Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 25

1

บทที่ 5
การวางผังโรงงาน (Plant layout)
การวางผังโรงงานเป็ นการวางแผนเกี่ยวกับการกาหนดตาแหน่งสาหรับจัดวางเครื่ องจักร
อุ ป กรณ์ ก ารผลิ ต วัต ถุ ดิ บ พนั ก งาน เส้ น ทางเดิ น ภายในโรงงาน สิ่ ง อ านวยความสะดวก ฯลฯ
ซึ่ ง การตัด สิ น ใจในการวางผัง โรงงานจะส่ ง ผลต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลในการผลิ ต
การวางผังโรงงานเป็ นอีกกิจกรรมหนึ่ งที่ถือได้ว่าเป็ นหน้าที่ที่สาคัญของผูบ้ ริ หารการผลิต โรงงาน
ที่ มี การวางผังที่ ดีก็ จ ะสร้ างความได้เปรี ย บในด้านของต้น ทุ น การผลิต ที่ ต่ าลง ผลผลิต ที่ สู ง ขึ้ น
ประสิ ทธิ ภ าพในการใช้ ง านเครื่ องจั ก ร พนั ก งาน ตลอดจนสามารถสร้ า งขวัญ ก าลั ง ใจ
และความพึงพอใจให้กบั พนักงาน ในทางตรงกันข้ามหากโรงงานใดที่ขาดการวางผังโรงงานที่ดี
ก็ จ ะท าให้ สู ญ เสี ย ความได้ เปรี ย บในการแข่ ง ขั น ได้ ดั ง นั้ นจึ ง เห็ น ได้ ว่ า การวางผัง โรงงาน
เป็ นกิจกรรมที่เป็ นพื้นฐานที่สาคัญของโรงงานอุตสาหกรรมที่จะทาให้กิจการประสบความสาเร็ จ
หรื อล้มเหลวได้

5.1 ประเภทของการวางผังโรงงาน (Layout Types) แบ่ งได้เป็ น 4 ประเภท คือ


1. การวางผังโรงงานตามชนิดของผลิตภัณฑ์ (Product layout)
เป็ นการวางผังโรงงานที่มีการจัดวางตาแหน่งของเครื่ องจักรตามลาดับขั้นตอนของการผลิต
ผลิตภัณฑ์แต่ละชนิ ด ซึ่ งบางครั้งจะเรี ยกว่าเป็ นการวางผังโรงงานแบบลาดับขั้นตอน (Sequential
layout) การวางผังโรงงานตามชนิ ด ของผลิ ต ภัณ ฑ์ น้ ี ค วรใช้กับ โรงงานที่ มี การผลิ ตใน
ปริ มาณมากแต่น้อยชนิ ดและผลิตภัณฑ์มีมาตรฐานที่แน่นอน โรงงานที่มี การวางผังตามชนิ ด
ของผลิตภัณฑ์ อาทิเช่น โรงงานประกอบวิทยุ โทรทัศน์ รถยนต์ อาหารกระป๋ อง ปูนซี เมนต์ บริ การ
ล้างรถยนต์ดว้ ยเครื่ องจักร เป็ นต้น
เครื่องจักร เครื่องจักร เครื่องจักร
วัตถุดิบ -------> -------> -------> -------> ผลิตภัณฑ์ ก.
1 2 3

เครื่องจักร เครื่องจักร เครื่องจักร


วัตถุดิบ -------> -------> -------> -------> ผลิตภัณฑ์ ข.
1 2 3

เครื่องจักร เครื่องจักร เครื่องจักร


วัตถุดิบ -------> -------> -------> -------> ผลิตภัณฑ์ ค.
1 2 3

รูปที่ 5.1 การวางผังตามชนิดของผลิตภัณฑ์


2

การวางผังโรงงานตามชนิ ดของผลิตภัณฑ์จะมีลกั ษณะเป็ นแบบสายการผลิต (Production


line) หรื ออาจเรี ยกว่าสายการประกอบ (assembly line) มีขอ้ ดีดงั นี้
1. การวางแผนและควบคุมการผลิตทาได้ง่าย เนื่องจากมีข้นั ตอนการผลิตที่แน่นอน
2. มีอตั ราผลผลิตสูงและมีตน้ ทุนต่า กรณีผลิตจานวนมาก
3. การใช้งานเครื่ องจักรคุม้ ค่า
4. ลดเวลาจากการปรับตั้งเครื่ องจักร
5. ปริ มาณการผลิตสูง
สาหรับข้อเสี ยของการวางผังโรงงานตามชนิดของผลิตภัณฑ์ มีดงั นี้
1. ใช้เงินลงทุนในเครื่ องจักรสูง
2. กรณีเครื่ องจักรเสี ยจะทาให้กระบวนการผลิตหยุดชะงักได้
3. ต้นทุนการผลิตสูงในกรณีปริ มาณการผลิตต่า
4. ขาดความยืดหยุน่ ในการเปลี่ยนแปลงรู ปแบบของผลิตภัณฑ์

2. การวางผังโรงงานตามกระบวนการผลิต (Process layout)


