปผลการสอบสวนขอเท็จจริงจากรายงานการสอบสวนขอเท็จจริงจากรายงานการ
สอบสวนหาขอเท็จจริงตามคําสั่ง จ. วา คณะกรรมการสอบสวนหาขอเท็จจริงมีความเห็นวา แมจะไมสามารถ
พิสูจนไดอยางชัดเจนวาเอกสารทางวิชาการที่จําเลยที่ 1 กลาวอางวาเปนของจําเลยที่ 1 นั้นเปนผลงานของ
จําเลยที่ 1 จริงหรือไม แตดุษฎีนิพนธของโจทกรวมมีการคัดลอกงานวิชาการจากเอกสารจํานวน 4 ฉบับ ซึ่ง
เป น งานเขี ย นของกลุ ม บุ ค คลในปริ ม าณงานที่ ม าก แม ว า โจทก ร ว มจะอ า งอิ ง เอกสารบางรายการไว ใ น
บรรณานุกรมของดุษฎี นิพนธ แต การกระทําดังกลาวอาจเขาขายเป นการลอกเลียนวรรณกรรมโดยมิชอบ
(Plagiarism) ไมวาจะเปนการลอกวรรณกรรมของตนเองหรือเปนการลอกวรรณกรรมของผูอื่นหรือโดยผูอื่น
เปนเจาของผลงานรวมดวย นอกจากนี้ สัญญาวาจางจําเลยที่ 1 ในงานวิจัยที่มีความเกี่ยวของกับดุษฎีนิพนธ

47 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


ของโจทกรวม ก็ไมปรากฏขอเท็จจริงอยางชัดเจนโดยปราศจากขอโตแยงของทั้งโจทกรวมและจําเลยที่ 1
เกี่ยวกับขอตกลงเรื่องความเปนเจาของลิขสิทธิ์ในการทํารายงานการดําเนินโครงการวิจัยและในบทความที่กลุม
บุคคลซึ่งมีโจทกรวมและจําเลยที่ 1 รวมอยูดวยเปนผูจัดทําขึ้น รวมทั้งบทความทางวิชาการที่เผยแพรตอเนื่อง
จากการจัดทํารายงานฉบับสมบูรณ ดวยขอเท็จจริงดังกลาวมาทั้งหมดขางตนยอมมีเหตุผลใหจําเลยที่ 1 เชื่อวา
จําเลยที่ 1 เปนเจาของลิขสิทธิ์หรือเจาของลิขสิทธิ์รวมกันกับบุคคลอื่นในคณะบุคคลหรือเปนเจาของลิขสิทธิ์
รวมกันกับหนวยงานผูใหสนับสนุนการวิจัยที่เกี่ยวของ และแมลิขสิทธิ์ในรายงานการดําเนินโครงการวิจัยและ
บทความที่กลุมบุคคลซึ่งมีโจทกรวมและจําเลยที่ 1 รวมอยูดวยเปนผูจัดทําขึ้นจะมิใชของจําเลยที่ 1 หรือ
จําเลยที่ 1 รวมเปนเจาของลิขสิทธิ์ดวย แตในฐานที่จําเลยที่ 1 เปนผูเขียนรวมในผลงานวิชาการในรูปแบบงาน
นิ พนธ อั น เป น งานวรรณกรรมซึ่ งมี ลิ ข สิ ท ธิ์ ดั งกล า ว จํ า เลยที่ 1 ย อมได รั บ การปกป องคุม ครองในฐานะผู
สรางสรรคงานวรรณกรรมอันมีลิขสิทธิ์นั้นดวย ดังนั้น จึงมีเหตุผลใหจําเลยที่ 1 เชื่อวาจําเลยที่ 1 พึงไดรับการ
ปกปองคุมครองสิทธิ ในฐานะผู เขียนเอกสารทางวิ ชาการที่เ กี่ย วของทั้งหมดดั งกลาวนั้ น ดว ยการร องเรี ย น
หนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อขอความเปนธรรม การแสดงขอความตามฟองที่ปรากฏในบทความภาษาอังกฤษใน
หนังสือพิมพตามฟองนั้น จึงถือไดวาเปนการที่จําเลยที่ 1 แสดงความคิดเห็นโดยสุจริตเพื่อความชอบธรรม
ปองกันตนหรือปองกันสวนไดเสียเกี่ยวกับตนตามคลองธรรมในฐานะที่จําเลยที่ 1 เปนผูเขียนรวมในรายงาน
การดําเนินโครงการวิจัยและบทความที่จําเลยที่ 1 เชื่อวาโจทกรวมไดทําซ้ําหรือดัด แปลงขอความอันเป น
สาระสํ าคัญดังกล าวของผลงานวิช าการที่เกี่ยวของทั้งหมดโดยมิได บอกกล าวหรื อขออนุ ญาตผูส รางสรรค
รวมกันหรือผูเขียนรวม หรือผูมีลิขสิทธิ์ในผลงานนั้นครบถวนทุกคน ตาม ป.อ. มาตรา 329 (1) การกระทํา
ของจํ า เลยที่ 1 ดั งกล าวย อมไมเ ป น ความผิ ด ฐานหมิ่น ประมาทโดยการโฆษณาตาม ป.อ. มาตรา 328
ประกอบมาตรา 326 ดังที่โจทกฟอง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 11115/2558 ภายหลังศาลชั้นตนมีคําพิพากษาในคดีกอนใหจําเลยทั้งสาม
สงมอบรถยนตตามสัญญาซื้อขายแบบมีเงื่อนไขคืนแกโจทก หากคืนไมไดใหใชราคาแทน พรอมทั้งใหชําระ
คาเสียหายและชําระคาฤชาธรรมเนียมแทนโจทก จําเลยทั้งสามไดสงมอบรถยนตคืนพรอมชําระคาเสียหายกับ
คาฤชาธรรมเนียมในการดําเนินคดีแกโจทกไปแลวก็ตาม แตเมื่อรถยนตมีสภาพชํารุดและโจทกนําออกขาย
ทอดตลาดไดราคาไมครบถวนตามราคารถยนตที่จําเลยทั้งสามตองรับผิดชําระแกโจทกตามคําพิพากษา โจทก
ยอมชอบที่จะฟองบังคับใหจําเลยทั้งสามรับผิดชดใชราคารถยนตสวนที่ยังขาดจํานวนอยูได เนื่องจากเปนความ
เสียหายที่เกิดขึ้นภายหลังจากศาลมีคําพิพากษาในคดีกอนไปแลว ทั้งมิใชกรณีที่จะไปวากลาวในชั้นบังคับคดีใน
คดีกอนได เนื่องจากการบังคับคดีจําตองอาศัยคําพิพากษาที่วินิจฉัยใหจําเลยทั้งสามตองรับผิดชดใชคาเสียหาย
ในมูลหนี้ใดบาง กรณีจึงไมอาจนํามูลหนี้ที่เกิดขึ้นใหมภายหลังศาลมีคําพิพากษาไปบังคับคดีเอากับจําเลยทั้ง
สามในคดีดังกลาว ดังนั้นคําพิพากษาในคดีนี้จึงเปนการกําหนดคาเสียหายที่เปนผลสืบเนื่องมาจากมูลหนี้ตาม
คําพิพากษาในคดีกอนและเกิดขึ้นภายหลังศาลในคดีกอนพิพากษาไปแลว หาใชคาเสียหายที่กําหนดซ้ําซอนกัน
แตอยางใด

48 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 11102/2558 คดีนี้ศาลชั้นตนฟงขอเท็จจริงวา จําเลยจดทะเบียนขายฝาก
ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางแกโจทกราคา 50,000 บาท และวินิจฉัยวาจําเลยใชสิทธิไถถอนการขายฝากไมชอบ
เนื่องจากกอนนําเงินสินไถไปวางที่สํานักงานวางทรัพยจําเลยไมเคยมาพบโจทกเพื่อขอชําระหนี้ กรรมสิทธิ์ใน
ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางตกเปนของโจทก และพิพากษาใหขับไลจําเลยพรอมบริวารออกจากที่ดินและสิ่งปลูก
สร า งที่ ข ายฝาก กั บ ให จํ า เลยใช ค า เสี ย หายแก โ จทก จํ า เลยอุ ท ธรณ ฝ า ยเดี ย วโดยโจทก มิ ไ ด แ ก อุ ท ธรณ
ขอเท็จจริงยอมฟงเปนยุติตามคําพิพากษาศาลชั้นตนวา จําเลยทําสัญญาขายฝากที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางใหแก
โจทกในราคา 50,000 บาท จึงถือไดวาทุนทรัพยที่พิพาทกันในชั้นอุทธรณในสวนฟองเดิมและฟองแยงมีเพียง
50,000 บาท ที่ศาลอุทธรณกําหนดทุนทรัพยชั้นอุทธรณ 51,000 บาท โดยนําเงินที่จําเลยวางเปนคาใชจาย
การวางทรัพย 1,000 บาท มารวมเปนทุนทรัพยชั้นอุทธรณจึงไมถูกตอง อุทธรณของจําเลยจึงตองหามมิให
คูความอุทธรณในขอเท็จจริงตาม ป.วิ.พ. มาตรา 224 วรรคหนึ่ง จําเลยอุทธรณวาจําเลยใชสิทธิไถถอนการ
ขายฝากโดยชอบเพราะกอนที่จําเลยจะนําเงินไปวางที่สํานักงานวางทรัพยนั้น จําเลยไดพบโจทกและขอให
โจทกรับสินไถแลว อุทธรณของจําเลยดังกลาวเปนการโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานของศาล
ชั้นตน จึงเปนอุทธรณในปญหาขอเท็จจริงซึ่งตองหามมิใหอุทธรณ ศาลอุทธรณภาค 4 รับวินิจฉัยอุทธรณของ
จําเลยยอมเปนการไมชอบดวย ป.วิ.พ. มาตรา 242 (1) ปญหาตามฎีกาของโจทกจึงเปนขอที่ไมไดยกขึ้นวากัน
มาแลวโดยชอบในศาลอุทธรณภาค 4 ตองหามฎีกาตาม ป.วิ.พ. มาตรา 249 วรรคหนึ่ง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 11066/2558 คดีแพงเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญานั้นหมายถึงคดีที่การกระทํา
ผิดอาญานั้นกอใหเกิดสิทธิเรียกรองทางแพงติดตามมาดวย เมื่อศาลชั้นตนไตสวนมูลฟองคดีสวนอาญาแลวมี
คําสั่งใหประทับฟองและหมายเรียกจําเลยแกคดียอมเปนการสั่งรับฟองคดีสวนอาญาและคําฟองคดีสวนแพง
ดวยโดยไมจําตองสั่งรับฟองคดีสวนแพงอีก ดังนี้ ในการฟองคดีแพงเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาโจทกจึงตองฟองคดี
แพงมาพรอมกับคดีอาญาตั้งแตแรก แตคดีนี้โจทกยื่นฟองเฉพาะคดีในสวนอาญาจนศาลชั้นตนมีคําสั่งประทับ
ฟองและจําเลยใหการตอสูคดีแลวโจทกจึงมายื่นคํารองขอเพิ่มเติมฟองใหจําเลยรับผิดคดีในสวนแพง ซึ่งการขอ
เพิ่มเติมฟองตาม ป.วิ.อ. มาตรา 164 ประกอบ พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาล
แขวง พ.ศ.2499 มาตรา 4 นั้น ฟองเดิมจะตองสมบูรณอยูแลว เมื่อโจทกฟองจําเลยเฉพาะคดีอาญาแลว
ตอมาไดยื่นคํารองขอเพิ่มเติมฟองโดยขอใหจําเลยรับผิดในทางแพงโดยอางวาโจทกตองจายเงินใหแกบริษัท บ.
หางหุนสวนจํากัด ห. และนาย ท. จําเลยจึงตองคืนเงินพรอมดอกเบี้ยใหโจทก ดังนี้คํารองขอเพิ่มเติมฟอง
ดังกลาวถือไดวาเปนการกลาวอางความรับผิดทางแพงของจําเลยขึ้นมาใหม โจทกจะมาขอเพิ่มเติมฟองเชนนี้
ไมได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10985/2558 ใบสําคัญจายเปนของมูลนิธิ แตอยูในความครอบครองดูแล
ของ ย. ซึ่งเปนหัวหนาฝายบัญชีของมูลนิธิ ย. ยอมมีหนาที่ปกปองและรักษาผลประโยชนของนายจางตน เมื่อ
เห็นวาผูบริหารของมูลนิธิ ทุจริตตอหนาที่ยักยอกเงินของมูลนิธิ กอความเสียหายแกมูลนิธิที่ตนทํางานอยู เมื่อ
ตนพบเห็ นยอมแจ งความใหดําเนิ นคดีแกผู กระทําความผิด ได การที่ ย. นํ าเอกสารดังกล าวไปมอบใหกรม

49 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


สอบสวนคดีพิเศษเพื่อเปนหลักฐานในการดําเนินคดีแกจําเลย ย.ยอมไมมีความผิดใด ๆ ในทางอาญา เพราะ
เปนการมอบหลักฐานที่สําคัญในทางคดีใหแกเจาพนักงานผูมีหนาที่ตามกฎหมาย การที่จะใหเจาพนักงานเรียก
เอกสารหลักฐานแหงการกระทําความผิดตามปกตินั้น ยอมยากที่จะไดรับความรวมมือจากผูกระทําความผิด
ซึ่งเปนผูบริหารในหนวยงานดังกลาว เอกสารนั้นอาจถูกทําลายหรือสูญหายหรือหาไมพบได จึงเปนอุปสรรคใน
การดําเนินคดีอาญาแกผูกระทําความผิด การที่กรมสอบสวนคดีพิเศษไดเอกสารดังกลาวมาเปนพยานหลักฐาน
สําคัญของคดี จึงเปนการไดมาโดยชอบ ไมตองดวย ป.วิ.อ. มาตา 226/1
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10942 - 10943/2558 แมจําเลยที่ 2 จะแปรรูปเปนบริษัทไปแลวแต
มาตรา 26 แหง พ.ร.บ.ทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ.2542 และหมายเหตุทายพระราชบัญญัติก็ยังกําหนดใหจําเลยที่
2 เปนรัฐวิสาหกิจอยูเชนเดิม เมื่อจําเลยที่ 2 ใหการยืนยันมาตั้งแตแรกวาเปนรัฐวิสาหกิจ ดังนั้น ก็ยังถือวา
จําเลยที่ 2 เปนหนวยงานของรัฐตาม พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.2539 มาตรา 4 เมื่อ
จําเลยที่ 1 เปนลูกจางจึงเปนพนักงานของจําเลยที่ 2 โจทกทั้งสองฟองใหจําเลยที่ 1 รับผิดไมไดตามมาตรา 5
วรรคหนึ่ง แหง พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.2539 จําเลยที่ 1 จึงไมตองรวมกับจําเลยที่
2 รับผิดตอโจทกทั้งสอง
ในการทําสัญญาเชา การที่จําเลยรวมผูใหเชาตกลงกับจําเลยที่ 2 ผูเชาวาจําเลยรวมตกลงยอมรับผิด
ตอผูโ ดยสารในรถยนต ที่นํามาให เช าและบุคคลภายนอกในความเสีย หายที่จําเลยที่ 1 ลูกจ างจํ าเลยที่ 2
กระทําละเมิดขับรถยนตที่เชาไปกอความเสียหายขึ้น เปนสัญญาเพื่อประโยชนบุคคลภายนอกตาม ป.พ.พ.
มาตรา 374 ไมถือวาเปนขอสัญญาที่ไมเปนธรรมไมมีผลบังคับตามมาตรา 4 แหง พ.ร.บ.วาดวยขอสัญญาที่ไม
เปนธรรม พ.ศ.2540 และไมใชความตกลงที่ทําไวลวงหนาเปนขอความยกเวนมิใหจําเลยที่ 2 ตองรับผิดเพื่อ
กลฉอฉลหรือความประมาทเลินเลออยางรายแรงของตนในอันจะถือวาเปนโมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา 373
เนื่องจากจําเลยที่ 2 ก็ยังตองรับผิดตอโจทกทั้งสองในเหตุละเมิดที่จําเลยที่ 1 กระทําขึ้นในครั้งนี้ เมื่อเปน
สัญญาเพื่อประโยชนบุคคลภายนอก การที่จําเลยที่ 1 ลูกจางจําเลยที่ 2 กระทําละเมิดในทางการที่วาจางโดย
ขับรถยนตกระบะที่เชาไปกอความเสียหายแกโจทกทั้งสอง จําเลยที่ 2 ในฐานะคูสัญญาจึงมีสิทธิฟองบังคับให
จําเลยรว มชดใช คาเสีย หายที่จําเลยที่ 1 กระทําละเมิด ตอโจทกทั้งสองได กรณีไมใช เป นสั ญญาเฉพาะตั ว
โดยตรง ดังนั้น แมจําเลยรวมไมใชลูกจางจําเลยที่ 2 ในอันที่จะใชสิทธิไลเบี้ย แตก็ถือวาจําเลยที่ 2 อาจฟอง
จําเลยรวมเพื่อใชคาสินไหมทดแทน จึงเขากรณี ป.วิ.พ. มาตรา 57 (3) ก ที่จําเลยที่ 2 มีสิทธิยื่นคํารองขอให
ศาลชั้นตนหมายเรียกจําเลยรวมเขามาเปนจําเลยรวมกับจําเลยที่ 2 ได
ที่ศาลชั้นตนพิพากษาใหจําเลยที่ 2 ชําระคาเสียหาย หากจําเลยที่ 2 ไมชําระใหจําเลยรวมและจําเลย
ที่ 3 ชําระแทนเปนการไมชอบเนื่องจากกรณีไมใชผูค้ําประกัน
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10941/2558 ตาม ป.พ.พ. มาตรา 448 วรรคหนึ่ง กําหนดอายุความ
สิทธิเรียกรองอันเกิดแตมูลละเมิดไว 2 กรณี คือ กรณีแรก มีอายุความหนึ่งปนับแตวันที่รูถึงการละเมิดและรูตัว

50 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


ผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทน กรณีที่สอง มีอายุความสิบปนับแตวันทําละเมิด ซึ่งหากเปนกรณีใดกรณีหนึ่งก็
ถื อ ว า สิ ท ธิ เ รี ย กร อ งอั น เกิ ด แต มู ล ละเมิ ด เป น อั น ขาดอายุ ค วาม คดี นี้ โ จทก ฟ อ งจํ า เลยทั้ ง สิ บ แปดซึ่ ง เป น
คณะกรรมการดําเนินการของโจทกกระทําละเมิด ไมปฏิบัติตามระเบียบของโจทกวาดวยเงินกูพิเศษ โดยอนุมัติ
ใหเงินกูพิเศษแก ส. เพื่อซื้อรถยนตโดยไมไดให ส. สงมอบทะเบียนรถยนตใหโจทกเปนเหตุใหโจทกไดรับความ
เสียหาย เมื่อ ส. จะตองสงมอบทะเบียนรถยนตแกโจทกภายในวันที่ 31 มีนาคม 2540 และมูลละเมิดของ
จําเลยทั้งสิบแปดเกิดจากไมดําเนินการหรือละเลยไมกวดขันใหพนักงานสหกรณโจทกติดตามทวงถาม ส. ใหสง
มอบทะเบียนรถยนตตามระเบียบของโจทกตั้งแตวันที่ 30 กรกฎาคม 2540 ดังนั้น วันทําละเมิดยอมเกิดขึ้น
นับแตวันที่ไดกระทําหรืองดเวนกระทําอันเปนมูลเหตุใหเกิดความเสียหายนั้น ยอมเกิดอยางชาที่สุดในวันที่ 30
กรกฎาคม 2540 โจทกฟองคดีนี้วันที่ 15 กุมภาพันธ 2551 จึงลวงพนสิบปนับแตวันทําละเมิดแลวฟอง
โจทกยอมขาดอายุความ
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10915/2558 โจทกกลาวหาวาจําเลยทั้งหากับพวกรวมกันปลนทรัพยของ
ส. ไปและรวมกันใชกําลังประทุษราย ผลักและฉุดกระชาก ส. เขาไปในรถยนตของจําเลยทั้งหากับพวก อันเปน
การขมขืนใจ ส. ใหตองจํายอมเขาไปในรถยนตของจําเลยทั้งหากับพวกดวยการทําใหกลัววาจะเกิดอันตรายตอ
ชีวิต รางกายหรือเสรีภาพ และขณะนี้ไมทราบวา ส. ยังมีชีวิตอยูหรือไม แมคําบรรยายฟองจะแสดงวา จําเลย
ทั้งหากับพวกรวมกันใชกําลังทําราย ส. แตเมื่อโจทกมิไดฟองยืนยันวา ส. เสียชีวิตแลว กรณีจึงไมอาจถือไดวา
ส. ถูกทํารายถึงตายตามความหมายของกฎหมาย แมตอมาศาลแพงกรุงเทพใตมีคําสั่งวา ส. เปนคนสาบสูญซึ่ง
ถือวาถึงแกความตายตาม ป.พ.พ. มาตรา 62 ก็ตาม แตก็เปนการตายโดยผลของกฎหมาย มิใชเปนกรณีถูกทํา
รายถึงตายตามความเปนจริง
ขณะที่ภ ริ ย าและผู สื บ สั น ดานของ ส. ยื่ น คําร องขอเขาร ว มเป น โจทกใ นป 2547 และป 2548
ขอเท็จจริงไมปรากฏวา ส. ถูกทํารายถึงตายหรือบาดเจ็บจนไมสามารถจะจัดการเองได ประกอบกับโจทกแถลง
ยอมรับตอศาลชั้นตนตามรายงานกระบวนพิจารณาวา อ. ภริยาของ ส. ไมใชผูเสียหายที่จะขอเขารวมเปน
โจทกได ดังนี้ ที่ศาลอุทธรณพิพากษายกคําขอเขารวมเปนโจทกของ อ. โจทกรวมที่ 1 และบุตรของ ส. โจทก
รวมที่ 2 ถึงที่ 5 จึงเปนไปโดยถูกตองและชอบดวยหลักเกณฑตามที่บัญญัติไวใน ป.วิ.อ. มาตรา 5 (2) แลว
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10884/2558 คดีกอนหางหุนสวนจํากัด อ. ผูเอาประกันภัยเปนโจทกที่ 3
ฟองเรียกคาเสียหายสวนที่เกินจากที่โจทกคดีนี้ไดใชคาสินไหมทดแทน ทั้งโจทกคดีนี้มิใชคูความในคดีกอน จึง
ไมเปนการดําเนินกระบวนพิจารณาซ้ําตาม ป.วิ.พ. มาตรา 144
ฎีกาของจําเลยที่วา ที่ศาลอุทธรณภาค 6 ไมรับวินิจฉัยอุทธรณของจําเลยที่อุทธรณวา รถยนตที่โจทก
รับประกันภัยเสียหายเล็กนอย ความเสียหายเกิดจากรถยนตที่โจทกรับประกันภัยมีการติดตั้งระบบแกสที่ผิด
กฎหมาย โจทกจึงไมมีสิทธิเรียกรองจากจําเลยเปนการวินิจฉัยที่ไมชอบนั้น เมื่อตามคําใหการของจําเลยมิไดให
การตอสูคดีวา ความเสียหายเกิดจากรถยนตที่โจทกรับประกันภัยมีการติดตั้งระบบแกสที่ผิดกฎหมาย โจทกจึง

51 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


ไมมีสิทธิเรียกรองจากจําเลย การที่จําเลยกลับมาอุทธรณดังกลาว จึงเปนอุทธรณในขอที่ไมไดยกขึ้นวากัน
มาแลวโดยชอบในศาลชั้นตน ทั้งมิใชเปนปญหาขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน
ศาลอุทธรณภาค 6 ไมรับวินิจฉัยอุทธรณของจําเลยในสวนนี้จึงชอบแลว
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10839/2558 ตามคํารองของจําเลยอางเหตุวา ในมูลหนี้เดียวกันนี้และ
กอนฟองคดีนี้ตอศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง โจทกไดฟองคดีตอ "The High
Court of Justice, Queen's Bench Division, Commercial Court" ประเทศสหราชอาณาจักร จนศาล
ดังกลาวมีคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําเลยชําระเงิน จํานวน996,498 ดอลลารสหรัฐ พรอมดอกเบี้ยแกโจทก
ส ว นศาลทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญาและการค า ระหว า งประเทศกลางพิ พ ากษาให จํ า เลยชํ า ระเงิ น จํ า นวน
1,687,289.24 ดอลลารสหรัฐ พรอมดอกเบี้ยแกโจทก จึงเปนกรณีคําพิพากษาของศาลตางรัฐกันขัดแยงกัน
เรื่องจํานวนหนี้ที่จําเลยตองชําระแกโจทก ทั้งโจทกไดรับชําระหนี้ตามคําพิพากษาของศาลดังกลาวไปแลว
บางสวนดวย หากบังคับคดีนี้ตอไป จําเลยจะไดรับความเสียหายเกินความจําเปน เมื่อพิจารณาคํารองและ
อุทธรณของจําเลยแลว เขาใจไดวาเหตุที่มีความประสงคจะขอใหศาลงดการบังคับคดีเนื่องจากคําพิพากษาศาล
ฎีกากับคําพิพากษา "The High Court of Justice" ขัดแยงกันในเรื่องจํานวนหนี้ที่จําเลยจะตองชําระ เห็นวา
จําเลยไมไดอางเหตุที่งดการบังคับคดี แมขอเท็จจริงจะรับฟงไดตามที่จําเลยอาง ก็ไมมีเหตุที่จะงดการบังคับคดี
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10816/2558 ผูรองเพียงแต ยื่นคําร องขอใหบังคับ จําเลยชดใชคา
สินไหมทดแทน คํารองของผูรองเปนคําฟองตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงและผู
รองอยูในฐานะโจทกในคดีสวนแพงตาม ป.วิ.อ. มาตรา 44/1 วรรคสอง เทานั้น เมื่อผูรองมิไดขอเขารวมเปน
โจทกกับพนักงานอัยการ ผูรองยอมไมมีฐานะเปนคูความอันจะมีสิทธิฎีกาในคดีสวนอาญาได สวนที่ผูรองฎีกา
ขอใหบังคับจําเลยใชคาสินไหมทดแทนแกผูรองตามคําพิพากษาศาลชั้นตนนั้น ในการพิพากษาคดีสวนแพง
ศาลจําตองถือขอเท็จจริงตามที่ปรากฏในคําพิพากษาคดีสวนอาญาตาม ป.วิ.อ. มาตรา 46 เมื่อคดีสวนอาญา
ฟงไมไดวาจําเลยทํารายผูเสียหายแลว จึงตองฟงวาจําเลยมิไดทําละเมิดอันจะตองใชคาสินไหมทดแทนแกผูรอง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10808/2558 การที่จําเลยยื่นคํารองลงวันที่ 22 เมษายน 2556 ขอ
ขยายระยะเวลานําเงินคาธรรมเนียมศาลชั้นฎีกาตามคําสั่งศาลชั้นตนเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2552 ที่ใหจําเลย
นําเงินคาธรรมเนียมดังกลาวมาชําระตอศาลชั้นตนภายใน 30 วัน โดยอางวาจําเลยไมสามารถหาเงินไดทัน
และผูมีชื่อนัดชวยเหลือจําเลยทั้ง ๆ ที่กําหนดเวลาใหจําเลยชําระเงินคาธรรมเนียมศาลชั้นฎีกาตามคําสั่งศาล
ชั้นตนไดลวงพนไปแลวประมาณ 4 ปเศษ อันเปนการดําเนินกระบวนพิจารณาที่ไมชอบ และเกิดขึ้นจากความ
ผิดพลาดของจําเลยเองมิใชพฤติการณพิเศษหรือเหตุสุดวิสัยที่ศาลจะสั่งขยายระยะเวลาไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา
23 แมศาลชั้นตนจะมีคําสั่งอนุญาตขยายเวลาวางเงินคาธรรมเนียมศาลชั้นฎีกาตามคําขอของจําเลย และ
จําเลยไดนําเงินคาธรรมเนียมดังกลาวมาชําระภายในกําหนดเวลาที่ศาลชั้นตนขยายก็ตาม ก็ถือไมไดวาฎีกาของ
จํ าเลยเป น ฎี กาที่ช อบด ว ยกฎหมายอัน จะรั บ ไว พิจ ารณาได ป ญหานี้ เ ป น ขอกฎหมายเกี่ย วด ว ยความสงบ

