ระบบประสาท 2564 โควิด หยุดยาว

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 106

ระบบประสาท (Nervous system)

การตอบสนองของสั ตว์
ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบประสาทจะควบคุมการตอบสนองทีเ่ กิดขึน้ และสิน้ สุดเร็ว เช่น
การหดตัวของกล้ามเนื้อ ทาให้เกิดการเคลือ่ นไหวได้อย่างรวดเร็ว
ระบบต่ อมไร้ ท่อ
จะควบคุมการตอบสนองทีเ่ กิดขึน้ ช้ ากว่ า แต่ เมือ่ เกิดขึน้ แล้ ว จะมีผลต่ อเนื่องเป็ น
เวลานาน เช่ น การเจริญของเซลล์ไข่ ในรังไข่
การรับรู้และการตอบสนองของสิ่งมีชีวิต
 การรับรู้และการตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวบางชนิด
พารามีเซียม
• มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า โดยใช้เส้นใยประสานงาน (coordinating fiber)
ที่อยู่บริเวณโคนของซีเลีย
ยูกลีนา มี Eyespot เป็นบริเวณรับแสง ทาให้สามารถทราบความเข้มแสง
และทิศทางของแสงได้
การรับรู้และการตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ฟองน้า
 มีการรับรู้และการตอบสนองแต่ไม่มีการประสานงานระหว่างเซลล์
โดยจะตอบสนองต่อแรงกด และแรงสัมผัสได้ (ยังไม่มีระบบประสาท)
ไฮดรา
 มีระบบประสาทแบบร่างแห (nerve net)
 เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นจะเกิดกระแสประสาทเคลือ่ นที่ไปตามเซลล์ประสาท
ที่สานกันเป็นร่างแห จากจุดที่ถูกกระตุ้นและกระจายไปทั่วทั้งตัว
พลานาเรีย
มีพัฒนาการของระบบประสาทมากขึ้น
ตัวเซลล์ประสาทมีการรวมเป็นกลุ่มอยู่ทางด้านหัว
เรียกว่า ปมประสาท (nerve ganglion) อาจเรียกว่า
สมอง (brain)
มีเส้นประสาทใหญ่ (nerve cord) ขนานไปตาม
ด้านข้างของลาตัวจากหัวจรดท้ายลักษณะแบบ
ขั้นบันได (ladder type)
เส้นประสาทดังกล่าวเชื่อมโยงติดกันด้วยเส้นประสาท
ที่วนรอบตัวแบบวงแหวน (nerve ring)
ไส้เดือนดิน
ระบบประสาทซับซ้อนมากขึ้น
 ประกอบไปด้วยปมประสาทเหนือคอหอย (supra-pharyngeal ganglion)
หรือ สมอง
มีปมประสาทตามปล้องของลาตัว และมีเส้นประสาทเชื่อมต่อปมประสาทที่มี
อยู่ตามปล้อง
ดาวทะเล ไม่มีสมอง
ไม่มีปมประสาท
มีระบบประสาทแบบวงแหวน (nerve ring) อยู่รอบปาก
และมีเส้นประสาทรัศมี (radial nerve) แยกไปตามแขน
แมลง ระบบประสาทประกอบด้วยสมอง (ปมประสาทเหนือหลอดอาหาร) ซึ่งเชื่อม
กับปมประสาทใต้หลอดอาหาร และเชื่อมต่อกับปมประสาททรวงอก
ปมประสาทท้อง โดยใช้เส้นประสาทด้านท้องช่วยเชื่อมต่อ
การรับรู้ และการตอบสนองของสั ตว์ มีกระดูกสั นหลัง
ระบบประสาทพัฒนามาก เซลล์ประสาทเกือบทั้งหมดรวมกันอยู่ที่หัว พัฒนาไป
เป็นสมอง
 ส่วนที่ทอดยาวตามลาตัวทางด้านหลัง เรียกว่า ไขสันหลัง (spinal cord)
 สมองและไขสันหลังทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางของระบบประสาท
 โดยมีเส้นประสาทแยกออกมาจากสมองและไขสันหลัง
และมี dorsal nerve cord มาแทนที่ ventral nerve cord
ไม่มี segmental ganglia
เซลล์ ประสาทและการทางานของเซลล์ ประสาท
เซลล์ ประสาท
เซลล์ประสาท (nerve cell) หรือนิวรอน (neuron)
เซลล์ประสาท ประกอบด้วยส่วนที่สาคัญสองส่วน คือ

ตัวเซลล์ (cell body) ใยประสาท (nerve fiber)


ตัวเซลล์ (cell body)

มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4- 25 ไมโครเมตร ประกอบด้วย นิวเคลียสและ