บางครั้งอาจเรี ยกว่าการวางผังโรงงานแบบตามกลุ่มหน้าที่ (functional layout) การวางผัง
โรงงานประเภทนี้ จะจัด เครื่ อ งจัก รและอุ ป กรณ์ ก ารผลิ ต ที่ มี ลัก ษณะการท างานเหมื อ นกั น
ให้อยูใ่ นกลุ่มเดียวกันหรื อแผนกงานเดียวกัน เหมาะสาหรับงานผลิตที่มีปริ มาณการผลิตไม่มากนัก
แต่มีหลายชนิ ด ปริ มาณการผลิตไม่แน่นอน และเครื่ องจักรมักจะเป็ นเครื่ องจักรที่ใช้งานได้ทวั่ ไป
ซึ่งการวางผังโรงงานตามกระบวนการผลิตนี้มีขอ้ ดี ดังนี้
1. มีความยืดหยุน่ สูง
2. ลงทุนในเครื่ องจักรต่า
3. กรณีเครื่ องจักรเครื่ องใดเครื่ องหนึ่งเสี ย สามารถใช้เครื่ องจักรอื่นในกลุ่มทดแทนได้
4. กรณีตอ้ งการขยายการผลิตสามารถกระทาได้ง่ายกว่า
สาหรับข้อเสี ยของการวางผังโรงงานตามกระบวนการผลิตมีดงั นี้
1. การวางแผนและควบคุมการผลิตมีความซับซ้อนและยุง่ ยาก
2. ประสิ ทธิภาพจากการใช้เครื่ องจักรมีต่า เนื่องเพราะมีการเปลี่ยนแปลงการผลิตบ่อยครั้ง
3. ปริ มาณการผลิตต่า
4. มีสินค้าคงคลังประเภทงานระหว่างทาสูง
5. การลาเลียงขนส่งงานมีบ่อยครั้งและมักจะไม่สามารถใช้การลาเลียงด้วยกลไกได้
3

แผนกประกอบ
แผนกตัด แผนกกลึง

แผนกสี บริเวณรับ-ส่ ง
แผนกเชื่ อม แผนกขัด แผนกตรวจสอบ ชิ้นงาน

รูปที่ 5.3 การวางผังโรงงานตามกระบวนการผลิต


การวางผัง โรงงานตามกระบวนการผลิ ต มั ก จะต้อ งมี ก ารล าเลี ย งชิ้ น งานบ่ อ ยครั้ ง
และเนื่ องจากขั้นตอนในการผลิตไม่แน่นอน ทาให้มกั จะไม่สามารถล าเลียงโดยใช้เครื่ อ งลาเลียง
อัตโนมัติได้ แต่อย่างไรก็ตาม ก็มีอุปกรณ์ช่วยในการลาเลียงดังแสดงในรู ปที่ 5.4 (ก) และ 5.4 (ข)

รูปที่ 5.4 (ก) อุปกรณ์ขนย้ายประเภทรถขนย้ายภายในโรงงาน

รูปที่ 5.4 (ข) อุปกรณ์การขนย้ายประเภทสายพานหรื อรางเลื่อน


4

3. การวางผังโรงงานตามตาแหน่ งงาน (fixed – position layout)


เป็ นการวางผังที่ใช้กบั การผลิตสิ นค้าที่มีขนาดใหญ่ ไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้
หรื อเคลื่อนย้ายได้ยาก เช่น การประกอบเครื่ องบิน การสร้างอาคาร การต่อเรื อเดินสมุทร
การต่อรถบรรทุกขนาดใหญ่ เป็ นต้น จึงต้องมีการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตต่างๆเข้าไปยังตาแหน่ง
ในการผลิตของสิ นค้า สาหรับการวางผังตามตาแหน่งมีขอ้ ดี ดังนี้
1. ค่าใช้จ่ายในการวางผังต่า
2. การวางแผนและควบคุมการผลิตทาได้ง่าย
3. มีความยืดหยุน่ ต่อการเปลี่ยนแปลงแบบของสิ นค้า
4. ลดการเคลื่อนย้ายลาเลียงชิ้นส่วนขนาดใหญ่
สาหรับข้อเสี ยของการวางผังตามตาแหน่งงานมีดงั นี้
1. มีอตั ราการผลิตต่าที่สุดเมื่อเปรี ยบเทียบกับการวางผังชนิดอื่นๆ
2. โดยทัว่ ไปไม่สามารถวางผังเพื่อใช้เครื่ องจักรหรื อเครื่ องมือขนาดใหญ่ได้
3. ผลิตครั้งละจานวนมากๆไม่ได้
5

4. การวางผังโรงงานแบบผสม (Hybrid layout)


การวางผังโรงงานแบบผสมเป็ นการวางผังที่ผสมผสานระหว่างการวางผังตามชนิด
ของผลิตภัณฑ์กบั การวางผังตามกระบวนการผลิต ทั้งนี้เพื่อให้การวางผังโรงงานมีความยืดหยุน่
สามารถยกตัวอย่างการวางผังโรงงานแบบผสมได้ 2 ชนิดคือ
1) การวางผังแบบ 1 คนต่ อเครื่ องจักรหลายเครื่ อง (One Worker, Multiple Machines :
OWMM) การวางผัง แบบ OWMM จะให้ พ นั ก งาน 1 คน ท างานกั บ เครื่ อ งจัก รหลายเครื่ อ ง
ที่ แ ตกต่ างกัน โดยจะจัด วางเครื่ อ งจัก รเรี ย งตามล าดับ การผลิ ต แสดงการวางผัง แบบ OWMM
ซึ่งมีลกั ษณะเป็ นแบบ U Shape แสดงในรู ปที่ 5.5