52 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


เรียบรอยของประชาชน ศาลฎีกามีอํานาจยกขึ้นวินิจฉัยไดแมไมมีคูความฝายใดยกขึ้นอาง ตาม ป.วิ.พ. มาตรา
142 (5) ประกอบมาตรา 246 และ 247
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10774/2558 เจาหนี้กลุมที่ 1 และที่ 2 เปนเจาหนี้มีประกันโดยมีที่ดิน
พรอมสิ่งปลูกสรางอันเปนทรัพยสินของลูกหนี้จํานองเปนประกัน และมีขอตกลงตอทายสัญญาจํานองวา ใน
กรณีบังคับจํานองเอาทรัพยจํานองออกขายทอดตลาดไดเงินสุทธิไมพอชําระหนี้ หรือในกรณีผูรับจํานองเอา
ทรัพยที่จํานองหลุดเปนสิทธิและราคาทรัพยที่จํานองต่ํากวาจํานวนหนี้อยูเทาใด ลูกหนี้ผูจํานองยอมชําระหนี้ที่
ขาดนั้นจากทรัพยสินอื่นของลูกหนี้ผูจํานองใหแกผูรับจํานองจนครบถวน จึงเปนกรณีที่ตามกฎหมายลูกหนี้ตอง
รับผิดตอเจาหนี้กลุมที่ 1 และที่ 2 ซึ่งรวมถึงเจาหนี้รายที่ 242 และที่ 445 เกินกวาราคาทรัพยสินที่เปน
หลักประกัน และหากลูกหนี้ถูกพิทักษทรัพยเด็ดขาดในคดีลมละลายเจาหนี้กลุมที่ 1 และที่ 2 ยอมมีสิทธิขอรับ
ชําระหนี้ตาม พ.ร.บ.ลมละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 96 (3) หรือ (4) ซึ่งหมายความวา เจาหนี้มีประกันเหลานี้
จะตองไดรับชําระหนี้อยางนอยเทากับราคาทรัพยสินอันเปนหลักประกัน หนี้สวนที่เหลือจึงจะมีสิทธิไดรับชําระ
หนี้อยางเจาหนี้ไมมีประกันตาม พ.ร.บ.ลมละลายฯ มาตรา 130 (7) และการที่แผนฟนฟูกิจการที่มีการแกไข
จัดใหเจาหนี้รายที่ 242 และที่ 445 เปนเจาหนี้มีประกันในกลุมที่ 2 ตาม พ.ร.บ.ลมละลายฯ มาตรา 90/46
ทวิ (2) ก็ยอมแสดงวาในจํานวนหนี้ดังกลาวเปนหนี้ที่มีเจาหนี้บุริมสิทธิเหนือทรัพยอันเปนหลักประกันนั้น
นอกจากนี้เจาหนี้มีประกันจะใชสิทธิบังคับชําระหนี้เอาจากทรัพยสินอันเปนหลักประกันโดยไมตองขอรับชําระ
หนี้ ใ นการฟ น ฟู กิ จ การก็ ไ ด ต าม พ.ร.บ.ล ม ละลายฯ มาตรา 90/28 และแม ว า ในระหว า งลู ก หนี้ เ ข า สู
กระบวนการฟน ฟูกิจการ เจาหนี้มีประกันจะถูกจํากัดสิทธิมิใหบังคับชําระหนี้เอาแกทรัพยสินที่เปนหลักประกัน
เวนแตจะไดรับอนุญาตจากศาลที่รับคํารองขอ แตการจํากัดสิทธินั้นจะตองใหความคุมครองสิทธิของเจาหนี้มี
ประกันอยางเพียงพอตาม พ.ร.บ.ลมละลายฯ มาตรา 90/12 (6) และมาตรา 90/13 แผนฟนฟูกิจการจึง
ตองไมกระทบตอสิทธิของเจาหนี้มีประกันโดยเจาหนี้มีประกันที่มีสิทธิไดรับชําระหนี้ในการฟนฟูกิจการตาม
แผนจะต อ งได รั บ ชํ า ระหนี้ เ มื่ อ ดํ า เนิ น การสํ า เร็ จ ตามแผนเป น จํ า นวนไม น อ ยกว า ราคาทรั พ ย สิ น อั น เป น
หลักประกันตาม พ.ร.บ.ลมละลายฯ มาตรา 90/58 (3)
เมื่ อ พิ จ ารณาสิ ท ธิ ข องเจ า หนี้ มี ป ระกั น ในคดี ล ม ละลายในอั น ที่ จ ะบั ง คั บ เอาแก ท รั พ ย สิ น ที่ เ ป น
หลักประกันตาม พ.ร.บ.ลมละลายฯ มาตรา 95 และมาตรา 110 วรรคสาม หรือเจาหนี้มีประกันอาจขอรับ
ชําระหนี้โดยตีราคาทรัพยหลักประกันแลวขอรับชําระหนี้สวนที่ขาด ตาม พ.ร.บ.ลมละลายฯ มาตรา 96 (4)
ซึ่งแสดงใหเห็นวาเจาหนี้มีประกันยอมมีสิทธิไดรับชําระหนี้จากทรัพยหลักประกันจนเต็มจํานวนบุริมสิทธิที่ตนมี
อยู เจาหนี้มีประกันจึงมีสิทธิไดรับชําระหนี้ในมูลคาปจจุบันในวันที่ศาลมีคําสั่งเห็นชอบดวยแผนไมนอยกวา
มูลคาทรัพยหลักประกัน หากวายังไมไดมีการชําระหนี้ใหแกเจาหนี้มีประกันโดยเต็มจํานวนและในทันทีที่ศาลมี
คําสั่งเห็นชอบดวยแผนแลว ลูกหนี้ยอมจะตองชําระดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นเนื่องจากการชําระหนี้ลาชานั้นเพื่อให
เจาหนี้มีประกันไดรับชําระหนี้ไมนอยกวามูลคาทรัพยหลักประกัน สวนการประเมินมูลคาหลักประกันที่จะ
นํามาใชประกอบการพิจารณานั้น เมื่อปรากฏวาหลักประกันเปนที่ดินพรอมโรงงานซึ่งในการฟนฟูกิจการของ

53 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


ลูกหนี้จะมีการประกอบธุรกิจของลูกหนี้ในสวนนี้ตอไป มิไดมีการขายทอดตลาดทรัพยหลักประกันไปในราคา
บังคับขายแตอยางใด ราคาประเมินที่เหมาะสมซึ่งจะนํามาใชก็คือ ราคาตลาดอันมีราคา 228,788,921 บาท
หาใชราคาบังคับขายอันมีราคา 148,974,000 บาท ไม
การที่ขอเสนอขอแกไขแผนกําหนดใหเจาหนี้มีประกันไดรับชําระหนี้ในอัตรารอยละ 80 ของตนเงิน
ตามแผนฟนฟูกิจการที่มีการแกไขเดิม ซึ่งศาลมีคําสั่งเห็นชอบดวยแลวนั้นยอมไมอาจกระทําได เนื่องจากผล
ของคําสั่งเห็นชอบดวยแผนที่มีการแกไขแลวยอมผูกพันบุคคลที่เกี่ยวของทุกฝาย ทั้งการขอแกไขดังกลาวยัง
เปนการกระทบสิทธิของเจาหนี้มีประกันในอันที่จะไดรับชําระหนี้ไมนอยกวากรณีที่ศาลพิพากษาใหลูกหนี้
ลมละลาย ผูบริหารแผนจะอางราคาบังคับขายทรัพยหลักประกันเพื่อแสดงวาเจาหนี้รายที่ 242 และที่ 445
ไดรับชําระหนี้มากกวากรณีที่ศาลพิพากษาใหลมละลายหาไดไม เนื่องจากกิจการของลูกหนี้มิไดปดลง ทั้งไมมี
คาใชจายในการขายทรัพยหลักประกันแตอยางใด ดังนี้ การประเมินราคาทรัพยสินตามขอเสนอขอแกไขแผน
ของผูบริหารแผนจึงเปนการประเมินราคาทรัพยสินที่เปนหลักประกันโดยมิชอบ ทําใหสิทธิของเจาหนี้มีประกัน
ไมไดรับความคุมครองตาม พ.ร.บ.ลมละลายฯ มาตรา 90/58 (3) ประกอบมาตรา 90/13 อันมีผลใหเจาหนี้
กลุมที่ 1 และที่ 2 อาจไดรั บชําระหนี้นอยกว ากรณีที่มีการขายทรั พยสิ นอัน เป นหลั กประกัน เมื่อศาลมีคํา
พิพากษาใหลูกหนี้ลมละลายตาม พ.ร.บ.ลมละลายฯ มาตรา 90/63 วรรคหนึ่ง ประกอบมาตรา 90/58 (3)
ทั้งเปนการขัดตอผลของคําสั่งเห็นชอบดวยแผนที่มีการแกไขซึ่งศาลมีคําสั่งเห็นชอบแลวซึ่งไมอาจทําได
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10731/2558 เมื่อศาลมีคําพิพากษาและคําพิพากษากอใหเกิดหนี้ตาม
คําพิพากษา ศาลจะตองออกคําบังคับตามที่บัญญัติใน ป.วิ.พ. มาตรา 272 คดีนี้ศาลชั้นตนมีคําพิพากษาโดย
ขาดนัดใหจําเลยทั้งสองแพคดี ศาลชั้นตนไมอาจออกคําบังคับในวันมีคําพิพากษาได จึงเปนหนาที่ของเจาหนี้
ตามคําพิพากษาจะตองยื่นคําแถลงตอศาลชั้นตนเพื่อขอใหออกคําบังคับ โดยสงคําบังคับไปยังภูมิลําเนาของ
ลูกหนี้ตามคําพิพากษาและเมื่อครบกําหนดเวลาตามคําบังคับแลว ลูกหนี้ตามคําพิพากษาไมชําระหนี้ เจาหนี้
ตามคําพิพากษายอมมีสิทธิรองขอใหบังคับคดี หากหนี้ตามคําพิพากษาเปนหนี้เงิน เจาหนี้ตามคําพิพากษาตอง
ยื่นคําขอฝายเดียวตอศาลเพื่อใหออกหมายบังคับคดี จากนั้นตองดําเนินการใหเจาพนักงานบังคับคดีทราบวา
ศาลไดออกหมายบังคับคดีและแถลงใหเจ าพนักงานบังคับคดีดําเนินการบังคับคดี เจาหนี้ตามคําพิพากษา
จะตองดําเนินการทั้งหมดใหแลวเสร็จภายในสิบปนับแตวันมีคําพิพากษาโดยอาศัยและตามคําบังคับที่ออกตาม
คําพิพากษานั้นตามที่ ป.วิ.พ. มาตรา 271 บัญญัติระยะเวลาที่เจาหนี้ตามคําพิพากษาจะตองปฏิบัติในการรอง
ขอใหบังคับคดีไว โดยหาไดบัญญัติใหตองเริ่มนับแตวันมีคําพิพากษาถึงที่สุดไม ซึ่งสอดคลองกับบทบัญญัติใน
ป.วิ.พ. มาตรา 145 วรรคหนึ่ง และมาตรา 231 วรรคหนึ่ง ที่ระบุใหคําพิพากษาผูกพันคูความนับตั้งแตวันที่
ไดพิพากษาจนถึงวันที่คําพิพากษาถูกเปลี่ยนแปลง กลับหรืองดเสีย ถาหากมี และแมลูกหนี้ตามคําพิพากษาจะ
ยื่นอุทธรณหรือฎีกา เจาหนี้ตามคําพิพากษาก็มีสิทธิขอใหบังคับคดี เวนแตลูกหนี้ตามคําพิพากษาจะยื่นคํา
ขอใหศาลมีคําสั่งใหทุเลาการบังคับและไดรับอนุญาตจากศาล ในกรณีนี้ระยะเวลาบังคับคดีภายในสิบปตองเริ่ม
แตวันมีคําพิพากษาของศาลชั้นที่สุดในคดีนั้น

54 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


คดีนี้ศาลชั้นตนมีคําพิพากษาโดยจําเลยขาดนัดเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2543 ไมมีคูความฝายใดอุทธรณ
วันสุดทายที่เจาหนี้ตามคําพิพากษาจะตองปฏิบัติใหครบถวนในการขอใหบังคับคดีแกลูกหนี้ตามคําพิพากษา
คือวันที่ 3 เมษายน 2553 ปรากฏวา ผูเขาสวมสิทธิเพิ่งยื่นคําแถลงขอใหศาลชั้นตนออกคําบังคับแกจําเลยทั้ง
สองเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2555 ลวงพนระยะเวลาสิบปนับแตวันมีคําพิพากษาศาลชั้นตน ซึ่งไมอาจรอง
ขอใหบังคับคดีแกจําเลยทั้งสองไดแลว จึงหามีเหตุใหศาลชั้นตนตองออกคําบังคับแกจําเลยทั้งสองไมเพราะ
ระยะเวลาสิบปในการรองขอใหบังคับคดีตามคําพิพากษาจะตองเริ่มนับแตวันมีคําพิพากษาของศาลชั้นที่สุด
มิใชจะตองเริ่มนับแตคดีถึงที่สุด
(ประชุมใหญครั้งที่ 12/2558)
___________________________
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10675 - 10676/2558 คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพิ่งมีมติใหเพิกถอน
สิทธิของโจทกทั้งสองระหวางการพิจารณาของศาลฎีกา จึงเปนกรณีที่จําเลยไมสามารถระบุมติดังกลาวไวใน
บัญชีระบุพยานยื่นตอศาลชั้นตนภายในกําหนดตาม ป.วิ.พ. มาตรา 88 วรรคหนึ่ง และมีเหตุอันสมควรที่จะขอ
อนุญาตยื่นพยานเอกสารดังกลาวตอศาลฎีกา เมื่อโจทกทั้งสองไมคัดคานการมีอยูและความแทจริงของเอกสาร
และพยานเอกสารดังกลาวเปนพยานหลักฐานอันสําคัญเกี่ยวกับประเด็นแหงคดี ดังนี้ เพื่อประโยชนแหงความ
ยุติธรรม จึงรับสําเนาเอกสารดังกลาวเปนพยานในชั้นฎีกา ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 87 (2)
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10669/2558 ผูรองยื่นคํารองขอใหศาลพิพากษาวา ที่ดินพิพาททั้งสอง
แปลงตกเป น กรรมสิ ท ธิ์ ของผู ร องโดยการครอบครองปรป ก ษ ผู คัด ค านยื่ น คํา คัด ค านว า ที่ ดิ น พิ พาทเป น
กรรมสิทธิ์ของบริษัท ป. ที่จดทะเบียนจํานองไวตอผูคัดคาน ผูคัดคานจึงมีสิทธิดีกวาผูรอง ผูคัดคานมิไดโตแยง
วากรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทเปนของผูคัดคานหรือผูคัดคานซื้อมาจากการขายทอดตลาดตามคําสั่งศาล คํารอง
ขอครอบครองปรปกษของผูรองจึงเปนคําขอปลดเปลื้องทุกขอันไมอาจคํานวณเปนราคาเงินไดและเปนคดีไมมี
ทุนทรัพย การที่ผูรองยื่นคํารองขอใหศาลพิพากษาวาที่ดินพิพาทตกเปนกรรมสิทธิ์ของผูรองนั้น มิไดทําใหสิทธิ
จํานองของผูคัดคานในฐานะผูรับจํานองเสื่อมเสียหรือระงับสิ้นไปตาม ป.พ.พ. มาตรา 744 เมื่อไมปรากฏวาผู
คัดคานเปนผูซื้อที่ดินพิพาททั้งสองแปลงไดจากการขายทอดตลาดในการบังคับคดีดังกลาวตาม ป.พ.พ. มาตรา
1330 ผูคัดคานจึงมิไดมีชื่อเปนเจาของกรรมสิทธิ์ที่ดินทั้งสองแปลง การที่ผูรองใชสิทธิทางศาลเพื่อขอใหศาล
รับรองวาผูรองไดกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาททั้งสองแปลงโดยการครอบครองปรปกษจึงมิไดเปนการโตแยงสิทธิ
จํานองของผูคัดคานที่จะเขามาในคดีนี้ไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา 55
คํ า พิ พ ากษาศาลฎี ก าที่ 10625/2558 พ.ร.บ.ประกอบรั ฐ ธรรมนู ญ ว า ด ว ยการเลื อ กตั้ ง
สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและการไดมาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2550 มาตรา 158 บัญญัติวา "ในกรณีที่ศาลมี
คําพิพากษาลงโทษผูใดฐานกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้และผูนั้นเปนผูกระทําให
การเลือกตั้งมิไดเปนไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม หรือเปนผูกระทําการใดอันเปนเท็จเพื่อจะแกลงใหผูสมัครถูก
55 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
เพิกถอนสิทธิเลือกตั้งหรือเพื่อไมใหมีการประกาศผลการเลือกตั้งตามมาตรา 140 วรรคสอง อันเปนเหตุให
ต องมีการเลื อกตั้ งใหมในหน ว ยเลื อกตั้ งหรื อเขตเลื อกตั้ งใด ให ศาลมี คําพิ พากษาว าผู นั้ น ต อ งรั บ ผิ ด ชดใช
คาใชจายสําหรับการเลือกตั้งใหมนั้ นดวย..." ตามบทบัญญัติแหงกฎหมายดังกล าว จะเห็นไดวาผูที่กระทํา
ความผิ ด ตามมาตรา 158 จะต อ งกระทํ าความผิ ด ตาม พ.ร.บ.ประกอบรั ฐ ธรรมนู ญ ว าด ว ยการเลื อกตั้ ง
สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและการไดมาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2550 แตการที่จําเลยซึ่งไดรับการประกาศผล
ตามกฎหมายให เ ป น สมาชิ กวุ ฒิ ส ภาแล ว แต จ งใจยื่ น บั ญชี แ สดงรายการทรั พย สิ น และหนี้ สิ น และเอกสาร
ประกอบดว ยขอความอันเปน เท็จ จนกระทั่งถูกศาลฎีกาแผนกคดี อาญาของผู ดํารงตํ าแหนงทางการเมือง
พิพากษาลงโทษและใหจําเลยพนจากตําแหนงสมาชิกวุฒิสภา อันเปนผลทําใหตําแหนงวุฒิสภาวางลงและโจทก
ตองจัดการเลือกตั้งใหมก็ตามซึ่งเปนกรณีที่จําเลยกระทําการฝาฝนตอ พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการ
ปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542 มาตรา 119 แตการกระทําของจําเลยดังกลาวมิไดเปนการฝา
ฝนตอ พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและการไดมาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา
พ.ศ.2550 แตอยางใด เมื่อกฎหมายไดบัญญัติถึงกรณีที่ผูสมัครรับเลือกตั้งที่ถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งตองชดใช
คาใชจายสําหรับการเลือกตั้งใหมเปนการเฉพาะดังกลาวขางตนแลว การที่จะนําบทบัญญัติแหง ป.พ.พ. มาตรา
420 มาใชบังคับ ก็ตองไดความชัดวา จําเลยจงใจหรือประมาทเลินเลอกระทําตอโจทกโดยผิดกฎหมาย การ
ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินและเอกสารประกอบดวยขอความ กฎหมายกําหนดใหจําเลยยื่นตอ
คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ มิไดมีบทบังคับใหจําเลยตองยื่นตอโจทก สวนการที่
โจทกตองเสียงบประมาณจัดใหมีการเลือกตั้งใหม ก็เปนผลแหงคําพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู
ดํารงตําแหนงทางการเมืองที่ใหจําเลยพนจากตําแหนงสมาชิกวุฒิสภา จําเลยมิไดกระทําละเมิดตอโจทกที่จะทํา
ใหโจทกฟองเรียกรองคาเสียหายอันเกิดจากการเลือกตั้งใหมแตอยางใด
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10570/2558 โจทกบรรยายฟองวา จํ าเลยทั้งสองรวมกัน แจงใหนาย
ทะเบียนหุนสวนบริษัทจดขอความอันเปนเท็จโดยยื่นแบบนําสงงบการเงินรอบปบัญชีสิ้นสุดจํานวน 1 ฉบับ
และสําเนาบัญชีรายชื่อผูถือหุนฉบับใหมจํานวน 1 ฉบับ โดยมีขอความระบุไววาหุนที่ไดจดทะเบียนไวของ
จําเลยที่ 1 จํานวน 100,000,000 บาท จําเลยทั้งสองไดเรียกชําระเงินไปจากผูถือหุนทั้งเจ็ดคนครบถวนเต็ม
จํานวน ซึ่งเปนความเท็จ ความจริงแลวจําเลยทั้งสองยังมิไดเรียกชําระเงินคาหุนที่ผูถือหุนทั้งเจ็ดคนคางชําระ
อยูอีก 49,500,000 บาท อาจทําใหโจทกหรือประชาชนไดรับความเสียหาย โดยเฉพาะโจทกซึ่งเปนเจาหนี้
ตองพบอุปสรรคในการที่จะใชสิทธิบังคับชําระหนี้หรือบังคับคดีเอาแกสิทธิเรียกรองในเงินคาหุนคางชําระของ
จําเลยที่ 1 ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1096 โจทกจึงเปน ผูไดรั บความเสียหายโดยตรง ย อมเปน ผูเ สีย หายใน
ความผิดตาม ป.อ. มาตรา 137 และมาตรา 267
การที่จําเลยทั้งสองยื่นแบบนําสงงบการเงินและบัญชีรายชื่อผูถือหุนอันแสดงใหปรากฏวาผูถือหุนใน
บริษัทจําเลยที่ 1 ไดชําระคาหุนครบถวนแลว อันเปนความเท็จ สงผลใหเห็นในทํานองวาจําเลยที่ 1 ไดรับ
ชําระคาหุนจากผูถือหุนนั้นครบถวนแลวและสิ้นสิทธิในการเรียกใหผูถือหุนสงใชคาหุนซึ่งยังจะตองสงอีก ทั้งๆ

56 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


ที่จําเลยที่ 1 จะตองไดรับเงินคาหุนจากผูถือหุนทั้งเจ็ดคนในสวนที่ยังมิไดชําระคาหุนครบถวน จึงเปนการซอน
เรนสิทธิเรียกรองในเงินคาหุนที่ยังมิไดชําระ เพื่อมิใหโจทกเจาหนี้ของตนซึ่งไดใชหรือจะใชสิทธิเรียกรองทาง
ศาลใหชําระหนี้ไดรับชําระหนี้ทั้งหมดหรือแตบางสวน การกระทําของจําเลยทั้งสองจึงมีความผิดตาม ป.อ.
มาตรา 350 และจําเลยที่ 2 มีความผิดตาม พ.ร.บ.กําหนดความผิดเกี่ยวกับหางหุนสวนจดทะเบียน หาง
หุนสวนจํากัด บริษัทจํากัด สมาคมและมูลนิธิ พ.ศ.2499 มาตรา 40 (1) ดวย
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10547/2558 ขอหารวมกันซอนเรนศพตาม ป.อ. มาตรา 199 มีระวาง
โทษจํ าคุกไมเ กิน หนึ่ ง ป ห รื อปรั บ ไมเ กิน สองพัน บาท หรื อทั้งจํ า ทั้งปรั บ จึ งเป น คดี ที่ มีขอหาในความผิ ด ซึ่ ง
กฎหมายกําหนดอั ต ราโทษอย า งต่ํ า จํ า คุกไมเ กิ น ห า ป ถ าจํ า เลยที่ 1 ให การรั บ สารภาพตามฟอง ศาลจะ
พิพากษาโดยไมสืบพยานหลักฐานตอไปก็ไดตาม ป.วิ.อ. มาตรา 176 วรรคหนึ่ง แตก็มีอํานาจที่จะฟงพยาน
โจทกจนกวาจะพอใจวาจําเลยที่ 1 กระทําผิดจริงได หาจําตองรับฟงเปนเด็ดขาดตามคํารับสารภาพของจําเลย
ที่ 1 ไม เมื่อทางพิจารณาไดความวาคนรายรวมกันปลนทรัพยเปนเหตุใหผูตายถึงแกความตายแลวเอาศพไป
ซอนไวเปนการกระทําตอเนื่องกัน แตพยานหลักฐานของโจทกไมพอใหรับฟงไดโดยปราศจากสงสัยวาจําเลยที่
1 มีสวนรวมในการปลนทรัพยผูตายและซอนเรนศพผูตายอยางไร พยานหลักฐานของโจทกจึงยังไมเปนที่พอใจ
แกศาลวาจําเลยที่ 1 กระทําความผิดตามฟอง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10546/2558 เมื่อโจทกฟองจําเลยเปนคดีอาญาในขอหาความผิดฐาน
ละเมิดลิขสิทธิ์ ตาม พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 มาตรา 70 วรรคสอง ประกอบมาตรา 31 (1) โจทกจึงมี
หน าที่ต องนํ าสื บพยานหลั กฐานพิสู จ น ขอเท็จ จริ งให ครบองคป ระกอบของความผิ ด ฐานดั งกล าวและให มี
น้ําหนักและเหตุผลรับฟงไดโดยปราศจากเหตุอันควรสงสัยวาจําเลยไดกระทําความผิดดังที่โจทกฟองจริง จึงจะ
ลงโทษจําเลยสําหรับความผิดดังกลาวได
โจทกบรรยายฟองวา จําเลยละเมิดลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกตรูปการตูนหุนยนตดีเซ็ปติคอนส รูป
หุนยนตบัมเบิลบี รูปหุนยนตออฟติมัส ไพรม และรูปหุนยนตทรานฟอรมเมอรสของผูเสียหาย โดยจําเลยนําเอา
กลองบรรจุสินคาของเลนหุนยนตที่มีรูปหุนยนตดีเซ็ปติคอนสจํานวน 24 ชิ้น กลองบรรจุสินคาของเลนหุนยนต
ที่มีรูปหุนยนตบัมเบิลบีจํานวน 132 ชิ้น กลองบรรจุสินคาของเลนหุนยนตและของเลนหุนยนตที่มีรูปหุนยนต
ออฟติ มัส ไพรม จํานวน 14 ชิ้ น และกลองบรรจุสิ นคาของเล นหุ นยนต ที่มีรูป หุน ยนตทรานฟอร มเมอร ส
จํานวน 5,330 ชิ้น ของกลางซึ่งมีผูทําซ้ําและดัดแปลงขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผูเสียหายออกขาย เสนอขาย
และมีไวเพื่อขายแกบุคคลทั่วไป อันเปนการกระทําเพื่อแสวงหากําไรในทางการคา โดยจําเลยรูอยูแลววาสินคา
ที่มีรูปการตูนหุนยนตดังกลาวเปนงานที่ไดทําขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผูเสียหายและโดยไมไดรับอนุญาตจาก
ผูเสียหาย ขอใหลงโทษจําเลยตาม พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 มาตรา 70 วรรคสอง ประกอบมาตรา 31 (1)
ดังนี้ โจทกจึงตองนําสืบพยานหลักฐานพิสูจนขอเท็จจริงอันเปนองคประกอบของความผิดตาม พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์
พ.ศ.2537 มาตรา 70 วรรคสอง ประกอบมาตรา 31 (1) ใหมีน้ําหนักและเหตุผลรับฟงไดโดยปราศจากเหตุ
อันควรสงสัยรวม 5 ประการ ไดแก ประการที่ 1 ขอเท็จจริงที่วากลองบรรจุสินคาของเลนหุนยนตของกลาง
57 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
จํานวน 24 ชิ้น มีรูปหุนยนตดีเซ็ปติคอนส จํานวน 132 ชิ้น มีรูปหุนยนตบัมเบิลบี จํานวน 14 ชิ้น มีรูป
หุนยนตออฟติมัส ไพรม และจํานวน 5,330 ชิ้น มีรูปหุนยนตทรานฟอรมเมอรสซึ่งมีผูทําซ้ําและดัดแปลงขึ้น
โดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผูเสียหาย ประการที่ 2 ขอเท็จจริงที่วาจําเลยรูอยูแลววาสินคาที่มีรูปหุนยนตดังกลาว
เปนงานที่ไดทําขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผูเสียหาย ประการที่ 3 ขอเท็จจริงที่วาจําเลยไดขาย เสนอขาย และมี
ไวเพื่อขายแกบุคคลทั่วไปซึ่งสินคาของเลนหุนยนตที่บรรจุอยูในกลองของกลางดังกลาวโดยไมไดรับอนุญาตจาก
ผูเสียหาย ประการที่ 4 ขอเท็จจริงที่วาการกระทําของจําเลยในประการที่ 3 เปนการกระทําโดยมีเจตนาเพื่อ
หากําไร และประการที่ 5 ขอเท็จจริงที่วาการกระทําของจําเลยในประการที่ 3 และที่ 4 เปนการกระทําโดยมี
เจตนาพิเศษเพื่อการคา
โจทกมี ม. ผูรับมอบอํานาจชวงผูเสียหายมาเบิกความลอย ๆ เพียงวา ม. พบวามีสินคาที่ทําขึ้นโดย
ละเมิดลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกตของผูเสียหาย โดยไมปรากฏจากคําเบิกความของ ม. วารูปการตูนหุนยนตที่
ปรากฏอยูบนกลองสินคาของกลางเปนงานที่ทําซ้ําและดัดแปลงขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผูเสียหายเพราะเหตุ
ใด รูปการตูนดังกลาวแตกตางจากรูปการตูนอันมีลิขสิทธิ์ของผูเสียหายอยางไร ม. เคยเห็นรูปการตูนอันมี
ลิขสิทธิ์ของผูเสียหายหรือไมก็ไมปรากฏ ทั้งไมป รากฏวา ม. ไดนําวัตถุพยานของกลางไปตรวจสอบกับรู ป
การตู นซึ่งเปนงานศิลปกรรมอันมีลิขสิทธิ์ของผูเสีย หายวารูป การตู นบนกลองสิ นคาของกลางไดทําขึ้นโดย
ละเมิดลิขสิทธิ์ในรูปการตูนของผูเสียหายดวยการทําซ้ําหรือดัดแปลงโดยไมไดรับอนุญาตจากผูเสียหายอยางไร
นอกจากนี้ ม. พยานโจทก เ ป น เพีย งพนั ก งานบริ ษั ท ว. ซึ่ง ประกอบกิจ การดู แลการละเมิด ลิ ข สิ ท ธิ์ ใ ห แ ก
ผูเสียหาย ทั้งโจทกก็ไมมีพยานหลักฐานมานําสืบใหเห็นวา จําเลยรูอยูแลววาวัตถุพยานของกลางมีงานที่ไดทํา
ขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ในงานศิลปกรรมรูปการตูนของผูเสียหาย พยานหลักฐานของโจทกดังกลาวยังไมมีน้ําหนัก
และเหตุผลใหรับฟงไดโดยปราศจากเหตุอันควรสงสัยวา กลองสินคาวัตถุพยานของกลาง มีรูปการตูนที่ทําขึ้น
โดยละเมิดลิขสิทธิ์ในงานศิลปกรรมรูปการตูนของผูเสียหายอันเปนองคประกอบของความผิดตาม พ.ร.บ.
ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 มาตรา 70 วรรคสอง ประกอบมาตรา 31 (1) ทีโ่ จทกฟอง
สวนที่พยานโจทกเบิกความวา เมื่อมีการจับกุมจําเลย จําเลยใหการรับสารภาพวาจําเลยละเมิดลิขสิทธิ์
ของผู เ สีย หายตามบั น ทึกการตรวจคน จั บ กุมนั้ น ถอยคําของจํ าเลยผูถูกจั บ ตามบั น ทึกการตรวจคน จั บ กุม
ดังกลาวเปนถอยคํารับสารภาพของผูถูกจับวาตนไดกระทําความผิด จึงตองหามมิใหรับฟงเปนพยานหลักฐาน
และไมอาจนํามารับฟงประกอบพยานหลักฐานอื่นของโจทกวา จําเลยไดกระทําความผิดตาม พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์
พ.ศ.2537 มาตรา 70 วรรคสอง ประกอบมาตรา 31 (1) ดั งที่โ จทกฟอ ง ทั้งนี้ ต าม พ.ร.บ.จั ด ตั้ งศาล
ทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศ พ.ศ.2539 มาตรา 45 ประกอบมาตรา 26 และ ป.วิ.อ. มาตรา 84 วรรคทาย
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10534/2558 ป.วิ.อ. มาตรา 46 บัญญัติไววา ในการพิพากษาคดีสวน
แพงศาลจําตองถือขอเท็จจริงตามที่ปรากฏในคําพิพากษาสวนอาญา คดีนี้ขอเท็จจริงที่ฟงเปนยุติในคดีสวน
อาญาคงมีเ พี ย งว า จํ าเลยกระทําโดยประมาท ส ว นขอเท็ จ จริ งที่ว าผู ต ายมีส ว นประมาทหรื อ ไม และใคร
58 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
ประมาทมากกวากันอันเปนขอเท็จจริงที่จะตองนํามาพิจารณาประกอบในการกําหนดคาสินไหมทดแทนนั้น
ศาลชั้ น ต น ยั งมิได วิ นิ จ ฉั ย และจํ าเลยได อุ ทธรณ ไว แล ว เมื่อ ป.วิ . อ. มาตรา 47 วรรคหนึ่ ง บั ญญัติ ว า คํ า
พิพากษาคดีสวนแพงตองเปนไปตามบทบัญญัติแหงกฎหมายอันวาดวยความรับผิดของบุคคลในทางแพงโดยไม
ตองคํานึงถึงวาจําเลยตองคําพิพากษาวาไดกระทําผิดหรือไม และบทบัญญัติอันวาดวยความรับผิดของบุคคล
ในทางแพงในกรณีตางฝายตางประมาททําใหเกิดมูลหนี้ละเมิดขึ้นนั้น ป.พ.พ. มาตรา 442 วางหลักใหนํา
บทบัญญัติแหงมาตรา 223 มาใชบังคับโดยอนุโลม และมาตรา 438 บัญญัติวา คาสินไหมทดแทนจะพึงใช
โดยสถานใดเพีย งใดนั้ น ให ศ าลวิ นิ จ ฉั ย ตามควรแก พฤติ การณและความร ายแรงแห งละเมิ ด ซึ่ งการที่จ ะ
กําหนดคาสินไหมทดแทนแคไหน เพียงใดนั้น ศาลยอมที่จะตองพิจารณาจากพยานหลักฐานของโจทกรวมที่ 1
และที่ 2 และจําเลยที่นําสืบมาวาฝายจําเลยหรือผูตายประมาทมากนอยกวากันอยางไรและเพียงใดดวย จึงจะ
เปนการดําเนินการตามอํานาจที่มีอยูโดยชอบดวยบทบัญญัติของกฎหมาย
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10514 - 10515/2558 จําเลยรวมถูกหมายเรียกเขามาในคดีตามคํา
รองของจําเลยที่ 1 โดยศาลชั้นตนเห็นวาจําเลยที่ 1 อาจฟองจําเลยรวมเพื่อการใชสิทธิไลเบี้ยหรือเพื่อใชคา
ทดแทนอันเปนกรณีรองสอดตาม ป.วิ.พ. มาตรา 57 (3) ซึ่งตามมาตรา 58 ใหผูรองสอดที่ไดเขาเปนคูความ
ตามมาตรา 57 (3) มีสิทธิเสมือนหนึ่งวาตนไดฟองหรือถูกฟองเปนคดีเรื่องใหมและอาจนําพยานหลักฐานใหม
มาแสดง อาจอุทธรณฎีกาคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลตามที่กฎหมายบัญญัติไว และอาจไดรับหรือถูกบังคับ
ใหใชคาฤชาธรรมเนียม ดังนั้น แมจําเลยที่ 1 จะขาดนัดยื่นคําใหการ ก็หาหมดสิทธิที่จะขอศาลหมายเรียก
จําเลยรวมเขามาในคดี ทั้งจําเลยที่ 1 ยื่นคํารองขอมาถูกตองในระหวางพิจารณาคดี จําเลยรวมจึงมีสิทธิเขามา
เปนคูความได คําสั่งศาลชั้นตนที่ใหเรียกจําเลยรวมเขามาเปนคูความชอบแลว
สัญญาเชาระหวางโจทกกับจําเลยที่ 1 มีขอตกลงวา ใหมีการรื้อถอนสิ่งปลูกสรางเดิมและกอสรางสิ่ง
ปลูกสรางใหมตามแบบแปลนทายสัญญาเชา โดยมีการกําหนดเวลาเริ่มลงมือกอสรางและเวลากอสรางใหแลว
เสร็จไว การที่โจทกไมสามารถเริ่มลงมือกอสรางได สืบเนื่องมาจากพื้นที่เชาไดรับการขึ้นทะเบียนจากกรม
ศิลปากรใหเปนโบราณสถานภายหลังจากทําสัญญาเชาแลว การรื้อถอนสิ่งปลูกสรางเดิมและกอสรางสิ่งปลูก
สรางใหมของโจทกเ พื่อใหเ ปนไปตามสัญญาเชาย อมเปน ไปไมได ถือไดวาการชําระหนี้โดยการปฏิ บัติตาม
สัญญากลายเป นพนวิ สัยเพราะพฤติ การณอันใดอันหนึ่งซึ่งเกิด ขึ้นภายหลั งที่ไดกอหนี้และซึ่งลู กหนี้ ไมตอง
รับผิดชอบ ลูกหนี้เปนอันหลุดพนจากการชําระหนี้ตาม ป.พ.พ. มาตรา 219 วรรคหนึ่ง โจทกจึงไมอาจฟอง
บังคับใหจําเลยที่ 1 ปฏิบัติตามสัญญาและเรียกใหชดใชคาเสียหายได แตสัญญาเชาระหวางโจทกกับจําเลยที่ 1
เปนสัญญาตางตอบแทนซึ่งคูสัญญามีหนาที่จะตองชําระหนี้ตอบแทนกัน แมจําเลยที่ 1 จะหลุดพนจากการ
ชําระหนี้ก็ตาม แตจําเลยที่ 1 ก็หามีสิทธิที่จะไดรับชําระหนี้ตอบแทนไมตาม ป.พ.พ. มาตรา 372 วรรคหนึ่ง
โจทกจึงมีสิทธิเรียกเอาคาตอบแทนการเชาที่ชําระไปแลวในวันทําสัญญาคืนจากจําเลยที่ 1 ได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10494/2558 บทบัญญัติ ป.อ. มาตรา 98 มีความหมาย 2 กรณี คือเมื่อ
มีคําพิพากษาถึงที่สุดใหลงโทษผูใด กรณีแรก ถาผูกระทําความผิดยังมิไดรับโทษ ซึ่งหมายถึงหลบหนีไปกอน
59 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
ศาลมีคําพิพากษาลงโทษ หรือหลบหนีไปเมื่อศาลมีคําพิพากษาลงโทษแลวและยังไมไดตัวผูกระทําความผิดมา
เพื่อรับโทษ นับแตวันที่มีคําพิพากษาถึงที่สุด เกินกําหนดเวลาที่กําหนดไวจะลงโทษผูกระทําความผิดไมได
กรณีที่สอง ถาผูกระทําความผิดไดรับโทษแตยังไมครบถวนโดยหลบหนีไป ซึ่งหมายถึงหลบหนีไประหวาง
ตองโทษและยังไมไดตัวผูกระทําความผิดมาเพื่อรับโทษ นับแตวันที่ผูกระทําความผิดหลบหนีเกินกําหนดเวลาที่
กําหนดไวจะลงโทษผูกระทําความผิดไมได ผูถูกกลาวหาหลบหนีไปไมมาฟงคําสั่งศาลชั้นตน คําพิพากษาศาล
อุ ท ธรณ และคํ า พิ พ ากษาศาลฎี ก า จึ ง เป น กรณี ที่ ผู ถู ก กล า วหายั ง ไม ไ ด รั บ โทษตามคํ า พิ พ ากษา การนั บ
ระยะเวลาวาจะลงโทษผูถูกกลาวหาไดหรือไม จึงตองนับแตวันที่ไดมีคําพิพากษาถึงที่สุดใหลงโทษผูถูกกลาวหา
เมื่อศาลชั้นตนอานคําพิพากษาศาลฎีกาใหคูความฟงวันที่ 24 เมษายน 2555 คดีจึงถึงที่สุดในวันดังกลาว
เมื่อนับถึงวันที่ 4 พฤศจิกายน 2557 ซึ่งเปนวันที่ไดตัวผูถูกกลาวหามาจึงไมเกินหาปอันลวงเลยการลงโทษ
ตาม ป.อ. มาตรา 98 (4)
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10493/2558 คดีนี้มีอัตราโทษจําคุกไมเกิน 3 ป หรือปรับไมเกิน 6,000
บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ เมื่อศาลชั้นตนพิพากษายกฟอง จึงตองหามมิใหโจทกอุทธรณในปญหาขอเท็จจริง เวน
แตผูพิพากษาซึ่งพิจารณาหรือลงชื่อในคําพิพากษาหรือทําความเห็นแยงในศาลชั้นตนพิเคราะหแลวเห็นวา
ขอความที่ตั ด สิ น นั้ น เป น ป ญหาสําคัญอัน ควรสู ศาลอุทธรณและอนุ ญาตใหอุทธรณ หรื ออัย การสู งสุ ด หรื อ
พนักงานอัยการซึ่งอัยการสูงสุดไดมอบหมายลงลายมือชื่อรับรองในอุทธรณวามีเหตุอันควรที่ศาลอุทธรณจะได
วินิจฉัย ตาม พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง พ.ศ.2499 มาตรา 22 และ
มาตรา 22 ทวิ ประกอบ พ.ร.บ.ใหนําวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวงมาใชบังคับในศาลจังหวัด พ.ศ.
2520 มาตรา 3 ซึ่งขั้นตอนในการปฏิบัติตามขอยกเวนใหโจทกอุทธรณในปญหาขอเท็จจริงไดดังกลาวมิไดมี
บัญญัติวางหลักเกณฑไวโดยเฉพาะใน พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง พ.ศ.
2499 จึงตองนําบทบัญญัติแหง ป.วิ.พ. มาตรา 224 วรรคทาย มาใชบังคับโดยอนุโลม คือ โจทกตองยื่นคํา
รองพรอมกับคําฟองอุทธรณตอศาลชั้นตนขอใหผูพิพากษาคนใดซึ่งพิจารณา หรือลงชื่อในคําพิพากษา หรือทํา
ความเห็นแยงในศาลชั้นตน อนุญาตใหโจทกอุทธรณในปญหาขอเท็จจริงได แตโจทกไมไดยื่นคํารองดังที่กลาว
ขางตน การที่ผูพิพากษาซึ่งพิจารณาและลงชื่อในคําพิพากษาศาลชั้นตนมีคําสั่งรับอุทธรณของโจทกและใหสง
สําเนาใหจําเลยทั้งสามแก จึงไมมีผลตามกฎหมายใหโจทกอุทธรณในปญหาขอเท็จจริงได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10492/2558 ในคดีอาญาไมมีบทบัญญัติของกฎหมายใหศาลที่พิจารณา
คดีอาญาจําตองถือขอเท็จจริงตามที่ปรากฏในคําพิพากษาคดีสวนแพง เพราะในคดีแพงศาลจะชั่งน้ําหนักคํา
พยานวาฝายใดมีน้ําหนักนาเชื่อถือยิ่งกวากัน แตในคดีอาญาศาลจะตองใชดุลพินิจชั่งน้ําหนักพยานหลักฐานทั้ง
ปวงจนแนใจวาพยานหลักฐานของโจทกพอรับลงโทษจําเลยไดหรือไมตาม ป.วิ.อ. มาตรา 227 ดังนั้น คํา
พิพากษาในคดี ของศาลแพงซึ่งโจทกและจํ าเลยทั้งสองในคดี นี้เ ป นคูความในคดี แพงดั งกล าว จึ งเปน เพีย ง
พยานหลักฐานที่ศาลจะนํามาชั่งน้ําหนักประกอบกับพยานหลักฐานอื่นของโจทกในคดีนี้วา จําเลยทั้งสองได
กระทําผิดตามฟองหรือไมเทานั้น การที่ศาลอุทธรณภาค 8 จะรับฟงขอเท็จจริงในคดีแพงเพียงอยางเดียวมา

