Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 17

1

เนื้อหาวิชาความรูเกี่ยวกับการตรวจสอบสภาพอาคาร
ของสถาบันวิศวกรรมปองกันอัคคีภัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

หมวด 1 จรรยาบรรณและกฎหมาย

1. การกระทําดังตอไปนี้เปนการกระทําที่ถือวาผิดจรรยาบรรณวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
ก. โฆษณาตัวเอง
ข. ลงชื่อเซ็นรับรองแทนผูอื่น
ค. ทํางานในสาขาไมมีความรู
ง. เปนผูควบคุมงานหลายโครงการในเวลาเดียวกัน

2. อาคารที่ตองมีการตรวจสอบสภาพ ตามมาตรา 32 ทวิ แหงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.


2522 มี 9 ประเภท ไดแก อาคารสูง อาคารขนาดใหญพิเศษ อาคารชุมนุมคน และอาคารอื่นอีก 6
ประเภทตามทีก่ ฎกระทรวงกําหนด

3. ขอหามสําหรับผูตรวจสอบอาคาร คือ
ก. อาคารที่ผูตรวจสอบเปนผูออกแบบ
ข. อาคารที่ผูตรวจสอบเปนผูติดตั้งอุปกรณของอาคาร
ค. อาคารที่มีชื่อผูตรวจสอบเปนผูบริหารจัดการ
ง. อาคารที่ผูตรวจสอบเปนผูควบคุมงานเอง

4. อาคารสูงควรมีสิ่งตอไปนี้
ก. แผนผังแตละขั้นซึ่งแสดงเสนทางติดตั้งใหเห็นชัดเจนในบริเวณเปดเผย
ข. บริเวณหนาลิฟต ที่มีพื้นที่บนั ไดหนีไฟตามกฎหมายกําหนด
ค. เครื่องหมายทีแ่ สดงถึงบันไดหนีไฟ
2

หมวด 2 วิชาหลักการและแนวทางการตรวจสอบอาคาร

1. เครื่องมือหรืออุปกรณดังตอไปนี้
ก. ตลับเมตร
ข. ไฟฉาย
ค. Check list
ง. Lux meter
จ. เครื่อง Ultra Sound
Check list เปนเครื่องมือที่ดที ี่สุดในการตรวจสอบอาคาร

2. การตรวจสอบอาคารตองการการตรวจสอบในเรื่องตางๆ ไดแก ความมั่นคงแข็งแรง ระบบและ


อุปกรณ สมรรถภาพของระบบและอุปกรณ และการบริหาร

3. กฎหมายทีใ่ ชอางอิง ในการตรวจสอบอาคารสําหรับประเทศไทยคือ พรบ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522

4. มาตรฐานตางๆ ดังตอไปนี้
ก.มาตรฐานสภาวิศวกร
ข.มาตรฐานสภาสถาปนิก
ค.มาตรฐานอุตสาหกรรม
ง. มาตรฐานการขนสง
จ.มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม
มาตรฐานที่ไมใชในการตรวจสอบสําหรับประเทศไทยคือ มาตรฐานการขนสง

5. การตรวจสอบสภาพอาคารตามกฎหมายควบคุมอาคารเปนการตรวจสอบลักษณะการตรวจดวยสายตา

6. การตรวจสอบสภาพอาคารเปนการตรวจสอบตามเกณฑขั้นต่ําของกฎหมายที่กําหนดไวใ น
กฎกระทรวงออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522

7. ขอมูลที่สําคัญในการตรวจสอบอาคารคือ ประวัติอาคาร

8. เจาของอาคารตองจัดเตรียมแบบแปลนใหแกผูตรวจสอบอาคาร
3

9. สถานภาพของระบบตางๆ ในอาคารที่ตรวจพบตองนํามาพิจารณาเปรียบเทียบกับมาตรฐานที่กําหนด

10. กรณีอาคารและอุปกรณที่ไมผานหลักเกณฑมาตรฐาน ผูตรวจสอบตองดําเนินการจัดทํา


ขอเสนอแนะใหเจาของอาคารไปจัดหาผูเชีย่ วชาญมาแกไข

11. ในการตรวจสอบประจําป ผูตรวจสอบอาคารตองดําเนินการจัดทํารายงานการตรวจสอบสภาพ


อาคารแกเจาของ

12. ในแบบรายงานของผูตรวจสอบอาคารควรประกอบดวย ขอมูลอาคาร ผลการตรวจสอบอาคาร


สถานภาพอาคารและอุปกรณ สรุปผล ขอเสนอแนะ

13. การจัดทําขอเสนอแนะอยางนอยตองใหเปนไปตามขอกําหนดตามกฎหมายควบคุมอาคาร

14. ขอมูลทั่วไปของอาคารที่ตองทราบในการตรวจสอบสภาพอาคาร อยางนอยตองประกอบดวยขอมูล


อาคารและสถานที่ การตรวจตามกฎหมาย การตรวจสมรรถภาพ และสรุป

15. การเก็บรักษาวัตถุอันตราย หรือเชื้อเพลิง ตองคํานึงถึง ประเภท ปริมาณ และสถานที่เก็บ