ไซโทพลาสซึม โดยมีของเหลวภายในเซลล์ที่เรียกว่า cytosol ที่มีเกลือโพแทสเซียมละลายอยู่
มาก มีออร์แกนเนลล์ที่สาคัญ ได้แก่ ไมโทคอนเดรีย เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม
(Nissl body) และกอลจิคอมเพล็กจานวนมาก
ใยประสาท (nerve fiber)

เป็นส่วนของเซลล์ที่ยื่นมาจากตัวเซลล์ มี 2 แบบ คือ


1) เดนไดรต์ (Dentrite) เป็นใยประสาทที่นากระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์ ซึ่งเป็น
ส่วนของไซโทพลาสซึมที่ยื่นออกจากตัวเซลล์ มีความยาวไม่มาก มีการแตกแขนงเล็ก ๆ จานวนมาก
พื้นผิวมีลักษณะขรุขระ ทาให้มีพื้นที่ผิวมากขึ้นด้วย นอกจากนี้ที่บริเวณเยื่อหุ้มเซลล์มีโปรตีนที่เป็น
ตัวรับสารสื่อประสาทฝังอยู่
2) แอกซอน (axon) เป็นใยประสาทที่นากระแสประสาทออกจากตัวเซลล์ ซึ่งเป็น
ส่วนที่ยื่นจากตัวเซลล์ตรงจุดที่เรียกว่า axon hillock เพียงเส้นเดียวนั้น แอกซอนมีความยาว
ตั้งแต่ 0.1-มากกว่า 2 เมตร การที่มีความยาวมาก จึงอาจเรียกว่า เส้นประสาท (nerve fiber)
 ใยประสาทยาว ซึ่งมักเป็นใยประสาทของแอกซอน จะถูกหุ้มด้วยเยื่อไมอี
ลิน (myelin sheath) ที่มีสารจาพวกลิพิดเป็นองค์ประกอบ
 เมื่อตรวจดูภาคตัดขวางด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน พบว่าเยื่อไมอีลิน
ติดต่อกับเซลล์ชวันน์ (Schwann cell) ซึ่งเป็นเซลล์ค้าจุนชนิดหนึ่ง
(เยื่อไมอีลินเป็นส่วนหนึ่งของเยื่อหุ้มเซลล์ชวันน์)
 ส่วนของแอกซอนตรงบริเวณรอยต่อระหว่างเซลล์ชวันน์แต่ละเซลล์เป็น
บริเวณที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม เรียกว่า โนดออฟแรนเวียร์ (node of Ranvier)
 ปลายประสาท (nerve ending หรือ presynaptic terminals) เป็น
บริเวณปลายสุดของแอกซอนที่จะเชือ่ มกับเซลล์อื่นๆ
 รอยต่อระหว่างแอกซอนกับเซลล์อื่นๆ จะไม่แนบสนิท เรียกบริเวณนี้ว่า
ไซแนปส์ (synapse) ช่องว่างระหว่างเซลล์เรียกว่า Synaptic cleft

การเกิดไซแนปส์ระหว่างเซลล์ประสาทสามารถเกิดได้ 3 แบบ คือ

•Axodendritic synapse เป็นไซแนปส์ที่เกิดขึ้นระหว่างแอกซอนกับเดนไดรท์


•Axosomatic synapse เป็นไซแนปส์ที่เกิดขึ้นระหว่างแอกซอนกับตัวเซลล์
•Axoaxonic synapse เป็นไซแนปส์ที่เกิดขึ้นระหว่างแอกซอนกับแอกซอน
การแบ่ งประเภทของเซลล์ ประสาท ตามรู ปร่ าง
•แบ่งตามรูปร่างโดยใช้จานวนใยประสาทที่ยื่นออกจาก 1 ตัวเซลล์ ได้ 3 ชนิด
เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolar neuron) เป็นเซลล์ประสาททีม่ ีใย
ประสาทแยกออกมาจากตัวเซลล์เพียง 1 เส้นใย ได้แก่ เซลล์รับความรู้สึกที่
มีตัวเซลล์อยู่ในปมประสาทรากบนของไขสันหลัง
เซลล์ประสาทสองขั้ว (bipolar neuron) เป็นเซลล์ประสาท
บางชนิดมีใยประสาทออกมาจากตัวเซลล์ 2 เส้นใย เช่น เซลล์ประสาท
ที่บริเวณเรตินา เซลล์รับกลิน่ และเซลล์รบั เสียง
เซลล์ประสาทหลายขั้ว (multipolar neuron) เป็นเซลล์ประสาทที่มี
เดนไดรต์แยกออกมาจากตัวเซลล์มากมายและมีแอกซอน 1 เส้นใย เช่น เซลล์
ประสาทประสานงานและเซลล์ประสาทสั่งการ
เซลล์ประสาทค้าจุน (neuroglia หรือ glia cells)
- คาจุนให้เซลล์ประสาททางานอย่างมีประสิทธิภาพ
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ
1. ไมโครเกลีย (microglia) ทาลายเซลล์ประสาทที่ตายแล้ว
2. มาโครเกลีย (macroglia)
2.1 แอสโตรไซต์ (astrocyte) พบในสมองและไขสันหลัง
2.2 โอลิโกเดนโดนไชต์ (oligodendrocyte) สร้างไมอิลินให้ CNS
2.3 เซลล์อิเพนไดมัล (Ependymal cell) พบในโพร่งสมอง และ
รูท่อไขสันหลัง
เซลล์ ประสาทคา้ จุน (neuroglia หรือ glia cells)
เซลล์ประสาท แบ่งตามหน้าที่ ได้ 3 ชนิด
1. เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory neuron) ทาหน้าที่รับกระแสความรู้สึกส่งเข้าสู่
สมองและไขสันหลัง แล้วถ่ายทอดกระแสประสาทไปยังเซลล์ประสาทสั่งการ อาจผ่านเซลล์
ประสานงานหรือไม่ผ่านก็ได้ เซลล์เหล่านี้มีตัวเซลล์อยู่ที่ปมประสาทรากบนของไขสันหลัง

2. เซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron) ทาหน้าที่นากระแสประสาทออกจากไขสัน


หลังส่งไปยังหน่วยปฏิบัติงาน เช่น กล้ามเนื้อแขนขา ซึ่งอยู่ห่างไกลไขสันหลังมาก ดังนั้น เป็น
เซลล์ประสาทที่มีใยประสาทแอกซอนยาวกว่า เดนไดรต์ อาจยาวถึง 1 เมตร

3. เซลล์ประสาทประสานงาน (association neuron) ทาหน้าที่รับกระแสประสาทจาก


เซลล์ประสาทรับความรู้สึกแล้วส่งให้เซลล์ประสาทคาสั่ง ดังนั้น ตาแหน่งของเซลล์ชนิดนี้จึง
อยู่ภายในสมองและไขสันหลัง ใยประสาทของเซลล์ประสาทประสานงาน
การทางานของเซลล์ประสาท

กระตุ้น หน่วยรับความรู้สึก
จะเปลี่ยนให้เป็น
กระแสประสาท
วัดความต่ างศักย์ ไฟฟ้ าระหว่ างภายในกับภายนอกได้ -70 มิลลิโวลต์

ฮอดจ์กิน (A.L. Hodgkin) และฮักซ์เลย์ (A.F. Huxley)


OUTSIDE OF CELL
K+ Na+ K+ Na+
Na+
Na+ Na+
Na+ Na+ Na+
Na+ Na+
Na+
Na+ Na+
channel

Plasma K+
Na+ - K+
membrane pump

K+
channel
Na+ K+
K+ K+
Protein
K+ K+
K+
K+
K+
K+ K+
INSIDE OF CELL
Axon

Action potential

Axon
1 Na+ segment

K+ Action potential

2 Na+

K+
K+ Action potential

3 Na+

K+
1 ระยะพัก (Resting state)
ศักย์ ไฟฟ้ าเยือ่ เซลล์ระยะพัก
Na+

(Resting Membrane
2 Potential)
A stimulus opens some Na+ -70 mV
channels; if threshold is reached,
action potential is triggered.

Neuron
interior
1 Resting state: voltage gated Na+
and K+ channels closed; resting
potential is maintained.
2 Threshold Potential
Na +

3 Additional Na+ channels open,


เมือ่ มีสิ่งเร้ ามากระตุ
้ นเซลล์ ประสาทในระดั
K+ channels บทีเ่ ซลล์
are closed; สามารถตอบสนองได้
interior of
cell becomes more positive.

Na+

Na+
2 A stimulus opens some Na+
channels; if threshold is reached,
action potential is triggered.
มีสิ่งเร้ ามากระตุ้นเซลล์ประสาทในระดับทีเ่ ซลล์สามารถตอบสนองได้
(Threshold Potential)

3 ระยะ Depolarization ความต่ างศักย์ ทเี่ ยือ่ เซลล์ จะเปลีย่ นจาก


-70 mV เป็ น +50 mV

Na+

Na+
3 Additional Na+ channels open,
K+ channels are closed; interior of
cell becomes more positive.
ความต่ างศักย์ ทเี่ ยือ่ เซลล์ จะเปลีย่ นจาก
+50 mV เป็ น
4 ระยะ Repolarization -70 mV
(กลับสู่ สภาพเดิม)

K+

K+

4 Na+ channels close and


inactivate. K+ channels
open, and K+ rushes
out; interior of cell more
negative than outside.
Na+
K+

Na+
3 Additional Na+ channels open, K+
K+ channels are closed; interior of 4 Na+ channels close and
cell becomes more positive.
inactivate. K+ channels
open, and K+ rushes
Na+
Action out; interior of cell more
potential negative than outside.
3

4
2 5 The K+ channels close
Na+ Threshold
potential relatively slowly, causing
2 A stimulus opens some Na+ 1 1 a brief undershoot.
channels; if threshold is reached, 5
action potential is triggered. Resting potential

Neuron
Neuron
interior interior
1 Resting state: voltage gated Na+
and K+ channels closed; resting
potential is maintained. 1 Return to resting state.