60 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


วินิจฉัยชี้ขาดวา จําเลยทั้งสองปกเสาปูนและลอมรั้วลวดหนามในที่ดินโจทก โดยมิไดวินิจฉัยพยานหลักฐานอื่น
ของโจทกและจําเลยทั้งสองในคดีนี้หาไดไม การรับฟงพยานหลักฐานของศาลอุทธรณภาค 8 ในขอเท็จจริง
ดังกลาว จึงเปนการไมชอบดวยกฎหมาย และถือเปนเหตุอยูในสวนลักษณะคดี ศาลฎีกามีอํานาจพิพากษา
ตลอดไปถึงจําเลยที่ 2 ที่ไมไดฎีกาดวยตาม ป.วิ.อ. มาตรา 213 ประกอบมาตรา 225 ใหยอนสํานวนไปให
ศาลอุทธรณภาค 8 พิจารณาพิพากษาใหมตามรูปคดี
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10488/2558 ป.อ. มาตรา 38 บัญญัติวา "โทษใหเปนอันระงับไป
ดวยความตายของผูกระทําความผิด" เมื่อจําเลยถึงแกความตายในระหวางการพิจารณาของศาลฎีกา โทษตาม
คําพิพากษาของศาลลางทั้งสองจึงเปนอันระงับไปตามบทบัญญัติดังกลาว เมื่อผูรองซึ่งเปนทายาทของผูตายยื่น
คํารองขอคืนคาปรับที่จําเลยชําระตอศาลตามคําพิพากษาศาลชั้นตน จึงตองคืนเงินคาปรับใหแกผูรอง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10461/2558 เมื่อโจทกผูรับประกันภัยไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเอา
ประกันแลว ก็ยอมเขารับชวงสิทธิของผูเอาประกันภัยผูเปนเจาหนี้ไดและชอบที่จะใชสิทธิทั้งหลายบรรดาที่
เจาหนี้มีอยูในมูลหนี้ รวมทั้งประกันแหงหนี้ในนามของตนเองตาม ป.พ.พ. มาตรา 226 และมาตรา 880 มี
ความหมายวาเจาหนี้มีสิทธิเพียงใด ผูรับชวงสิทธิก็ไดรับสิทธิไปเพียงนั้นเสมอเหมือนกันตามความเสียหายที่
แทจริง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10451/2558 โจทกเปนภริยาโดยชอบดวยกฎหมายของ พ. ซึ่งไดที่ดิน
พิพาทมาเมื่อป 2520 อันเปนเวลาภายหลังที่บรรพ 5 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยที่ไดตรวจชําระ
ใหม พ.ศ.2519 ใชบังคับแลว ที่ดินพิพาทจึงไมเปนสินบริคณห แตเปนสินสมรสตามบทบัญญัติที่ใชบังคับอยู
ในขณะที่ไดที่ดินพิพาทมา
พ. มีทรัพยสินเปนที่ดินราคาเปนหมื่นลานบาท เมื่อเทียบกับที่ดินพิพาททีย่ กใหแกจําเลยที่ 1 บุตรของ
พ. กับภริยาคนกอนซึ่งมีราคาเพียงเล็กนอย ทั้ง พ. ก็เคยยกที่ดินใหแกบุตรทั้งสามคนที่เกิดกับโจทก การยก
ที่ดินพิพาทดังกลาวใหแกจําเลยที่ 1 จึงเปนการยกใหแกบุตรทุกคนอยางเสมอกันตามกําลังทรัพยของผูยกให
จึงเปนการใหโ ดยเสนห าที่พอสมควรแกฐานานุ รูปของครอบครั วหรือตามหนาที่ธรรมจรรยา ตาม มาตรา
1476 (5) แมโจทกจะไมใหความยินยอมก็ฟองเพิกถอนการใหโดยเสนหาระหวาง พ. กับจําเลยที่ 1 ไมได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10442/2558 โจทกฟองหยาจําเลยและขอเปนผูใชอํานาจปกครองและ
อุปการะเลี้ย งดูเด็ กชาย ม. จําเลยใหการวา โจทกวาจ างจําเลยใหจดทะเบีย นสมรส และใชวิ ทยาการทาง
การแพทยโดยการผสมเชื้ออสุจิเพื่อตั้งครรภเด็กชาย ม. ใหโจทก โดยไมเคยไดใชชีวิตดังสามีภริยาเลย เมื่อ
เด็กชาย ม. คลอด โจทกไมสงเงินมาให ไมชําระคาอุปการะเลี้ยงดูบุตรแตกลับขูใหสงมอบบุตรให ขอใหยกฟอง
ศาลไดกําหนดประเด็นขอพิพาทดวยวา การจดทะเบียนสมรสระหวางโจทกและจําเลยเปนโมฆะหรือไมโดยให
จําเลยมีภาระการพิสูจนในประเด็นดังกลาว เมื่อขอเท็จจริงรับฟงเปนยุติวา การจดทะเบียนสมรสระหวางโจทก
กับจําเลยเปนการจดทะเบียนที่ปราศจากความยินยอมที่จะอยูกินฉันสามีภริยากันอยางแทจริง เนื่องจากโจทก
61 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
กับจําเลยจดทะเบียนสมรสกันเพราะโจทกตกลงวาจางจําเลยใหตั้งครรภบุตรใหแกโจทกดวยวิธีการผสมเทียม
โดยตางไมยินยอมเปนสามีภริยากันอยางแทจริงและไมประสงคที่จะอยูกินรวมกันฉันสามีภริยา จึงเปนการ
สมรสที่ผิดเงื่อนไขตาม ป.พ.พ. มาตรา 1458 ซึ่งมีผลใหการสมรสระหวางโจทกกับจําเลยเปนโมฆะ ตาม ป.
พ.พ. มาตรา 1496 วรรคหนึ่ง การที่จําเลยใหการตอสูคดีวาการสมรสเปนโมฆะ ถือไดวาเปนกรณีที่จําเลยซึ่ง
เปนผูมีสวนไดเสียรองขอตอศาลใหการสมรสเปนโมฆะ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1496 วรรคสองแลว ปญหา
ดังกลาวเป นขอกฎหมายที่เกี่ยวกับ ความสงบเรีย บร อยของประชาชน ศาลมีอํานาจพิพากษาว าการสมรส
ระหวางโจทกกับจําเลยเปนโมฆะได กรณีไมเปนการพิพากษาเกินคําขอตาม ป.วิ.พ. มาตรา 142
แมการสมรสระหวางโจทกกับจําเลยเปนโมฆะ แตเมื่อบุตรผูเยาวคลอดระหวางที่ศาลยังไมไดมีการ
พิพากษาวาการสมรสระหวางโจทกกับจําเลยเปนโมฆะ ผูเยาวจึงเปนบุตรโดยชอบดวยกฎหมายของโจทกตาม
ป.พ.พ. มาตรา 1536 วรรคสอง
****คํ า พิ พากษาศาลฎี ก าที่ 10384/2558 การแจ งข อหาและการสอบปากคํา จํ า เลยในชั้ น
สอบสวนแมมิไดกระทําตอหนาที่ปรึกษากฎหมายตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ พ.ศ.2553 มาตรา
75 วรรคสอง โดยกระทําตอหนาทนายความซึ่งไมผานการอบรมเปนที่ปรึกษากฎหมายของศาลเยาวชนและ
ครอบครัวกลาง แตก็มีผลเพียงทําใหคําใหการชั้นสอบสวนของจําเลยไมอาจรับฟงเปนพยานหลักฐานได ตาม
ป.วิ.อ. มาตรา 226 ประกอบ พ.ร.บ.ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ พ.ศ.2553 มาตรา 6 เทานั้น ไมถึงขนาด
เปนเหตุใหการสอบสวนของพนักงานสอบสวนเสียไป กรณีถือไดวาพนักงานสอบสวนไดมีการสอบสวนความผิด
ในคดีนี้ ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 120 แลว โจทกจึงมีอํานาจฟอง
*** คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10319/2558 การที่จําเลยทั้งสามรวมกันนํายาฆาแมลงใสในผล
มะละกอใหชางกิน ชางไดรับสารพิษทําใหลมลงกับพื้น ขณะที่ยังไมถึงแกความตายจําเลยทั้งสามรวมกันใช
เลื่อยเหล็กตัดงาชาง เปนเหตุใหชางไดรับทุกขเวทนาอันไมจําเปนและถึงแกความตายในเวลาตอมา แลวจําเลย
ทั้งสามรวมกันลักงาชางไปโดยใชรถยนตเปนยานพาหนะเพื่อสะดวกแกการกระทําผิด การพาทรัพยนั้นไปและ
เพื่อให พน การจั บ กุม จํ าเลยทั้งสามจึ งมีค วามผิ ด ฐานร ว มกัน ทํา ให เ สี ย ทรั พย ร ว มกั น ฆาสั ต ว โ ดยให ได รั บ
ทุกขเวทนาอันไมจําเปน และรวมกันลักทรัพยโดยใชยานพาหนะ แตการกระทําดังกลาวมุงประสงคเพื่อลัก
งาชางเปนสําคัญ จึงเปนกรรมเดียวเปนความผิดตอกฎหมายหลายบท ตองลงโทษตาม ป.อ. มาตรา 335 (1)
(7) วรรคสอง ประกอบมาตรา 336 ทวิ ซึ่งเปนบทที่มีโทษหนักที่สุดเพียงบทเดียวตาม ป.อ. มาตรา 90
คํ า พิพากษาศาลฎี ก าที่ 10292/2558 ในการฟองคดี ล มละลายของเจ าหนี้ มีป ระกัน พ.ร.บ.
ลมละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 10 (2) บังคับใหโจทกตองตีราคาหลักประกันมาในฟอง ซึ่งเมื่อหักกับจํานวน
หนี้ของตนแลว เงินยังขาดสําหรับลูกหนี้ซึ่งเปนบุคคลธรรมดาไมนอยกวาหนึ่งลานบาท หรือลูกหนี้ซึ่งเปนนิติ
บุคคลไมนอยกวาสองลานบาท เนื่องจากเจาหนี้มีประกันยอมมีสิทธิเหนือทรัพยสินอันเปนหลักประกันของ
ลูกหนี้ในอันที่จะบังคับชําระหนี้เอาแกหลักประกันนั้นไดกอนเจาหนี้ไมมีประกัน ซึ่งเมื่อนําราคาหลักประกันมา

62 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


หักชําระหนี้แลว เงินยังขาดอยูเทาใด หนี้สวนที่เหลือยอมเปนหนี้ธรรมดาเฉกเชนเดียวกับเจาหนี้ไมมีประกัน
ฉะนั้น การตีราคาหลักประกันจึงตองถูกตองเหมาะสมดวย หากตีราคาหลักประกันต่ําเกินสมควรเพียงเพื่อจะ
ให จํ า นวนหนี้ อ ยู ในหลั ก เกณฑในการฟองลู กหนี้ ให ล มละลายก็จ ะไม เ ป น ธรรมแก ลู กหนี้ ศาลจึ งมีอํ านาจ
พิจารณาตรวจสอบการตีราคาหลักประกันของโจทกดวย
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10260/2558 พ.ร.บ.คุมครองผูประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535 มาตรา 4
กําหนดใหคารักษาพยาบาลเปนคาเสียหายเบื้องตน ซึ่งเปนสวนหนึ่งของเงินคาสินไหมทดแทนตาม ป.พ.พ.
ดังที่บัญญัติไวใน มาตรา 25 วรรคสอง และเมื่อบริษัทรับประกันภัยจายคาเสียหายเบื้องตนดังกลาวไปแลว
เปนจํานวนเทาใด มาตรา 31 บัญญัติวายอมมีสิทธิไลเบี้ยเอาจากบุคคลภายนอกหรือจากเจาของรถ ผูขับขี่รถ
ผูซึ่งอยูในรถ หรือผูประสบภัย หากเกิดขึ้นเพราะความจงใจหรือความประมาทเลินเลออยางรายแรงของบุคคล
ดังกลาว แมมาตรา 22 จะไมตัดสิทธิของโจทกที่จะเรียกรองคาสินไหมทดแทนเพิ่มเติมตาม ป.พ.พ. แตก็มิได
หมายความวาเปนการใหสิทธิโจทกในอันจะไดรับเงินคารักษาพยาบาลที่รับไปแลวไดอีก จึงตองนําเงินที่โจทก
ไดรับมาแลวตามกรมธรรมประกันภัยคุมครองผูประสบภัยจากรถหักออกจากคารักษาพยาบาลที่โจทกจายไป
จริงดวย
ศาลชั้ น ต น อนุ ญาตใหโ จทกฟองโดยได รับ ยกเว น คาธรรมเนี ย มศาลเฉพาะคาขึ้น ศาลกึ่งหนึ่ ง และ
พิพากษาให จําเลยทั้งสี่ ร วมกันใช คาฤชาธรรมเนี ยมแทนโจทกเทาที่ช นะคดี โดยกําหนดคาทนายความให
10,000 บาท แตมิไดสั่งใหจําเลยทั้งสี่รวมกันชําระคาธรรมเนียมศาลในนามของโจทกตาม ป.วิ.พ. มาตรา
158 ศาลฎีกาจึงสั่งใหมใหถูกตอง
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10258/2558 โจทกเพียงตองการจํานองที่ดินพิพาทพรอมบานพิพาท
จึงลงชื่อในหนังสือมอบอํานาจ โดยยังไมไดกรอกขอความให อ. นําไปจํานอง จําเลยที่ 1 ไปกรอกขอความเปน
ขาย แลวดําเนินการจดทะเบียนเปนวาโจทกขายแกจําเลยที่ 1 โดยที่โจทกและ อ. ไมไดไปที่สํานักงานที่ดินใน
วันจดทะเบียนซื้อขาย ไมรูเห็นยินยอมใหขายและไมไดรับเงินคาขายแตอยางใด หนังสือมอบอํานาจดังกลาวจึง
เปนเอกสารปลอม ตองถือวานิติกรรมการซื้อขายระหวางโจทกกับจําเลยที่ 1 มิไดเกิดขึ้น จําเลยที่ 1 ตองคืน
ที่ดินพิพาทและบานพิพาทแกโจทก และศาลตองพิพากษาเพิกถอนการจดทะเบียนนิติกรรมนี้เสีย จริงอยูแม
การที่โจทกลงชื่อในหนังสือมอบอํานาจโดยไมไดกรอกขอความเปนความประมาทเลินเลอของโจทก แตจําเลยที่
1 รูเห็นเกี่ยวกับการปลอมหนังสือมอบอํานาจดังกลาว และเปนผูใชหนังสือมอบอํานาจปลอมดังกลาว จําเลยที่
1 จึงไมใชผูรับโอนโดยสุจริต สวนจําเลยที่ 2 มีเจตนาซื้อขายทรัพยสินซึ่งเปนวัตถุแหงการซื้อขายคือที่ดินและ
บานที่ ธ. กับ ก. และจําเลยที่ 1 ชี้ใหดู อันเปนสิ่งซึ่งเปนสาระสําคัญแหงการซื้อขาย ไมไดมีเจตนาซื้อที่ดิน
พิพาทและบานพิพาทแตอยางใด การที่จําเลยที่ 2 เขาทํานิติกรรมซื้อที่ดินพิพาทพรอมบานพิพาทเนื่องจากถูก
ธ. กับ ก. และจํ าเลยที่ 1 หลอกลวงจึ งเป น ไปโดยสํ าคัญ ผิ ด ในทรั พย สิ น ซึ่ งเป น วั ต ถุแห ง นิ ติ กรรมอัน เป น
ความสําคัญผิดในสิ่งซึ่งเปนสาระสําคัญแหงนิติกรรม เปนโมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา 156 จําเลยที่ 2 ตองคืน
ที่ดินพิพาทและบานพิพาทแกโจทกและศาลตองพิพากษาเพิกถอนการจดทะเบียนนิติกรรมนี้เสียเชนกัน ใน
63 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
กรณีเชนนี้ ไมวาจําเลยที่ 2 สุจริตหรือไม จําเลยที่ 2 ก็ไมมีทางไดกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทและบานพิพาท สวน
ขอที่จําเลยที่ 2 อางวาจําเลยที่ 2 ไดเสียคาตอบแทนอันอาจไดรับความเสียหายเพียงใดหรือไมก็เปนเรื่องที่จะ
ไปวากลาวเอาจาก ธ. ก. และจําเลยที่ 1 ไมเปนเหตุผลใหจําเลยที่ 2 ไดกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทและบาน
พิพาท
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10181/2558 ตามฟองของโจทก นอกจากโจทกฟองใหรับผิดตามสัญญา
รับจางสํารวจและประเมินราคาทรัพยสินแลว ถือไดวา โจทกยังฟองขอใหจําเลยทั้งสามรับผิดฐานละเมิดดวย
ดังจะเห็นไดจากที่โจทกบรรยายฟองดวยวาจําเลยที่ 1 และผูประเมินซึ่งก็คือจําเลยที่ 2 และที่ 3 มีความ
บกพรอง มีความประมาทเลินเลอ ไมละเอียดรอบคอบในฐานะผูประกอบวิชาชีพ โดยไมตรวจสอบระวางที่ดิน
ทําใหไมทราบวามีการปลูกสรางอาคารรุกล้ําที่ดินแปลงขางเคียง และประเมินที่ดินผิดแปลง เปนเหตุใหโจทก
ไดรับความเสียหาย ทั้งตามรายงานตอโจทกตามแบบสรุปผลการประเมินราคาหลักประกัน จําเลยที่ 2 และที่
3 ลงชื่อเปนผูประเมิน จําเลยที่ 1 ลงชื่อในชองผูจัดการ อันเปนการรวมกันรายงานตอโจทก ดังนั้น จําเลยที่ 2
และที่ 3 ตองรวมรับผิดกับจําเลยที่ 1 ตอโจทกดวย
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10173/2558 ป.วิ.อ. มาตรา 182 วรรคสองและวรรคสาม บัญญัติให
ศาลอานคําพิพากษาในศาลตอหนาคูความโดยเปดเผย เมื่ออานแลวใหคูความลงลายมือชื่อไว และมาตรา 2
(15) ไดใหคําจํากัดความของคําวา "คูความ" ไววา หมายถึงโจทกฝายหนึ่งและจําเลยอีกฝายหนึ่ง ซึ่งมาตรา 2
(3) บัญญัติวา "จําเลย" หมายถึงบุคคลซึ่งถูกฟองยังศาลแลวโดยขอหาวาไดกระทําความผิด ฉะนั้นทนายจําเลย
ที่ 2 จึงมิไดเปนจําเลยที่ 2 หรือเปนคูความตามความหมายดังกลาวแตอยางใด จึงไมอาจถือวาการสงหมายนัด
ฟงคําพิพากษาศาลอุทธรณภาค 8 ใหแกทนายจําเลยที่ 2 เปนการสงใหแกจําเลยที่ 2 ดวย
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10166/2558 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540
มาตรา 32 และรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 ซึ่งใชบังคับในวันฟองคดีนี้ มาตรา 39
วรรคหนึ่ง บัญญัติเชนเดียวกันวา "บุคคลไมตองรับโทษทางอาญา เวนแตไดกระทําการอันกฎหมายที่ใชอยูใน
เวลาที่กระทํานั้นบัญญัติเปนความผิดและกําหนดโทษไว และโทษที่จะลงแกบุคคลนั้นจะหนักกวาโทษที่กําหนด
ไวในกฎหมายที่ใชอยูในเวลาที่กระทําความผิดไมได" บทบัญญัติเรื่องอายุความตาม ป.อ. มาตรา 95 แมไมใช
บทบัญญัติที่เกี่ยวกับโทษจะลงแกผูกระทําความผิด แตก็เปนบทบัญญัติเกี่ยวกับระยะเวลาที่บุคคลอาจตองรับ
โทษทางอาญาซึ่งเกี่ยวพันกับบทกําหนดโทษ พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปราม
การทุจริต มาตรา 74/1 ที่มิใหนับระยะเวลาที่ผูถูกกลาวหาหลบหนีรวมเปนสวนหนึ่งของอายุความ ยอมทําให
ระยะเวลาที่บุคคลอาจตองรับโทษอาญาเพิ่มขึ้นหรือหนักกวาระยะเวลาที่กําหนดไวตาม ป.อ. มาตรา 95 ซึ่ง
มิไดมีบทบัญญัติเชนมาตรา 74/1 แหงพระราชบัญญัติดังกลาว จึงตองใชบทบัญญัติเรื่องอายุความตาม ป.อ.
มาตรา 95 ซึ่งเปนกฎหมายที่ใชอยูในเวลาที่กระทําความผิด อันเปนสิทธิในกระบวนการยุติธรรมของบุคคล
ตามรั ฐธรรมนู ญ หาใช เปน การสนับ สนุน ผูกระทําความผิด ใหไมตองรับ โทษ การใช บทบั ญญัติ ตาม พ.ร.บ.