16. สิ่งสําคัญที่ผูตรวจสอบควรเตรียมเปนอันดับตนสําหรับการตรวจสอบสภาพอาคาร ไดแก CHECK-


LIST ตลับเมตร ไฟฉาย

17. ผูตรวจสอบควรเตรียมหมวกแข็ง รองเทานิรภัย แวน ถุงมือ สําหรับการปองกันตัวเอง ในการเขา


ตรวจสอบอาคาร

18. การนําเสนอผลการตรวจสอบตองแนบ CHECK-LIST ประกอบในการนําเสนอ

19. การพิจารณาระบบการอพยพของอาคารตองพิจารณาองคประกอบตางๆ ไดแก เสนทางหนีไฟ ปาย


แสงสวาง ประตูหนีไฟ

20. ปายบอกเสนทางหนีไฟหรือทางออก ควรพิจารณาในเรื่องการบอกทิศทางเปนอันดับแรก


4

21. เจาของอาคารตองเสนอรายงานผลการตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณประกอบของอาคารตอ
เจาพนักงานทองถิ่นทุกป กอนวันทีใ่ บรับรองการตรวจสอบฉบับเดิมจะหมดอายุอยางนอย 30 วัน

22. หากตรวจสอบพบสิ่งตอไปนี้
ก. ชองประตูแคบกวาที่กาํ หนด
ข. ความกวางของลูกนอนบันไดหนีไฟแคบกวากฎหมายกําหนด
ค. หองครัวไมมชี องระบายอากาศ
สิ่งควรรายงานมากที่สุดในรายงานการตรวจสอบคือ ความกวางของลูกนอนบันไดหนีไฟแคบกวา
กฎหมายกําหนด

23. หากตรวจสอบพบสิ่งตอไปนี้
ก. ระเบียงไมมีราวกันตก
ข. บันไดภายในอาคารมีความชันมากเกินไป
ค. ชั้นวางของสูง และไมมีบานปด
สิ่งที่จัดวามีปญ
 หาดานความปลอดภัยในอาคารที่พึงรายงานคือ ระเบียงไมมีราวกันตก

24. ในเชิงวิศวกรรม ความเสี่ยงคือ ผลคูณระหวางโอกาสเกิดเหตุการณอันตรายกับความรุนแรงของ


เหตุการณนั้นๆ

25. วัสดุดังตอไปนี้
ก.ไม
ข. ฝา
ค. ไฟเบอร
ง. อิฐมอญ
จ. พลาสติก
อิฐมอญถือวาเปนวัสดุทนไฟ

26. ตามกฎหมายควบคุมอาคารกําหนดใหอาคารสูงตองมีบันไดหนีไฟอยางนอย 2 บันได และแตละ


บันไดตองอยูห างกันไมเกิน 60 เมตรเมื่อวัดตามแนวทางเดิน

27. บันไดหนีไฟสําหรับอาคาร ตามกฎหมายควบคุมอาคารกําหนดใหตอ งมีความกวางไมนอยกวา 90 cm


5

28. ในการตรวจสอบอาคาร หากตรวจสอบพบสิ่งดังตอไปนี้


ก. เครื่องสูบน้ําดับเพลิงเสีย อยูในระหวางการซอมแซม
ข. มีหองหนึง่ ในชั้นสูงสุด มีหัวกระจายน้าํ ดับเพลิงไมครอบคลุม
ง. ที่ตูสายฉีดน้ําดับเพลิงที่ชนั้ บนสุดไมมีสายฉีดภายในตูด ับเพลิง
ค. บันไดหนีไฟชั้นลางสุด ถูกล็อคอยูทําใหเหลือทางหนีไฟเพียงทางเดียว
จ. ความสองสวางในบันไดไมถึง 10 ลักซ
สิ่งที่ไมถูกตอง ยอมรับไมไดมากที่สุดคือ บันไดหนีไฟชัน้ ลางสุด ถูกล็อคอยูทําใหเหลือทางหนีไฟ
เพียงทางเดียว

29. ประกาศกระทรวงมหาดไทย (แรงงาน) ความปลอดภัยในการทํางานสําหรับลูกจาง 2534 หมวด 8


ขอ 34 และขอ 36 ใหมีการฝกซอมใชอุปกรณดับเพลิงและการควบคุมเพลิงเบื้องตน อยางนอยปละ 1
ครั้ง จํานวนรอยละ 40 ของจํานวนลูกจาง

30. ประกาศกระทรวงมหาดไทย (แรงงาน) ความปลอดภัยในการทํางานสําหรับลูกจาง 2534 หมวด 8