รูปที่ 5.5 แสดงการวางผังโรงงานแบบ 1 คนต่อเครื่ องจักรหลายเครื่ อง

2) การวางผั ง แบบกลุ่ ม (Group Technology : GT) เป็ นการจัด กลุ่ ม ของชิ้ น ส่ ว นหรื อ
สิ นค้าออกเป็ นกลุ่ม ซึ่งชิ้นส่วนหรื อสิ นค้าที่จดั อยู่ในกลุ่มเดียวกันจะมีลาดับขั้นการผลิตที่เหมือนกัน
และใช้เครื่ องจักร เครื่ องมือที่เหมือ นกัน การจัดกลุ่มของชิ้ นส่ วนหรื อ สิ นค้านั้น อาจจาแนกจาก
ขนาด รู ป ร่ างหรื อ คุณ ลักษณะอื่น ๆ ทั้งนี้ การจัดกลุ่มเพื่ อ ลดเวลาในการผลิตลง ลดเวลาในการ
6

เคลื่ อนย้าย และลดเวลาว่างงานของเครื่ อ งจักร แสดงตัวอย่างการวางผังตามกระบวนการผลิ ต


เปรี ยบเทียบกับการวางผังแบบกลุ่ม หรื อ GT
7

Lathing Milling Drilling

M M D D
L L

D D
L L M M

L L M M G G

Assembly G G
L L
A A
Receiving and A G G
A
shipping
(a) Jumbled flows in a job shop without GT cells

L L M D G

Ccll 1 Ccll 2 A A
Recerving L M G G
Ccll 3

L M D Shipping

(a) Line flows in a job shop with three GT cells

รูปที่ 5.6 การวางผังโรงงานแบบกลุ่ม


(ที่มา : KRAJEWSKI and RITZMAN, 1998, 410)
Lathing = การกลึง ,Milling = การเซาะ,การกัด, Drilling = การเจาะ , Grinding = การโม่, การบด
8

5.2 ขั้นตอนการวางผังโรงงาน
การวางผัง โรงงานเป็ นการวางแผนในระยะยาว เมื่ อ ได้ตัด สิ น ใจด าเนิ น การไปแล้ ว
การเปลี่ยนแปลงผังโรงงานจะมีค่าใช้จ่ายสูง และการวางผังโรงงานที่ดีจะต้องรองรับต่อแผนงานใน
ระยะยาวของธุรกิจ ซึ่งจะส่งผลต่อประสิ ทธิภาพในการบริ หารการผลิต ดังนั้น การวางผังโรงงานจึง
ต้อ งพิ จ ารณาอย่ า งรอบคอบ ส าหรั บ ขั้ น ตอนของการวางผัง โรงงาน สามารถแบ่ ง ออกได้
เป็ น 2 ขั้นตอน คือ
1) ขั้นตอนของการรวบรวมข้ อมูลเพื่อใช้ ในการวางแผน ขั้นตอนนี้ เป็ นขั้นตอนเริ่ มแรก
ของการวางแผนโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการตัดสิ นใจวางผังโรงงาน
ข้อมูลที่ควรรวบรวมอาจประกอบด้วย
- วิธีการ กระบวนการในการผลิต
- เครื่ องจักร เครื่ องมือ อุปกรณ์การผลิตต่างๆที่ตอ้ งใช้ในโรงงาน
- จานวนของพนักงานที่ตอ้ งใช้ในกระบวนการผลิตและสนับสนุนการผลิต
- ต าแหน่ ง ของพื้ น ที่ ใช้ง านที่ ต้อ งการ ซึ่ ง อาจแบ่ ง เป็ นพื้ น ที่ ห ลัก พื้ น ที่ รอง
และพื้นที่อื่นๆ
- ปริ มาณของพัสดุคงคลัง
- เนื้อที่ที่ตอ้ งใช้สาหรับจัดเก็บวัตถุดิบและสิ นค้าสาเร็จรู ป
- พื้นที่และตาแหน่งของการตรวจสอบวัตถุดิบหรื อสิ นค้าสาเร็จรู ป
- พื้นที่และตาแหน่งของเส้นทางหลักและเส้นทางย่อย
- ตาแหน่งของอุปกรณ์พิเศษต่างๆ เช่น กล้องวงจรปิ ด ฯลฯ
2) ขั้น ตอนของการวางผังโรงงาน โดยทั่วไปตัวแบบที่ ใช้ในการวางผังโรงงานจะแบ่ ง
เป็ น 2 ประเภท ได้แ ก่ ตัว แบบทางกายภาพและตั ว แบบทางคณิ ต ศาสตร์ ซึ่ งมี ห ลายๆ บริ ษ ัท
ที่ใช้ท้งั 2 ตัวแบบประกอบกัน เพื่อประสิ ทธิภาพของการวางผังโรงงาน
- ตั ว แบบทางกายภาพ (Physical models) จะเป็ นการสร้ างแบบจ าลองขึ้ น มา
แล้ ว ก าหน ดต าแหน่ งต่ า งๆ เช่ น ต าแหน่ งของเครื่ องจั ก ร ทางเดิ น ห้ องต่ า งๆ เป็ น ต้ น
ลงในแบบจาลองโดยการย่ออัตราส่วน อาจทาเป็ นแบบ 2 มิติ หรื อ แบบ 3 มิติก็ได้
- ตั ว แบบทางคณิ ต ศาสตร์ (Mathematical models) เป็ นตัว แบบที่ ใ ช้ วิ ธี ก าร
ทางคณิ ต ศาสตร์ เข้ามาช่ วยในการวางผังโรงงาน ซึ่ งตัวแบบคณิ ตศาสตร์ ที่ ใช้จะแตกต่ างกันไป
ตามประเภทของการวางผังโรงงาน
9