64 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต มาตรา 74/1 บังคับแกคดีนี้ จะเปนการ
ละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานในกระบวนการยุติธรรมที่รัฐธรรมนูญบัญญัติรับรองและคุมครอง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10157/2558 จําเลยที่ 1 มีหนาที่รับเงิน ออกใบเสร็จรับเงิน ลงรายการ
รับเงิน เลขที่ใบเสร็จและจํานวนเงินในสมุดควบคุมเงิน ตอมาจําเลยที่ 1 ยักยอกเงินคาเชาซื้อของโจทก จําเลย
ที่ 2 เปนหัวหนาสํานัก จําเลยที่ 3 ที่ 4 เปน พนักงานจัดการทรัพยสิน จําเลยที่ 5 เปนหัว หนาสํานักงาน
ภายหลังจําเลยที่ 2
คําฟองโจทกบรรยายวาโจทกจางจําเลยที่ 2 ถึงที่ 5 ใหทํางานและมอบหมายใหมีหนาที่ควบคุมดูแล
การจัดเก็บเงินรวมถึงทรัพยสินของโจทกแตกลับปลอยปละละเลยจนเปนเหตุใหจําเลยที่ 1 ยักยอกเงินของ
โจทก ถือวาการปฏิบัติหนาที่ของจําเลยที่ 2 ถึงที่ 5 มีความบกพรองและประมาทเลินเลออยางรายแรงตาม
ระเบียบขอบังคับของโจทกอัน เปน สภาพการจ างตามสัญญาจ าง จําเลยที่ 2 ถึงที่ 5 จึงมีหนาที่ต องชดใช
คาเสียหายแกโจทกตามสัญญาจางในฐานะผูบังคับบัญชาของจําเลยที่ 1 จึงเปนการฟองขอใหจําเลยที่ 2 ถึงที่
5 รั บ ผิ ด ทั้ง มูล ละเมิด และมูล สั ญ ญาจ างแรงงาน ไมมี กฎหมายบั ญญั ติ อายุ ค วามในเรื่ องผิ ด สั ญญาจ า งไว
โดยเฉพาะ จึงมีกําหนด 10 ป ตาม ป.พ.พ. มาตรา 193/30 จําเลยที่ 1 ยักยอกเงินตั้งแตเดือนสิงหาคม
2542 โจทกฟองคดีเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2550 ฟองโจทกในเรื่องผิดสัญญาจางแรงงานจึงไมขาดอายุ
ความ
จําเลยที่ 2 และที่ 5 ไมปฏิบัติตามระเบียบโดยไมไดมอบหมายใหมีพนักงานทะเบียนและพนักงานรับ
เงินเปนคนละคนกันเนื่องมาจากวาหากคนใดไมมาทํางานจะไมสามารถรับเงินจากลูกคาได และตองตรวจดู
ทะเบียนลูกหนี้รายตัวประกอบใบเสร็จรับเงินจึงจะทราบวาการลงทะเบียนใบเสร็จรับเงินเปนเท็จ จําเลยที่ 2
ถึงที่ 5 มีหนาที่ดูแลงานดานอื่นดวย ไมมีหนาที่ควบคุมการรับเงินอยางเดียวโดยตรง กองคลังของโจทกซึ่งมี
หนาที่ตรวจสอบโดยตรงก็ยังตรวจสอบไมพบถึงความผิดปกตินั้น การที่จําเลยที่ 2 ถึงที่ 5 ไมสามารถปฏิบัติ
ตามระเบียบไดอยางเครงครัดจึงเปนเพียงการการปฏิบัติหนาที่โดยประมาทเลินเลอธรรมดา
โจทกฟองขอใหจําเลยที่ 2 ถึงที่ 5 รับผิดเฉพาะกรณีเปนการปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลอ
อยางรายแรงเทานั้น มิไดใหรับผิดกรณีประมาทเลินเลอดวย จําเลยที่ 2 ถึงที่ 5 จึงไมตองรับผิดใชคาเสียหาย
แกโจทก
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10156/2558 แมผูจัดการทั่วไปของจําเลยที่ 1 เบิกความวา จําเลยที่ 1
ไมมีสาขาในประเทศราชอาณาจักรสวีเดน ขั้นตอนในการดําเนินการขนสงจะตองอาศัย Agent หรือผูรับขนสง
ที่ประเทศตนทาง ตามใบวางบิลของจําเลยที่ 2 มีการหักสวนของกําไรที่เปนของจําเลยที่ 1 ออกดวย จําเลยที่
1 มีกําไรจากคาขนสงสวนหนึ่ง คาธรรมเนียมใบสั่งปลอยสินคา และคาเงินที่ผันผวน เมื่อตรวจดูการโตตอบ
ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกสระหวางพนักงานฝายขายของจําเลยที่ 1 ซึ่งมีหนาที่ขายระวางกับเจาหนาที่ของ
จําเลยที่ 2 แลว เห็นไดวา จําเลยที่ 1 ไดผลประโยชนในสวนที่เปนคาระวาง (Air Freight) ดวย เมื่อ ม. ติดตอ
65 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
วาจางจําเลยที่ 1 เพื่อการขนสงสินคาพิพาทตามภาระที่เกิดจากเงื่อนไขการสงมอบแบบ FCA และตอมาเมื่อ
การขนสงเสร็จสิ้นจําเลยที่ 1 ไดรับคาตอบแทนสวนหนึ่งจากคาระวางทั้งหมดที่เกิดขึ้นดังกลาวจาก ม. แม
จําเลยที่ 1 จะไมไดเปนผูขนสงสินคาพิพาทเอง กรณีก็ถือไดวาจําเลยที่ 1 เปนคูสัญญาขนสงกับ ม. ผูสงที่
แทจริงตามความหมายของ ป.พ.พ. มาตรา 608 และ 610 แลว หากสินคาพิพาทเสียหายในระหวางการ
ขนสง จําเลยที่ 1 ตองรับผิดตามมาตรา 616 และเมื่อจําเลยที่ 1 มอบหมายใหจําเลยที่ 2 ขนสงสินคาพิพาท
จําเลยที่ 2 จึงเปนผูขนสงอื่นที่ตองรับผิดดวยหากวาสินคาพิพาทเสียหายในระหวางการขนสง ทั้งนี้ ตามมาตรา
617 และ 618
จําเลยที่ 2 ไดรับมอบหมายจากจําเลยที่ 1 ใหขนสงสินคาพิพาทแตจําเลยที่ 2 มอบหมายตอไปให
จําเลยที่ 3 เปนผูขนสงสินคาพิพาทมายังทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จําเลยที่ 3 จึงอยูในฐานะเปนผูขนสงอื่นใน
การขนสงที่มีผู ขนสงหลายคนหลายทอดตามความหมายในมาตรา 617 และ 618 แมใบรับ ขนของทาง
อากาศจะไมมีชื่อของ ม. ปรากฏอยู แตขอเท็จจริงฟงยุติวา จําเลยที่ 3 เปนผูขนสงสินคาพิพาทที่แทจริง และ
ถาขอเท็จจริงรับฟงไดวาสินคาเสียหายในระหวางการขนสงโดยจําเลยที่ 3 จําเลยที่ 3 ยอมมีความรับผิดตอ ม.
ผูซื้อในเงื่อนไขสงมอบแบบ FCA นอกจากนั้นตามใบรับขนของทางอากาศของจําเลยที่ 3 ซึ่งเปนหลักฐานแหง
สัญญารับขนของ แมจะระบุวาจําเลยที่ 2 เปนผูสงและจําเลยที่ 1 เปนผูรับตราสง แตก็ระบุในชอง Nature
and Quantity of Goods วา CONSOLIDATED CARGO AS PER ATTACHED MANIFEST โดยมี Cargo
Manifest แนบอยูในชอง House Airway Bill/Consignee ระบุชื่อ ม. เปนผูรับตราสงไวดวย เชนนี้ จําเลยที่
3 ในฐานะผูประกอบกิจการขนสงยอมรูและเขาใจอยูแลววาผูรับสินคาพิพาทที่ปลายทางที่แทจริงคือ ม. ผูรับ
ตราสงที่แทจริงตามมาตรา 627 เมื่อโจทกชดใชคาสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยแลวยอมรับชวงสิทธิ
มาฟองจําเลยที่ 3 ได
ตามใบรั บ ขนของทางอากาศที่จํ าเลยที่ 3 ออกด านหน ามี ช องระบุ ข อความให ผู ส งทราบว า ผู ส ง
สามารถกําหนดเพิ่มจํานวนจํากัดความรับผิดของผูขนสงไดมากกวาที่ผูขนสงจํากัดความรับผิดไว ดวยการชําระ
คาระวางขนสงเพิ่มเติมแกผูขนสง และที่ดานหลังมีขอความพิมพไว ซึ่งมี Notice Concerning Carrier's
Limitation of Liability กําหนดจํานวนจํากัดความรับผิดของจําเลยที่ 3 ไวที่ 19 SDR ตอน้ําหนักสินคาที่
เสียหายหรือสูญหาย 1 กิโลกรัม เมื่อดานหนาของใบรับขนของทางอากาศไมปรากฏวามีการระบุมูลคาของ
สินคาพิพาทไวในชอง Value for Carriage ดังนี้ จําเลยที่ 3 ยอมจํากัดความรับผิดไวไดตามที่ปรากฏหลังใบรับ
ขนของทางอากาศ
เมื่อความเสียหายเกิด ขึ้นในระหวางการดูแลของจําเลยทั้งสาม และโจทกจ ายเงินชดใชคาสินไหม
ทดแทนความเสียหายใหแกผูเอาประกันภัยไปแลว โจทกจึงมีสิทธิคิดดอกเบี้ยนับแตวันที่โจทกไดใชคาสินไหม
ทดแทนไปไดโดยไมจําตองบอกกลาวกอน

66 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10082/2558 แมวาขณะ ส. เสียชีวิต ส. ไมไดอยูในเรือโดยสารหรือขณะ
กําลังขึ้นหรือลงเรือโดยสารโดยตรงเสียทีเดียว แตเปนการเสียชีวิตขณะที่ ส. นําเรือโดยสารไปเก็บหลังจากสง
ผูโดยสารเรียบรอยจึงอยูในระหวางการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานประจําเรือ ซึ่งกรมธรรมประกันภัยไดขยาย
ความคุมครองพนักงานประจําเรือ กรณีประสบอุบัติเหตุดังกลาวดวย ตามตารางกรมธรรม
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10073/2558 ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 172 วรรคสอง บัญญัติวา เมื่อโจทก
หรือทนายโจทกและจําเลยมาอยูตอหนาศาลและศาลเชื่อวาเปนจําเลยจริง ใหอานและอธิบายฟองใหจําเลยฟง
และถามวาไดกระทําผิดจริงหรือไม จะใหการตอสูอยางไรบาง คําใหการของจําเลยใหจดไว ถาจําเลยไมยอมให
การก็ใหศาลจดรายงานไว และดําเนินการพิจารณาตอไป คดีนี้โจทกฟองขอใหลงโทษจําเลยในความผิดฐาน
ชวยซอนเรน ชวยจําหนาย ชวยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับจํานํา หรือรับไวโดยประการใด ๆ ซึ่งรถยนตโดยตนรูอยู
แลววาเปนของที่นําเขามาในราชอาณาจักรโดยหลีกเลี่ยงอากร และฐานมีพืชกระทอมไวในครอบครองเพื่อ
จําหนาย เมื่อศาลชั้นตนอานและอธิบายฟองใหจําเลยฟงแลว ตองสอบถามจําเลยดวยวาจะใหการรับสารภาพ
ในความผิดฐานชวยซอนเรน ชวยจําหนาย ชวยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับจํานํา หรือรับไวโดยประการใด ๆ ซึ่ง
รถยนตโดยตนรูอยูแลววาเปนของที่นําเขามาในราชอาณาจักรโดยหลีกเลี่ยงอากร และฐานมีพืชกระทอมไวใน
ครอบครองเพื่อจําหนาย แลวพิพากษาลงโทษจําเลยในความผิดฐานดังกลาว เมื่อจําเลยใหการรับสารภาพใน
ขอหาชวยซอนเรน ชวยจําหนาย ชวยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับจํานํา หรือรับไวโดยประการใด ซึ่งรถยนตโดยรูอยู
แลววาเปนของยังมิไดเสียภาษี การที่ศาลชั้นตนมิไดสอบถามคําใหการของจําเลยใหชัดแจง กลับพิพากษา
ลงโทษจําเลยในความผิดฐานมีพืชกระทอมไวในครอบครองเพื่อจําหนายดวยโดยไมปรากฏวาจําเลยใหการรับ
สารภาพในความผิดฐานดังกลาว จึงเปนการดําเนินกระบวนพิจารณาที่ไมชอบและมีผลใหกระบวนพิจารณา
ตอไปตลอดจนคําพิพากษาศาลชั้นตนที่ลงโทษจําเลยในความผิดฐานมีพืชกระทอมในครอบครองเพื่อจําหนาย
และคําพิพากษาศาลอุทธรณที่ยกฟองโจทกในความผิดฐานมีพืชกระทอมไวในครอบครองเพื่อจําหนาย ไมชอบ
ไปดวย
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10067/2558 การที่พันตํารวจโท ก. แสดงบัตร ป.ป.ส. ตอจําเลยกอนทํา
การคน แสดงวาพันตํารวจโท ก. แสดงตนเปนเจาพนักงานซึ่งไดรับแตงตั้งใหปฏิบัติตาม พ.ร.บ.ปองกันและ
ปราบปรามยาเสพติด พ.ศ.2519 และตามพฤติการณมีเหตุอันควรเชื่อวาเนื่องจากการเนิ่นชากวาจะเอาหมาย
คนมาไดจําเลยจะหลบหนีไป ทั้งทรัพยสินในบานเกิดเหตุซึ่งมีไวเปนความผิดจะถูกโยกยาย ซุกซอน ทําลาย
หรือทําใหเปลี่ยนสภาพไปจากเดิม พันตํารวจโท ก. กับพวกจึงมีอํานาจเขาไปในบานเกิดเหตุเพื่อตรวจคนโดย
ไมตองมีหมายคนตาม พ.ร.บ.ปองกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ.2519 มาตรา 14 ประกอบมาตรา 14
ตรี
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10060/2558 กอนเกิดเหตุเจาพนักงานตํารวจสืบทราบวาจําเลยที่ 1 มี
พฤติการณลักลอบจําหนายเมทแอมเฟตามีนในทองที่ โดยจําเลยที่ 1 ใชรถยนตยี่หอนิสสันสีขาวของสถานี
อนามัย มีตราของกระทรวงสาธารณสุ ขเป นยานพาหนะประจํ า ในคืน เกิด เหตุช ว งเวลาประมาณ 3 ถึง 4
67 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
นาฬิกา มีผูแจงเบาะแสโดยสงขอความไปที่โทรศัพทเคลื่อนที่ของดาบตํารวจ ส. รวม 6 ครั้ง 6 ขอความ วามี
คนสงยาบาที่พีพีรีสอรต หองที่ 14 ใหรีบไปเร็ว ๆ กอนเขาหนี เปนรายใหญ ถาไมไปฉันจะไมสงขาวอีก เมื่อ
ดาบตํารวจ ส. ไปที่รีสอรตพบรถดังกลาวจอดอยูที่หองที่ 15 จําไดวาเปนรถที่จําเลยที่ 1 ใชอยู สอบถาม
พนักงานรีสอรตแจงวาเจาของรถมากับผูหญิงพักอยูหองที่ 14 ดาบตํารวจ ส. จึงเชื่อในเบาะแสที่แจงมา ดาบ
ตํารวจ ส. กับพวกใหพนักงานรีสอรตเคาะประตูหองที่ 14 วาขอเช็กมิเตอร ปรากฏวาคนในหองเปดประตู
ออกมา ขณะนั้นไฟในหองยังเปดอยู เมื่อดาบตํารวจ ส. แจงวาเปนเจาพนักงานตํารวจ คนในหองดันประตู
กลับคืนและปดไฟ เปนพฤติการณนาเชื่อวามีสิ่งของที่มีไวเปนความผิดตามที่ไดรับแจง ทั้งที่เกิดเหตุเปนรีสอร
ตซึ่งจําเลยทั้งสองไปพักชั่วคราว จําเลยทั้งสองจะออกไปจากรีสอรตเมื่อใดก็ได หากเนิ่นชาไปกวาจะเอาหมาย
คนมาทําการตรวจคนในวันรุงขึ้น จําเลยทั้งสองจะออกจากหองพักเสียกอนพรอมเมทแอมเฟตามีนของกลาง
เปนเหตุใหพยานหลักฐานสําคัญสูญหาย ขอเท็จจริงดังกลาวเปนกรณีฉุกเฉินอยางยิ่งทําใหเจาพนักงานเขาไป
คนในหองพักโดยไมจําตองมีหมายคนตาม ป.วิ.อ. มาตรา 92 (4) และ มาตรา 96 (2) และเมื่อเจาพนักงาน
พบอุปกรณการเสพและเมทแอมเฟตามีน 11 เม็ดในหองพักดังกลาว กับพบเมทแอมเฟตามีน 600 เม็ด ใน
รถยนต จึงเปนความผิดซึ่งหนาซึ่งเจาพนักงานตํารวจสามารถจับจําเลยทั้งสองไดโดยไมตองมีหมายจับตาม ป.
วิ.อ. มาตรา 78 (1), 80 หลังจากนั้นเจาพนักงานตํารวจไดทํารายงานการตรวจคนและผลการตรวจคนไวใน
บันทึกการจับกุมเสนอผูบังคับบัญชา ดังนั้น การตรวจคนและจับกุมในกรณีนี้จึงเปนการกระทําโดยชอบดวย
กฎหมาย
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10010/2558 โจทกบรรยายฟองวา โจทกรับประกันความเสี่ยงภัยทุกชนิด
ไวจากบริษัท อ. และบริษัท อ. ไดตกลงวาจางจําเลยเปนผูดูแลรักษาความปลอดภัยในทรัพยสินของบริษัท
ตามสําเนาสัญญาวาจางรักษาความปลอดภัยเอกสารทายคําฟอง เมื่อระหวางวันที่ 25 ถึง 28 กรกฎาคม
2546 มีคนรายเขาไปในอาคารแลวลักทรัพยรวมมูลคา 152,166.32 บาท ของบริษัท อ. ไป โดยพนักงาน
รักษาความปลอดภัยซึ่งเปนลูกจางจําเลยไมใชความระมัดระวังดูแลปองกัน ไมตรวจตราดูแลตามหนาที่ โจทก
ในฐานะผูรับประกันภัยไดจายคาสินไหมทดแทนใหบริษัท อ. ไปจํานวน 147,166.32 บาท จึงเขารับชวง
สิทธิมาเรียกรองคาเสียหายจากจําเลย ดังนี้ คําฟองของโจทกจึงเปนคําฟองที่มีสภาพแหงขอหาและขออาง
เกี่ยวกับสิทธิเรียกรองอันเกิดจากมูลละเมิด และสิทธิเรียกรองจากการเขารับชวงสิทธิตามสัญญาวาจางรักษา
ความปลอดภัยรวมอยูดวย แมสิทธิเรียกรองในมูลละเมิดจะขาดอายุความ แตสิทธิเรียกรองตามสัญญาวาจาง
รักษาความปลอดภัยที่โจทกเขารับชวงสิทธิไมมีกฎหมายบัญญัติเรื่องอายุความไวโดยเฉพาะ จึงมีอายุความ 10
ป ตาม ป.พ.พ. มาตรา 193/30 คดีนี้เหตุเกิดระหวางวันที่ 25 ถึง 28 กรกฎาคม 2546 โจทกนําคดีมาฟอง
เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2551 ฟองโจทกในสวนนี้จึงไมขาดอายุความ ที่ศาลลางทั้งสองวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องตน
วา คดีโจทกขาดอายุความตามสิทธิเรียกรองอันเกิดแตมูลละเมิดแลวพิพากษายกฟอง โดยยังไมไดวินิจฉัย
เกี่ยวกับสิทธิเรียกรองของโจทกตามสัญญาวาจางรักษาความปลอดภัย จึงเปนการไมชอบ

68 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


เมื่อผลของคําพิพากษาศาลฎีกามีเพียงใหยอนสํานวนไปใหศาลชั้นตนพิจารณาพิพากษาใหม อุทธรณ
และฎีกาของโจทกจึงเปนการขอใหปลดเปลื้องทุกขอันมิอาจคํานวณเปนราคาเงินได ซึ่งตองเสียคาขึ้นศาลเพียง
200 บาท
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9999/2558 คดีที่โจทกฟองขับไลจําเลยที่ 1 ถึงที่ 4 กับพวก ศาลชั้นตน
อนุญาตใหโจทกเขาซอมแซมอาคารพิพาทครั้งแรกวันที่ 6 ธันวาคม 2549 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2550 ครั้ง
ที่สองวันที่ 26 มีนาคม 2550 ถึงวันที่ 5 เมษายน 2550 และหลังจากเดือนเมษายน 2550 ถึงวันที่ 10
มกราคม 2551 พวกจําเลยยังคงครอบครองและยึดหนวงอาคารพิพาทของโจทกโดยไมมีสิทธิ โจทกมีรูปถาย
ความเสียหายของอาคารที่เกิดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ระหวางนั้นมาแสดง ซึ่งจากการประมวลรูปถายดังกลาว สรุปได
วาระหวางเดือนเมษายน 2550 ถึงวันที่ 10 เมษายน 2551 ที่จําเลยที่ 2 กับพวกเขายึดถือครอบครอง
อาคารพิพาทโดยไมชอบดวยกฎหมายนั้น จําเลยที่ 2 กับพวกมีโอกาสกอใหเกิดหรือทําใหเกิดความเสียหายแก
ทรัพยสินในอาคารไดทุกเมื่อ ความเสียหายดังกลาวเปนการละเมิดที่สืบตอเนื่องกันมาโดยพวกจําเลยไมใช
ความระมัดระวังดูแลทรัพยสินใหดี ไมบําบัดปดปองความเสียหายที่จะเกิดขึ้นดังเชนวิญูชนพึงกระทํา อายุ
ความละเมิดยังไมเริ่มนับจนกวาพวกของจําเลยจะเลิกยึดถือครอบครองอาคารพิพาทโดยไมชอบเพราะหาก
จําเลยกับพวกยังอยูในอาคารพิพาทแลวไซร ก็ยังอยูในวิสัยที่พวกจําเลยสามารถทําละเมิดแกทรัพยสินของ
โจทกไดทุกขณะเปนเหตุใหทรัพยสินของโจทกเสียหายเพิ่มมากขึ้นโดยไมหยุดยั้ง แตเมื่อพวกจําเลยออกไปจาก
อาคารพิพาทแลว โจทกยอมเขาไปตรวจสอบความเสียหายไดอยางอิสระตามวิถีที่เจาของทรัพยสินพึงกระทําได
ดั ง นั้ น เมื่ อ นั บ จากวั น ที่ 11 มกราคม 2551 ที่ พ วกจํ า เลยออกไปจากอาคารพิ พ าทถึ ง วั น ฟ อ งวั น ที่ 4
กรกฎาคม 2551 ยังไมเกิน 1 ป นับแตการกระทําละเมิด ฟองโจทกจึงไมขาดอายุความ
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9996/2558 การที่จําเลยที่ 1 ที่ 3 ที่ 5 และที่ 6 ฟองแยงเรียกใหโจทก
ทั้งสองคืนเงินประกันอันเนื่องจากสัมปทานสิ้นสุด มิใชเปนการติดตามเอาคืนซึ่งทรัพยสินของตนจากบุคคลผูไม
มีสิทธิจะยึดถือไวตาม ป.พ.พ. มาตรา 1336 แตเปนการเรียกรองสิทธิตามที่กําหนดไวในขอตกลงสัมปทาน ซึ่ง
กรณีนี้ไมมีกฎหมายบัญญัติอายุความไวโดยเฉพาะ จึงมีอายุความสิบป ตาม ป.พ.พ. มาตรา 193/30 แต
จํ าเลยที่ 1 ที่ 3 ที่ 5 และที่ 6 ฟองแย งเรี ย กเงิน ประกัน ดั งกล าวคืน เกิน สิ บ ป นั บ แต วั น ที่อาจบั งคับ สิ ท ธิ
เรียกรองไดตาม ป.พ.พ. มาตรา 193/12 ฟองแยงของจําเลยที่ 1 ที่ 3 ที่ 5 และที่ 6 จึงขาดอายุความ
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9955/2558 ขณะเกิดเหตุ พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกัน
และปราบปรามการทุจ ริ ต (ฉบั บ ที่ 2) พ.ศ.2554 ที่ให เ พิ่มความตามมาตรา 98 แห ง พ.ร.บ.ประกอบ
รัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542 ซึ่งใหนํามาตรา 74/1 มาใชบังคับโดย
อนุโลมยังไมมีผลใชบังคับ เมื่อมาตรา 98 ประกอบมาตรา 74/1 เปนบทบัญญัติที่มิใหนับระยะเวลาที่ผูถูก
กลาวหาหลบหนีรวมเปนสวนหนึ่งของอายุความดวย ประกอบกับ พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการ
ปองกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 มิไดมีบทเฉพาะกาลใหนํามาตรา 98 ประกอบ
มาตรา 74/1 มาใชบังคับแกคดีที่เกิดขึ้นกอน พ.ร.บ.ดังกลาวมีผลใชบังคับ การตีความกฎหมายจึงตองตีความ
69 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
โดยเครงครัด จะขยายความไปถึงคดีที่เกิดขึ้นกอนวันที่ พ.ร.บ.ดังกลาวใชบังคับโดยที่ไมมีกฎหมายบัญญัติไว
โดยแจงชัดอันจะเปนผลรายแกจําเลยหาไดไม เพราะจะขัดตอความรับผิดของบุคคลในการรับโทษทางอาญา
ตาม ป.อ. มาตรา 2 วรรคหนึ่ง กรณีจึงนํามาตรา 98 ประกอบมาตรา 74/1 มาใชยอนหลังเปนผลรายแก
จําเลยมิได อายุความการฟองคดีอาญาแกจําเลยที่คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติไต
สวนแลวมีมติแจงขอกลาวหาแกจําเลย จึงตองพิจารณาตามความใน ป.อ. มาตรา 95 เมื่อความผิดตาม ป.อ.
มาตรา 148 ประกอบมาตรา 83 และ 86 ที่โจทกฟองมีอายุความยี่สิบปนับแตวันกระทําความผิดตาม ป.อ.
มาตรา 95 (1) การที่โจทกฟองและไดตัวจําเลยมาดําเนินคดีนี้เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2556 เกินกวายี่สิบ
ปนับแตวันกระทําความผิดแลว คดีโจทกจึงขาดอายุความ
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9890 - 9891/2558 โจทกฟองวา จําเลยทั้งสี่รวมกันยักยอกทรัพยมรดก
ของ ล. เจามรดก โดยโจทกรวมซึ่งเปน ผูจัดการมรดก เปนเจาของรวมอยูดวย ตามฟองโจทกดังกลาวโจทก
รวมไดรับความเสียหายในฐานะที่โจทกรวมเปนเจาของทรัพยรวมอยูดวย แมฟองโจทกระบุวาโจทกรวมเปน
ผูจัดการมรดกก็เปนเพียงระบุถึงสถานะของโจทกรวมเทานั้น มิไดหมายความวาโจทกรวมเปนผูเสียหายใน
ฐานะที่เปนผูจัดการมรดกของ ล. ทั้งตามบันทึกคําใหการในชั้นสอบสวนของโจทกรวมก็กลาวอางวา จําเลยทั้ง
สี่ยักยอกทรัพยของโจทกรวมไป โดยระบุรายละเอียดวาโจทกรวมไดทรัพยแตละรายการมาอยางไร และใหการ
เพิ่มเติมภายหลังวาทรัพยดังกลาวเปนของโจทกรวมกึ่งหนึ่ง อันเปนการแสดงวาโจทกรวมแจงความรองทุกข
โดยไดรับความเสียหายในฐานะเปนเจาของทรัพยหรือเจาของรวม เปนการแจงความในฐานะสวนตัว มิใชใน
ฐานะผูจัดการมรดกของ ล. ดังนั้นขออุทธรณของโจทกรวมที่วา เมื่อฟงวาโจทกรวมเปนผูจัดการมรดกแลว
ศาลชอบที่จะพิพากษาลงโทษจําเลยทั้งสี่ไดตามฟองโดยไมจําตองเปนเจาของหรือเจาของรวมในทรัพยของ
กลาง จึงเปนขอกฎหมายที่มิไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบในศาลชั้นตน ที่ศาลอุทธรณไมรับวินิจฉัยปญหา
ดังกลาวชอบแลว
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9889/2558 คดีนี้ศาลอุทธรณภาค 4 พิพากษายืนตามศาลชั้นตนและ
ยังคงใหลงโทษจําคุกจําเลยไมเกินหาป จึงตองหามมิใหคูความฎีกาในปญหาขอเท็จจริงตาม ป.วิ.อ. มาตรา
218 วรรคหนึ่ง ประกอบ พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง พ.ศ.2499 มาตรา
4 และ พ.ร.บ.ใหนําวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวงมาใชบังคับในศาลจังหวัด พ.ศ.2520 มาตรา 3 ฎีกา
ของจําเลยที่วา โจทกรวมไมใชผูเสียหายที่จะรองทุกขและเขาเปนโจทกรวม โจทกจึงไมมีอํานาจฟอง โดยอาง
วา ตามคําเบิกความและคําเบิกความตอบคําถามคานของโจทกรวมวา โจทกรวมรูอยูแลววาการที่บุตรของ
โจทกรวมจะเขารับราชการทหารไดจะตองมีการนําเงินไปใหผูใหญที่สามารถชวยใหบุตรโจทกรวมเขาทํางาน
เปนทหารได ซึ่งเปนการวิ่งเตนใหบุคคลที่เกี่ยวของชวยใหเขารับราชการอันเปนการผิดระเบียบของทางราชการ
จึงเปนกรณีที่ชัดแจงวาโจทกรวมเปนผูกอหรือใชใหจําเลยกระทําความผิดนั้น เห็นวา คดีนี้ศาลอุทธรณภาค 4
ฟงขอเท็จจริงวา ไมปรากฏวาโจทกรวมใหเงินแกจําเลยเพื่อใหจําเลยนําเงินไปใหแกเจาพนักงานผูมีหนาที่
เกีย่ วของใหกระทําการอันมิชอบดวยหนาที่โดยทุจริต การที่จําเลยรับวาจะชวยบุตรชายโจทกรวมใหไดรับการ