ขอ 33(4) การตรวจสอบสมรรถนะของระบบตองใหมีการทดสอบประสิทธิ์ภาพระบบแจงเหตุเพลิง
ไหม อยางนอย เดือนละ 1 ครั้ง เพื่อพรอมใชงานตลอดเวลา

31. ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522


ขอ 18 ปริมาณน้ําในถังเก็บน้าํ สํารองเพื่อใชเฉพาะการดับเพลิงสําหรับอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ
พิเศษ ตองมีเพียงพอตอการทํางานของเครื่องสูบน้ําดับเพลิงไดนานเทาไมนอยกวา 30 นาที

32. ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522


ขอ 19 อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษตองจัดใหมีเครื่องดับเพลิงแบบมือถือบรรจุสารเคมีขนาด
ไมนอยกวา 4 กิโลกรัม 1 เครื่องตอพื้นที่ไมเกินทุก 1,000 ตรม. ติดตั้งทุกระยะไมเกิน 45 เมตร และชั้น
ละ 1 เครื่องเปนอยางนอย
6

33. ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522


ขอ 27 อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษตองมีประตูหนีไฟที่มีลกั ษณะดังนี้
ก. กวางสุทธิไมนอยกวา 90 cm.
ข. สูงไมนอยกวา 1.90 cm.
ค. ชนิดผลักออกสูภายนอก มีอุปกรณทบี่ ังคับใหบานปดไดเอง
ง. ทําดวยวัสดุทนไฟ

34. ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522


ขอ 44 ลิฟตดับเพลิงอาคารสูง ตองใชระยะเวลาในการเคลื่อนที่อยางตอเนื่องระหวางชั้นลางสุดกับชั้น
บนสุดของอาคารไมเกิน 1 นาที

35. ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522


ขอ 47 ลิฟตที่ติดตั้งในอาคารสูงตองติดตั้ง
ก. วิธีการใชลิฟตใหติดไวในหองลิฟต
ข. การขอความชวยเหลือใหติดไวในหองลิฟต
ค. การใหความชวยเหลือใหติดไวในหองเครื่องลิฟตและหองผูดูแลลิฟต

36. ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522


ขอ 14 อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษตองมีระบบจายพลังงานไฟฟาสํารองสําหรับกรณีฉุกเฉิน
แยกเปนอิสระจากระบบอื่น สามารถทํางานไดโดยอัตโนมัติ สําหรับเครื่องหมายแสดงทางฉุกเฉิน
ทางเดินหองโถง บันได และระบบสัญญาณเตือนเพลิงไหม เมื่อระบบจายไฟฟาปกติหยุดทํางาน โดย
ตองจายพลังงานไฟฟาไดไมนอยกวา 120 นาที

37. หากอาคารที่ตรวจสอบแลวไมสามารถแกไขใหดีขนึ้ ในทันที ทานควรแนะนําเจาของอาคารให


แกไขตามขั้นตอนเรียงลําดับความสําคัญกอนหลัง และใหแนะนําใหเนนการจัดการความปลอดภัยแทน
ระหวางการแกไข
7

หมวด 3 แนวทางการตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณประกอบของอาคาร
สวนที่ 1 ระบบเครื่องกล

1. จุดประสงคของระบบอัดอากาศและระบบระบายควัน คือ อัดอากาศเขาบางสวนของอาคาร และดูด


ควันออกจากบางสวนของอาคาร เพื่อใหเกิดเขตปลอดภัย สําหรับใหผูอาศัยสามารถหนีออกจาก
อาคาร และพนักงานดับเพลิงสามารถเขาไปดับเพลิงไดอยางรวดเร็วและปลอดภัย

2. อุปกรณที่ใชในการควบคุมควันไฟ ประกอบดวย พัดลมอัดอากาศ พัดลมระบายควัน อุปกรณ


ควบคุมความดัน ระบบทอลม อุปกรณสงสัญญาณให พัดลมทํางาน แหลงจายไฟสํารองฉุกเฉิน
สําหรับจายไฟใหพัดลม สวิทซควบคุมพัดลมระยะไกล

3. ระบบควบคุมควันไฟจะตองประกอบดวยระบบทอลม พัดลมและอุปกรณประกอบตาง ๆที่ออกแบบ


มาเพื่อใชควบคุมควันไฟโดยเฉพาะ และอาจใชรวมกับทอลมระบายอากาศ และระบบปรับอากาศของ
อาคารที่ออกแบบมาเพื่อชวยระบบควันไฟไดดว ย แตจะตองทดสอบการทํางานของระบบอยาง
สม่ําเสมอ

4. ในการตรวจสอบระบบควบคุมควันไฟ อาจทําไดโดยตรวจสอบความครบถวนของอุปกรณ และ


แยกตรวจสอบการทํางานของอุปกรณยอยแตละชิน้ และแยกระบบควบคุมควันออกเปน ระบบ
ยอยแลวตรวจสอบการทํางานของระบบยอยแตละระบบ