5.3 ตัวแบบคณิตศาสตร์ สาหรับการวางผังโรงงาน


การวางผังโรงงานโดยการใช้ตัว แบบคณิ ต ศาสตร์ มี ห ลายประเภทด้ว ยกัน แต่ ในที่ น้ ี
จะขออธิ บายรายละเอียดของการใช้ตวั แบบคณิ ตศาสตร์สาหรับการวางผังตามชนิ ดของผลิตภัณฑ์
(layout by product) และการวางผังตามกระบวนการผลิต (layout by process)
1) ตัวแบบคณิตศาสตร์ สาหรับการวางผังตามชนิดของผลิตภัณฑ์ (Product layout)
ลัก ษณะของการวางผังตามชนิ ด ของผลิ ตภัณ ฑ์ ดังที่ ไ ด้ก ล่ าวมาแล้ว ว่า เป็ นการวางผัง
ตามขั้นตอนการผลิตของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดซึ่งมักจะมีปริ มาณการผลิตจานวนมาก แต่มีนอ้ ยชนิ ด
โดยจะมี ก ารเคลื่ อ นย้า ยชิ้ น งานไปตามล าดั บ การผลิ ต ซึ่ งอาจเรี ยกว่ า เป็ นสถานี การผลิ ต
(Work Station) ข้อมูลที่จาเป็ นขั้นพื้นฐานสาหรับการวางผังชนิดนี้ เช่น
- ส่วนประกอบของงาน
- โครงสร้างความสัมพันธ์ของงานแต่ละงาน
- เวลาของแต่ละงาน
- ปริ มาณสิ นค้าที่ตอ้ งการ
การใช้ตวั แบบคณิ ตศาสตร์ ในการวางผังตามชนิ ดของผลิตภัณฑ์เพื่อ ให้เกิ ดประสิ ทธิ ภาพ
ในการผลิตเรี ยกว่า “การจัดสายการผลิตให้สมดุล (Line Balancing)” มีข้นั ตอน ดังนี้
1. วิเคราะห์และกาหนดงานที่จะต้องทา
2. วิเคราะห์และกาหนดความสัมพันธ์ของงาน
3. คานวณหารอบเวลาการผลิต (Cycle Time : CT)
T
ให้ CT = D
…(5.1)
เมื่อ T = เวลาที่ใช้ในการผลิตทั้งหมดต่อวัน
D = ปริ มาณสิ นค้าที่ตอ้ งการต่อวัน

4. คานวณหาจานวนสถานีการผลิตขั้นต่า
t.D
จะได้ S = T
เมื่อ S = จานวนสถานีการผลิตขั้นต่า
t = เวลารวมที่ใช้ในการผลิตต่อหน่วย
D = ปริ มาณสิ นค้าที่ตอ้ งการต่อวัน
T = เวลาที่ใช้ในการผลิตทั้งหมดต่อวัน
10

5. กาหนดงานที่ต้องทาให้กบั สถานี การผลิตตามกฎการจัดสรรงาน ซึ่ งในที่น้ ี จะใช้กฎ


เวลาในการทางานที่นานที่สุด (longest operation time)
6. คานวณหาประสิ ทธิภาพการผลิต
7. ปรั บ ปรุ ง สายการผลิ ต โดยการทดลองประยุ ก ต์ ใ ช้ วิ ธี อื่ น ๆ ช่ ว ยในการจัด สาย
การผลิตใหม่ แล้วทาการวัดประสิ ทธิภาพใหม่และทาซ้ า
8.

ตัวอย่างที่ 5.1 รายละเอียดของงานชนิดหนึ่งที่ตอ้ งการจัดสายการผลิตให้สมดุล

งาน เวลาทีใ่ ช้ (นาที) งานที่ต้องทาก่อน


A 2 -
B 5 A
C 3 A
D 4 A
E 5 A
F 8 B, C
G 8 D, E
H 7 F, G
รวม 42

ตารางที่ 5.1 ข้อมูลของงานที่ต้องการจัดสายการผลิตให้ สมดุล

บริ ษทั แห่ งนี้ ท างานวันละ 8 ชั่วโมง ปริ ม าณสิ นค้าที่ ต้อ งการคือ 48 หน่ วย/วัน สามารถ
วางผังโรงงานโดยการจัดสายการผลิตให้สมดุล แสดงตามขั้นตอนได้ดงั นี้

ขั้นที่ 1 มีงานที่ตอ้ งทาทั้งหมดคืองาน A – H

ขั้นที่ 2 จากข้อมูลในตารางที่ 5.1 เขียนเป็ นโครงสร้างความสัมพันธ์ได้ดงั นี้


11

F
C
A H
D
G

รูปที่ 5.7 แสดงโครงสร้ างความสัมพันธ์ ของงานต่างๆ


ขั้นที่ 3 คานวณหารอบเวลาการผลิตได้จาก
T
CT = D
480
= 48

= 10 นาที

ขั้นที่ 4 คานวณหาจานวนสถานีการผลิตขั้นต่า
t.D
S = T
(42)(48)
= 480

= 4.2 หรื อ 5 สถานีการผลิต

ขั้นที่ 5 กาหนดงานให้กับสถานี การผลิตโดยใช้หลักเวลาในการทางานที่นานที่สุดและมีรอบการ