Figure 28.4
5 Hyperpolarization

5
การกระตุ้นเซลล์ประสาทในขณะที่ยังเกิด
Action Potential
อยู่ เซลล์ประสาทจะไม่ตอบสนอง เราเรียกระยะนี้ว่า
Absolutely Refractory Period
การเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ดังกล่าวนี้เรียกว่า
Action Potential หรือ Nerve Impulse
 Action Potential
เคลื่อนที่ไปตามยาวของเส้นใยประสาทแบบจุด
แอกซอนที่ไม่มี
ต่อจุดต่อเนื่องกัน (Core Conduction)
Myelin Sheath

Action Potential จะเกิดเฉพาะบริเวณ แอกซอนมีเยื่อไมอีลิน


Node of Ranvier Myelinated Axon
(Saltatory Conduction)
ปลายของ Axon จะพบรอยต่อระหว่างเซลล์ประสาท เราเรียกว่า Synapse

Synapse นั้นจะมีช่องขนาดประมาณ 0.02 ไมโครเมตร


ทาให้กระแสประสาทไม่สามารถผ่าน Synapse ได้

Axon Terminal ซึ่งภายในมีสาร


สื่อประสาท (Neurotransmitter)
บรรจุอยู่ใน Vesicle
การถ่ ายทอดกระแสประสาทระหว่ างเซลล์ประสาท
SENDING 1
NEURON
Action
Axon of
Vesicles potential
sending
arrives
neuron Synaptic
knob SYNAPSE

2
3
Vesicle fuses with
plasma membrane Neurotransmitter
is released into
synaptic cleft
เซลล์ประสาทตัวถัดไป
SYNAPTIC
4
(Postsynaptic cell)
Receiving
neuron
CLEFT
Neuro-
จะถูกกระตุน้ เฉพาะเวลา
RECEIVING Neurotransmitter
transmitter
binds to
ที่ Axon ของ
NEURON
Ion channels molecules receptor
Presynaptic Cell ปล่อย
Neurotransmitter broken
Neurotransmitter เท่านั้น
Neurotransmitter
Receptor down and released

Ions

5 Ion channel opens 6 Ion channel closes


ระบบประสาทส่ วนกลาง (CNS)
พิจารณาระบบประสาทตาม
ตาแหน่งและโครงสร้างแบ่งได้
ออกเป็น 2 ระบบ คือ
- Central Nervous System
(CNS)
- Peripheral Nervous
System (PNS)