5. ในการทดสอบความดันภายในชองบันได ควรทดสอบ ดังนี้


ก. ใหระบบปรับอากาศของอาคารทํางาน วัดความดันครอมประตูขณะประตูปด วัดแรงที่ใชเปด
ประตูเขาชองบันได
ข. ทดสอบวาระบบสัญญาณที่สั่งใหพัดลมอัดอากาศทํางานทั้งระบบที่สั่งดวยมือ และสั่งโดย
อัตโนมัติทุกสัญญาณสามารถสั่งใหพัดลมทํางานไดหรือไม
ค. วัดความดันครอมประตู ขณะประตูปดและพัดลมอัดอากาศทํางาน แลววัดแรงทีใ่ ชเปดประตู
เขาชองบันได
ง. เปดประตูชองบันไดเพิ่มขึน้ ทีระบานตามจํานวนที่ระบุ วัดความดันครอมประตูบานที่ปดอยูทุก
บาน
8

6. ในระหวางการใชงานอาคาร ควรบํารุงรักษาและทดสอบระบบระบายควันทุก ๆ 6 เดือน ดังนี้


ก. ใหระบบควบคุมควันทํางานตามลําดับขั้นตอน ตามที่ไดออกแบบไว และถาทําไดใหใชแหลง
ไฟจากระบบไฟฉุกเฉิน
ข. ตัวอยางของอุปกรณที่ควรตรวจสอบ และบํารุงรักษา ไดแก dampers พัดลม ,อุปกรณควบคุม
การทํางาน , อุปกรณที่ใชสั่งใหพัดลมทํางาน ประตู และหนาตาง

7. การตรวจสอบระบบระบายควันและควบคุมการแพรกระจายควันตองครอบคลุมอยางนอย
ก) ตรวจสอบสภาพและอุปกรณควบคุมการทํางานขนาดของพัดลมอัดอากาศ
ข) ทดสอบการออกแรงผลักประตูเขาบันไดขณะพัดลมอัดอากาศทํางาน
ค) ทดสอบการทํางานของระบบสามารถใชไดทันที่ เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม

8. เครื่องสูบน้ําดับเพลิงดับเพลิงของ อาคารตองทดสอบอยางนอย 12 เดือนตอครั้ง

สวนที่ 2 ระบบไฟฟา

1. ตามขอกําหนดของการไฟฟานครหลวง ขนาดต่ําสุดของสายตอหลักดินที่แผงเมนมีคา 10 ตร.มม.

2. ตามขอกําหนดของการไฟฟานครหลวง ระยะหางต่ําสุดระหวางแผงดานหนาไฟฟาแรงดันต่ํากับ
สวนที่เปนฉนวน คือ 0.90 เมตร

3. สายไฟฟาชนิด NYY ใชเดินฝงดินไดโดยตรง

4. การเลือกขนาดสายไฟที่เหมาะสมพิจารณาจากกระแส แรงดันตก ลักษณะการเดินสาย ชนิดสาย

5. โครงโลหะของอุปกรณไฟฟา และทอสาย ที่ไมตอเขากับสายลอฟา ตองหางจากสายลอฟาไมนอยกวา


1.8 เมตร

6. หนวยของความสองสวางคือ ลักซ (Lux)


9

สวนที่ 3 ระบบสุขาภิบาล

1. การตรวจสอบระบบสุขอนามัยและสิ่งแวดลอม เชน การตรวจสอบถังเก็บประปา บอบําบัดน้ําเสีย


ระบบระบายน้าํ ฝน

2. เครื่องอัดลมเพื่อเพิ่มความดันใหกับ Pressure tank ที่จายน้ําใชไปยังสวนตาง ๆ ของอาคาร โดย


ปกติจะตั้งใหมี differential pressure อยูระหวาง 10 - 20 Psi

3. PVC pipe ไมควรนํามาติดตัง้ ในระบบทอน้ํารอนที่จายใหกับอาคาร

4. ทอน้ําโสโครกในแนวดิ่ง (Soil Stack)จะตองมีขนาดไมตา่ํ กวา 80 มม.