ผลิตของแต่ละสถานีการผลิตเท่ากับ 10 นาที
12

ลาดับ สถานีการผลิต งานที่จัดได้ งานที่เลือก เวลาทีใ่ ช้ เวลาว่าง


1 1 A A 2 8
2 1 B, C, D, E B 5 3
3 1 C C 3 -
4 2 D, E, F F 8 2
5 3 D, E E 5 5
6 3 D D 4 1
7 4 G G 8 2
8 5 H H 7 3

ขั้นที่ 6 คานวณหาประสิ ทธิภาพ

    

A B C F E D G H
2 5 3 8 5 4 8 7 รวม
เวลาที่ใช้ในแต่ละสถานี 10 8 9 8 7 42

เวลาที่มีของแต่ละสถานี 10 10 10 10 10 50

เวลาว่าง - 2 1 2 3 8
42
 ประสิ ทธิภาพ =  100 = 84%
50

ขั้น ที่ 7 ปรับ ปรุ งสายการผลิต โดยการทดลองหรื อ ประยุก ต์ใช้วิธีก ารต่างๆ เช่ น การลดจานวน
พนักงานลงหากเห็ น ว่าสามารถลดได้ หรื อ อาจรวมงานที่ ส ามารถท าได้โดยพนักงานคนเดี ย ว
ซึ่งก็จะช่วยให้เพิ่มประสิ ทธิภาพการผลิตได้
13

2) ตัวแบบคณิตศาสตร์ สาหรับการวางผังตามกระบวนการผลิต (Process layout)


การวางผังตามกระบวนการผลิตจะใช้สาหรับการผลิตสิ นค้าหลายชนิ ดและมีปริ มาณน้อย
กระบวนการผลิตหรื อวิธีการผลิตมักจะมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย และจะมีการเคลื่อนย้ายของชิ้นงาน
สู ง ดังนั้น การวางผังตามกระบวนการผลิต ที่ ดีจึงต้อ งพยายามให้ มี ค่าใช้จ่ายในการเคลื่อ นย้าย
ผลิ ต ภัณ ฑ์ มี ร ะยะทางรวมที่ ส้ ั นที่ สุ ด และมี ต้น ทุ น การเคลื่ อ นย้ายที่ ต่ า ที่ สุ ด การวางผัง ตาม
กระบวนการผลิตโดยใช้ตวั แบบคณิตศาสตร์ มีข้นั ตอนดังนี้
1. กาหนดตาแหน่งของเครื่ องจักรหรื อแผนกงานในเบื้องต้นลงในผังของโรงงาน
2. ประมาณการข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ จ านวนครั้ งในการเคลื่ อ นย้า ยระหว่ า งเครื่ องจัก ร
หรื อแผนกงานต่างๆ
3. ประมาณการต้นทุนในการเคลื่อนย้ายระหว่างเครื่ องจักรหรื อแผนกงานต่างๆ
4. คานวณค่าใช้จ่ายในการเคลื่อนย้ายของเครื่ องจักรหรื อแผนกงานต่างๆ
5. เรี ยงลาดับค่าใช้จ่ายในการเคลื่อนย้ายที่สูงที่สุดไปหาที่ต่าที่สุด
6. จัด วางผังโรงงานโดยพิ จ ารณาให้ เครื่ อ งจัก รหรื อ แผนกงานที่ มี ค่ า ใช้ จ่ ายสู ง ที่ สุ ด
จัดให้อยูใ่ กล้กนั มากที่สุด และลดหลัน่ กันลงไปโดยพิจารณาจากค่าใช้จ่าย

ตัวอย่ างที่ 5.2 ข้อมูล ของโรงงานแห่ งหนึ่ งซึ่ งมีแผนกงานทั้งหมด 6 แผนก ต้องการวางผังโรงงาน
โดยมีข้อมูลเกี่ ยวกับจานวนครั้งในการเคลื่อนย้าย ค่าใช้จ่ายในการเคลื่อ นย้ายและผังโรงงาน ดัง
แสดงในตารางที่ 5.2, 5.3 (ก) และ (5.3) ข

ผังโรงงานแบบเดิม

A B C
F E D

ตารางที่ 5.2 แสดงการวางผังโรงงานแบบเดิม


14

ไป แผนกงาน
จาก A B C D E F
A - 217 418 61 42 180
B 216 - 52 190 61 10
C 400 114 - 95 16 20
D 16 421 62 - 41 68
E 126 71 100 315 - 50
F 42 95 83 114 390 -

ตารางที่ 5.3 (ก) แสดงจานวนครั้งในการเคลื่อนย้ายระหว่างแผนกงาน


(ที่มา : Dilworth, 1993 : 581)

ไป แผนกงาน
จาก A B C D E F
A - 0.15 0.15 0.16 0.15 0.16
B 0.18 - 0.16 0.15 0.15 0.15
C 0.15 0.15 - 0.15 0.15 0.16
D 0.18 0.15 0.15 - 0.15 0.16
E 0.15 0.17 0.16 0.20 - 0.15
F 0.15 0.15 0.16 0.15 0.15 -