 สมองและไขสันหลังมีเยื่อหุ้ม 3 ชัน้
สมองของสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นสูงมีส่วนนอกเป็น เนื้อสีเทา
(Grey Matter) ส่วนนี้มีเป็นที่อยู่ Cell Body และ Unmyelinated Axon แต่
ส่วนในของสมองจะมีสขี าวอันเนื่องมาจากสารพวก Lipid ใน Myelin Sheath
เรียก White Matter เป็นที่อยู่ของ Myelinated Axon เป็นส่วนใหญ่
สัตว์ที่มีวิวัฒนาการทางสมองสูง จะพบรอยหยักมากและอัตราส่วนระหว่าง
น้าหนักของสมองต่อน้าหนักลาตัวจะมีแนวโน้มมาก เช่น สมองของมนุษย์ ซึ่งมี
วิวัฒนาการสูงสุด
สมองคนแบ่งออกเป็นสามส่วน คือ สมองส่วนหน้า สมองส่วนกลาง และ
สมองส่วนหลัง แต่ละส่วนควบคุมการทางานแตกต่างกัน ดังนี้
1. สมองส่วนหน้า (Forebrain)
- Olfactory Bulb ทาหน้าทีเ่ กี่ยวกับการดมกลิ่น ซึ่งพัฒนาดีในปลา
มากกว่าในคน
- Cerebrum ทาหน้าทีเ่ กี่ยวกับความคิด ความจา เชาว์ปัญญา และเป็น
ศูนย์กลางควบคุมการทางานต่างๆ เช่น การรับสัมผัส การพูด การได้ยิน การ
ดมกลิ่น การทางานของกล้ามเนื้อ
- Hypothalamus ทาหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย การเต้นของ
หัวใจ ความดันเลือด ความหิว ความอิ่ม ความต้องการทางเพศ รวมทั้งสร้าง
ฮอร์โมนควบคุมการทางานของต่อมใต้สมองส่วนหน้า
- Thalamus ทาหน้าที่รวบรวมกระแสประสาทที่ผ่านเข้าออก แล้วแยก
กระแสประสาทไปยังสมองส่วนที่ตอบสนองโดยเฉพาะ
Corpus callosum
Olfactory Bulb
2. สมองส่วนกลาง (Midbrain)
สมองส่วนนี้ลดรูปเหลือเพียงแค่ Optic Lobe ทาหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหว
ของนัยน์ตา ทาให้ลูกตากลอกไปมาและควบคุมการเปิดปิดของรูม่านตาในเวลาที่
แสงเข้ามามากหรือน้อย
3. สมองส่วนหลัง (Hindbrain)
- Cerebellum ทาหน้าที่ควบคุมการทรงตัว การเคลื่อนไหวของร่างกายให้ราบเรียบ
สละสลวยและเที่ยงตรง ทาให้สามารถทางานที่ประณีตได้
- Pons ทาหน้าที่ควบคุมการเคี้ยว การหลั่งน้าลาย การเคลื่อนไหวบนใบหน้า เป็นศูนย์
ควบคุมการหายใจและเป็นทางผ่านของกระแสประสาทระหว่าง Cerebellum กับ Cerebrum
และ Cerebellum กับ Spinal Cord
- Medulla Oblongata ทาหน้าที่ควบคุมการเต้นของหัวใจ การหายใจ ความดันเลือด
การกลืน การจาม การสะอึกและการอาเจียน
ไขสันหลัง
ไขสันหลังอยู่ภายในกระดูกสันหลัง ตั้งแต่กระดูกสันหลังข้อแรกถึงกระดูกสันหลัง
บริเวณเอวข้อที่ 2 ส่วนปลายของไขสันหลังจะเรียวเล็กจนเหลือแต่ส่วนที่เป็นเยื่อหุ้มไข
สันหลังเท่านั้น
ไขสันหลังประกอบด้วยสองบริเวณ โดย White Matter จะอยู่ด้านนอก แต่
Grey Matter อยู่ด้านใน ตรงกลางมีช่องกลวงบรรจุ Cerebrospinal Fluid ดังภาพ
2. ระบบประสาทรอบนอก
เส้นประสาทสมอง (cranial nerve)

มีทั้งหมด 12 คู่ บางเส้นทาหน้าที่เป็น Sensory Nerve หรือ


Motor Nerve หรือ Mixed Nerve
เส้นประสาทไขสันหลัง (Spinal Nerve)
เมื่อพิจารณาถึงเนื้อสีเทาของไขสันหลัง ซึ่งมีลักษณะคล้ายตัว
H หรือปีกผีเสื้อ สองปีกบนเรียกว่า Dorsal Horn
สองปีกล่างเรียกว่า Ventral Horn
เส้นประสาทที่แยกออกมาจากไขสันหลัง เราเรียกว่า
Spinal Nerve แบ่งออกเป็นส่วน Dorsal Root ซึ่งมีปมประสาทเรียกว่า Dorsal
Root Ganglion อยู่ด้วย ส่วน Ventral Root ไม่มีปมประสาทอยู่
Spinal Nerve สามารถรับรู้และตอบสนองได้โดย พบว่าที่ Dorsal Root
Ganglion มี Cell Body ของ Sensory Neuron อยู่ ทาหน้าที่รับกระแส
ประสาทจากหน่ ว ยรั บ ความรู้ สึ ก ส่ ง ไปยั ง ไขสั น หลั ง และสมองซึ่ ง ท าหน้ า ที่
ประมวลผล
แล้วออกคาสั่งผ่าน Motor Neuron ไปยังหน่วยปฏิบัติการ
ผ่านทาง Ventral Root โดยมี Cell Body อยู่ในเนื้อสีเทา
การทางานของระบบประสาท
การทางานของระบบประสาท

การทางานของเส้นประสาทในระบบประสาทรอบนอกแบ่งออกเป็นสองส่วน
คือส่วนที่รับความรู้สึก (Sensory Division) ซึ่งรับความรู้สึกจากทั้งภายนอกและ
ภายในร่างกาย และส่วนที่สั่งการ (Motor Division)
ถ้าการสั่งการเกิดขึ้นกับหน่วยปฏิบัติงานที่บังคับได้ เช่น กล้ามเนื้อลายที่ยึด
กับกระดูก ก็จัดเป็น Somatic Nervous System (SNS)
ถ้าการสั่งการเกิดขึ้นกับหน่วยปฏิบัติงานที่บังคับไม่ได้ เช่น อวัยวะภายใน
หรือต่อมต่างๆ ก็จัดเป็นระบบประสาทอัตโนวัติ หรือ Autonomic Nervous System
(ANS) ซึ่งยังแบ่งออกเป็น 2 ระบบย่อย คือ Sympathetic Nervous System และ
Parasympathetic Nervous System ดังแผนภาพแสดงการทางานของระบบ
ประสาทในสัตว์ชั้นสูง
**Acetylcholine
**Norepinephrine
ข้อเปรียบเทียบ Somatic nervous system Autonomic nervous system
การทางาน ในอานาจจิตใจ นอกเหนือในอานาจจิตใจ