5. ทอน้ําทิ้งในแนวระดับมีขนาดโตกวา 100 มม. ระยะทางระหวางชองลางทอควรจะไมเกิน 30 เมตร

6. ในการติดตั้งเครื่องสูบน้ําที่อยูสูงกวาแหลงน้ํามาก ๆ จะเกิด Cavitation

7. ในการเลือกพัดลมสงลมเย็นไปตามทอลมหากวาปริมาณลมที่สงมีโอกาสมากกวาปริมาณลมที่
ออกแบบไว ควรตรวจสอบมอเตอรพัดลม
8. หนวยของความดังเสียง คือ เดซิเบล (dB)

สวนที่ 4 โครงสรางอาคาร

1. เอกสารแสดงรายละเอียดการตรวจสอบสภาพปจจุบันของอาคารควรมีการระบุสภาพเสียหาย
ปรากฏ การทรุดตัว การแตกราว และลักษณะการใชงานอาคารที่แตกตางไปจากแบบ

2. รอยแตกราวเปนเสนบางๆ ในลักษณะลายงาบนผนังอาจบอกถึงการหดตัวของปูนฉาบ : ปญหาดาน


สถาปตยกรรม

3. การระบุการเสือ่ มสภาพที่ปรากฏของโครงสรางอาคารควรระบุลักษณะ ตําแหนง ขนาด และ


รายละเอียดอืน่ ๆ ที่เกี่ยวของและหาได
10

4. รอยราวดานขางของคานในแนวเอียง 450 บริเวณใกลหวั เสาอาจบอกถึงการเสริมเหล็กรับแรงเฉือน


ไมเพียงพอ ปญหาทางโครงสราง

5. ในการตรวจสอบอาคารเบื้องตนควรตรวจดูดวยสายตาถึงจุดบกพรองตางๆ/การเสื่อมสภาพ

6. หากมีรอยแตกราวเปนแนวยาวดานขางของคานในตําแหนงสูงประมาณ 3-5 ซม. จากทองคาน จะ


ประเมินไดวาเหล็กเสริมเปนสนิม

7. หากมีขอสงสัยเกีย่ วกับการเอียงของอาคาร การตรวจสอบแนวดิ่งเสาอาจทําไดโดยงายโดยการทิ้ง


เชือกผูกตะปูจากหัวเสา

8. ผูดูแลรับผิดชอบอาคารชุดตองจัดทําแผนดําเนินการ และ แนวทางการปฏิบัติตลอดจนซักซอมหาก


มีสัญญาณแจงไฟไหม

9. หากทานไปตรวจสอบอาคาร และพบกรณีดังตอไปนี้จะตองบันทึกในรายงานการตรวจสอบ
ก. ความสูงของระเบียง 10 ซม.
ข. กลองของวางกองเปนชั้น ๆ อยางเปนระเบียบ ในบริเวณบันไดหนีไฟในอาคาร
ค. ราวบันไดหนีไฟทําไดไมอยูใ นสภาพชํารุด

สวนที่ 5 ระบบปองกันและระงับอัคคีภัย

1. หากนําผงถานหินมากองไว แลวจุดไฟใหลุกไหม การเผาไหมจะชา เนื่องจากมีอากาศไมทั่วถึง

2. การเกิดไฟไหม และการเกิดระเบิดมีความแตกตางกันทีอ่ ัตรารวดเร็วในการปลดปลอยพลังงาน

3. ฝุนที่มีขนาดพอเหมาะ จัดเปนหนึ่งในสามองคประกอบ ของสามเหลี่ยมของไฟได

4. องคประกอบสําคัญที่อยูชวงที่ติดไฟได ประกอบดวย
ก. อุณหภูมิสูงกวา Autoignition Temperature
ข. อยูระหวาง LFL และ UFL
ค. อุณหภูมิสูงกวา Flash point
แตการมีปริมาณออกซิเจนเกิน 20% อาจไมใชองคประกอบสําคัญที่อยูชวงที่ติดไฟได
11

5. การควบคุมควันไฟในโรงงานที่มีพื้นเพดานตอเนื่องขนาดใหญอาจมีการติดตั้ง มานดักควัน (smoke


curtain board) ดวยจุดประสงค
ก. เพื่อทําใหการกระจายตัวของควันจํากัดตัวอยูในบริเวณจํากัด
ข. เพื่อชวยทําใหพดั ลมในระบบระบายควันทํางานไดอยางมีประสิทธิภายมากขึ้น
ค. เพื่อชวยทําใหหวั กระจายน้ําดับเพลิงอัตโนมัติแตกในระยะเวลาที่เหมาะสม

6. ของเหลวไวไฟ (flammable liquid) สามารถจุดติดไฟไดงา ยกวาของเหลวติดไฟ และ ของเหลวติด


ไฟ (combustible liquid) มีจุดวาบไฟต่ํากวาของเหลวติดไฟ

7. การแบงพื้นทีข่ องโรงงานออกเปนสวน ๆ เพื่อการปองกันการลามไฟ และการแยกบริเวณทีจ่ ัดเก็บ


เชื้อเพลิงใหไกลจากแหลงความรอนเพื่อลดโอกาสในการเกิดการจุดติดไฟ เปนหลักการในการ
ออกแบบโรงงานเพื่อการปองกันอัคคีภยั