ตารางที่ 5.3 (ข) แสดงค่าใช้ จ่ายเฉลี่ยในการเคลือ่ นย้ายระหว่างแผนกงาน

ขั้นที่ 1 กาหนดตาแหน่งของแผนกงานต่างๆ ในเบื้องต้นลงในผังโรงงาน ตามตารางที่ 5.2


ขั้นที่ 2 - 3 ข้อมูลตามตารางที่ 5.3 (ก) และ (ข)
ขั้นที่ 4- 5 นาค่าใช้จ่ายในการเคลื่อนย้ายของแผนกต่างๆ จากตาราง 5.3 (ข) ไปคูณกับ
จานวนครั้งในการเคลื่อนย้ายจากตาราง 5.3 (ก) จะได้ค่าใช้จ่ายในการเคลื่อนย้าย
ของแต่ละแผนกดังตารางที่ 5.4 และเรี ยงลาดับค่าใช้จ่ายจากสูงไปหาต่า
15

ไป แผนกงาน
จาก A B C D E F
A - 71.5 (3) 122.7 (1) 12.7 25.2 35.1
B - 25.4 91.7 (2) 21.3 15.8
C - 23.6 18.4 16.5
D - 69.2 (4) 28.0
E - 66.0 (5)
F -

ตารางที่ 5.4 แสดงการวางผังโรงงานตามกระบวนการโดยพิจารณาค่าใช้ จ่ายในการเคลื่อนย้าย

ขั้นที่ 6 จัดวางผังโรงงานโดยพิจารณาค่าใช้จ่ายที่สูงที่สุด จัดวางให้ใกล้กนั มากที่สุดและลดหลัน่


กันลงไป โดยพิจารณาจากค่าใช้จ่าย แสดงดังตารางที่ 5.5

(1)
A C F
(5)
(3) (2) (4)
B D E

ตารางที่ 5.5 แสดงการวางผังโรงงานตามกระบวนการโดยพิจารณาค่าใช้ จ่ายในการเคลื่อนย้าย

จากการวางผังโรงงานโดยการใช้ตวั แบบคณิตศาสตร์น้ นั เป็ นเพียงปัจจัยส่วนหนึ่ง


ในการพิจารณาวางผังโรงงาน ซึ่งปัจจัยที่ควรพิจารณาร่ วมด้วยเพื่อให้การวางผังโรงงาน
มีประสิ ทธิภาพสูงสุด คือ
- การไหลของงานควรเป็ นไปอย่างต่อเนื่องและไปในทิศทางเดียวกัน
- การพิจารณาจุดคุม้ ทุนของการวางผังโรงงาน
- ความสัมพันธ์ระหว่างแผนกงานหรื อเครื่ องจักรต่างๆ
- การใช้ประโยชน์จากเนื้อที่ท้งั หมดของโรงงาน
16

- ความพึงพอใจและความสะดวกในการปฏิบตั ิงาน
- ความปลอดภัย
การวางผังโรงงานนอกจากอาศัยเครื่ อ งมือ ต่างๆดังกล่าวแล้ว ยังต้อ งอาศัยความร่ วมมื อ
จากฝ่ ายงานต่ างๆ เพื่อ ให้ การวางผังโรงงานก่อ ให้เกิ ดประสิ ทธิ ผ ลทั้งในด้านที่ เกี่ ยวข้อ งกับงาน
และด้านที่ เกี่ ยวกับ ความพึ งพอใจของพนักงาน จึ งจะก่ อ ให้ เกิ ดประสิ ท ธิ ภาพและประสิ ท ธิ ผ ล
ในระยะยาวได้

5.4 การใช้ แผนภูมิต่างๆ เพื่อช่ วยในการวางผังโรงงาน


ในการวางผังโรงงาน สิ่ งสาคัญประการหนึ่ งคือการเคลื่อนที่ของวัสดุ (Flow of Materials)
หรื อ การเคลื่ อ นที่ข องชิ้ น งาน ซึ่ งควรมีก ารเคลื่อ นที่ ไ ปในทิ ศทางเดี ยวกัน และมี ระยะทางที่ ส้ ั น
จึ งมี ก ารน าแผนภู มิ ต่ างๆเข้ามาช่ ว ยในการวางแผนผัง โรงงาน ซึ่ งสามารถจะจ าแนกแผนภู มิ
ให้สอดคล้องกับลักษณะการผลิตได้ดงั นี้
1. แผนภูมิกระบวนการผลิต (operation process chart) หรื อแผนภูมิการไหล (Flow Process
Chart) หรื อแผนภาพการเคลื่อนที่ (Flow Diagram) ซึ่งใช้ในกรณีผลิตสิ นค้าเพียงชนิดเดียว
2. แผนภูมิกระบวนการผลิตสิ นค้าหลายชนิ ด (Multi – product Process Chart) ใช้ในกรณี
มีการผลิตสิ นค้าหลายชนิด
3. แผนภูมิจาก – ไป (From – To - Chart) ใช้ในกรณี มีการผลิตสิ นค้าจานวนหลายๆชนิด
การใช้ แ ผนภู มิ ต่ า งๆดัง กล่ า วข้า งต้น เพื่ อ ช่ ว ยให้ ส ามารถมองเห็ น การไหลหรื อ การ
เคลื่อนย้ายของวัสดุหรื อชิ้นงาน โดยมีสัญลักษณ์ที่เป็ นมาตรฐานสากลดังแสดงในรู ปที่ 5.8

สัญลักษณ์ ความหมาย
O การปฏิบตั ิงาน (operation)

 การเคลื่อนย้าย (transport)