Motor 1 ตัว 2 ตัว


neuron
ศูนย์สั่งการ สมอง และ ไขสันหลัง สมองและไขสันหลัง
Sympathetic= อก ,เอว
Parasympathetic=ก้านสมอง,ไขสัน
หลังบริเวณกระเบนเหน็บ
อวัยวะทำงำน กล้ ามเนื ้อลาย กล้ ามเนื ้อเรี ยบ,กล้ ามเนื ้อหัวใจ
ปมประสาท Axon ยาวไปยังกล้ามเนื้อลาย Axon มี Synapse ทั้ง Sympathetic
ไม่มี Synapse และ Parasympathetic
ระบบประสาทโซมาติก Somatic Nervous System (SNS)
Stimulus --> Sensory Receptor --> Sensory Neuron --> Association
Neuron in Spinal Cord--> Motor Neuron --> Effector (Striated Muscle) -->
Response
ระบบประสาทอัตโนวัติ (Autonomic nervous system)

ควบคุ ม การท างานของอวั ย วะภายใน กล้ า มเนื้ อ เรี ย บ และกล้ า มเนื้ อ หั ว ใจ


อยู่นอกอานาจจิตใจ แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ Sympathetic Nervous System และ
Parasympathetic Nervous System ซึ่งจะทางานตรงข้ามกัน เช่น ระบบประสาทซิม
พาเทติก จะกระตุ้นอัตราการเต้นของหัวใจ แต่ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก จะลด
อัตราการเต้นของหัวใจ หรือระบบประสาทซิมพาเทติกทาให้รูม่านตาขยาย แต่ระบบ
ประสาทพาราซิมพาเทติกทาให้รูม่านตาหรี่ เป็นต้น

การทางานของระบบประสาทอัตโนวัติ จะผ่าน Spinal Nerve แสดงดังแผนภาพ


หน่วยปฏิบัติงาน ระบบประสาทซิมพาเทติก ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก

หัวใจ เต้นเร็วและแรงขึ้น เต้นอ่อนและช้าลง


แรงดันเลือด เพิ่มขึ้น ลดลง
รูม่านตา ขยาย หดตัว
กระเพาะปัสสาวะ คลายตัวไม่ขับปัสสาวะ หดตัวขับปัสสาวะ
การทางานของลาไส้ ลดลง เพิ่มขึ้น
การทางานของกระเพาะอาหาร ลดลง เพิ่มขึ้น
กล้ามเนื้อเรียบรอบหลอดลมและ คลายตัว หดตัว
ขั้วปอด อากาศเคลื่อนที่ได้เพิ่มขึ้น อากาศเคลื่อนที่ได้ลดลง
ต่อมหมวกไตชั้นใน กระตุ้นการหลั่ง epinephrine -
หรืออะดรีนาลีน (Adrenaline)
ต่อมเหงื่อ กระตุ้นการหลั่งเหงื่อ -
ต่อมน้าลาย สร้างน้าลายส่วนข้นเพิ่ม สร้างน้าลายส่วนใสเพิ่ม
การทางานของระบบสืบพันธุ์ Ejaculation (การหลั่งน้าอสุจิ) Erection
& Orgasm (จุดสุดยอด)
การเปรียบเทียบ Sympathetic Nervous Parasympathetic
system Nervous system
Preganglionic neuron ไขสันหลังส่วนอก,เอว ก้านสมองและไขสันหลัง
กระเบนเหน็บ
ปมประสาททอัตโนวัติ ใกล้ไขสันหลัง ไกลไขสันหลัง
Axon ของ motor สั้น ยาว
neuron ตัวที่ 1
Axon ของ motor ยาว สั้น
neuron ตัวที่ 2
สารสื่อประสาท Acetylcholine/ Acetyl choline/Acetyl
Norepinephrine choline
สภาวะ เครียด ผ่อนคลาย
อวัยวะรั บควำมรู้ สึก
1. ตา

(Blind Spot)

 Sclera
 Choroid
 Retina
Retina Choroid
Photoreceptors
Neurons
Retina Cone Rod

Light To
brain
Optic nerve

Light

Ganglion
cell

Amacrine
cell Horizontal
cell
Optic
nerve Bipolar Pigmented
axons cell epithelium
Rod