8. คุณลักษณะของการระเบิด (explosion) ที่อาจเกิดขึน้ ในโรงงานอุตสาหกรรม คือ


ก. การระเบิดมีการปลดปลอยพลังงานออกมาอยางมหาศาล
ข. การระเบิดทําใหการเคลื่อนที่ของเปลวไฟมีความเร็วในการเดินทางเร็วกวาเสียง
ค. การระเบิดสามารถเกิดไดในชวงความเขมขนของสวนผสมระหวางเชื้อเพลิวกับ
อากาศที่เหมาะสมเพียงชวงหนึ่งเทานัน้
แตการระเบิดไมตองการอากาศในการทําปฏิกิริยาเคมีของเชื้อเพลิง ไมใช คุณลักษณะของการ
ระเบิด (explosion)ที่อาจเกิดขึ้นในโรงงานอุตสาหกรรม

9. การติดตั้งระบบกระจายน้ําดับเพลิงอัตโนมัติภายในอาคารเปนการปองกันอัคคีภยั แบบเชิงรุก
(active fire protection) ภายในอาคาร

10. การปองกันการลามไฟเปนหลักการที่สําคัญขอหนึ่งของการปองกันอัคคีภัยภายในอาคาร ไฟจะลาม


จากหองตนเพลิงไปยังสวนอืน่ ของอาคารไดตามชองทางดังตอไปนี้
ก. ตามชองเปดในแนวระดับเชน ประตู หนาตางของหองตนเพลิง
ข. ตามชองเปดในแนวดิ่งซึ่งเดินผานพืน้ หองของหองตนเพลิง
ค. ตามชองระบายอากาศของอาคาร
12

11. การควบคุมความเสี่ยงภัย (hazard control) จากการเกิดอัคคีภัยในโรงงานอุตสาหกรรมสามารถทํา


ไดโดย
ก. การแยกขยะซึ่งสามารถติดไฟไดออกจากแหลงความรอนดวยผนังทนไฟ
ข. การแยกกิจกรรมที่มีความเสี่ยงตอการเกิดการจุดติดไฟสูงออกจากบริเวณทัว่ ไป ของ
อาคาร
ค. การแบงแยกพืน้ ที่ขนาดใหญของโรงงานออกเปนพืน้ ที่ขนาดเล็กถึงแมวาพืน้ ที่
เหลานั้นมีความเสี่ยงตอการเกิดอัคคีภยั ต่ํา

12. การปองกันอัคคีภัยแบบเชิงรับ (passive fire protection) ภายในโรงงาน ไดแก


ก. การจัดแบงพื้นที่ของโรงงานออกเปนสวน ๆ ตามความเสี่ยงของการเกิดอัคคีภยั
ข. การสรางผนังทนไฟลอมรอบบริเวณหองที่จัดเกิดเชื้อเพลิง
ค. การติดตั้งระบบหัวกระจายน้ําดับเพลิงอัตโนมัติในโรงงาน

13. การตรวจสอบระบบหัวจายน้ําดับเพลิงของอาคารสูงหรือโรงงานอุตสาหกรรมตอง ตรวจสอบการ


ติดตั้งกับแบบที่มีและเอกสารการบํารุงรักษา

14. การตรวจสอบโรงงานที่มีการใชเครื่องจักรในการผลิต และมีของเหลวที่ติดไฟไดงายตองมีระบบ


ปองกันในการทํางานบริเวณนั้น และระบบที่ใชดับไฟได

15. ระบบดับเพลิงที่สําคัญที่สุด สําหรับคลังสินคา ประเภท ผา ไม กระดาษ คือ ระบบหัวจายน้ํา


ดับเพลิง หรือ ระบบสปริงเกอรน้ํา

16. ในโรงงานที่มกี ารใชแรงงานจํานวนมาก ระบบแจงเหตุเพลิงไหมเปนระบบปองกันอัคคีภัยที่สําคัญ


ที่สุด

17. โรงงานที่มีโอกาสเกิดการระเบิดของวัตถุทอี่ ยูในพืน้ ที่ ควรมีระบบแบงแยกพื้นที่ออกเปนสวน ๆ สวนที่


ระเบิด และสวนที่ไมระเบิด

18. การตรวจสอบอาคารสูง ซึ่งไดรับการยกเวนไมตองปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535)


ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 การเสนอแนะใหแกไขปรับปรุงระบบ
ความปลอดภัยเกีย่ วกับอัคคีภัยในอาคารนัน้ ผูตรวจสอบสามารถเสนอแนะโดยอางอิงกฎกระทรวง
ฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2540)ฯ
13

19. การตรวจสอบอาคารเพื่อการอพยพผูใชอาคารอยางนอยตองตรวจสอบความสองสวางบนเสนทาง
หนีไฟ และตรวจสอบบันไดหนีไฟ

20. การตรวจสอบระบบแจงเหตุเพลิงไหมของอาคารอยางนอยตองครอบคลุมชนิดอุปกรณตรวจจับ
เพลิงไหมที่ติดตั้งในแตละหอง/ พื้นที่

21. การตรวจสอบระบบดับเพลิงของ อาคารอยางนอยตองครอบคลุม ชนิดอุปกรณดับเพลิงที่ติดตั้ง