D การพักชัว่ คราว, การรอ (Delay)

 การตรวจสอบ (Inspection)

 การเก็บพักถาวร (storage)

รูปที่ 5.8 แสดงสัญลักษณ์ของแผนภูมิกระบวนการผลิตหรื อแผนภูมิการไหล


17

5.4.1 แผนภาพการเคลื่อนที่ (Flow Diagram) เป็ นแผนภาพที่ ย่อ ผังของโรงงาน แล้ว


แสดงการไหลหรื อการเคลื่อนที่ของวัสดุหรื อชิ้นงานตั้งแต่จุดเริ่ มต้นไปจนสิ้ นสุ ด
แสดงในภาพที่ 5.9 (ก) ซึ่งเป็ นแผนภาพการทางานแบบเดิมและรู ปที่ 5.9 (ข) เป็ น
แผนภาพที่มีการปรับปรุ งแล้ว

พื้นลาดเอียง ผนัง
โต๊ะทางาน

1 1 2

ผนัง จุดรับของ

2
จุดติด
ป้ายฉลาก

3 3 1 2

จุดตรวจสอบ

รูปที่ 5.9 (ก) แผนภาพการเคลื่อนที่ของงานจัดเก็บสินค้าชนิดหนึ่ง (วิธกี ารเดิม)


18

รถบรรทุก

ผนัง
โต๊ะทางาน

จุดรับของและตรวจสอบ
2

2 2

จุดติดป้ายฉลาก

รูปที่ 5.9 (ข) แผนภาพการเคลือ่ นที่ของงานจัดเก็บสินค้าชนิดหนึ่ง (วิธที ี่ปรับปรุงแล้ว)


19

5.4.2 แผนภู มิก ารไหลของกระบวนการผลิต (Flow process chart) เป็ นแผนภู มิที่ แสดง
ให้ เห็ น ถึ ง ขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ง าน โดยใช้ สั ญ ลั ก ษณ์ ม าตรฐานทั้ ง 5 ตั ว แผนภู มิ ก ารไหล
ของกระบวนการผลิตมีท้ งั ที่เป็ นแบบบันทึกการปฏิบตั ิงานของคน (Man Type) และแบบบันทึก
ขั้นตอนการแปรรู ปของวัสดุ (Material Type) สาหรับตัวอย่างแสดงในรู ปที่ 5.10 และ 5.11

แผนภูมิการไหลของกระบวนการผลิต
 วิธีเดิม  ประเภทคน สรุปผล
 วิธีปรับปรุ ง  ประเภทวัสดุ กิจกรรม วิธีเดิม วิธีปรับปรุง ผลต่าง
การทางาน  - -
ชื่อเรื่ อง การจัดเก็บและติดป้ายสินค้า การตรวจสอบ □ - -
แผนก คลังสินค้า การเคลือ่ นย้าย  - -
ผูจ้ ดั ทา นายปิ ติ การรอ D - -
วันที่ 5 มิ.ย. 2547 การเก็บ  - -
ระยะทาง เวลา สัญลักษณ์
รายละเอียด เมตร (นาที)   D □  หมายเหตุ
ขนสินค้าลงจากรถบรรทุกเข้าไปในคลังสินค้า 13 3 พนักงาน 2 คน
รอเจ้าหน้าที่เซ็นต์รับของ -
เจ้าหน้าที่เซ็นต์รับของ - 5 พนักงาน 1 คน
ขนสินค้าไปยังจุดตรวจสอบ 35 8 พนักงาน 2 คน
รอเจ้าหน้าที่ตรวจสอบสินค้า - 5
เจ้าหน้าที่ตรวจสอบสินค้า - 5 พนักงาน 1 คน
รอขนย้ายไปยังจุดติดป้าย - 2
ขนย้ายไปยังจุดติดป้าย 10 5
รอเพื่อติดป้ายสินค้า - 5
ติดป้ายสินค้า - 10 พนักงาน 1 คน
ขนสินค้าไปยังห้องเก็บ 8 4
จัดเก็บสินค้าที่ช้นั เก็บ - 5

รวม 66 57 2 4 3 1 1

รูปที่ 5.10 แผนภูมิการไหลของกระบวนการผลิต (วิธีเดิม)


20

แผนภูมิการไหลของกระบวนการผลิต
 วิธีเดิม  ประเภทคน สรุปผล
 วิธีปรับปรุ ง  ประเภทวัสดุ กิจกรรม วิธีเดิม วิธีปรับปรุง ผลต่าง
การทางาน  - -
ชื่อเรื่ อง การจัดเก็บและติดป้ายสินค้า การตรวจสอบ □ - -
แผนก คลังสินค้า การเคลือ่ นย้าย  - -
ผูจ้ ดั ทา นายปิ ติ การรอ D - -
วันที่ 5 มิ.ย. 2547 การเก็บ  - -
ระยะทาง เวลา สัญลักษณ์
รายละเอียด เมตร (นาที)   D □  หมายเหตุ
ขนสินค้าลงจากรถบรรทุกเข้าไปในคลังสินค้า 20 4 พนักงาน 2 คน
รอเจ้าหน้าที่เซ็นต์รับของ - -
เจ้าหน้าที่เซ็นต์รับของ - -
เจ้าหน้าที่ตรวจสอบสินค้า - 10 พนักงาน 1 คน
รอติดป้ายสินค้า - 2
เจ้าหน้าที่ติดป้ายสินค้า - 10 พนักงาน 1คน
ขนสินค้าเข้าไปในคลังสินค้า 5 4 พนักงาน 1 คน
จัดเก็บสินค้าที่ช้นั เก็บ - 5