70 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


บรรจุเขารับราชการทหารจึงเปนหลอกลวงโจทกรวมเพื่อตองการไดเงินจากโจทกรวมเทานั้น ดังนี้ ในการ
วินิจฉัยฎีกาของจําเลยดังกลาว ศาลฎีกาตองยอนไปวินิจฉัยขอเท็จจริงวาโจทกรวมมอบเงินใหจําเลยเพื่อนําไป
ใหบุคคลซึ่งมีหนาที่เกี่ยวของกับการบรรจุเขารับราชการทหารกระทําการอยางใดอันมิชอบดวยหนาที่หรือไม
ฎีกาของจําเลยจึงมีลักษณะเปนการโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานของศาลอุทธรณภาค 4 เพื่อ
นําไปสูการวินิจฉัยปญหาขอกฎหมายที่จําเลยยกขึ้นอาง อันเปนฎีกาในปญหาขอเท็จจริง ตองหามมิใหฎีกาตาม
บทบัญญัติดังกลาว
คําพิพากษาศาลฎีก าที่ 9790/2558 จํ าเลยที่ 1 มิได เป นคูสัญญาในสัญญาจางเหมากอสราง
อาคารของโจทก ทั้งมิไดเปนผูครอบครองทรัพยสินของโจทกในขณะทําการกอสรางตามสัญญา จําเลยที่ 1 จึง
มิไดเปนผูครอบครองทรัพยสินของโจทกและมีหนี้อันเปนคุณประโยชนแกตนเกี่ยวดวยทรัพยสินที่ครอบครอง
นั้น ตาม ป.พ.พ. มาตรา 241 หากแตจําเลยที่ 1 เปนเพียงผูรับโอนสิทธิเรียกรองของจําเลยที่ 2 ที่จะไดรับ
คาจางงวดงานจากโจทกเทานั้น จําเลยที่ 1 คงมีสิทธิเรียกรองใหโจทกจายคาจางตามงวดงานที่จําเลยที่ 2 สง
มอบแกโจทก ทั้งปรากฏวาจําเลยที่ 1 นํามูลหนี้ดังกลาวฟองโจทกในอีกคดีหนึ่ง ซึ่งศาลพิพากษาใหโจทกชําระ
เงินใหแกจําเลยที่ 1 แลว จําเลยที่ 1 จึงไมอาจอางสิทธิยึดหนวงเพื่ออยูในอาคารและพื้นที่อาคารของโจทก
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9745/2558 โจทกทั้งสองในฐานะผูจัดการมรดกของ ว. และ ส. เจา
มรดก ฟองเรียกเอาคืนทรัพยพิพาทซึ่งเปนที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางจํานวน 18 แปลง ที่อยูในครอบครองของ
จําเลยทั้งสี่โดยอางวาเปนทรัพยมรดกของเจามรดกทั้งสอง จําเลยทั้งสี่ใหการวา ที่ดินพิพาทจํานวน 8 แปลง
จําเลยที่ 1 ไดรับโอนมาจากเจามรดกทั้งสองกอนที่เจามรดกทั้งสองจะถึงแกความตาย ที่ดินดังกลาวจึงมิใช
ทรัพยมรดกของเจามรดกทั้งสอง สําหรับที่ดินพิพาทสวนที่เหลืออีก 10 แปลง จําเลยที่ 1 ไดรับโอนมาจาก ว.
ซึ่งเปนผูจัดการมรดกของ ส. โดยชอบ และไดครอบครองเพื่อตนเองมาโดยตลอด โจทกนําคดีมาฟองเมื่อพน
กําหนดหนึ่งป นับแตวันที่เจามรดกทั้งสองถึงแกความตาย คดีจึงขาดอายุความ ประเด็นขอพิพาทจึงมีวา ที่ดิน
พิพาทจํานวน 8 แปลง เปนทรัพยมรดกของเจามรดกทั้งสองหรือไม และ ว. ในฐานะผูจัดการมรดกคนกอน
ของ ส. โอนที่ดิ นพิพาทจํ านวน 10 แปลง ใหแกจําเลยที่ 1 โดยชอบหรื อไม การที่ศาลชั้นตนมิไดวินิจฉัย
ประเด็นขอพิพาทดังกลาวใหชัดแจงเสียกอนแตกลับไปวินิจฉัยวาคดีโจทกทั้งสองขาดอายุความตาม ป.พ.พ.
มาตรา 1754 วรรคหนึ่ง จึงเปนการไมชอบ ทั้งคดีนี้โจทกทั้งสองในฐานะผูจัดการมรดกฟองเรียกเอาทรัพยคืน
และขอใหเพิกถอนนิติกรรมจากผูครอบครองทรัพยมรดกที่ไดมาโดยมิชอบอันเนื่องมาจากการจัดการทรัพย
มรดกที่ยังไมสิ้นสุดลงซึ่งมีอายุความกําหนดไวโดยเฉพาะแลวตาม ป.พ.พ. มาตรา 1733 วรรคสอง จึงไมอาจ
นําอายุความตาม ป.พ.พ. มาตรา 1754 วรรคหนึ่ง ซึ่งเปนอายุความเกี่ยวกับการฟองคดีมรดกระหวางทายาท
มาปรับใชบังคับได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9743/2558 ในขณะที่โจทกและจําเลยทําสัญญาประนีประนอมยอมความ
กัน นายทะเบียนมีคําสั่งใหจําเลยหยุดรับประกันวินาศภัยและมีประกาศหามจําเลยจําหนายทรัพยสินซึ่งคําสั่ง
และประกาศดังกลาวออกโดย พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย พ.ศ.2535 มาตรา 52 และจําเลยทราบคําสั่งและ
71 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
ประกาศดังกลาวแลว การที่จําเลยทําสัญญาประนีประนอมยอมความตกลงชําระหนี้แกโจทก หากไมชําระให
โอนที่ดินแกโจทก จึงเปนการฝาฝนตอมาตรา 54 แหง พ.ร.บ.ดังกลาว ซึ่งเปนกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบ
เรีย บรอยหรื อศีล ธรรมอัน ดีของประชาชน สัญญาประนีป ระนอมยอมความยอมตกเปนโมฆะตาม ป.พ.พ.
มาตรา 150
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9740/2558 ผูรองสอดเปนผูรับโอนที่ดินพิพาทมาภายหลังฟอง และรอง
สอดเขามาเปนคูความฝายที่ 3 ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 57 (1) อันเปนไปเพื่อยังใหไดรับความรับรอง คุมครอง
หรือบังคับตามสิทธิของตน โดยไมไดขอเขามาเปนโจทกรวมหรือจําเลยรวมตาม ป.วิ.พ. มาตรา 57 (2) เพราะ
ตนมีสวนไดเสียตามกฎหมายในผลแหงคดีนั้น คําขอบังคับของผูรองสอดเปนการขอใหศาลมีคําพิพากษาแสดง
กรรมสิทธิ์ของผูรองสอด และหามโจทกกับจําเลยยุงเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทของผูรองสอด เทากับเปน
การตั้งประเด็นฟองทั้งโจทกและจําเลย และตาม ป.วิ.พ. มาตรา 58 วรรคหนึ่ง คดีรองสอดคดีนี้จึงเสมือนหนึ่ง
วาผูรองสอดไดฟองโจทกและจําเลยเปนคดีใหมและเปนอีกคดีหนึ่งแยกกันไดกับคดีเดิม อันเปนเหตุใหโจทก
ฟองแยงเขามาในคําใหการแกรองสอดได ผูรองสอดจะยกขอตอสูที่เปนประเด็นขอพิพาทระหวางโจทกกับ
จําเลยในคดีเดิมมาเปนขอตอสูของตนในคดีรองสอดและฟองแยงนี้ไมได
ขณะทําสัญญาซื้อขายและจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาท เจาพนักงานที่ดินแจงใหจําเลยและผูรองสอด
ทราบแลววา โจทกยื่นคําขออายัดที่ดินเนื่องจากจําเลยไดทําหนังสือสัญญาจะซื้อขายฉบับลงวันที่ 23 มกราคม
2555 แตจําเลยไมยอมมาโอนตามสัญญา เจาพนักงานที่ดินไดรับคําขออายัดมีกําหนด 30 วัน นับแตวันที่
30 เมษายน 2555 และโจทกยื่นฟองจําเลยตามสัญญาจะซื้อขายดังกลาวในวันที่ 22 พฤษภาคม 2555
จําเลยและผูรองสอดรับทราบและยืนยันใหพนักงานเจาหนาที่ดําเนินการจดทะเบียนโอนขายให หากเกิดความ
เสียหายใดๆ ขอรับผิดชอบเองทั้งสิ้น ไมเกี่ยวกับพนักงานเจาหนาที่ เขาเงื่อนไขที่โจทกขอเพิกถอนการฉอฉล
ตาม ป.พ.พ. มาตรา 237 วรรคหนึ่ง แลว
ผูร องสอดเขามาเปน คูความฝายที่ 3 ตาม ป.วิ. พ. มาตรา 57 (1) เพื่อขอให มีคําพิพากษาแสดง
กรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทของผูรองสอด กับหามโจทกและจําเลยยุงเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทของผูรอง
สอด และที่โจทกใหการแกคํารองสอดและฟองแยงในคดีรองสอด ก็เปนไปเพื่อเพิกถอนนิติกรรมตาม ป.พ.พ.
มาตรา 237 อันเปนการเพิกถอนสัญญาซื้อขายระหวางจําเลยกับผูรองสอดและการจดทะเบียนโอนที่ดิ น
พิพาท ที่ มีผ ลให ที่ดิ น พิพ าทกลั บ มาเป น ของจํ าเลย แล ว โอนที่ดิ น พิพาทแกโ จทก ต ามคํา ฟองอีก ทอดหนึ่ ง
ระหวางโจทกกับผูรองสอดจึงไมใชพิพาทกันดวยเรื่องกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทวาเปนของโจทกหรือของผูรอง
สอด คดีรองสอดและฟองแยงคดีนี้จึงเปนคดีที่มีคําขอปลดเปลื้องทุกขอันไมอาจคํานวณเปนราคาเงินได ตอง
เสียคาขึ้นศาลเรื่องละ 200 บาท ตามตาราง 1 คาธรรมเนียมศาล (คาขึ้นศาล) (2) (ก).
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9696/2558 การกระทําอันจะเปนความผิดฐานฟองเท็จตาม ป.อ. มาตรา
175 ตองเปนการนําความเท็จในสวนที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดอาญาไปแกลงฟองผูอื่นใหรับโทษ ทั้งที่ไม

72 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


เป น ความจริ ง ส ว นเรื่ อ งอายุ ค วามนั้ น ป.อ. มาตรา 95 และมาตรา 96 ได บั ญ ญั ติ ไ ว ต า งหากเพื่ อ เป น
หลักเกณฑในการฟองคดี ซึ่งเปนเรื่องอื่นที่ไมเกี่ยวกับการกระทําความผิดอาญาโดยตรง ดังนั้น การที่จําเลยที่
1 กลาวอางในฟองคดีกอนวาคดีของจําเลยที่ 1 ยังไมขาดอายุความนั้นแมจะไมเปนความจริง จําเลยทั้งหกก็หา
มีความผิดฐานฟองเท็จไม
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9683 - 9685/2558 พินัยกรรมพิพาทมีลักษณะเปนพินัยกรรมแบบ
ธรรมดา หรือพินัยกรรมแบบมีพยาน เปนหนังสือที่มีการลงวัน เดือน ป ในขณะที่ทําพินัยกรรม รอยลบ ขีด ฆา
เติมขอความที่ชองวัน เดือน ป และอายุของผูตายมีการลงลายมือชื่อผูตายและลงลายมือชื่อของ ว. กับ ศ. ผู
เปนพยานรับรองลายมือชื่อผูตายซึ่งบรรลุนิติภาวะแลวทั้งสองคนกํากับไว ทั้งผูตายไดลงลายมือชื่อกับพิมพลาย
พิมพนิ้วมือไวที่ชองผูทําพินัยกรรม โดยมีลายมือชื่อของ ศ. และ ว. ที่ชองพยานครบถวน แมพินัยกรรมที่พิพาท
ไมมีขอความที่เปนถอยคําระบุการเผื่อตายไวโดยชัดแจง แตก็มีขอความวา "พินัยกรรม" ที่หัวกระดาษตรงกลาง
ซึ่งหมายถึงเอกสารแสดงเจตนากําหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพยสินหรือการตาง ๆ อันจะใหเกิดเปนผลบังคับ
ไดตามกฎหมายเมื่อผูทําพินัยกรรมตาย และยังมีขอความระบุไววา "....ขาพเจาขอให ผ. บุตรสาวเปนผูจัดการ
มรดกใหปฏิบัติตามเจตนาของขาพเจาในการแบงปนทรัพยสิน... ขอทําพินัยกรรมใหแบงทรัพยสินดังนี้..." กรณี
จึงมีความหมายอยูในตัววาขอกําหนดในเอกสารดังกลาวจะมีผลตอเมื่อผูตายถึงแกความตาย พินัยกรรมที่
พิพาทจึงเปนไปตามแบบที่บัญญัติไวตามมาตรา 1656 แหง ป.พ.พ. และมีผลบังคับตามกฎหมาย หาไดเปน
โมฆะไม
การที่โจทกไดรับอนุญาตจากผูตายใหปลูกสรางอาคารหองเชา 26 หอง บนที่ดินของผูตายเปนเรื่องที่
โจทกมีสิทธิเหนือพื้นดิน ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1410 อันเปนทรัพยสินเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยอยางหนึ่งที่ไม
อาจไดมาโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรม จึงตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนกับพนักงานเจาหนาที่ มิฉะนั้น
สิทธิเหนือพื้นดินที่ไดมานั้นยังไมบริบูรณและไมอาจใชยันบุคคลภายนอกไดตาม ป.พ.พ. มาตรา 1299 วรรค
หนึ่ง เมื่อขอตกลงที่ผูตายอนุญาตใหโจทกปลูกสรางอาคารหองเชาบนที่ดินดังกลาวไมไดทําเปนหนังสือและจด
ทะเบียนการไดมากับพนักงานเจาหนาที่ไว โจทกจึงปราศจากสิทธิตามกฎหมายที่จะใชยันตอจําเลยที่ 6 ซึ่งเปน
บุคคลภายนอก จําเลยที่ 6 ผูเปนเจาของกรรมสิทธิ์ที่ดินชอบที่จะขับไลโจทกออกจากที่ดินตามฟองแยงได
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9667/2558 ขอความตามบันทึกระบุไดความวา จําเลยนําเหรียญ
หลวงพอคูณมาขายใหโจทกรวมหลายครั้ง เปนเงิน 1,030,000 บาท ซึ่งปรากฏวาเปนเหรียญปลอม ทํา
เลียนแบบ จําเลยยอมรับที่จะนําเงินมาคืนโจทกรวมเปนเงิน 1,030,000 บาท โดยจะผอนชําระใหเดือนละ
50,000 บาท ทุกเดือน เริ่มงวดแรกวันที่ 2 ธันวาคม 2552 เปนตนไป จนกวาจะผอนหมด หากจําเลยผิด
เงื่อนไขไมวางวดใดงวดหนึ่ง ยินยอมใหโจทกรวมดําเนินคดีทั้งทางแพงและทางอาญาไดทันที เมื่อไมมีขอความ
ตอนใดแสดงวา โจทกรวมตกลงระงับขอพิพาทหรือสละสิทธิในการดําเนินคดีอาญาแกจําเลยทั้งสอง จึงมิใชการ
ยอมความ แมขอเท็จจริงจะไดความวา จําเลยที่ 1 สั่งจายเช็คฉบับละ 50,000 บาท อีก 14 ฉบับ รวมเปน
เงิน 700,000 บาท ใหโจทกรวม เพื่อชําระเงินตามบันทึก สวนที่เหลืออีก 280,000 บาท จะชําระเปนเงิน
73 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
สด เมื่อเช็คถึงกําหนด โจทกรวมนําไปเรียกเก็บเงิน แตธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจายเงิน โจทกรวมแจงความ
รองทุกขใหดําเนินคดีแกจําเลยที่ 1 ในเช็ค 2 ฉบับ ตอมาพนักงานอัยการฟองจําเลยที่ 1 เปนจําเลยตอศาล
แขวงพระนครใต โดยโจทกรวมเขารวมเปนโจทก และศาลแขวงพระนครใตมีคําพิพากษาลงโทษจําเลยที่ 1
แลว สวนเช็คฉบับอื่น เมื่อธนาคารปฏิเสธการจายเงินแลว โจทกรวมจึงไปแจงความรองทุกขดําเนินคดีแก
จําเลยที่ 1 ก็ตาม แตการที่จําเลยที่ 1 สั่งจายเช็คทั้ง 14 ฉบับใหโจทกรวมนั้น เปนการสั่งจายเช็คเพื่อผอน
ชําระหนี้ตามที่ตกลงในบันทึกเทานั้น ทั้งเช็ค 14 ฉบับก็ไมไดชําระหนี้ทั้งหมด ยังถือไมไดวาโจทกรวมสละสิทธิ
หรือไมยึดถือสิทธิใดๆ รวมทั้งสิทธิที่จะดําเนินคดีอาญาแกจําเลยทั้งสองในความผิดฐานรวมกันฉอโกงดวย
พฤติการณของจําเลยที่ 1 และโจทกรวมดั งกลาวเป นเพียงการชําระหนี้ในทางแพงตามขอตกลงในบันทึก
เทานั้น ยังถือไมไดวาเปนการยอมความกันอันทําใหสิทธินําคดีอาญามาฟองระงับไปตาม ป.วิ.อ. มาตรา 39
(2)
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9630/2558 ตามปกติแลวผูขนสงมีหนาที่สงสินคาจากทาเรือตนทางจนถึง
ทาเรือปลายทางและมีหนาที่ขนถายสินคาขึ้นจากเรือเพื่อสงมอบใหแกผูรับตราสงที่ทาเรือปลายทาง แตทั้งนี้
อาจมีขอตกลงกันเปนพิเศษใหผูรับตราสงเปนผูขนถายสินคาขึ้นจากเรือเองไดที่เรียกวาเปนเงื่อนไขแบบ Free
Out เมื่อพิจารณาใบตราสงไมปรากฏวาไดระบุเงื่อนไขดังกลาวไวและที่พยานจําเลยที่ 2 อางวา สินคาพิพาท
ทําการขนถายภายใตขอกําหนด Free Out ตามไปรษณียอิเล็กทรอนิกสเอกสารนั้น เอกสารดังกลาวเปน
เอกสารที่จําเลยที่ 1 สงถึงตัวแทนจําเลยที่ 1 และยังเปนเอกสารที่จําเลยที่ 1 ทําขึ้นฝายเดียวโดยไมปรากฏวา
ผูสงหรือผูรับตราสงไดรับทราบและแสดงความตกลงดวย จึงไมอาจรับฟงไดวาการขนสงสินคาพิพาทเปนการ
ขนสงที่มีเงือ่ นไขแบบ Free Out
แมขอเท็จจริงไมอาจฟงไดวาผูเอาประกันภัยมีหนาที่ขนถายสินคาพิพาทขึ้นจากเรือ ดังที่จําเลยที่ 2
กลาวอาง หากแตเปนหนาที่ของผูขนสง แตเมื่อโจทกอางวาสินคาพิพาทไดรับความเสียหายในระหวางที่อยูใน
ความดูแลของจําเลยที่ 1 ผูขนสง โจทกจึงมีภาระการพิสูจน
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9620/2558 ฎีกาของจําเลยไมไดโตแยงเหตุผลที่ศาลอุทธรณวินิจฉัยวาไม
ถูกตองอยางไร และที่ถูกควรเปนเชนไร เพียงแตคัดลอกขอความบางสวนมาจากอุทธรณ จึงเปนฎีกาที่ไมชัด
แจง ไมชอบดวย ป.วิ.พ. มาตรา 249 วรรคหนึ่ง (เดิม)
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9557/2558 ใบเสียภาษีบํารุงทองที่ (ภ.ท.บ. 5) ไมใชเอกสารที่แสดงวาผู
ชําระคาภาษีมีสิทธิในที่ดิน คือ สิทธิครอบครองหรือกรรมสิทธิ์ในที่ดิน เพราะเอกสารที่แสดงถึงสิทธิครอบครอง
หรือกรรมสิทธิ์ในที่ดินยอมเปนไปตาม ป.ที่ดิน มาตรา 1 คือ หนังสือรับรองการทําประโยชนหรือโฉนดที่ดิน
การกระทําการเกี่ยวกับใบภาษีบํารุงทองที่ของจําเลยที่ 1 ดังกลาวจึงไมกระทบถึงการที่โจทกยึดถือที่ดินซึ่งไมมี
เอกสารสิทธิที่จําเลยทั้งหกมอบใหไวเปนหลักประกันเมื่อเขารวมโครงการปลูกพืชพลังงานทดแทนกับโจทก ทั้ง
โจทกก็ไมเคยมีเจตนาจะชําระคาภาษีบํารุงทองที่ ซึ่งตองนําใบเสียภาษีบํารุงทองที่ (ภ.ท.บ. 5) ทอนที่มอบให

74 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


เจาของที่ดินนี้มาแสดงดวยเมื่อมาติดตอขอชําระภาษีบํารุงทองที่ การที่จําเลยที่ 1 ไปแจงความวาใบเสียภาษี
บํารุงทองที่ที่มอบให โจทกยึด ถือไว หาย แล วไปขออกใบแทนใหม จึ งไมทําใหโ จทกเ สีย หาย โจทกจึงไมใช
ผูเสียหาย
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9556/2558 การเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงขอบังคับหรือขอความในหนังสือ
บริคณหสนธิ ป.พ.พ. มาตรา 1145 และมาตรา 1146 กําหนดวาจะกระทําไดตอเมื่อมีการลงมติพิเศษ ซึ่ง
จะตองมีการประชุมใหญโดยมีคําบอกกลาวเรียกประชุมผูถือหุนเพื่อลงมติพิเศษ และกําหนดใหเปนหนาที่ของ
บริษัทจะตองจัดใหไปจดทะเบียนภายในสิบสี่วันนับแตวันที่ไดมีการลงมติพิเศษ และเหตุที่กฎหมายบัญญัติให
เปนหนาที่ของบริษัทจะตองนําเรื่องไปจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ก็เนื่องจากเปนเรื่องสําคัญเพราะมี
ผลกระทบตอบุคคลภายนอก กรณีที่จําตองใชเอกสารยืนยันภูมิลําเนาคือ สํานักงานแหงใหญของนิติบุคคลเปน
พยานหลักฐานที่มีการรับรองโดยพนักงานเจาหนาที่ของรัฐ ทั้งกิจการของบริษัท บ. ก็มิไดเปนเพียงนิติบุคคลที่
จดทะเบียนเพื่อดําเนินกิจการเกี่ยวของแตเฉพาะบุคคลในเครือญาติของจําเลย หากแตตองติดตอกับนิติบุคคล
หรือบุคคลอื่นดวย จําเลยจะอางความเคยชิน และความไววางใจระหวางเครือญาติของจําเลยมาเปนขอยกเวน
ไมปฏิบัติตามกฎหมายไมได
การที่จําเลยมอบอํานาจใหทนายความไปยื่นคําขอจดทะเบียนแกไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณหสนธิ และ
แจงยายทีต่ ั้งสํานักงานแหงใหญของบริษัท บ. ตอนายทะเบียนหุนสวนบริษัทโดยอางวาจําเลยไดบอกกลาวนัด
ประชุ มวิ ส ามัญผู ถือหุ นครั้งที่ ๒/๒๕๕๒ โดยลงพิมพโฆษณาในหนั งสือพิมพและส งมอบใหผู ถือหุ น และที่
ประชุมวิสามัญมีมติพิเศษใหแกไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณหสนธิ และยายที่ตั้งสํานักงานแหงใหญของบริษัทจาก
เดิมที่ตั้งอยูกรุงเทพมหานครไปที่จังหวัดราชบุรีโดยไมเปนความจริง การกระทําของจําเลยจึงเปนความผิดฐาน
แจงขอความอันเปนเท็จแกเจาพนักงานและแจงใหเจาพนักงานจดขอความอันเปนเท็จตาม ป.อ. มาตรา 137
และมาตรา 267
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9535/2558 ผูรองเปนผูถูกอายัดสิทธิเรียกรองเงินคาเชาที่ดิน ซึ่งผูรอง
จะตองสงมอบเงินคาเชาที่ดินใหแกเจาพนักงานบังคับคดี ณ เวลา หรือภายในเวลาตามที่กําหนดไวในคําสั่ง
และเปนลูกหนี้แหงสิทธิเรียกรองที่มีการอายัด จึงถือวาเปนผูมีสวนไดเสียในสิทธิเรียกรองของลูกหนี้ตามคํา
พิพากษาตาม ป.วิ.พ. มาตรา 280, 311 ผูรองจึงมีอํานาจยื่นคํารอง
เจาพนักงานบังคับคดีมีคําสั่งอายัดสิทธิเรียกรองเงินคาเชาที่ดินของจําเลยที่ 2 มิไดอายัดที่ดินดังกลาว
จึงไมตองหามที่จําเลยที่ 2 จะโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินตามฟองใหแกบุคคลภายนอก เมื่อจําเลยที่ 2 จดทะเบียน
โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินใหแกบุคคลภายนอกแลว สิทธิในเงินคาเชาที่ดินยอมโอนไปยังบุคคลภายนอกนับแตวันที่จด
ทะเบียนการโอนตาม ป.พ.พ. มาตรา 569 วรรคสอง จําเลยที่ 2 ไมมีสิทธิรับเงินคาเชาอีกตอไป จึงมีเหตุที่
จะตองเพิกถอนการอายัดสิทธิเรียกรองเงินคาเชาที่ดินดังกลาว

75 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9479/2558 โจทกทั้งสองขอใหศาลมีคําสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนเพิ่มทุน
ของบริษัท ซึ่งก็คือขอใหศาลมีคําสั่งเพิกถอนมติที่ประชุมใหญวิสามัญผูถือหุนของบริษัทครั้งที่ 3/2536 เมื่อ
วันที่ 16 พฤษภาคม 2536 ครั้งที่ 4/2536 เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2536 และครั้งที่ 5/2536 เมื่อวันที่
15 กันยายน 2536 โดยใหโจทกทั้งสองและจําเลยทั้งสองถือหุนตามอัตราสวนกอนการประชุมใหญวิสามัญ
ดังกลาว โดยอางวาการเรียกประชุมวิสามัญผูถือหุนดังกลาวใหโจทกทั้งสองไมชอบ ดังนั้นจึงเปนเรื่องขอใหเพิก
ถอนมติโดยอางวาการประชุมใหญวิสามัญนั้นไดนัดเรียกประชุมฝาฝนบทบัญญัติของกฎหมาย ดังนี้การขอให
เพิกถอนมติของที่ประชุมใหญอันผิดระเบียบ ป.พ.พ. มาตรา 1195 ตองยื่นตอศาลภายในกําหนด 1 เดือน
นับแตวันลงมติ เมื่อโจทกยื่นฟองคดีนี้เกินกําหนดระยะเวลาดังกลาว โจทกจึงไมมีอํานาจฟอง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9468/2558 โจทกฟองขอใหจําเลยซึ่งเปนลูกจางรับผิดชดใชคาเสียหายแก
โจทก ซึ่งเปนนายจางดวยเหตุจําเลยปฏิบัติหนาที่ผิดระเบียบ ฝาฝนคําสั่งของโจทก อนุมัติสินเชื่อใหลูกหนี้กู
เบิกเงินเกินบัญชีเกินขอบอํานาจโดยทุจริต ทําใหโจทกไดรับความเสียหาย เปนการฟองใหจําเลยรับผิดทั้งฐาน
ละเมิดตอโจทกซึ่งมีอายุความ 1 ป นับแตวันที่ผูตองเสียหายรูถึงการทําละเมิดและรูตัวผูจะพึงใชคาสินไหม
ทดแทนหรือเมื่อพน 10 ป นับแตวันทําละเมิดตาม ป.พ.พ. มาตรา 448 วรรคหนึ่ง และฐานทําผิดหนาที่ตาม
สัญญาจางแรงงานดวย ซึ่งสิทธิเรียกรองตามสัญญาจางแรงงานไมมีกําหนดอายุความไวโดยเฉพาะจึงมีอายุ
ความ 10 ป ตามมาตรา 193/30 โดยอายุความใหเริ่มนับแตขณะที่อาจบังคับสิทธิเรียกรองไดเปนตนไปตาม
มาตรา 193/12
ขอเท็จจริงฟงเปนยุติวาจําเลยกระทําละเมิดตอโจทกและกระทําผิดสัญญาจางแรงงานระหวางวันที่ 7
มิถุนายน 2534 ถึงวันที่ 13 มกราคม 2538 นับถึงวันฟองวันที่ 1 กุมภาพันธ 2554 เกินกวา 10 ป แลว
ฟองโจทกจึงขาดทั้งอายุความฐานละเมิดและอายุความฐานผิดสัญญาจางแรงงาน
คํ า พิ พากษาศาลฎี ก าที่ 9365/2558 จํ า เลยที่ 1 ซึ่งเป น ทนายความปลอมรายงานกระบวน
พิจารณาของศาลฉบับลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2545 ขึ้นทั้งฉบับโดยมีใจความสําคัญวา ศาลชั้นตนมีคําสั่ง
อนุญาตใหจําเลยที่ 4 เขาสวมสิทธิเปนเจาหนี้ตามคําพิพากษาแทนธนาคารศรีนคร จํากัด (มหาชน) โจทกใน
คดีดังกลาว แลวจําเลยที่ 2 ผูรับมอบอํานาจจากจําเลยที่ 4 มอบอํานาจใหจําเลยที่ 3 นําเอกสารปลอมไปยื่น
ตอเจาพนักงานบังคับ คดี จากนั้นเจาพนักงานบังคับคดีไดดําเนิ นการขายทอดตลาดที่ดินโดยมีโจทกเปน ผู
ประมูลซื้อโจทกไดชําระราคาที่ดิน ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา และคาธรรมเนียมการโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินแลว
ตอมาศาลชั้นตนเพิกถอนการขายทอดตลาด จากขอเท็จจริงดังกลาวจะเห็นไดวา แมจําเลยที่ 1 จะกระทํา
ละเมิดทําใหโจทกไดรับความเสียหาย แตเมื่อไมปรากฏวาจําเลยที่ 2 และที่ 3 กระทําโดยไมสุจริต หรือจงใจ
หรือประมาทเลินเลอ การกระทําของจําเลยที่ 2 และที่ 3 จึงไมเปนการกระทําละเมิดตอโจทก
เมื่อ นาง พ. หัว หนาส วนงานหลั งคําพิพากษาของศาลชั้น ต นเบิ กความว า ไมส ามารถทราบได ว า
รายงานกระบวนพิจารณา ฉบับลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2545 ปลอมหรือไม จึงเห็นไดวาจําเลยที่ 4 ไดใช