Outer
segment
Disks INSIDE
OF DISK cis isomer

Light Enzymes

Cell body

CYTOSOL

Synaptic Retinal
Rhodopsin trans isomer
terminal Opsin
INSIDE OF DISK EXTRACELLULAR
Light FLUID
Disk
membrane
Active rhodopsin Phosphodiesterase
Plasma
membrane
CYTOSOL
Sodium
channel
cGMP
Inactive Transducin
rhodopsin GMP
Na+

Dark
0
potential (mV)

Light
Membrane

–40 Hyper-
polarization Na+
–70
Time
Dark Responses Light Responses

Rhodopsin inactive Rhodopsin active

Na+ channels open Na+ channels closed

Rod depolarized Rod hyperpolarized

Glutamate No glutamate
released released

Bipolar cell either Bipolar cell either


depolarized or hyperpolarized or
hyperpolarized depolarized
 ปกติแล้ว Rod Cell จะมีความหนาแน่นมากกว่า Cone Cell
 แต่บริเวณที่เรียกว่า Fovea จะมี Cone Cell หนาแน่นกว่าบริเวณอื่น
 ดังนั้นแสงที่ตกบริเวณนี้จะเกิดภาพได้ชัดเจน ส่วนบริเวณของเรตินาที่มีแต่
Axon ออกจากนัยน์ตา จะไม่มี Rod Cell หรือ Cone Cell อยู่เลย
ดังนั้น แสงที่ตกบริเวณดังกล่าว จึงไม่เกิดภาพ เรียกจุดดังกล่าวว่า
จุดบอด (Blind Spot)
เลนส์ตา (lens)
 ในการเกิดภาพ แสงจากวัตถุผ่านเข้าสู่กระจกตา โดยมีเลนส์ตาทา
หน้าที่รวมแสง ดังนั้นการหักเหของแสงจึงขึ้นอยู่กับความโค้งของกระจกตา
และเลนส์ตา
 ปกติความโค้งของกระจกตาคงที่เสมอ ส่วนความโค้งของเลนส์ตา
สามารถปรับเปลี่ยนได้ เนื่องจากเลนส์ตาถูกยึดด้วย
Suspensory Ligament ซึ่งเอ็นดังกล่าวอยู่ติดกับกล้ามเนื้อยึดเลนส์
(Ciliary Muscle)
 ดังนั้นการหดตัวและการคลายตัวของกล้ามเนื้อยึดเลนส์จึงมีผลทา
ให้เอ็นที่ยึดเลนส์หย่อนหรือตึงได้
ภาพที่อยู่ใกล้
Ciliary Muscle หด  Suspensory Ligament คลาย 
Lens โป่งออก  Focus ใกล้เลนส์
ภาพที่อยู่ไกล
Ciliary Muscle คลาย  Suspensory Ligament หด 
Lens แบนราบ Focus ไกลเลนส์
 บางคนมีปัญหาเลนส์ตาไม่สามารถ Focus ภาพได้ ทาให้เกิด สายตาสั้น (Myopia) หรือ
สายตายาว (Hypermetropia)
 สามารถแก้ไขได้โดยใส่แว่นตาที่ประกอบด้วย
- เลนส์เว้าสาหรับคนสายตาสั้น
- เลนส์นูน สาหรับคนสายตายาว
- คนสายตาเอียงอันเนื่องมาจากความโค้งของกระจกตาในแนวต่างๆ
ไม่เท่ากัน สามารถแก้ไขได้โดยเลนส์ทรงกระบอก (Cylindrical Lens) ซึ่งด้านหน้าเว้า
ด้านหลังนูน
กลไกการมองเห็น
 เยื่อหุ้มเซลล์รูปแท่งจะมีสารสีม่วงแดงชื่อ Rhodopsin ฝังตัวอยู่สารชนิดนี้
ประกอบด้วยโปรตีน Opsin รวมกับสาร Retinal (วิตามิน A) ซึ่งไวต่อแสง
 ในที่ไม่มีแสง Opsin และ Retinal จะเกาะกัน
 เมื่อมีแสงมากระตุ้น ทาให้โมเลกุลของ Retinal เปลี่ยนจากโครงสร้างจาก
แบบ Cis เป็นแบบ Trans ทาให้ไม่สามารถเกาะกับ Opsin
ได้การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ทาให้เกิดกระแสประสาทผ่าน
เส้นประสาทสมองคู่ที่สอง ส่งไปยังสมองเพื่อแปลข้อมูล *** ถ้าไม่มีแสง
Retinal จะกลับมารวมกับ Opsin อีกครั้งหนึ่ง
 ถ้าขาดวิตามินเอ จะทาให้เราเป็นโรคตาฟาง (Night Blindness) ใน
เวลากลางคืน หรือถ้าใช้สายตาในที่ที่มีแสงสว่างจ้ามากเกินไป จะทาให้ตาพร่า
มัว เพราะ Retinal รวมตัวกับ Opsin ได้น้อย
 Cone cell แบ่งออกได้เป็นสามชนิด คือ Cone Cell
- ที่ไวต่อแสงสีน้าเงิน
- ที่ไวต่อแสงสีแดง
- ที่ไวต่อแสงสีเขียว
 แต่ที่จริงสมองสามารถแยกสีได้มากกว่าสามสี เพราะมีการกระตุ้น Cone
Cell แต่ละชนิดพร้อมๆกันด้วยความเข้มแสงที่แตกต่างกัน
เช่น ขณะที่มองวัตถุสีม่วงจะเกิดจากการกระตุ้นของ Cone Cell ที่ไวต่อแสง
สีน้าเงิน และ Cone Cell ที่ไวต่อแสงสีแดง
 การบกพร่องของ Cone Cell ทาให้เป็นโรคตาบอดสี ส่วนมากเป็นโรคตา
บอดสีแดงและสีเขียว ความผิดปกติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เกิดมาจากความ
ผิดปกติทางพันธุกรรมบนโครโมโซม X
2. หูกับการได้ยิน
หูเป็นอวัยวะรับสัมผัสที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับการได้ยินและการทรงตัว หู
ของคนแบ่งออกเป็นสามส่วน คือ
- หูส่วนนอก (External Ear)
- หูส่วนกลาง (Middle Ear)
- หูส่วนใน (Inner Ear)
Middle
Outer ear ear Inner ear