รวม 25 35 2 2 2 1 1

รูปที่ 5.11 แผนภูมิการไหลของกระบวนการผลิต (วิธีปรับปรุง)

5.4.3 แผนภู มิ ก ระบวนการผลิ ต สิ นค้ า หลายชนิ ด (Multi – product Process chart)


เป็ นแผนภู มิ ที่ แ สดงขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ง านหรื อ การผลิ ต ของสิ นค้า หลายชนิ ด ซึ่ งขั้น ตอน
กระบวนการผลิ ต จะมี ค วามคล้ายคลึ งกัน หรื อ ใช้เครื่ อ งจัก รร่ วมกัน ในการผลิต แสดงตั วอย่า ง
ในรู ปที่ 5.12
21

ผลิตภัณฑ์
กิจกรรม A B C D E F G
กลึง 1 1 2 2 3 3 2

เจาะ 3 2 1 3 2 1 3
1 1

ไส 2
3
3
1 2

ขัด 4 4 4 1

เชื่อม 4 4 1 5 4

รูปที่ 5.12 แผนภูมิกระบวนการผลิตสิ นค้าหลายชนิด

5.4.4 แผนภูมิจาก – ไป (From – To - chart) เป็ นแผนภูมิที่ใช้วิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ


คนและวัสดุ เช่นเดียวกับแผนภูมิกระบวนการผลิต แต่จะใช้ในกรณี ที่มีการเคลื่อนที่ของคนหรื อ
วัสดุในปริ มาณที่มากๆ สาหรับแผนภูมิจาก – ไปนี้ ได้แสดงตัวอย่างประกอบการคานวณมาแล้วใน
ตัวอย่างที่ 5.2
แผนภูมิที่ใช้ในการวิเคราะห์การไหลหรื อ การเคลื่อ นที่ของคนหรื อ วัสดุน้ ัน เพื่อ ช่ วยให้
ผูว้ างแผนผังโรงงานสามารถวิเคราะห์ถึงกระบวนการผลิตของสิ นค้า ซึ่ งจะช่ วยให้การตัดสิ นใจ
ในการวางผังโรงงานมีประสิ ทธิภาพสูงขึ้น

สรุป

การวางผังโรงงาน(Plant Layout)เป็ นการวางแผนเกี่ ย วกับ การก าหนดต าแหน่ ง


สาหรับจัดวางเครื่ องจักร อุปกรณ์การผลิต วัตถุดิบ พนักงาน เส้นทางเดินภายในโรงงาน สิ่ งอานวย
ความสะดวก ฯลฯ ซึ่ งการตัด สิ น ใจในการวางผัง โรงงานจะส่ ง ผลต่ อ ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ
ประสิ ทธิผลในการผลิต การวางผังโรงงานแบ่งได้เป็ น 4 ประเภท คือ 1) การวางผังโรงงานตาม
22

ชนิ ดของผลิตภัณฑ์ (Product layout) 2) การวางผังโรงงานตามกระบวนการผลิต (Process layout)


3) การวางผังโรงงานตามตาแหน่ งงาน (fixed – position layout) 4) การวางผังโรงงานแบบผสม
(Hybrid layout) และตัวแบบที่ใช้ในการวางผังโรงงานจะแบ่งเป็ น 2 ประเภท ได้แก่ ตัวแบบทาง
กายภาพ (Physical models) และตัวแบบทางคณิ ตศาสตร์ (Mathematical models) ซึ่งโดยทัว่ ไปมัก
ใช้ท้งั 2 ตัวแบบประกอบกันเพื่อประสิ ทธิภาพของการวางผังโรงงาน
การวางผังโรงงานเพื่อให้เกิดประสิ ทธิภาพสูงสุ ดได้มีการนาแผนภูมิต่างๆเข้ามาช่วย
ในการวางแผนผังโรงงาน ซึ่ งสามารถจะจาแนกแผนภูมิให้สอดคล้องกับลักษณะการผลิตได้ดังนี้
1) แผนภูมิกระบวนการผลิต (operation process chart) หรื อแผนภูมิการไหล (Flow Process Chart)
หรื อแผนภาพการเคลื่อนที่ (Flow Diagram) ซึ่ งใช้ในกรณี ผลิตสิ นค้าเพียงชนิ ดเดียว 2) แผนภูมิ
กระบวนการผลิ ตสิ น ค้าหลายชนิ ด (Multi – product Process Chart) ใช้ในกรณี มี การผลิต สิ น ค้า
หลายชนิ ด และ3) แผนภูมิจาก – ไป (From – To - Chart) ใช้ในกรณี ที่มีการผลิตสิ นค้าจานวน
หลายๆชนิด
23

เอกสารอ้างอิง

Dilworth James B.,Production And Operations Management:manufacturing and


services.—5th ed.McGraw-Hill.Singapore.1993 :558-582.
24

Lathing Milling Drilling

M M D D
L L

D D
L L M M

L L M M G G

Assembly G G
L L
A A
Receiving and A G G
A
shipping

(a) Jumbled flows in a job shop without GT cells

L L M D G

Ccll 1 Ccll 2 A A
Recerving L M G G
Ccll 3

L M D Shipping

(a) Line flows in a job shop with three GT cells


25

Assembly
area

You might also like