76 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


ความระมัดระวังแลวมิไดประมาทเลินเลอโจทกจะถือเอาคําวินิจฉัยของศาลอุทธรณที่ฟงขอเท็จจริงวาจําเลยที่
1 เปนตัวแทนของจําเลยที่ 4 และกระทําการที่ไดรับมอบหมายจากจําเลยที่ 4 โดยประมาทเลินเลอ เปนเหตุ
ใหโจทกไดรับความเสียหายแลวสรุปวาจําเลยที่ 1 กระทําไปภายในขอบอํานาจแหงฐานตัวแทนตาม ป.พ.พ.
มาตรา 820 หาไดไม
เจาพนักงานบังคับคดีมีคําสั่งอนุญาตใหจําเลยที่ 4 เขาสวมสิทธิเปนเจาหนี้ตามคําพิพากษาเปนการ
ปฏิบัติตามคําสั่งของจําเลยที่ 5 (กรมบังคับคดี) และหากไมมีการเพิกถอนการขายทอดตลาดในครั้งนี้โจทก
สามารถเป น เจ าของที่ดิ น ดั งกล าวได แสดงว าโจทกย อมรั บ เอาการปฏิ บั ติ ห นาที่และการตั ดสิ น ใจของเจ า
พนักงานบังคับคดีในการขายทอดตลาดครั้งนี้แลว โจทกจึงตองรับผลที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติหนาที่และการ
ตัดสินใจของเจาพนักงานบังคับคดีที่เกิดขึ้นในภายหลังดวยเชนกัน กรณียังฟงไมไดวาเจาพนักงานบังคับคดี
ประมาทเลินเลอกระทําตอโจทกโดยผิดกฎหมายทําใหโจทกเสียหายและจะถือวาจําเลยที่ 5 (กรมบังคับคดี)
กระทําละเมิดตอโจทกตาม ป.พ.พ. มาตรา 420 หาไดไม
***คํ า พิ พากษาศาลฎี ก าที่ 9345/2558 บทบั ญญั ติ แห ง ป.วิ . อ. มาตรา 134/4 วรรคสาม
กําหนดไววาถอยคําใด ๆ ที่ผูตองหาใหไวกอนที่จะดําเนินการตามมาตรา 134/1 ในเรื่องการสอบถามและ
จัดหาทนายความใหแกผูตองหาจะรับฟงเปนพยานหลักฐานในการพิสูจนความผิดของผูตองหานั้นไมไดเทานั้น
แตหาไดมีบทบัญญัติแหงกฎหมายใด ๆ ที่หามมิใหนําคําใหการชั้นสอบสวนของผูตองหาในลักษณะดังกลาวมา
เป น พยานหลั ก ฐานในการพิ สู จ น ค วามผิ ด ของบุ ค คลอื่ น หรื อ จํ า เลยอื่ น ในคดี แ ต ป ระการใดทั้ ง สิ้ น ดั ง นั้ น
คําใหการชั้นสอบสวนของจําเลยจึงสามารถนํามาเปนพยานหลักฐานประกอบในคดีเพื่อพิสูจนความผิดของ
จําเลยอื่นได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9209/2558 แมในคดีอาญาจําเลยที่ 3 จะไมไดถูกฟองเปนจําเลย จึงไมถูก
ผูกพันที่ในการพิพากษาคดีสวนแพงที่ศาลจําตองถือขอเท็จจริงตามที่ปรากฏในคําพิพากษาคดีสวนอาญาตาม
ป.วิ.อ. มาตรา 46 ก็ตาม แตจําเลยที่ 3 เปนผูรับประกันภัย ตกลงวาจะใชคาสินไหมทดแทนในนามของผูเอา
ประกันภัยเพื่อความวินาศภัยอันเกิดขึ้นแกบุคคลอีกคนหนึ่ง และซึ่งผูเอาประกันภัยจะตองรับผิดชอบ ตาม ป.
พ.พ. มาตรา 887 วรรคหนึ่ง แมจําเลยที่ 2 ผูเอาประกันภัยจะไมตองรับผิดตอโจทก แตจําเลยที่ 1 ผูขับ
รถยนตคันที่จําเลยที่ 3 รับประกันภัยไวจากจําเลยที่ 2 เปนภริยาโดยชอบดวยกฎหมายของจําเลยที่ 2 มีสิทธิ
ใชรถยนตดังกลาวเสมือนเปนรถยนตของตนเอง จึงถือเสมือนวาจําเลยที่ 1 เปนผูเอาประกันภัยดวย ทั้งตาม
คําใหการ จําเลยที่ 3 ก็มิไดปฏิเสธวาตนไมตองรับผิดเพราะจําเลยที่ 1 ไมใชผูเอาประกันภัย ดังนี้ เมื่อคดีใน
สวนของจําเลยที่ 1 ศาลฎีกาฟงขอเท็จจริงยุติ วาจํ าเลยที่ 1 กระทําละเมิด ตอโจทก โดยโจทกไมได มีสว น
ประมาทเลินเลอดวย กรณีจึงตองดวย ป.พ.พ. มาตรา 887 วรรคหนึ่ง จําเลยที่ 3 ไมอาจนําสืบเปลี่ยนแปลง
ใหผิดไปจากความรับผิดของจําเลยที่ 1 ได

77 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9185/2558 สิทธิในการอุทธรณและฎีกาในคดีสวนแพงนั้นตองพิจารณา
จากทุนทรัพยที่พิพาทกันในชั้นอุทธรณและฎีกา เมื่อคดีนี้ศาลชั้นตนพิพากษาใหจําเลยที่ 1 และที่ 3 รวมกัน
ชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกโจทกรวม 10,000 บาท ใหจําเลยที่ 2 ชดใชคาสินไหมทดแทนแกโจทกรวม
40,000 บาท จําเลยทั้งสามอุทธรณวา ศาลชั้นตนกําหนดใหจําเลยทั้งสามชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกโจทก
รวมสูงเกินสมควร จํานวนทุนทรัพยที่พิพาทกันในชั้นอุทธรณในคดีสวนแพงจึงไมเกิน 50,000 บาท ตองหาม
มิใหคูความอุทธรณในขอเท็จจริงตาม ป.วิ.พ. มาตรา 224 วรรคหนึ่ง ประกอบ ป.วิ.อ. มาตรา 40 อุทธรณ
ของจําเลยทั้งสามเปนการโตเถียงดุลพินิจของศาลชั้นตน เปนอุทธรณในขอเท็จจริงตองหามตามบทบัญญัติแหง
กฎหมายดังกลาว ที่ศาลอุทธรณภาค 9 รับวินิจฉัยใหในสวนนี้จึงเปนการไมชอบ และถือเปนขอที่มิไดยกขึ้นวา
กันมาแลวโดยชอบในศาลอุทธรณภาค 9 ตองหามมิใหฎีกา ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 249 วรรคหนึ่ง ประกอบ ป.
วิ.อ. มาตรา 40 ศาลฎีกาไมรับวินิจฉัย
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9181/2558 ความผิดฐานชวยซอนเรน ชวยจําหนาย ชวยพาเอาไปเสีย
ซื้อ รับจํานํา หรือรับไวดวยประการใดซึ่งของอันตนรูวาเปนของที่ยังมิไดเสียคาภาษี และยังมิไดผานศุลกากร
โดยถูกตอง หรือเปนของที่นําเขามาในราชอาณาจักรโดยหลีกเลี่ยงอากร ตาม พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ.2469
มาตรา 27 ทวิ และความผิดฐานเปนเจาพนักงานปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบและโดยทุจริต
ตาม ป.อ. มาตรา 157 มีองคประกอบของความผิดและการกระทําที่มีเจตนาประสงคตอผลแยกตางหากจาก
กันได จึงเปนความผิดหลายกรรม ตาม ป.อ. มาตรา 91 แม อ. ไดทําความตกลงระงับคดีในชั้นศุลกากร และ
ยินยอมมอบรถยนตของกลางใหตกเปนของแผนดิน ซึ่งทางดานศุลกากรแมสอดไดอนุมัติใหทําความตกลงระงับ
คดีแลว ก็เปนการระงับเฉพาะในสวนของ อ. ไมทําใหการกระทําความผิดของจําเลยระงับไปดวย
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9174/2558 คดีแพงทั้งสองคดีในคดีกอน จําเลยที่ 1 เปนโจทกฟองจําเลย
ที่ 2 กับโจทกคดีนี้เปนจําเลยที่ 1 และที่ 2 ตามลําดับ ใหรวมกันโอนที่ดินรวม 8 แปลง แกจําเลยที่ 1 โดย
โจทกขาดนัดยื่นคําใหการ ศาลชั้นตนวินิจฉัยวา จําเลยที่ 2 กับโจทกมีชื่อถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินทั้ง 8 แปลง
ดังกลาวแทนจําเลยที่ 1 จึงตองโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินทั้ง 8 แปลงดังกลาวคืนใหแกจําเลยที่ 1 ซึ่งเปนตัวการ
โจทกรองขอพิจารณาคดีใหม แตศาลยกคํารอง คดีถึงที่สุดแลว คดีแพงทั้งสองคดีในคดีกอนจึงมีประเด็นเพียง
วา จําเลยที่ 2 กับโจทกถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินทั้ง 8 แปลงดังกลาวแทนจําเลยที่ 1 หรือไม สวนคดีนี้โจทกฟอง
จําเลยทั้งสามวา จําเลยทั้งสามรวมกันฟองเท็จและเบิกความเท็จในคดีแพงทั้งสองคดีในคดีกอนอันเปนการ
ละเมิดตอโจทก ทําใหโจทกไดรับความเสียหาย คดีนี้รูปคดีจึงเปนเรื่องละเมิดซึ่งมีประเด็นวา จําเลยทั้งสาม
รวมกันฟองเท็จและเบิกความเท็จหรือไม ซึ่งเปนเรื่องที่เพิ่งเกิดขึ้นในภายหลังและศาลในคดีกอนทั้งสองคดียัง
ไมไดมีการวินิจฉัย ฟองโจทกในคดีนี้จึงไมเปนฟองซ้ํากับคดีแพงทั้งสองคดีดังกลาว
อุทธรณและฎีกาของโจทกเปนการโตแยงเรื่องอํานาจฟองมิไดขอใหโจทกชนะคดี จึงเปนคําขอใหปลด
เปลื้องทุกขอันไมอาจคํานวณเปนราคาเงินได จึงเสียคาขึ้นศาลชั้นอุทธรณและฎีกาเพียงชั้นละ 200 บาท ตาม
ตาราง 1 คาธรรมเนียมศาล (2) ทาย ป.วิ.พ. แตโจทกเสียมาอยางคดีมีทุนทรัพย จึงตองคืนคาขึ้นศาลในสวนที่
78 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
เสียเกินมาใหโจทก ปญหาขอนี้เปนปญหาขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน ศาลฎีกา
มีอํานาจยกขึ้นวินิจฉัย ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 142 (5) ประกอบมาตรา 246 และ 247
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9129/2558 การที่โจทกกับนาง ท. ฟองจําเลยที่ 2 และที่ 3 ขอเพิกถอน
นิติกรรมระหวางจําเลยที่ 2 กับที่ 3 ในคดีกอน นั้น ถือไดวาโจทกซึ่งเปนทายาทคนหนึ่งฟองบุคคลภายนอก
แทนทายาทคนอื่นๆ ดวย เพราะหากศาลพิพากษาใหเพิกถอนที่ดินกลับมาเปนทรัพยในกองมรดก ทายาททุก
คนยอมไดรับประโยชน แตการที่โจทกกับนาง ท. ทําสัญญาประนีประนอมยอมความใหจําเลยทั้งสองชําระเงิน
90,000 บาท แกโจทกกับนาง ท. และศาลพิพากษาตามยอม คดีถึงที่สุดแลว การกระทําของโจทกในฐานะ
ทายาทซึ่งเปนเจาของรวมในทรัพยมรดกใชสิทธิขัดกับทายาทอื่นหรือเจาของรวมคนอื่น คําพิพากษาตามยอม
ในคดีดังกลาวคงผูกพันเฉพาะสวนของโจทกเทานั้น หาไดผูกพันทายาทอื่นหรือเจาของรวมคนอื่นไม เมื่อโจทก
ใชอํานาจผูจัดการมรดกฟองจําเลยที่ 2 และที่ 3 เปนคดีนี้อีก จึงเปนคูความเดียวกันและมีประเด็นเดียวกัน
คือ ขอใหเพิกถอนนิติกรรมเกี่ยวกับที่ดินพิพาทระหวางจําเลยที่ 2 กับที่ 3 กับคดีกอนซึ่งถึงที่สุดแลว จึงเปน
ฟองซ้ําเฉพาะสวนของโจทกในฐานะสวนตัวเทานั้น แตในสวนผูจัดการมรดกหาไดเปนฟองซ้ําดวยไม
ที่ดินพิพาทมีขอกําหนดหามโอนภายในสิบป ตามมาตรา 58 ทวิ แหง ป.ที่ดิน มุงหมายที่จะควบคุมมิ
ใหมีการเปลี่ยนแปลงจากผูรับโฉนดที่ดินไปเปนของบุคคลอื่นจนกวาจะพนระยะเวลาหามโอน เวนแตเปนการ
ตกทอดทางมรดก หรือเปนการโอนในกรณีอื่นตามที่บัญญัติไวในมาตรา 58 ทวิ วรรคหา เมื่อจําเลยที่ 1 เปน
ผูจัดการมรดกของนาง น. ตามคําสั่งศาลจดทะเบียนใสชื่อตนเองในฐานะผูจัดการมรดกและโอนมาเปนชื่อ
ตนเองในฐานะทายาทในวันเดียวกันเชนนี้ ถือเปนการโอนทางมรดก ซึ่งเขาขอยกเวน จึงเปนการกระทําที่ชอบ
ดวยกฎหมาย เมื่อขอเท็จจริงไดความวา จําเลยที่ 1 โอนที่ดินพิพาทมาเปนของตนในฐานะทายาทเปนการ
กระทํ า ที่ ช อบด ว ยกฎหมายแล ว ต อ มาจํ า เลยที่ 1 ขายที่ ดิ น พิ พ าทให แ ก จํ า เลยที่ 2 โดยสุ จ ริ ต และเสี ย
คาตอบแทน หลังจากพนระยะเวลาหามโอนแลว สัญญาซื้อขายระหวางจําเลยที่ 1 กับที่ 2 จึงไมเปนโมฆะ เมื่อ
จําเลยที่ 3 ซื้อที่ดินพิพาทจากจําเลยที่ 2 โดยสุจริตและเสียคาตอบแทนเชนเดียวกัน ถือไดวา จําเลยที่ 2 และ
ที่ 3 เป น บุ ค คลภายนอกได ทํ าการโดยสุ จ ริ ต และเสี ย คา ตอบแทน โจทก จึ ง ไมมี อํานาจขอให เ พิ กถอนนิ ติ
กรรมการจดทะเบียนซื้อขายที่ดินพิพาทดังกลาว
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9046/2558 กอนเกิดเหตุผูเสียหายขับรถจักรยานยนตสวนทางกับกลุม
วั ย รุ น ที่ ขั บ และนั่ ง ซ อ นท า ยรถจั ก รยานยนต แ ล น มา 6 คั น จากนั้ น พวกของจํ า เลยขั บ และนั่ ง ซ อ นท า ย
รถจักรยานยนตคันหนึ่งมาดาผูเสียหายแลวกลับไปรวมตัวกับกลุมวัยรุนที่อยูในสถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง
ตอมาพวกของจําเลยและจําเลยขับและนั่งซอนทายรถจักรยานยนตมายังบริเวณที่เกิดเหตุ แลวพวกของจําเลย
ใชขวดสุราขวางปาใสผูเสียหาย พฤติการณการเชื่อไดวา กลุมวัยรุนที่กระทําการดังกลาวเปนกลุมวัยรุนกลุม
เดียวกันโดยมีจําเลยอยูร วมกลุมดวยมาโดยตลอด แสดงวาจําเลยรับรูขอเท็จจริงที่เปนมูลเหตุแหงคดีนี้มาตั้งแต
ตน ประกอบกับขณะเกิดเหตุพวกของจําเลยที่ใชขวดขวางปาใสผูเสียหายยังใชผาปดบังอําพรางใบหนา สอ
แสดงวาจะกอเหตุรายขึ้นโดยไมใหมีผูใดจดจําได ซึ่งจําเลยยอมตระหนักไดเปนอยางดี หากจําเลยไมมีเจตนา
79 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
รวมกับพวกในการกระทําความผิด จําเลยก็ชอบจะแยกตัวไปโดยไมเกี่ยวของดวย พฤติการณแหงคดีชี้ใหเห็นวา
จําเลยกับพวกคบคิดกันมากอนในการทํารายผูเสียหาย และอยูในภาวะที่สามารถชวยเหลือซึ่งกันและกันได อีก
ทั้งยังหลบหนีไปดวยกัน จําเลยจึงเปนตัวการรวมกับพวกกระทําความผิด
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8973/2558 ศาลชั้นตนมีคําพิพากษาครั้งแรกใหจําเลยและบริวารขนยาย
ทรัพยสินออกไปจากที่ดินพิพาท ใหจําเลยใชคาฤชาธรรมเนียมแทนโจทก โดยกําหนดคาทนายความ 3,000
บาท จําเลยอุทธรณโดยนําเงินคาธรรมเนียมซึ่งจะตองใชแกโจทกตามคําพิพากษาศาลชั้นตนมาวางพรอมกับ
อุทธรณครบถวนแลว ตอมาศาลอุทธรณภาค 4 พิพากษายกคําพิพากษาศาลชั้นตนและยกอุทธรณของจําเลย
ใหศาลชั้นตนดําเนินกระบวนพิจารณาและมีคําพิพากษาใหมโดยใหมีผูพิพากษาครบองคคณะ ใหคืนคาขึ้นศาล
ในชั้นอุทธรณแกจําเลย คาฤชาธรรมเนียมในชั้นอุทธรณนอกจากที่สั่งคืนใหเปนพับ แตจําเลยยังไมไดขอรับเงิน
คาธรรมเนียมใชแทนโจทกที่วางไวตอศาลชั้นตนคืน ตอมาเมื่อศาลชั้นตนมีคําพิพากษาครั้งที่สอง ใหจําเลยและ
บริ ว ารขนยายทรั พย สิน ออกไปจากที่ดิ น พิพาท ให จํ าเลยใช คาฤชาธรรมเนี ย มแทนโจทก โดยกําหนด คา
ทนายความ 3,000 บาท กรณีถือวาจําเลยไดนําเงินคาธรรมเนียมซึ่งจะตองใชแกโจทกตามคําพิพากษาศาล
ชั้นตนมาวางตอศาลพรอมกับอุทธรณแลว จําเลยจึงไมตองนําเงินคาธรรมเนียมมาวางพรอมอุทธรณเพิ่มเติมอีก
ทั้งไมจําตองมีคําขอใหเอาเงินดังกลาวมาวางพรอมอุทธรณครั้งที่สองดวย อุทธรณของจําเลยครั้งที่สองจึงเปน
อุทธรณที่ชอบดวย ป.วิ.พ. มาตรา 229 แลว
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8865/2558 การที่ ร. ไดรถยนตพิพาทมาดวยการกระทําความผิดฐาน
ยักยอกซึ่งคดีอาญาถึงที่สุดแลว ร. จึงไมไดกรรมสิทธิ์ในรถยนตคันดังกลาว แมจําเลยที่ 1 จะซื้อรถยนตพิพาท
โดยสุจริตแตเปนการซื้อจาก ร. ผูไมมีกรรมสิทธิ์ จําเลยที่ 1 ยอมไมมีสิทธิดีไปกวา ร. คือไมไดกรรมสิทธิ์ใน
รถยนตพิพาทดวยเชนกัน จําเลยที่ 1 จึงตองรวมกับจําเลยที่ 2 คืนรถยนตพิพาทแกโจทก หากคืนไมไดตองใช
ราคาแทน
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8782/2558 ป.วิ.อ. มาตรา 2 (4) บัญญัติวา "ผูเสียหาย หมายความ
ถึงบุคคลผูไดรับความเสียหายเนื่องจากการกระทําผิดฐานใดฐานหนึ่ง ..." ซึ่งบุคคลที่ไดรับความเสียหายจาก
การกระทําความผิดดังกลาวตองพิจารณาในขณะที่ความผิดเกิดขึ้นวา บุคคลนั้นไดรับความเสียหายจากการ
กระทําความผิดนั้นหรือไม อีกทั้งสิทธิของการเปนผูเสียหายเปนสิทธิเฉพาะตัว และไมอาจโอนสิทธิความเปน
ผู เ สี ย หายไปยั งบุ คคลอื่ น ได สิ ทธิ ใ นการเป น ผู เ สี ย หายในคดี อาญาจึ ง ต องพิ จ ารณาในขณะที่มี การกระทํ า
ความผิดเกิดขึ้น แมขณะที่โจทกฟองคดีนี้โจทกโอนสิทธิเรียกรองตามคําพิพากษาในคดีแพงใหแกบริษัท บ.
แลวก็ตาม แตวันที่จําเลยกระทําความผิดโจทกยังเปนเจาหนี้ตามคําพิพากษาในคดีดังกลาว เมื่อจําเลยโอนขาย
ที่ดินของจําเลยใหแก น. เพื่อมิใหโจทกซึ่งเปนเจาหนี้ตามคําพิพากษาไดรับชําระหนี้ทั้งหมดหรือบางสวน โจทก
จึงเปนผูที่ไดรับความเสียหายจากการกระทําความผิดฐานโกงเจาหนี้ของจําเลย โจทกยอมอยูในฐานะผูเสียหาย
และมีอํานาจฟองจําเลยได

80 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8755/2558 เมื่อมีการเลิกสัญญาเชาซื้อ ผูให เชาซื้อยอมอาจบังคับให
จําเลยที่ 1 ผู เช าซื้อชดใชร าคารถที่เช าซื้อส วนที่ขาดหรื อคาขาดราคาได นับ แต วัน เลิ กสั ญญาตาม ป.พ.พ.
มาตรา 193/12 ซึ่งเปนวันที่อาจบังคับตามสิทธิเรียกรองนั้นได มิใชนับแตวันที่ประมูลขายทอดตลาดรถที่เชา
ซื้อ เมื่อมีการเลิกสั ญญาเช าซื้อเมื่อวัน ที่ 6 พฤศจิกายน 2539 และโจทกฟองคดี เมื่อวัน ที่ 12 มกราคม
2550 ฟองของโจทกในสวนที่เกีย่ วกับคาขาดราคาจึงขาดอายุความ 10 ป ตาม ป.พ.พ. มาตรา 193/30
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8749/2558 คดีกอนจําเลยฟองโจทกวาโจทกขายฝากที่ดินพิพาทใหแก
จําเลยในราคา 8,500,000 บาท กําหนดไถคืนภายใน 1 ป โจทกไดรับเงินคาขายฝากครบถวน แลวโจทกไม
ไถคืนภายในกําหนดและไมออกไปจากที่ดินที่ขายฝาก ขอใหขับไลและเรียกคาขาดประโยชน โจทกใหการตอสู
วาจําเลยชําระเงินคาขายฝากไมครบ ขาดอยู 1,500,000 บาท ศาลชั้นตนวินิจฉัยวาโจทกไดรับเงินคาขาก
ฝากครบจํานวนตามขอความที่ระบุในสัญญาขายฝาก พิพากษาใหขับไลโจทกพรอมชําระคาเสียหาย คดีถึงที่สุด
แลว คดีนี้โจทกฟองวาโจทกขายฝากที่ดินพิพาทใหแกจําเลยในราคา 8,500,000 บาท กําหนดไถคืนภายใน
1 ป จําเลยชําระเงินคาขายฝากใหแกโจทกแลว 7,000,000 บาท สวนที่เหลืออีก 1,500,000 บาท ยังไม
ชําระ ขอใหจําเลยชําระสวนที่เหลือ เชนนี้ เปนกรณีที่ศาลในคดีกอนมีคําพิพากษาถึงที่สุดโดยวินิจฉัยคดีวา
จําเลยคดีนี้ชําระเงินคาขายฝากใหแกโจทกครบถวนแลว มิไดผิดสัญญาตอโจทก ฎีกาของโจทกคดีนี้จึงตกอยู
ภายใตบังคับเรื่องหามมิใหดําเนินกระบวนพิจารณาซ้ํา ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 144 จึงไมอาจวินิจฉัยฎีกาของ
โจทกได ปญหาดังกลาวเปนปญหาขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน แมจําเลยคดีนี้
จะมิไดยกเรื่องการดําเนินกระบวนพิจารณาซ้ําขึ้นกลาวอาง ศาลฎีกามีอํานาจยกขึ้นวินิจฉัยเองได ตาม ป.วิ.พ.
มาตรา 142 (5)
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8689/2558 ตามคํารองของผูรองดังกลาวเปนเรื่องที่ผูรองกลาวอางวา
โจทกนําเจาพนักงานบังคับคดียึดที่ดินของผูรองโดยไมชอบเพราะผูรองไมไดเปนลูกหนี้โจทก ผูรองและจําเลยที่
1 มีชื่อและชื่อสกุลซ้ํากัน เจาพนักงานบังคับคดีดําเนินการบังคับคดีโดยฝาฝนตอบทบัญญัติแหง ป.วิ.พ. ภาค 4
ลักษณะ 2 วาดวยการบังคับคดีตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง และมีคําขอใหเพิกถอนกระบวนพิจารณาในชั้น
บังคับคดีเสียทั้งหมดตั้งแตมีการยึดทรัพย หาใชเปนคํารองขัดทรัพยตาม ป.วิ.พ. มาตรา 288 ดังที่ศาลชั้นตน
วินิจฉัยไม และตามคํารองดังกลาวเปนคํารองที่เสนอเกี่ยวเนื่องกับการบังคับคดีตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง ซึ่ง
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 7 (2) บัญญัติใหเสนอตอศาลที่มีอํานาจในการบังคับคดีตามมาตรา 302
การที่โจทกนําเจาพนักงานบังคับคดียึดที่ดินของผูรองซึ่งมิใชลูกหนี้ตามคําพิพากษายอมเปนการไม
ชอบดวยกฎหมาย มีผลใหกระบวนพิจารณาในชั้นบังคับคดีที่เจาพนักงานบังคับคดีดําเนินการมาทั้งหมดยอมไม
ชอบดวยกฎหมายไปดวย แมขอเท็จจริงจะปรากฏวาการบังคับคดีไดเสร็จลงแลว ก็ไมอาจนําบทบัญญัติแหง ป.
วิ.พ. ภาค 4 ลักษณะ 2 วาดวยการบังคับคดีตามคําพิพากษาหรือคําสั่งมาใชบังคับแกผูรองได เพราะผูรองมิใช
ลูกหนี้ตามคําพิพากษาของโจทก ซึ่งศาลชั้นตนชอบที่จะมีคําสั่งใหเพิกถอนการยึดทรัพย การขายทอดตลาด
รวมทั้งกระบวนพิจารณาในชั้นบังคับคดีเสียทั้งหมดเพื่อใหการเปนไปดวยความยุติธรรมตามที่เห็นสมควร ตาม
81 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
ป.วิ.พ. มาตรา 27 และมาตรา 296 การที่ศาลชั้น ตนมีคําสั่งจําหนายคดีของผู รองโดยมิไดไตสวนคํารอง
เสียกอน และศาลอุทธรณภาค 8 พิพากษายกอุทธรณของผูรองนั้น จึงเปนการดําเนินกระบวนพิจารณาและ
พิพากษาคดีไปโดยไมชอบ
เมื่อคดีปรากฏเหตุที่มิไดปฏิบัติตามบทบัญญัติแหง ป.วิ.พ.วาดวยการพิจารณา จึงตองยกคําสั่งและคํา
พิพากษาของศาลลางทั้งสองตาม ป.วิ.พ. มาตรา 243 (2) ประกอบมาตรา 247 แลวยอนสํานวนไปใหศาล
ชั้นตนไตสวนคํารองของผูรองแลวมีคําสั่งตามรูปคดีตอไป
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8687 - 8688/2558 เมื่อจําเลยถึงแกความตาย คําสั่งศาลที่ตั้งจําเลย
เปนผูจัดการมรดกไมมีผลตอไป แตความรับผิดของผูจัดการมรดกอันเกิดจากการจัดการมรดกมิชอบมิใชเปน
การเฉพาะตัวจึงยอมตกทอดแกทายาท ที่ศาลอนุญาตให ท. เปนคูความแทนที่จําเลยจึงชอบแลว
พินัยกรรมมีลายมือชื่อพยานสองคนและไมมีกฎหมายหามมิใหพยานในพินัยกรรมเปนพยานรับรอง
ลายพิมพนิ้วมือในขณะเดียวกัน เมื่อไมปรากฏวาพยานในพินัยกรรมทั้งสองเปนบุคคลตองหาม ตาม ป.พ.พ.
มาตรา 1670 การที่ผูทําพินัยกรรมลงลายมือชื่อและพิมพลายนิ้วมือตอหนา ช. กับ ห. เมื่อบุคคลทั้งสองลง
ลายมือชื่อรับรองไวในขณะทําพินัยกรรม ตามมาตรา 1665 พินัยกรรมจึงถูกตองตามแบบและสมบูรณตาม
กฎหมาย
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8580/2558 จําเลยเปนลูกจางของโจทกรวมซึ่งไดรับความเสียหายจาก
การกระทําของจําเลยทั้งสองคดี โดยจําเลยถือโอกาสที่เปนลูกจางลักทรัพยของโจทกรวมไป แมทรัพยที่จําเลย
ลักในคดีนี้มีประเภทของทรัพยมากกวาทรัพยที่จําเลยลักในคดีเดิมของศาลชั้นตนก็ตาม แตลักษณะแหงคดีและ
ความผิดเปนอยางเดียวกัน ทั้งการกระทําความผิดคดีนี้มีชวงระยะเวลาบางชวงที่จําเลยกระทําความผิดอยูใน
ชวงเวลาเดียวกับคดีดังกลาว คดีนี้และคดีดังกลาวจึงมีความเกี่ยวพันกันจนอาจฟองเปนคดีเดียวกันไดตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 160 วรรคหนึ่ง การนับโทษตอตองอยูในบังคับของประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา 91 (2)
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8565 - 8566/2558 แมจําเลยที่ 6 จะเปน นิติบุคคลประเภทบริษัท
จํากัด แตเมื่อจําเลยที่ 6 มีวัตถุประสงคประกอบกิจการจัดระบบแสง สี เสียง ภาพ ประกอบการแสดง เวทีการ
แสดงตาง ๆ การที่จําเลยที่ 7 ซึ่งเปนกรรมการผูมีอํานาจกระทําการแทนจําเลยที่ 6 รับจางติดตั้งดอกไมเพลิง
ในการทําฉากเอฟเฟกตในรานเกิดเหตุตามขอบแหงวัตถุประสงค ยอมตองถือวาเปนการกระทําของจําเลยที่ 6
เมื่อการกระทําของจําเลยที่ 7 เปนความผิดอาญา แมจะเปนการกระทําโดยประมาท จําเลยที่ 6 ก็ตองรับโทษ
ทางอาญาดวยเชนกัน