Skull Stapes
Semicircular
bone
Incus canals
Malleus Auditory nerve Cochlear Bone Auditory
to brain duct nerve

Vestibular
canal

Tympanic
Cochlea canal
Oval
window Eustachian
Pinna Auditory tube
canal Tympanic Round Organ of Corti
membrane window

Tectorial
Hair cells membrane

Hair cell bundle from


a bullfrog; the longest
cilia shown are
about 8 µm (SEM). Basilar Axons of To auditory
membrane sensory neurons nerve
Axons of
sensory neurons Apex

Oval
window Vestibular
canal

Stapes
Vibration

Basilar membrane
Base Tympanic
canal Fluid
Round (perilymph)
window
Semicircular canals

Flow of fluid

Vestibular nerve
Cupula

Hairs
Hair
cells

Vestibule Axons

Utricle Body movement

Saccule
3. ผิวหนังกับการรับความรู้สึก

 ผิวหนังมีหน่วยรับความรู้สึกซึ่งไวต่อการกระตุ้นเฉพาะอย่าง
เช่น
 หน่วยรับ ความดัน มีลักษณะคล้ายหัวหอมผ่าซีก มี Dendrite อยู่ตรงกลาง
และมีเนื้อเยื่อเกี่ยวพันห่อหุ้ม หน่วยรับความรู้สึกชนิดนี้ อยู่ในชั้นหนังแท้
(Dermis)
 หน่วยความรู้สึกเจ็บปวด จะอยู่บริเวณหนังกาพร้า (Epidermis)
 นอกจากนี้ยั้งมีหน่วยรับอุณหภูมิ ที่รับความรู้สึกร้อน และ เย็น
4. ลิ้นกับการรับรส
ด้านบนของผิวลิ้นจะมีปุ่มเล็กๆ มากมาย ปุ่มเหล่านี้คือ
ปุ่มลิ้น (Papilla) ซึ่งที่ปุ่มลิ้นมีตุ่มรับรส (Taste Bud) หลายตุ่มทาหน้าที่รับรส
 แต่ละตุ่มรับรสจะมี เซลล์รับรส (Gustatory Cell) ซึ่งต่อกับใยประสาท
 เมื่อตุ่มรับรสได้รับการกระตุ้น จะเกิดกระแสประสาทส่งไปตาม
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 และเส้นประสาทสมองคูท่ ี่ 9 ไปยัง
Cerebrum
บริเวณศูนย์รบั รส
 ตุ่มรับรสมี 4 ชนิด ได้แก่ ตุ่มรับรสหวาน รสขม รสเปรี้ยว และรสเค็ม ซึ่ง
กระจายบนลิ้นใน บริเวณที่แตกต่างกัน
5. จมูกกับการดมกลิ่น
จมูกสามารถรับกลิ่นได้โดย ภายในเยื่อบุจมูกด้านบน จะมี Olfactory
Neuron ที่สามารถเปลี่ยนสาร ที่ทาให้เกิดกลิ่นเป็นกระแสประสาท แล้ว
ส่งไปตามเส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 (Olfactory Nerve) ผ่านส่วน Olfactory
Bulb เพื่อส่งต่อไปยังสมองส่วน Cerebrum
Brain
Action potentials

Olfactory
bulb
Odorants
Nasal cavity Bone

Epithelial
cell
Odorant
receptors Chemo-
receptor

Plasma Cilia
membrane

Odorants Mucus

You might also like