ในแตละหอง/ พื้นที่ และตรวจสอบการแสดงผลของระบบดับเพลิง

22. การซอมอพยพหนีไฟของอาคารตองดําเนินการอยางนอย 12 เดือนตอครั้ง

23. ระบบแจงเหตุเพลิงไหมของอาคารตองทดสอบอยางนอย 3 เดือนตอครั้ง

24. ในกรณีการตรวจสอบอาคารสาธารณะที่เปนอาคารสูง หากตรวจสอบพบสิ่งตอไปนี้ จะถือวาไม


ถูกตองและผิดกฎหมายทัง้ หมด
ก. มีบันได 1 ทางลงสูระดับพื้นดินได
ข. มีถังดับเพลิงแบบมือถือไมครอบคลุมที่กําหนด
ค. อาคารไมมีระบบแจงเหตุเพลิงไหม
ง. ไมมีแผนผังแสดงการหนีไฟ และอุปกรณฉุกเฉินที่บริเวณโถงหนาลิฟตทุกชั้น

25. ในการตรวจสอบอาคาร หากตรวจสอบพบสิ่งตางๆ ดังนี้


ก. วัดระยะทางตามแนวทางเดินระยะหางของอุปกรณแจงเหตุเพลิงไหมดวยมือวัดได 65 เมตร
ข. วัดระยะทางตามแนวทางเดินระยะหางของบันไดหนีไฟได 61 เมตร
ค. วัดระยะทางตามแนวทางเดินระยะหางของตูสายฉีดน้ําดับเพลิงได 65 เมตร
ง. วัดคาแรงดันน้ําดับเพลิงชั้นสูงสุดได 0.40 Mpa
จ. ตรวจพบวาชองบันไดไมตอเนื่องจนถึงระดับชั้นพืน้ ดิน
กรณีที่ตรวจพบวาชองบันไดไมตอเนื่องจนถึงระดับชั้นพื้นดินไมถูกตองและผิดกฎหมาย

26. กรณีอาคารสูงนั้นยื่นขออนุญาตปลูกสรางตั้งแตป พ.ศ. 2541 ตองมีลักษณะที่ถูกตอง ดังนี้


ก. มี ก ารเก็ บ แบบแปลนของอาคารทุ ก ชั้ น ไว ที่ ชั้ น ล า งหรื อ ที่ ศู น ย สั่ ง การดั บ เพลิ ง ตาม
มาตรฐาน ว.ส.ท.
14

ข. หองโถงลิฟตสวนกลางทุกชั้นมีแปลนแผงผังแสดงเสนทางหนีไฟ และตําแหนงอุปกรณ
ฉุกเฉิน
ค. บันไดทุกบันไดถูกปดลอมดวยผนังทนไฟ
ง. มีระบบปองกันฟาผา
จ. ทางหนีไฟทางอากาศ มีขนาดความกวางดานละ 10 เมตร

27. การตรวจสอบอาคารที่สรางกอนกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ออกตามความใน


พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ตองใชกฎกระทรวง ฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2540)ฯ เปนหลักใน
การตรวจสอบ

28. ขอตอไปนี้เปนมาตรการปองกันชีวิตสําหรับอันตรายจากเพลิงไหม
ก. เสนทางหนีไฟที่ดี
ข. ระบบแจงเพลิงไหม
ค. การปดลอมหรืออุดชองเปดพื้น
ง. บันไดหนีไฟ
แตถังดับเพลิงแบบมือถือ ไมจัดเปนมาตรการปองกันชีวิตสําหรับอันตรายจากเพลิงไหม

29. หองสัมมนาชัน้ 4 ที่มีคนจํานวน 1100 คน จะตองมีทางออกจากหองและบันไดหนีไฟนําไปสูจุด


ปลอดภัยหรือที่สาธารณะจํานวน 4 ทาง ตาม Life Safety Code

30. ขอตอไปนี้ผิดกฎและมาตรฐานความปลอดภัย
ก. ตองใชหนากากปองกันควันพิษและไอรอนสําหรับหนีไฟในสถานีรถไฟฟาใตดิน
ข. บันไดหนีไฟในอาคารสูงไมอนุญาตใหเขาออกไดระหวางชั้น เมื่อเขาไปแลวตองออกที่
ชั้นลางเทานั้น
ค. ติดตั้งอุปกรณตรวจจับความรอนในหองนอน

31. หากเพลิงลุกไหมชั้นระดับพืน้ ดินอาจถือวาอันตรายมากตอชีวิต เพราะเปนการกั้นทางปลอยออก

32. ระยะทางสัญจรเปนระยะที่วดั จากจุดไกลสุดภายในหองไปถึงตําแหนงที่มีความปลอดภัยที่เปนทาง


หนีไฟ ตาม Life Safety Code
15

33. ใน Life Safety Code เสนทางหนีไฟในสํานักงานที่อาจมีคนหนีไฟจํานวน 280 คน ผานทางไปสู


ทางหนีไฟ ประตู และบันได ซึ่งตองกวางอยางนอย ดังนี้
ทางไปสูทางหนีไฟ กวางอยางนอย 140 ซม
ประตูกวางอยางนอย 2x90 ซม
และบันไดกวางอยางนอย 2x112 ซม.