82 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


จําเลยที่ 1 แกฎีกาวา โจทกบรรยายฟองในสวนของจําเลยที่ 1 ขัดแยงกัน เปนไปไมไดเปนฟองที่ไม
ชอบดวย ป.วิ.อ. มาตรา 158 จึงมีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามคําแกฎีกาของจําเลยที่ 1 วา ฟองโจทกในสวนของ
จําเลยที่ 1 ชอบดวย ป.วิ.อ. มาตรา 158 หรือไม
การที่โจทกบรรยายฟองวา บริษัท ว. เปนนิติบุคคล มี ส. เปนกรรมการผูแทนนิติบุคคลตามกฎหมาย
และมีจําเลยที่ 1 เปนผูบริหารดําเนินกิจการตามความเปนจริง เทากับโจทกยืนยันวาบริษัทไดเชิด ส. ออก
แสดงเปนผูแทนของตน แมจําเลยที่ 1 จะไมไดมีชื่อเปนผูแทนตามหนังสือรับรองแตก็เปนผูมีอํานาจกระทําการ
แทนบริษัทโดยผานทาง ส. นั่นเอง ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1167 ที่กําหนดใหความเกี่ยวพันในระหวางกรรมการ
และบริ ษัทและบุคคลภายนอกนั้น ให บังคับตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย วาดว ย
ตัวแทน คําฟองโจทกจึงไมขัดแยงกันหรือเปนไปไมไดดังคําแกฎีกาของจําเลยที่ 1 หากแตชอบดวย ป.วิ.อ.
มาตรา 158 แลว
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8547/2558 ขณะที่ ส. กรรมการผูจัดการใหญของโจทกสั่งใหฝายการคลัง
คืนเงินสวนที่หักไวเกินกวาคาปรับใหแกจําเลยทั้งสาม ส. มีตําแหนงเปนกรรมการผูจัดการใหญของโจทกตาม
หนังสือรับรอง ซึ่งไมมีขอจํากัดอํานาจของกรรมการแตอยางใด โดยเงื่อนไขทั่วไปแหงสัญญาวาดวยการระงับ
ขอพิพาท มีขอตกลงชัดแจงวาในกรณีที่มีการโตแยงหรือมีขอพิพาทระหวางผูรับเหมา (จําเลยทั้งสาม) และ
โจทกที่เกี่ยวกับสัญญานี้ คูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งจะตองเสนอขอพิพาทไปยังผูอํานวยการของโจทก (ปจจุบัน
คือ กรรมการผูจัดการใหญ) เพื่อทําการตัดสิน คําตัดสินของผูอํานวยการของโจทกถือเปนที่สุดและเปนขอสรุป
เว น เสี ย แต ภ ายในระยะเวลาที่ กํ า หนด ผู รั บ เหมา (จํ า เลยทั้ ง สาม) จะร อ งขอให ส ง ข อ พิ พ าทไปยั ง
อนุ ญาโตตุ ล าการ เมื่อปรากฏว ามีขอโต แย งเกี่ย วกับคาปรั บ เกิด ขึ้น จํ าเลยทั้งสามมีห นั งสื อโต แย งเพื่อให
กรรมการผูจัดการใหญของโจทกตัดสินชี้ขาด ส. ไดเรียกพนักงานผูเกี่ยวของไปรวมประชุมพิจารณาและตอมามี
คําสั่งใหฝายการคลังของโจทกคืนเงินสวนที่หักไวเกินกวาคาปรับใหจําเลยทั้งสาม เห็นไดวา ส. มีคําตัดสิน
ดังกลาวในขอบอํานาจของกรรมการผูจัดการใหญของโจทกตามขอสัญญาขางตน สวนคําตัดสินชี้ขาดจะถูกตอง
หรื อ ไม เ ป น อี ก เรื่ อ งหนึ่ ง ที่ โ จทก อ า งว า ส. มิ ไ ด นํ า ข อ พิ พ าทและคํ า ตั ด สิ น ดั ง กล า วเข า สู ที่ ป ระชุ ม ของ
คณะกรรมการของโจทกเพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบกอน จึงเปนการกระทําที่ไมมีอํานาจนั้น เรื่องดังกลาวไม
วาจะมีระเบียบของโจทกกําหนดไวหรือไม หรือเปนเรื่องสําคัญซึ่ง ส. ควรนําขอพิพาทและคําตัดสินชี้ขาดขอ
พิพาทใหคณะกรรมการของโจทกพิจารณาใหความเห็นชอบกอน เปนเรื่องภายในของโจทก ไมมีผลทําใหคํา
ตัดสินชี้ขาดของ ส. ในฐานะกรรมการผูจัดการใหญของโจทกตามขอสัญญาดังกลาวเสียไปแตอยางใด หากคํา
ตัดสินชี้ขาดของ ส. ไมถูกตอง ทําใหโจทกเสียหาย โจทกก็ตองไปวากลาวเอากับ ส. ซึ่งก็ปรากฏวาโจทกไดฟอง
เรียกคาเสียหายจาก ส. ตอศาลปกครองกลางและศาลปกครองกลางพิพากษาให ส. ชดใชคาเสียหายจํานวน
หนึ่งแกโจทกอยูแลว โจทกจะยกเอาเหตุที่ ส. ไมนําคําตัดสินชี้ขาดไปใหคณะกรรมการของโจทกพิจารณาให
ความเห็นชอบกอนเปนการกระทําที่ไมมีอํานาจ มาเปนขอตอสูจําเลยทั้งสามซึ่งเปนบุคคลภายนอกผูสุจริตไมได

83 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


ตามที่ ป.พ.พ. มาตรา 1167 ประกอบมาตรา 822 บั ญ ญั ติ ไ ว เพราะทางนํ า สื บ โจทก ไ ม ป รากฏ
พยานหลักฐานใดที่บงชี้วาจําเลยทั้งสามไดสมคบกับ ส. กระทําการโดยไมสุจริตแตอยางใด
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8546/2558 ป.พ.พ. มาตรา 193/34 บัญญัติวา "สิทธิเรียกรองดังตอไปนี้
ใหมีกําหนดอายุความสองป (1) ผูประกอบการคาหรืออุตสาหกรรม ผูประกอบหัตถกรรม ผูประกอบศิลป
อุตสาหกรรม หรือชางฝมือ เรียกเอาคาของที่ไดสงมอบ คาการงานที่ไดทํา หรือคาดูแลกิจการของผูอื่น รวมทั้ง
เงินที่ไดออกทดรองไป เวนแตเปนการที่ไดทําเพื่อกิจการของฝายลูกหนี้นั้นเอง" และมาตรา 193/33 บัญญัติ
วา "สิทธิเรียกรองดังตอไปนี้ใหมีกําหนดอายุความหาป (5) สิทธิเรียกรองตามมาตรา 193/34 (1) (2) และ
(5) ที่ไมอยูในบังคับอายุความสองป" ซึ่งความหมายของผูประกอบการคา นอกจากเปนผูประกอบธุรกิจการคา
โดยทําการซื้อขายสินคาแลว ยังตองเปนผูที่ประกอบการคาเปนปกติธุระเพื่อหวังผลกําไรในทางการคาดวย
โจทกเปนองคการของรัฐจัดตั้งตาม พ.ร.บ.วาดวยการจัดตั้งองคการของรัฐบาล พ.ศ.2496 และ พ.ร.ฎ.จัดตั้ง
องคการคลังสินคา พ.ศ.2498 มีวัตถุประสงคทํากิจ การทั้งปวงเกี่ยวกับสินคาเกษตร ฯลฯ ทั้งการซื้อขาย
ข า วเปลื อ กระหว า งโจทก แ ละจํ า เลยที่ 1 สื บ เนื่ อ งมาจากโครงการรั บ จํ า นํ า ข า วเปลื อ กนาป ป ก ารผลิ ต
2548/2549 ของรัฐบาลในสมัยนั้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อชวยเหลือเกษตรกรผูมีรายไดนอยสามารถจํานํา
ขาวไดในราคาสูง ไมถูกเอารัดเอาเปรียบจากพอคาคนกลาง อีกทางหนึ่งก็คงเปนเพราะเพื่อลดภาระในการดูแล
รักษาขาวเปลือกดังกลาวของโจทกซึ่งฝากไวในโกดังเก็บขาวของจําเลยที่ 1 ซึ่งเขารวมในโครงการรับจํานํา
ขาวเปลือกนาป ปการผลิต 2548/2549 โดยใหจําเลยที่ 1 สามารถขายขาวเปลือกดังกลาวไปได ดังนั้นการ
ขายข าวเปลื อกดั งกล าวของโจทกใ ห แกจํ าเลยที่ 1 จึ งมิ ได มุ งหวั ง กําไรเพื่อ หารายได เ ขารั ฐ โจทกจึ งมิใ ช
ผูประกอบการคาในอันที่จะนําอายุความ 5 ป ตาม ป.พ.พ. มาตรา 193/33 (5) มาใชบังคับ เมื่อกรณีตาม
สัญญาระหวางโจทกและจําเลยที่ 1 มิไดมีกฎหมายกําหนดเรื่องอายุความไว จึงตองนํากําหนดอายุความ 10 ป
ซึ่งเปนอายุความทั่วไปตาม ป.พ.พ. มาตรา 193/30 มาใชบังคับ
คดีอาญาเปนเรื่องที่พนักงานอัยการเปนโจทกฟองจําเลยทั้งสอง ฐานยักยอกทรัพยคือขาวเปลือกที่
จําเลยทั้งสองรับฝากไวตามสัญญาฝากเก็บ แปรสภาพ และจัดจําหนายขาว และขอใหคืนหรือใชราคาทรัพยที่
ยักยอกไป แมจะถือวาเปนการขอแทนโจทกซึ่งเปนผูเสียหายในคดีอาญาตาม ป.วิ.อ. มาตรา 43 แตก็เปนกรณี
ที่เ นื่ อ งมาจากการกระทํา ความผิ ด อาญาอั น เป น มูล ละเมิ ด เทา นั้ น ส ว นคดี นี้ โ จทก ฟ อ งว า จํ าเลยที่ 1 ซื้ อ
ขาวเปลือกจากโจทกและยั งคงคางชํ าระราคาขาวเปลื อก จึ งขอให จํ าเลยทั้งสองร ว มกันรั บ ผิ ด ชํ าระราคา
ขาวเปลือกที่ยงั คงคางชําระแกโจทก อันเปนมูลหนี้มาจากการผิดสัญญา ถึงแมคําขอบังคับในคดีอาญาและคดีนี้
เปนอยางเดียวกัน แตขออางที่อาศัยเปนหลักแหงขอหามิใชเปนอยางเดียวกัน นอกจากนี้คําฟองของโจทกคดีนี้
เปนเรื่องผิดสัญญา การโตแยงสิทธิที่จะนําคดีมาสูศาลเปนเรื่องของคูสัญญาโดยเฉพาะ พนักงานอัยการที่เปน
โจทกในคดีอาญาไมอาจอาศัยสิทธิในเรื่องจําเลยที่ 1 ผิดสัญญาซื้อขายขาวเปลือกมาเปนขออางในคําขอสวน
แพงได เพราะมิไดเปนเรื่องเกี่ยวเนื่องกับความผิดอาญาตามที่บัญญัติไวใน ป.วิ.อ. มาตรา 43 กรณีจึงมิใชเปน
การฟองคดีในเรือ่ งเดียวกันอันจะเปนฟองซอนตามความหมายของ ป.วิ.พ. มาตรา 173 วรรคสอง (1)

84 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8489/2558 จําเลยที่ 2 จัดสรางพระเครื่องและโฆษณาประชาสัมพันธ
เพื่อใหประชาชนเชาบูชาพระสมเด็จเหนือหัวตามสื่อตางๆ ทั้งทางวิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพ แผนพับ และ
ปายโฆษณาขนาดใหญ หลายวันหลายเวลาโดยอาศัยชองทางที่แตกตางกันทั้งสถานที่และวิธีการชําระเงิน ซึ่ง
โจทกไดนําสืบถึงผูเสียหายทั้ง 921 รายที่หลงเชื่อตามโฆษณาดังกลาวและเชาพระสมเด็จเหนือหัวที่จําเลยที่ 2
จัดทําขึ้นแตละรายไป ผูเสียหายแตละคนตางถูกหลอกลวงคนละวันคนละเวลา จํานวนเงินที่ถูกหลอกแตกตาง
กัน ความผิดตอผูเสียหายแตละรายจึงเปนการกระทําที่แยกออกจากกันได การกระทําของจําเลยที่ 2 จึงเปน
ความผิดหลายกรรมตางกัน
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8472/2558 องคประกอบของความผิดตาม พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537
มาตรา 69 ประกอบมาตรา 28 (3) คือ การกระทําแกโสตทัศนวั สดุ ภาพยนตร หรื อสิ่งบันทึกเสียงอัน มี
ลิขสิทธิ์ดวยการใหเชาตนฉบับหรือสําเนางานดังกลาวโดยไมไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ดังนี้ การให
เชาตนฉบับหรือสําเนางานดังกลาวอันจะเปนการละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรงตามมาตรา 28 (3) จะตองเปนการ
กระทําตองานอันมีลิขสิทธิ์ที่เจาของลิขสิทธิ์ไดอนุญาตใหทําขึ้นโดยชอบดวยกฎหมายเทานั้น มิใชการกระทําตอ
สําเนางานที่เกิดจากการทําซ้ําหรือดัดแปลงโดยละเมิดลิขสิทธิ์ ซึ่งเปนการละเมิดลิขสิทธิ์โดยออมตามมาตรา
31 (1) เมื่อโจทกบรรยายฟองวา จําเลยทั้งสองนําแผนวีซีดีภาพยนตรที่บันทึกภาพและเสียงงานภาพยนตร
ดังกลาวจํานวน 2 แผน อันเปนลิขสิทธิ์ของผูเสียหายออกใหเชา เสนอใหเชาแกบุคคลทั่วไป อันเปนการกระทํา
เพื่อหากําไรและเพื่อการคา โดยจํ าเลยทั้งสองรู อยูแลว ว าการกระทําดั งกล าวเป น การกระทําโดยไมได รั บ
อนุญาต อันเปนการละเมิดลิขสิทธิ์ของผูเสียหาย แมไมไดระบุวาแผนวีซีดีภาพยนตรดังกลาวเปนตนฉบับหรือ
สําเนางานอันมีลิขสิทธิ์ แตก็พอถือไดวาเปนการบรรยายฟองครบองคประกอบแลว
สําหรับที่โจทกมีคําขอใหแผนวีซีดีภาพยนตรของกลางตกเปนของเจาของลิขสิทธิ์นั้น ปรากฏวาแผนวี
ซีดีภ าพยนตรดั งกล าวเปน งานอัน มีลิ ขสิทธิ์ของผู เสี ยหาย มิใช สิ่งที่ได ทําขึ้นอันเปนการละเมิด ลิขสิ ทธิ์ ตาม
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 จึงไมอาจสั่งใหตกเปนของเจาของลิขสิทธิ์ได และแผนของกลางดังกลาวเปนงาน
ภาพยนตรอันมีลิขสิทธิ์ซึ่งเปนองคประกอบของความผิดตาม พ.ร.บ.ดังกลาวมาตรา 69 วรรคสอง ประกอบ
มาตรา 28 (3) จึงมิใชสิ่งที่ไดใชในการกระทําความผิดอันตองริบตามมาตรา 75
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8454/2558 บริษัท ท. สั่งซื้อสินคากระดาษจากโจทก โดยบริษัท ท. ออก
เช็คสั่งจายชําระหนี้ 1 ฉบับ และจําเลยในฐานะกรรมการของบริษัท ท. ออกเช็คสั่งจายชําระหนี้อีก 4 ฉบับ
เมื่อเช็คทั้ง 5 ฉบับ ถึงกําหนดเรียกเก็บเงิน ธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจายเงิน โจทกฟองบริษัท ท. เปนจําเลย
ที่ 1 และจําเลยคดีนี้เปนจําเลยที่ 2 เปนคดีกอนใหรับผิดชําระหนี้คากระดาษตามเช็ค 4 ฉบับ โจทกกับจําเลย
ทั้งสองตกลงกันได ศาลพิพากษาตามยอมคดีถึงที่สุดแลว คดีนี้โจทกฟองอางเหตุวาจําเลยในฐานะกรรมการ
บริษัท ท. ออกเช็คฉบั บลงวัน ที่ 29 มีนาคม 2553 สั่งจายชําระหนี้คากระดาษแกโจทก เมื่อเช็ คฉบับดั ง
กลาวถึงกําหนดเรียกเก็บเงิน ธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจายเงิน โจทกแจงความรองทุกขดําเนินคดีแกจําเลย
พนักงานอัยการฟองจําเลยตอศาลแขวงดุสิต จําเลยใหการรับสารภาพ และทําบันทึกยอมรับวาออกเช็คฉบับ
85 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
ดังกลาวชําระหนี้คากระดาษแกโจทกจริง ขอผอนชําระหนี้ตามบันทึกขอตกลงในคดีอาญาภายหลังจําเลยผิด
นัดชําระหนี้ตามบันทึกดังกลาว โจทกจึงฟองจําเลยเปนคดีนี้ ดังนี้ ยอดหนี้ในคดีกอนกับยอดหนี้ในคดีนี้จึงเปน
คนละจํานวนกัน การที่โจทกฟองบังคับใหจําเลยชําระหนี้ตามบันทึกขอตกลงในคดีอาญา เปนคดีนี้จึงไมใชเปน
การรื้อรองฟองกันในประเด็นขอพิพาทที่อาศัยเหตุอยางเดียวกันกับในคดีกอน ฟองโจทกคดีนี้จึงไมเปนฟองซ้ํา
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 148
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8445/2558 แม พ.ร.บ. จัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ.2511 มาตรา
11 และมาตรา 12 กําหนดใหทางราชการออกหนังสือแสดงการทําประโยชนใหแกสมาชิกนิคมที่ไดเขาทํา
ประโยชนในที่ดินซึ่งสมาชิกสามารถนําหนังสือดังกลาวไปขอออกโฉนดหรือหนังสือรับรองการทําประโยชน แต
ภายในหาปนับแตวันไดรับโฉนดหรือหนังสือรับรองการทําประโยชน ผูไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์ในที่ดินจะโอนที่ดินไป
ยังผูอื่นไมได นอกจากตกทอดทางมรดกหรือโอนไปยังสหกรณที่ตนเปนสมาชิกอยูแลวแตกรณี เมื่อที่ดินพิพาท
ยังไมมีการออกโฉนดหรือหนังสือรับรองการทําประโยชนตาม พ.ร.บ. ดังกลาว ที่ดินพิพาทจึงยังเปนที่ดินของรัฐ
ซึ่งราษฎรสามารถมีสิทธิ ครอบครองได และไมมีกฎหมายหามโอนสิทธิครอบครองระหว างราษฎรดว ยกัน
เพียงแตราษฎรไมสามารถยกการครอบครองขึ้นอางตอรัฐไดเทานั้น เมื่อราษฎรสามารถอางสิทธิครองครองยัน
กันระหวางราษฎรดวยกันได และสิทธิในการครอบครองที่ดินพิพาทดังกลาวจึงถือเปนทรัพยมรดกอยางหนึ่ง
หลักจาก ข. ซึ่งเปนผูไดรับอนุญาตใหเขาทําประโยชนในที่ดินพิพาทของสหกรณนิคมสวรรคโลก จํากัด
และไดรับหนังสือแสดงการทําประโยชนในที่ดิน (กสน.5) ถึงแกความตาย ทายาทของ ข. ตกลงใหใสชื่อจําเลย
ที่ 1 ใน กสน.5 ตอมาจําเลยที่ 1 นําหนังสือดังกลาวไปขอออกโฉนดจึงถือไดวาเปนการดําเนินการแทนทายาท
อื่น บันทึกขอตกลงใหความยินยอมในการแบงแยกโฉนดที่ดินที่จําเลยที่ 1 และบรรดาทายาทของ ข. ตกลงทํา
ขึ้นเพื่อแบงแยกที่ดินพิพาทกัน จึงเปนสัญญาแบงทรัพยมรดกระหวางทายาท ไมถือวาเปนการจงใจหลีกเลี่ยง
ขอกําหนดหามโอนตามกฎหมายหรือมีวัตถุประสงคเปนการตองหามโดยชัดแจงตาม พ.ร.บ. จัดที่ดินเพื่อการ
ครองชีพ พ.ศ.2511 มาตรา 12 ยอมไมมีผลเปนโมฆะและสามารถบังคับกันได
****คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8422/2558 การที่จําเลยที่ 1 พูดจาใหรายผูเสียหายขณะปฏิบัติ
หนาที่เขาตรวจคนรานโดยใชคําวา "ปลัดสนตีน" ซึ่งเปนคําดูหมิ่นเหยียดหยาม เปนการกระทําความผิดฐานดู
หมิ่นเจาพนักงานซึ่งกระทําการตามหนาที่ ตาม ป.อ. มาตรา 136 สําเร็จแลวกระทงหนึ่ง สวนการที่จําเลยที่ 1
รวมกับจําเลยที่ 2 ทําใหผูเสียหายเกิดความกลัวหรือความตกใจโดยการขูเข็ญขณะที่ผูเสียหายเขาตรวจภายใน
ราน โดยจําเลยที่ 1 พูดขึ้นวา ไปเอาปนมายิงใหตาย อยาใหออกไปได แลวจําเลยที่ 2 วิ่งไปหยิบไมเบสบอล
มาตีผูเสียหาย 1 ที จําเลยที่ 1 เอาไมกวาดไลตีผูเสียหาย เปนการกระทําตอเนื่องกันไป โดยมีเจตนาเดียวกัน
คือทํารายผูเสียหาย จึงเปนการกระทํากรรมเดียวกับการรวมกันใชกําลังทํารายผูอื่นโดยไมถึงกับเปนเหตุใหเกิด
อันตรายแกกายหรือจิตใจ

86 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


***คํ า พิ พ ากษาศาลฎี ก าที่ 8420 - 8421/2558 แม ผู ร องที่ 2 มิ ไ ด เ ป น บิ ด าโดยชอบด ว ย
กฎหมายของผูรองที่ 1 กรณีผูรองที่ 2 จึงมิใชผูใชอํานาจปกครองของผูรองที่ 1 ซึ่งเปนผูเยาว เหมือนผูรองที่
3 ที่เปนมารดาชอบดวยกฎหมายอันเปนผูใชอํานาจปกครองตามกฎหมายก็ตาม แตเมื่อผูรองที่ 2 เปนบิดาที่
แทจ ริงของผู รองที่ 1 ต องถือว าผูร องที่ 2 อยู ในฐานะผูดูแลผู รองที่ 1 และเปนผู เสีย หายในความผิด ฐาน
รวมกันพรากผูเยาวอายุกวาสิบหาป แตยังไมเกินสิบแปดปไปเสียจากบิดาซึ่งเปนผูดูแลตาม ป.อ. มาตรา 319
วรรคแรกดวย ผูรองที่ 2 ยอมมีสิทธิเรียกคาสินไหมทดแทนตาม ป.วิ.อ. มาตรา 44/1 ได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7383/2558 อ. ครูประจําชั้นของโจทก ซึ่งเปนเจาหนาที่ในโรงเรียนของ
จําเลยมีสวนประมาทเลินเลอในการดูแลความปลอดภัยของโจทกโดยละเลยไมรีบนําโจทกไปใหแพทยตรวจ
รักษาดวงตา หลังจากทราบวาโจทกถูกเด็กชาย ณ. ใชหนังยางยิงแทงดินสอถูกดวงตาขางซาย ซึ่งการกระทํา
ของเจาหนาที่ของจําเลยดังกลาวนาเชื่อวามีสวนทําใหดวงตาขางซายของโจทกติดเชื้อ โดย ว. จักษุแพทยพยาน
โจทกเบิกความยืนยันวา หากดวงตาขางซายของโจทกไมติดเชื้อก็อาจจะไมถึงขนาดสูญเสียการมองเห็น เมื่อ
โจทกนําสืบรับฟงไดวา โจทกตองสูญเสียการมองเห็นในเวลาตอมาตามใบรับรองแพทย โดยจําเลยมิไดนําสืบ
หักลางพยานหลักฐานของโจทกในขอนี้ใหเห็นเปนอยางอื่น เชนนี้ จําเลยจึงตองรับผิดในผลของความประมาท
เลินเลอของเจาหนาที่ของจําเลยดังกลาวตาม พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.2539 มาตรา
5 ประกอบ ป.พ.พ. มาตรา 420
โจทก มิ ได นํ า สื บ ในรายละเอี ย ดของค า เสี ย หายในส ว นที่ เ ป น ค าเจ็ บ ป ว ยต อ งทนทุ ก ขเวทนาและ
กระทบกระเทือนจิตใจที่สูญเสียดวงตาขางซาย กับคาสูญเสียดวงตาในการทํามาหาเลี้ยงชีพตามที่โจทกเรียกมา
ในคําฟองแตละจํานวน จึงไมอาจรับฟงไดวา โจทกไดรับความเสียหายและมีคาเสียหายเปนจํานวนเงินเทากับที่
โจทก เ รี ย กมาในคํ า ฟ อ ง ดั ง นี้ จึ ง เป น กรณี ที่ ศ าลจะต อ งวิ นิ จ ฉั ย กํ า หนดค า เสี ย หายให โ จทก ตามควรแก
พฤติการณและความรายแรงแหงละเมิด ตาม ป.พ.พ. มาตรา 438 วรรคหนึ่ง แมโจทกจะมีสิทธิเรียกดอกเบี้ย
จากจําเลยไดนับแตเวลาที่ทําละเมิดตาม ป.พ.พ. มาตรา 206 ตามที่โจทกฟอง แตโจทกฎีกาขอใหจําเลยชําระ
คาดอกเบี้ยแกโจทกนับแตวันถัดจากวันฟองตามคําพิพากษาศาลชั้นตน ดังนั้น ศาลฎีกาจึงตองพิพากษาเรื่อง
ดอกเบี้ยใหเปนไปตามที่โจทกขอมาในคําฟองฎีกา
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7381/2558 แมจําเลยชนะคดีในศาลชั้นตนก็ตาม แตจําเลยก็ยังมีสิทธิที่จะ
ตั้งประเด็นสวนที่จําเลยไมเห็นดวยกับคําวินิจฉัยของศาลชั้นตนมาในคําแกอุทธรณได ในประเด็นที่ศาลชั้นตน
วินิจฉัยฟงวาที่ดินพิพาทเปนทรัพยมรดกของนาย ต. ซึ่งจําเลยก็ไดโตแยงแกอุทธรณไวในขอ 2 วา ที่ดินพิพาท
มิใชทรัพยมรดกของนาย ต. ไมอาจนําไปแบงปนใหแกทายาท ดังนั้น การที่ศาลอุทธรณภาค 2 ตั้งประเด็นใน
การวินิจฉัยชี้ขาดวา ที่ดินพิพาทเปนทรัพยมรดกของนาย ต. หรือไม กับฟงวาที่ดินพิพาทเปนทรัพยมรดกของ
นาย ต. จึงชอบแลว