34. หากตองตรวจสอบความปลอดภัยดานอัคคีภัยของอาคารโรงแรมโดยมีเวลาเพียง 10 นาที ควรจะไป


ตรวจสอบเสนทางหนีไฟและบันไดหนีไฟกอนเปนลําดับแรก

35. ใน Life Safety Code เสนทางหนีไฟ ประกอบดวย


ก. ทางไปสูทางหนีไฟ
ข. ทางหนีไฟ
ค. ทางปลอยออก

36. ใน Life Safety Code ทางหนีไฟ (Exit) ที่เปนทางตอเชื่อมกัน 4 ชั้น ตองกอสรางใหทนไฟ 2 ชั่วโมง

37. การจัดวางทางหนีไฟ ทางทั้งสองตองหางกันอยางนอยครึ่งของเสนทแยงมุมสูงสุด เพื่ออะไร ตามที่


Life Safety Code กําหนด เพื่อจะไดปองกันไฟไหมที่ปด ทางหนีไฟทัง้ สองในเวลาเดียวกัน

38. การปรับปรุงอาคารเกาใหปลอดภัยอันตรายที่อาจเกิดจากอัคคีภัยควรปรับปรุงแกไขถาประตูไม
สามารถเปดจากบันไดสูอาคารในแตละชัน้ และสั่งแกไขถามีสิ่งกีดขวางในชองบันไดทําใหหนีไฟ
ชาลง

39. ระบบ Sprinkler เมื่อติดตั้งใชงานไปแลว 50 ปจึงจะตองทําการสุมทดสอบ

40. จํานวน Sprinkler ที่จะตองสุมทดสอบในแตละระบบจะตองมีจํานวนไมนอยกวาหนึ่งเปอรเซ็นต

41. Sprinkler ที่มีกระเปาะสีฟา มีพิกัดอุณหภูมิชว ง 250 - 300 ํF

42. เครื่องมือที่ใชวัดอัตราไหลของน้ํา คือ Pitot tube


16

43. ในการทดสอบ Hydrostatic คาความดันทดสอบควรจะอานจากเกจตัวที่ติดตั้งอยูระดับต่ําสุดของ


ระบบ หรือสวนของระบบทีต่ องการทดสอบ

44. ทอยืนประเภทที่ 1 (class I) จะตองติดตัง้ ขอตอสายฉีดน้ําขนาด 2½ นิ้ว

45. อาคารชั้น 1 จุคนได 600 คน จะตองมีทางหนีไฟ ไมนอยกวา 3 ทาง

46. ระยะทางสัญจรไกลสุด ที่อนุญาตใหสําหรับอาคารเพื่อการศึกษาที่ติดตัง้ หัวกระจายน้าํ ดับเพลิง ได


ไกลที่สุดไมเกิน60 เมตร

47. ชั้นแทรกซึ่งใชประโยชน หากมีพื้นที่มากกวา 200 ตร.ม. จะตองจัดใหมีบันไดหนีไฟ อยางนอย 2


บันได

48. ความสวางที่พนื้ ของสวนประกอบทางหนีไฟทุกแหงไมควรนอยกวา 10 ลักซ

49. ชองผาน หรือระเบียงทางหนีไฟภายนอก จะตองมีความกวางไมนอยกวา 90 เซนติเมตร

50. ทางหนีไฟจากสวนปดลอมปลอดควัน ผนัง พื้น และเพดาน จะตองกอสรางใหทนไฟได 2 ชั่วโมง

51. อุปกรณตรวจจับ (Detector) ชนิด Smoke detector เหมาะสําหรับการปองกันอาคารที่อยูอาศัย

52. อุปกรณตรวจจับ (Detector) ควรไดรับการตรวจสอบปละ 2 ครั้ง

53. บริเวณหนาตางหองประชุมไมควรติดอุปกรณแจงเหตุดวยบุคคล (Manual Station)

54. ควรติดตั้งอุปกรณตรวจจับที่เพดานบริเวณใกลประตูของหองนอน
17

55. ระหวางระบบแจงเหตุเพลิงไหม Class A กับ Class B มีขอแตกตางกัน ดังนี้


ก. Class A แพงกวา Class B
ข. Class Aใชสายมากกวา Class B
ค. Class A ถามีสายบางสวนขาดระบบยังคงตรวจจับเพลิงไหมได
ง. Class B ถามีสายบางสวนขาด บางสวนของระบบอาจตรวจจับเพลิงไหมได

You might also like