87 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


จํ าเลยมิได ให การยอมรั บ ว าที่ดิ น เป น มรดกของนาย ต. ซึ่งตกทอดแกทายาทและจํ าเลยแย งการ
ครอบครองจากทายาทอื่นจนไดสิทธิการครอบครองแลวแตอยางใด หากแตใหการตอสูวาที่ดินพิพาทมิใชทรัพย
มรดกของนาย ต. ไมอาจนําไปแบงปนแกทายาทได เพราะนาย ต. ยกใหนาย อ. บิดาจําเลยตั้งแตนาย ต. มี
ชีวิตอยู เทากับอางวาที่ดินพิพาทเปนของนาย อ. และตกทอดมายังจําเลย โดยนาย อ. และจําเลยมิไดแยงการ
ครอบครองมาจากผูใด คดีจึงไมกอใหเกิดประเด็นเรื่องแยงการครอบครอง ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1375 วรรค
สอง เพราะการแยงการครอบครองจะมีไดก็แตในที่ดินของผูอื่น ไมอาจแยงการครอบครองในที่ดินซึ่งตนเองมี
สิทธิครอบครองหรือเปนเจาของได แมภายหลังโจทกมีหนังสือแจงใหทายาทและนาย อ. ไปตกลงแบงปนทรัพย
มรดกของนาย ต. นาย อ. ไดมีหนังสือไปถึงโจทกวา ที่ดินพิพาทมิใชทรัพยมรดกของนาย ต. ที่จะตองนําไป
แบงปนแกทายาท ก็ถือไมไดวาเปนการเปลี่ยนแปลงลักษณะแหงการยึดถือ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1381 เพราะ
จําเลยมิไดใหการยอมรับวาที่ดินเปนทรัพยมรดกของนาย ต. การโตแยงตามหนังสือของนาย อ. ดังกลาวจึงไม
กอใหเกิดประเด็นเรื่องแยงการครอบครองเชนกัน ที่ศาลชั้นตนวินิจฉัยวา โจทกฟองเกิน 2 ป นับแตจําเลยแยง
การครอบครองที่ดินพิพาท โจทกไมมีอํานาจฟองเอาคืนการครอบครองตาม ป.พ.พ. มาตรา 1375 วรรคสอง
จึงเปนการวินิจฉัยนอกประเด็นตองหามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 142 วรรคหนึ่ง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7289/2558 โจทกฟองขอใหลงโทษจําเลยตาม ป.อ. มาตรา 334, 336
ทวิ และมีคําขอใหจําเลยคืนโครงหลังคาเหล็กของโรงงานและอุปกรณสวนควบของอาคารโรงงานหรือใชราคา
แกผูเสียหาย จําเลยใหการรับสารภาพตามฟอง ขอเท็จจริงเกี่ยวกับการกระทําความผิดและราคาทรัพยใชแทน
ยอมรับฟงเปนยุติตามฟอง จําเลยยื่นอุทธรณวา จําเลยมิไดรับวาจําเลยกระทําโดยทุจริตและโรงเรือนมีสภาพ
เกามีราคาเพียง 50,000 บาท จึงเปนการโตเถียงขอเท็จจริงเปนอยางอื่นนอกจากที่จําเลยใหการรับสารภาพ
และเปนการอุทธรณขอเท็จจริงขึ้นมาใหม ซึ่งเปนขอเท็จจริงที่จําเลยมิไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบในศาล
ชั้นตน ตองหามมิใหอุทธรณตาม ป.วิ.พ. มาตรา 225 วรรคหนึ่ง ประกอบดวย ป.วิ.อ. มาตรา 15
ศาลชั้นตนมิไดมีคําวินิจฉัยในเรื่องคําขอสวนแพง คําพิพากษาศาลชั้นตนจึงไมชอบดวย ป.วิ.อ. มาตรา
186 (9) แมโจทกไมไดอุทธรณแตเปนปญหาขอกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอย ศาลอุทธรณภาค 4 จึง
มีอํานาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยไดเอง ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 195 วรรคสอง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7280 - 7281/2558 โจทกมีคําขอใหจําเลยทั้งยี่สิบเอ็ดรวมกันคืนหรือใช
เงิน 10,047,100 บาท แกผู เ สี ย หายที่ 1 ถึ งที่ 38 และร ว มกัน คืน หรื อ ใช เ งิ น 10,463,700 บาท แก
ผูเสียหายที่ 39 ถึงที่ 46 การที่ศาลชั้นตนมีคําพิพากษายกคําขอของโจทกในสวนที่ขอใหจําเลยทั้งยี่สิบเอ็ด
รวมกันคืนหรือใชเงิน 10,047,100 บาท แกผูเสียหายที่ 1 ถึงที่ 38 โดยกําหนดใหจําเลยที่ 1 ที่ 2 ที่ 5 ถึง
ที่ 10 ที่ 14 ที่ 15 และที่ 21 คืนหรือใชเงิน 10,463,700 บาท แกผูเสียหายทั้ง 46 คนนั้น เห็นวา ตาม
ป.วิ.อ. มาตรา 186 (9) ประกอบมาตรา 44 บัญญัติใหคําพิพากษาคดีอาญาตองมีคําวินิจฉัยของศาลในเรื่อง
ของกลางหรือในเรื่องฟองทางแพง อันเปนบทบังคับใหศาลตองมีคําวินิจฉัยในสวนดังกลาวและมาตรา 192
วรรคหนึ่ง บัญญัติหามมิใหพิพากษาหรือสั่งเกินคําขอหรือมิไดกลาวในฟอง ดังนั้น การที่ศาลชั้นตนพิพากษายก
88 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
คําขอของโจทกที่ขอใหจําเลยทั้งยี่สิบเอ็ดคืนหรือใชเงิน 10,047,100 บาท แกผูเสียหายโดยไมไดใหเหตุผล
และพิพากษาใหจําเลยที่ 1 ที่ 2 ที่ 5 ถึงที่ 10 ที่ 14 ที่ 15 และที่ 21 คืนหรือใชเงิน 10,463,700 บาท
แก ผู เ สี ย หายทั้ ง 46 คน อั น เป น การเกิ น คํ า ขอ ศาลอุ ท ธรณ ภ าค 4 ไม ไ ด แ ก ไ ข จึ ง เป น การไม ช อบด ว ย
บทบัญญัติแหงกฎหมายดังกลาว ซึ่งปญหานี้เปนปญหาที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอย แมโจทกมิไดฎีกา ศาล
ฎีกายอมมีอํานาจยกขึ้นวินิจฉัยและแกไขใหถูกตองไดตาม ป.วิ.อ. มาตรา 195 วรรคสอง ประกอบมาตรา
225 เมื่ อข อ เท็จ จริ ง รั บ ฟง ได ว า จํ า เลยที่ 1 ที่ 5 ที่ 8 ถึ งที่ 10 ที่ 15 และที่ 21 เป น ผู ร ว มกั น กระทํ า
ความผิด จําเลยที่ 1 ที่ 5 ที่ 8 ถึงที่ 10 ที่ 15 และที่ 21 จึงตองรวมกันคืนหรือใชเงินแกผูเสียหายทั้ง 46
ดวย และกรณีนี้ไมใชเปนการพิพากษาเพิ่มเติมโทษแกจําเลยที่ 1 ที่ 5 ที่ 8 ถึงที่ 10 ที่ 15 และที่ 21 จึงไม
ตองหามตาม ป.วิ.อ. มาตรา 212
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7206/2558 ตามรายงานกระบวนพิจารณาของศาลชั้นตนระบุแตเพียงวา
ในวันดังกลาวมีการสืบพยานโจทกและโจทกอางสงเอกสาร 7 อันดับ ศาลหมาย จ.1 ถึง จ.7 โดยจําเลยแถลง
คัดคานวา แผนผังสมาชิก หนังสือเรื่องขอรับรางวัลเกียรติยศและใบตอบรับเอกสารหมาย จ.5 ถึง จ.7 โจทก
มิไดมีการจัดสงสําเนาใหแกจําเลยกอนสืบพยาน ศาลชั้นตนจึงบันทึกไว โดยมิไดมีคําสั่งใด ๆ วาจะรับฟงพยาน
เอกสารดังกลาวหรือไม เมื่อศาลชั้นตนยังมิไดมีคําสั่งเรื่องดังกลาว โจทกจึงไมจําเปนตองโตแยงเพื่อใชสิทธิ
อุทธรณ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 226 ศาลชั้นตนเพิ่งจะมีคําสั่งไมรับฟงพยานเอกสารหมาย จ.5 แผนที่ 1 โดย
ระบุไวในคําพิพากษา จึงมิใชคําสั่งระหวางพิจารณา
คดี นี้ โ จทก อ า งว า โจทก ทํ า การตามแผนการตลาดที่ ต กลงไว กั บ จํ า เลยและมี สิ ท ธิ ที่ จ ะได รั บ เงิ น
1,250,000 บาท ตามที่ตกลงกัน สวนจําเลยใหการวา ผลงานของโจทกยังไมอยูในเงื่อนไขที่จะไดรับรางวัล
ประเด็นขอสําคัญในคดีจึงอยูที่วา ผลงานของโจทกอยูในเงื่อนไขที่จะไดรับรางวัลหรือไม ซึ่งเอกสารหมาย จ.5
ทั้งหมด เปนเอกสารสําคัญที่แสดงสถานะและผลงานของโจทก จากคําเบิกความของพยานบุคคลฝายโจทกและ
จําเลยตางรับฟงไดว า เอกสารหมาย จ.5 เปนเอกสารที่พิมพมาจากขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่ฝายจําเลยเป น
ผูจัดทํา ซึ่งไมทําใหจําเลยตองเสียเปรียบในการตอสูคดีแตอยางใด ดังนั้น เพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม ศาล
ยอมมีอํานาจรับฟงพยานเอกสารดังกลาวได ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 87 (2)
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7201/2558 โจทกฟองกอนที่จําเลยที่ 1 จะถูกนายทะเบียนขีดชื่อ
ออกจากทะเบียน จําเลยที่ 1 จึงมีสภาพเปนนิติบุคคลตามกฎหมาย จําเลยที่ 1 แตงตั้งทนายความตอสูคดี แม
ระหวางการพิจารณาของศาลชั้นตน จําเลยที่ 1 ถูกนายทะเบียนหุนสวนบริษัทกลางมีคําสั่งขีดชื่อจําเลยที่ 1
อันมีผลใหจําเลยที่ 1 สิ้นสภาพนิติบุคคลนับแตนั้นก็ตาม แต ป.พ.พ. มาตรา 1273/3 บัญญัติไววา แตความ
รับผิดของหุนสวนผูจัดการผูเปนหุนสวน กรรมการ ผูจัดการ และผูถือหุนมีอยูเทาไรก็คงมีอยูอยางนั้น และพึง
เรี ย กบั ง คั บ ได เ สมื อ นห า งหุ น ส ว นหรื อบริ ษั ท นั้ น ยั งมิ ไ ด สิ้ น สภาพนิ ติ บุ ค คล ฉะนั้ น จํ า เลยที่ 1 ยั ง คงต อ ง
รับผิดชอบในคดีดังกลาวตอไป ทนายความของจําเลยที่ 1 ยอมมีอํานาจดําเนินคดีตามที่ไดรับแตงตั้งตอไป
จนกวาคดีจะถึงที่สุด ฉะนั้น การดําเนินกระบวนพิจารณาของศาลชั้นตนที่เกี่ยวกับจําเลยที่ 1 หลังจากถูกนาย
89 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙
ทะเบียนหุนสวนบริษัทกลางมีคําสั่งขีดชื่อออกจากทะเบียนจึงมิใชกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบอันจะตองเพิก
ถอนตาม ป.วิ.พ. มาตรา 27
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7200/2558 จําเลยที่ 3 เปนเจาของรถบรรทุกหมายเลขทะเบียน 85 -
3491 นครปฐม และจําเลยที่ 4 เปนเจาของรถบรรทุกกึ่งพวงหมายเลขทะเบียน 82 - 7411 นครปฐม โดย
จําเลยที่ 3 และที่ 4 ไดรับอนุญาตเปนผูประกอบการขนสงรถบรรทุกคันดังกลาว แมจําเลยที่ 3 และที่ 4 จะ
ใหจําเลยที่ 2 เชาซื้อรถบรรทุกดังกลาวไปก็เปนเรื่องกรรมสิทธิ์ของรถเทานั้น จําเลยที่ 3 และที่ 4 หาไดบอก
เลิกการประกอบการขนสงที่เปนสิทธิเฉพาะตัวของจําเลยที่ 3 และที่ 4 แกทางราชการไม กลับยอมใหจําเลยที่
2 นํารถบรรทุกคันเกิดเหตุดังกลาวไปใชประกอบการขนสงโดยใหจําเลยที่ 1 ลูกจางของจําเลยที่ 2 เปนคนขับ
ในวันเกิดเหตุ พฤติการณดังกลาวถือไดวาจําเลยที่ 3 และที่ 4 กับจําเลยที่ 2 รวมกันประกอบการขนสง ฉะนั้น
เมื่อจําเลยที่ 1 ขับรถบรรทุกคันเกิดเหตุไปกระทําละเมิดอันตองรับผิดชดใชใหโจทกทั้งสองภายในขอบอํานาจ
แหงฐานะตัวแทนเชนนี้ จําเลยที่ 3 และที่ 4 ซึ่งเปนตัวการจึงตองรวมรับผิดในผลแหงละเมิดซึ่งจําเลยที่ 1
กระทําไปนั้นตาม ป.พ.พ. มาตรา 427, 820
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7082 - 7083/2558 เมื่อลูกหนี้ถูกศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาด
เจาหนี้ของลูกหนี้ที่ตองการไดรับชําระหนี้จากกองทรัพยสินของลูกหนี้ จะตองปฏิบัติตาม พ.ร.บ.ลมละลาย
พ.ศ.2483 มาตรา 27 กลาวคือจะตองขอรับชําระหนี้ตามวิธีการที่กลาวไวใน พ.ร.บ.ลมละลาย พ.ศ.2483
เมื่อผูรองอางวาเปนเจาหนี้ของลูกหนี้และยื่นคําขอรับชําระหนี้ตอผูคัดคานแลว พ.ร.บ.ลมละลาย พ.ศ.2483
มาตรา 105 บัญญัติใหผูคัดคานมีอํานาจสอบสวนในเรื่องหนี้สินที่ขอรับชําระหนี้ แลวทําความเห็นสงสํานวน
เรื่องหนี้สินตอศาล ผูคัดคานจึงมีหนาที่ตามกฎหมายที่จะตองสอบสวนคําขอรับชําระหนี้ดังกลาวและในการ
สอบสวนคําขอรับชําระหนี้นั้น บทบาทของผูคัดคานมิไดอยูในสถานะเปนตัวลูกหนี้ แตเปนเพียงคนกลางในการ
สอบสวนรวบรวมพยานหลักฐานหาขอเท็จจริงในเรื่องหนี้ทั้งจากฝายของเจาหนี้และลูกหนี้ แลวทําความเห็น
เสนอศาล เพื่อให ศาลเปนผู พิจารณาสั่งคําขอรับชํ าระหนี้ของเจ าหนี้ ตอไป ดั งนั้น ลําพังการสอบสวนและ
ความเห็นของเจาพนักงานพิทักษทรัพยจึงยังไมมีผลผูกพันเจาหนี้ สวนการดําเนินการทางอนุญาโตตุลาการนั้น
แม ต าม พ.ร.บ.อนุ ญ าโตตุ ล าการ พ.ศ.2545 มาตรา 12 จะบั ญ ญั ติ ว า "ความสมบู ร ณ แ ห ง สั ญ ญา
อนุญาโตตุลาการและการตั้งอนุญาโตตุลาการยอมไมเสียไปแมในภายหลังคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งตายหรือ
สิ้นสุดสภาพความเปนนิติบุคคล ถูกพิทักษทรัพยเด็ดขาดหรือถูกศาลสั่งใหเปนคนไรความสามารถหรือเสมือนไร
ความสามารถ" บทบัญญัติดังกลาวมิใชบทยกเวนหลักการในการขอรับชําระหนี้ตามกฎหมายลมละลาย แตเปน
บทบัญญัติถึงความสมบูรณแหงสัญญาอนุญาโตตุลาการและการตั้งอนุญาโตตุลาการวาไมเสียไปแมภายหลัง
คูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งจะถูกพิทักษทรัพยเด็ดขาดเทานั้น ผูคัดคานจึงยังคงมีหนาที่ในการดําเนินการตาม
พ.ร.บ.ล ม ละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 105 ขณะเดี ย วกั น คณะอนุ ญาโตตุ ล าการก็ ยั ง คงดํ าเนิ น กระบวน
พิจารณาตอไปไดและการดําเนินกระบวนพิจารณาในชั้นอนุญาโตตุลาการของผูคัดคานเปนคนละสวนกับการ
ดําเนินการสอบสวนคําขอรับชําระหนี้ ตาม พ.ร.บ.ลมละลาย พ.ศ.2483 มาตรา 105 ที่ผูคัดคานจะตอง

90 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


ดําเนินการโดยดวน การสอบสวนของผูคัดคานจึงไมทําใหผูรองเสียเปรียบ หรือมีผลกับการดําเนินการทาง
อนุญาโตตุลาการแตอยางใดไม ผูคัดคานจึงไมมีความจําเปนที่จะตองงดสอบสวนคําขอรับชําระหนี้ของผูรอง
เพื่อรอผลการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7065/2558 แมความตายของโจทกซึ่งเปนคนไรความสามารถและอยูใน
ความอนุบาลของ ศ. จะมีผลใหการเปนผูอนุบาลของ ศ. สิ้นสุดลงนับแตวันที่โจทกถึงแกความตายในขณะที่คดี
นี้อยูในระหวางการพิจารณาของศาลอุทธรณภาค 8 ก็ตาม แตบทบัญญัติ ป.วิ.พ. มาตรา 42 มิไดใหเปนหนาที่
ของบุคคลใดที่จะตองแถลงใหศาลทราบถึงความมรณะของคูความในคดีที่คางพิจารณาอยูในศาล เพียงแต
บัญญัติใหเปนอํานาจหนาที่ของศาลที่จะตองเลื่อนการนั่งพิจารณาไปถาคูความฝายใดฝายหนึ่งในคดีที่คาง
พิจารณาอยูในศาลไดมรณะเสียกอนศาลพิพากษาคดี แสดงวาความมรณะของคูความจะตองปรากฏแกศาลที่
คดีนั้นอยูในระหวางพิจารณา หากความไมปรากฏแกศาลก็ไมมีเหตุที่ศาลจะตองเลื่อนการนั่งพิจารณาหรือมี
กรณีที่ศาลหรือคูความอีกฝายหนึ่งจะตองดําเนินการตามมาตรา 42 คดีนั้นก็สามารถดําเนินการตอไปไดตาม
บทกฎหมายวาดวยวิธีพิจารณาความ ไมมีบทกฎหมายใดบัญญัติใหกระบวนพิจารณาที่ไดดําเนินการภายหลัง
จากนั้นเปนการพิจารณาที่ไมชอบ หรือมีผลใหการบังคับคดีตามคําพิพากษาของศาลที่ไดดําเนินการมาแลวโดย
ชอบสิ้นผลไป
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7064/2558 แมคดีนี้ถึงที่สุดตามคําสั่งศาลฎีกาที่มีคําสั่งใหจําหนายคดีออก
จากสารบบความศาลฎี กาแล ว ก็ต าม แต ในชั้ น บั งคับ คดี จํ าเลยยื่ น คําร องขอให ศาลเพิกถอนประกาศขาย
ทอดตลาดทรัพยของจําเลย อันเปนขอพิพาทที่เกิดขึ้นเกี่ยวเนื่องกับการบังคับคดี เมื่อศาลชั้นตนมีคําสั่งยกคํา
รอง จําเลยอุทธรณ ศาลชั้นตนมีคําสั่งรับอุทธรณของจําเลยแลว ยอมมีผลใหคดีดังกลาวอยูในอํานาจพิจารณา
พิพากษาของศาลอุทธรณภาค 8 และเปนคดีกรณีที่จําตองจัดหาบุคคลผูเขามาเปนคูความแทนโจทกผูมรณะ
เพื่อใหมีคูความอยูโดยครบถว นกอนที่จ ะสงสําเนาอุทธรณของจําเลยใหแกโ จทกและดําเนิ นคดีตอไป การ
พิจารณาและมีคําสั่งใหบุคคลใดเขาเปนคูความแทนโจทกผูมรณะในคดีซึ่งอยูในระหวางอุทธรณเชนนี้ จึงเปน
อํานาจของศาลอุทธรณภาค 8 ไมใชอํานาจของศาลชั้นตน คําสั่งศาลอุทธรณภาค ๘ ที่วา คดีไมอยูในอํานาจที่
จะพิจารณาใหคืนคํารองแกศาลชั้นตนเพื่อดําเนินการตอไป จึงเปนกรณีที่มิไดปฏิบัติตามบทบัญญัติแหง ป.วิ.พ.
มาตรา 27 วรรคหนึ่ง เมื่อความปรากฏแกศาลฎีกาประกอบกับจําเลยยกปญหาดังกลาวขึ้นอางในฎีกา ศาล
ฎีกาเห็นสมควรหยิบยกปญหาดังกลาวขึ้นวินิจฉัย แตเมื่อศาลชั้นตนไดดําเนินการตามคําสั่งศาลอุทธรณภาค 8
โดยมีคําสั่งอนุญาตใหผูรองเขาเปนคูความแทนโจทกผูมรณะซึ่งมิใชเปนคําสั่งไปในทางวินิจฉัยชี้ขาดขอพิพาท
แหงคดีและอยูในอํานาจของผูพิพากษาคนเดียวที่จะสั่งได คําสั่งของศาลชั้นตนแมจะเปนการผิดระเบียบแตใน
ชั้นนี้มีประเด็นเพียงเรื่องการจัดหาบุคคลผูเขามาเปนคูความแทนคูความมรณะเพื่อใหคดีสามารถดําเนินการไป
ไดโดยมีคูความครบถวน ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 42 วรรคหนึ่ง ยอมไมเปนที่เสียหายแกคูความฝายใดฝายหนึ่ง
ศาลฎีกาไมจําตองเพิกถอนการพิจารณาที่ผิดระเบียนนั้นหรือสั่งแกไขอยางใดอยางหนึ่ง ตาม ป.วิ.พ. มาตรา
27 วรรคหนึ่ง

91 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7062/2558 คํารองของผูรองที่อางวามีขอเท็จจริงเกิดขึ้นใหมเกี่ยวกับการ
เขาสวมสิทธิเปนคูความแทนโจทกเดิมของบริษัท พ. และมีผลใหบริษัทดังกลาวไมอยูในฐานะเจาหนี้ตามคํา
พิพากษาที่จะบังคับคดีแกจํ าเลยที่ 3 ได กับมีคําขอใหยกคดีขึ้นพิจ ารณาใหม และมีคําสั่งเพิกถอนการยึ ด
ทรัพยสินของจําเลยที่ 3 มีผลเทากับเปนการขอใหศาลดําเนินกระบวนพิจารณาอันเกี่ยวกับคดีที่ศาลไดมีคํา
พิพากษาหรือคําสั่งยกคํารองของจําเลยที่ 3 ในเรื่องเดียวกันที่ขอใหเพิกถอนการยึดทรัพยสินของจําเลยที่ 1
และคดีถึงที่สุดแลว ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 296 วรรคหา จึงตองหามมิใหดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลนั้นอัน
เกี่ยวกับคดีที่ไววินิจฉัยไวแลวนั้น ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 144 ปญหาที่วาคํารองของจําเลยที่ 3 เปนการดําเนิน
กระบวนพิจารณาซ้ําหรือไม เปนขอกฎหมายอันเกี่ยวกับความสงบเรียบรอยของประชาชน ศาลฎีกามีอํานาจ
ยกขึ้นวินิจฉัย แมไมมีคูความฝายใดยกขึ้นอางตาม ป.วิ.พ. มาตรา 142 (5) ประกอบมาตรา 246, 247
**คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6984/2558 จําเลยทั้งสามบุกรุกเขาไปในสถานที่เก็บรักษาสายไฟฟา
ทั้งยังทํารายผูเสียหายซึ่งครอบครองดูแลสถานที่นั้น อันเปนสวนหนึ่งของการปลนทรัพย จึงเปนการลงมือ
กระทําความผิดฐานปลนทรัพยไมใชแคเพียงตระเตรียมการ แมจําเลยทั้งสามจะหลบหนีไปกอนโดยไมแตะตอง
สายไฟฟาก็เปนการลงมือกระทําความผิดแลวแตกระทําไปไมตลอด การกระทําของจําเลยทั้งสามจึงเปนการ
รวมกันพยายามกระทําความผิดฐานปลนทรัพย
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6966 - 6967/2558 จําเลยทั้งสองนําใบถอนเงินซึ่งประทับตราสําคัญ
ของโจทกรวมที่เปนตราประทับปลอมไปหลอกลวงจนกระทั่งเจาหนาที่ธนาคารหลงเชื่อ เงินที่จําเลยทั้งสองกับ
พวกได รั บ ไปจึ งเป น เงิน ของธนาคาร มิใช เ งิน ของโจทกร ว มตาม ป.พ.พ. มาตรา 672 โจทกร ว มจึ งไมใ ช
ผูเสียหายในความผิดฐานฉอโกงกับฐานรับของโจร เมื่อไมปรากฏวาธนาคารซึ่งเปนเจาของเงินไดรองทุกข
ดําเนินคดีแกจําเลยทั้งสองกับพวก พนักงานอัยการโจทกจึงไมมีอํานาจฟองในความผิดฐานฉอโกงกับฐานรับ
ของโจร แมความผิดฐานรับของโจรเปนความผิดตอแผนดินซึ่งพนักงานสอบสวนมีอํานาจสอบสวนโดยไมมีการ
รองทุกขก็ตาม แตโจทกรวมไมใชเจาของเงินและไมใชผูเสียหายจึงไมมีอํานาจยื่นคํารองขอเขารวมเปนโจทก
เมื่อศาลอุทธรณภาค 1 พิพากษาวาความผิดฐานฉอโกงกับฐานรับของโจรเปนฟองที่ขัดกัน เปนฟอง
เคลือบคลุมและจําเลยทั้งสองไมมีความผิดฐานรวมกันยักยอก ดังนั้นเทากับศาลอุทธรณภาค 1 พิพากษายก
ฟองโจทกในความผิดฐานฉอโกงกับฐานรับของโจรและฐานยักยอก เมื่อพนักงานอัยการโจทกไมฎีกา โจทกรวม
ซึ่งมิใชผู เสีย หายจึงไมมีอํานาจยื่ นฎีกาขอให ลงโทษจํ าเลยทั้งสองในความผิด ฐานดังกลาวตามฟอง ป ญหา
ดังกลาวเปนขอกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอย แมจําเลยทั้งสองมิไดฎีกา ศาลฎีกามีอํานาจวินิจฉัยได
ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 195 วรรคสอง ประกอบมาตรา 225
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6921/2558 สัญญาจะซื้อจะขายบานพรอมที่ดินเปนนิติกรรมที่คูสัญญามี
อิส ระในการแสดงเจตนาต อกัน ตาม ป.พ.พ. มาตรา 457 แต การแสดงเจตนาดั งกล าวต องไมฝ าฝ น หรื อ
แตกตางกับบทบัญญัติของกฎหมายอื่นเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน เมื่อ ป.

92 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


พ.พ. มาตรา 457 บัญญัติเฉพาะคาฤชาธรรมเนียมในการทําสัญญาซื้อขายเทานั้นที่คูสัญญาพึงออกใชเทากัน
ทั้งสองฝาย หาไดบัญญัติถึงคาภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีธุรกิจเฉพาะ รายไดสวนทองถิ่นและอากรแสตมปใน
การจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ดวย ประกอบกับภาษีเงินไดนิติบุคคลเปนฤชากรที่เรียกเก็บจากจําเลยซึ่งเปนผูมี
รายไดจากการขาย สวนภาษีธุรกิจเฉพาะ รายไดสวนทองถิ่นและอากรแสตมปในการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์
เปนภาระภาษีซึ่งจําเลยในฐานะผูมีรายไดจากการขายมีหนาที่ตองชําระตอหนวยงานของรัฐ ขอตกลง ตาม
สัญญาจะซื้อจะขายที่ใหผูจะซื้อเปนฝายชําระภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีธุรกิจเฉพาะ รายไดสวนทองถิ่นและ
อากรแสตมปในการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ จึงเปนการที่จําเลยผูจะขายทําขอตกลงผลักภาระดังกลาวไป
เปนของโจทกผูจะซื้อยอมเปนการกระทํานอกเหนือบทบัญญัติของกฎหมาย เมื่อบานและที่ดินโครงการของ
จําเลยไดรับใบอนุญาตจัดสรรที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางเพื่อขาย จําเลยในฐานะผูจัดสรรที่ดินจึงตองอยูภายใต
บังคับ พ.ร.บ.การจัดสรรที่ดิน พ.ศ.2543 มาตรา 8 (4) ที่บัญญัติวา คณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลางมีอํานาจ
กําหนดแบบมาตรฐานของสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินจัดสรร เพื่อใหผูขอใบอนุญาตทําการจัดสรรที่ดินใชในการ
ประกอบกิจการตาม พ.ร.บ.นี้และมาตรา 34 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินจัดสรรระหวางผู
จัดสรรที่ดินกับผูซื้อที่ดินจัดสรรตองทําตามแบบที่คณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลางกําหนด เมื่อกอนทําสัญญา
จะซื้อจะขายในคดีนี้ คณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลางไดประกาศกําหนดแบบมาตรฐานของสัญญาจะซื้อจะขาย
ที่ดินจัดสรรวา กรณีสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินจัดสรร (มีสิ่งปลูกสราง) ใหใชตามแบบ ข ซึ่งมีขอกําหนดวา คา
ภาษีอากรในการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง ผูจะขายเปนผูออกทั้งสิ้น จําเลยจึงตองใช
สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินตามแบบมาตรฐานดังกลาว ประกอบกับ พ.ร.บ.การจัดสรรที่ดิน พ.ศ.2543 เปน
กฎหมายที่มีวัตถุประสงคเพื่อคุมครองผูซื้อที่ดินจัดสรรอันถือเปนกฎหมายที่เกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยหรือ
ศีลธรรมอันดีของประชาชน การที่จําเลยทําสัญญาจะซื้อจะขายมีขอตกลงใหผูจะซื้อเปนฝายออกชําระเงินคา
ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีธุรกิจเฉพาะ รายไดสวนทองถิ่นและอากรแสตมปในการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์
ยอมเปนการแสดงเจตนาฝาฝ นหรือแตกตางกับบทบัญญัติของกฎหมาย ขอตกลงตามสัญญาจะซื้อจะขาย
เฉพาะสวนดังกลาวจึงไมมีผลใชบังคับตาม พ.ร.บ.การจัดสรรที่ดิน พ.ศ.2543 มาตรา 34 วรรคสอง จําเลยไม
อาจอางหลักอิสระในการแสดงเจตนาของคูสัญญาในการเกี่ยงใหโจทกผูจะซือ้ รับภาระเปนผูชําระเงินภาษีอากร
แทนได
แมตาม พ.ร.บ.การจัดสรรที่ดิน พ.ศ.2543 กําหนดใหจําเลยซึ่งเปนผูจะขายมีหนาที่ตองรับภาระใน
การชําระเงินคาภาษีอากรในการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์และโจทกเปนฝายออกชําระเงินดังกลาวแทนจําเลย
แตปรากฏวาโจทกชําระเงินดังกลาวตามขอตกลงในสัญญาอันทําใหโจทกเชื่อโดยสุจริตวา โจทกมีหนาที่ตอง
ชําระเงินดังกลาวเนื่องจากมีขอกําหนดในสัญญาและโจทกไดชําระในวันที่มีการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ ซึ่ง
หากโจทกไมชําระก็ไมสามารถโอนกรรมสิทธิ์กันได หาถือไดวาเปนการชําระหนี้ตามอําเภอใจ จึงไมอาจนําอายุ
ความในมูลลาภมิควรไดมาใชบังคับ

93 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6918/2558 แมโรงแรมของจําเลยทั้งสองจะมีการใหบริการในสวน
ของการนวดแผนโบราณโดยสถานที่นวดอยูภายในอาคารของโรงแรมก็ตาม แตลั กษณะของการเขามาใช
บริการดังกลาวก็เปนที่ประจักษอยูแลววาเปนเพียงชวงระยะเวลาสั้นเพื่อตองการพักผอนเทานั้น ซึ่งการใช
บริการไมจําตองลงทะเบียนขอเปดหองพักเหมือนอยางกรณีการเขาพักอาศัย ส. จึงไมใชคนเดินทางหรือแขก
อาศัยตามความหมายแหง ป.พ.พ. มาตรา 674 เมื่อรถยนตที่โจทกรับประกันภัยไวสูญหายไป จําเลยทั้งสองใน
ฐานะเจาสํานักโรงแรมจึงไมตองรับผิดชอบเพื่อความสูญหายหรือบุบสลายอันเกิดแกทรัพยสินดังกลาว
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6904/2558 การที่ศาลชั้นตนอนุญาตใหประกาศหนังสือพิมพแทนการสง
สําเนาคํารองแกผูมีชื่อในโฉนดที่ดิน ผูมีสวนไดเสียหรือทายาท ยอมทําใหผูคัดคานซึ่งอางวาเปนทายาทที่มีสิทธิ
ตามพินัยกรรมของ ช. ไมทราบถึงการรองขอของผูรอง และเสียสิทธิในการที่จะคัดคานคํารองขอของผูรอง
หากไดความดังกลาวยอมแสดงวา การสงสําเนาคํารองของผูรองใหแกทายาทของ ช. กระทําโดยมิชอบ ทําให
ฝายผูคัดคานไมมีโอกาสที่จะคัดคานคํารองของผูรองกอน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา
21 (2) จึงเปนกรณีที่มิไดปฏิบัติตามบทบัญญัตแิ หงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงในขอที่มุงหมายจะ
ยังให เ ป น ไปด ว ยความยุ ติ ธ รรมในเรื่ องการส งคําคูความ ศาลอุทธรณภ าค 1 ย อมมีอํานาจสั่ งให เ พิกถอน
กระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบนั้นเสีย หรือสั่งแกไข หรือมีคําสั่งในเรื่องนั้นอยางใดอยางหนึ่งตามที่เห็นสมควร
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 27 วรรคหนึ่ง
**คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6798/2558 ป.วิ.พ. กําหนดใหการขอทุเลาการบังคับอยูในอํานาจของ
ศาลเปนชั้นๆ ไป การขอทุเลาการบังคับในระหวางการพิจารณาของศาลอุทธรณภาค 2 จึงเปนเรื่องที่อยูใน
อํานาจของศาลอุทธรณภาค 2 โดยเฉพาะ ทั้งศาลอุทธรณภาค 2 จะอนุญาตใหทุเลาการบังคับภายใตเงื่อนไข
ใดๆ ก็ไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา 231 ซึ่งเปนเรื่องที่กฎหมายกําหนดวิธีการไวเปนพิเศษ ไมอยูในบังคับอุทธรณ
ฎีกาอยางเรื่ องอื่นๆ ผูรองเป นผูซื้อที่ดิ นพิพาทจากจํ าเลย ผูรองจึงเปน ผูสืบ สิทธิ และถือว าเป นคูความฝาย
เดียวกับจําเลย ผูรองจึงฎีกาคําสั่งของศาลอุทธรณภาค 2 ซึ่งเปนคําสั่งที่ตอเนื่องกับคําสั่งทุเลาการบังคับของ
ศาลอุทธรณภาค 2 ไมได
***คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6772/2558 การจะลงโทษจําเลยที่ 1 ถึงที่ 3 ใหหนักขึ้นตามลักษณะ
ฉกรรจตาม ป.อ. มาตรา 357 วรรคสองได ก็ตอเมื่อไดความวาขณะกระทําความผิดจําเลยที่ 1 ถึงที่ 3 รูอยู
แลววารถกระบะของกลางเปนทรัพยอันไดมาโดยการกระทําผิดฐานชิงทรัพยตาม ป.อ. มาตรา 62 วรรคทาย
เมื่อทางพิจารณาไดความเพียงวา รถกระบะของกลางเปนทรัพยที่ น. ไดมาจากการกระทําความผิดฐานชิง
ทรัพย ไมปรากฏวาขณะกระทําความผิดจําเลยที่ 1 ถึงที่ 3 รูอยูแลววารถกระบะของกลางเปนทรัพยอันไดมา
โดยการชิงทรัพย จึงไมอาจลงโทษจําเลยที่ 1 ถึงที่ 3 ตาม ป.อ. มาตรา 357 วรรคสองได คงลงโทษตาม ป.อ.
มาตรา 357 วรรคแรก ประกอบมาตรา 83 เทานั้ น ปญหาดังกลาวเป นขอกฎหมายที่เกี่ย วกับความสงบ
เรี ยบร อย แมจําเลยที่ 1 และที่ 2 มิได ฎีกาในปญหานี้ ศาลฎี กามีอํานาจยกขึ้น วินิ จฉัย ได เ องตาม ป.วิ. อ.

94 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙


มาตรา 195 วรรคสอง ประกอบมาตรา 225 และเปนเหตุอยูในสวนลักษณะคดี ศาลฎีกามีอํานาจพิพากษา
ตลอดไปถึงจําเลยที่ 3 ที่ถอนฎีกาไดตาม ป.วิ.อ. มาตรา 213 ประกอบมาตรา 225

..................................................................
๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๙

95 รวมฎีกา พ.ศ.๒๕๕๘- พ.ศ.๒๕๕๙

You might also like