ภาษาวัฒ

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 15

ภาษากับ วัฒนธรรม

ภาษาคืออะไร

- ระบบสั ญ ลั ก ษณ ทมี
์ ความหมายมาตรฐาน
ทรับรูกั้ นเฉพาะกลุม่
- เครองมือในการสอสาร
- เครองมือถายทอดวั
่ ฒนธรรมทสําคัญ
ลักษณะของการสอสาร

การสอสารของมนุษย ์
- โดยตรง : ภาษามือ ทาทาง
่ นาเสียง ระยะหาง

- โดยออม
้ : ภาษาเขียน ดนตรี รูปภาพ สัญญาณ
ภาษาคณิตศาสตร์

การสอสารของสัตว ์
- เสียง กลน การเคลอนไหว
- ระบบการส่งเสียง
ลักษณะของภาษามนุษย ์

1. กําหนดสัญลักษณ ขนเอง
์ ไม มี่ ความหมายสากล
2. สร้างขนใหมได
่ ไม
้ สนสุ
่ ด
3. สอความหมายไดโดยไม
้ ติ่ ดอยูกั่ บเวลาและสถานท
4. สอความหมายโดยใชสอหลายอย
้ างในเวลาเดี
่ ยวกัน
ความสัมพันธระหว
์ างภาษากั
่ บวัฒนธรรม

1. ภาษาเป็ นวัฒนธรรมอยางหนง

เพราะภาษาเป็ นสงทมนุษยสร์ างขน
้ มีการเรียนรู ้ ถายทอด
่ และเจริญงอกงาม

2. ภาษาเป็ นเครองมือถายทอดวั
่ ฒ นธรรม
บรรดาวัฒนธรรมสาขาตางๆ ่ นน นับวาภาษาเป็
่ นวัฒนธรรมทสําคัญทสุด
เพราะภาษาเป็ นเครองมือถายทอดวั
่ ฒนธรรมสาขาตางๆ
่ ใหสื ้ บทอดและเจิญ
งอกงามตอไปไม
่ มี่ ทสนสุด ถาไม
้ มี่ ภาษา การสืบทอดวัฒนธรรมจะเป็ นไป
ไมได
่ ้ เพราะไมสามารถทจะสอความหมายกั
่ นใหเข
้ าใจได
้ แจ
้ มชั
่ ด
ความสัมพันธระหว
์ างภาษากั
่ บวัฒนธรรม

3. ภาษาสะทอนให้ เห็
้ นถึง ประวัติความเป็ นอยูของมนุ
่ ษ ยในอดี
์ ตหรือวัฒ นธรรมของ
ชาติน นๆ
เพราะถอยคํ
้ าภาษา เป็ นสงทมนุษยสร ์ างขนตามความจํ
้ าเป็นของสังคมนน ๆ เพอให้
เกิดความเขาใจตรงกั
้ น จึงกลาวได
่ ว้ าถ
่ อยคํ
้ าบางคําเป็ นประวัติวัฒนธรรมของชาติ เชนคํ่ า
วา่ นา กา มีนัยมาจากภาษาบาลีวา่ นา เกร แปลวา่ มะพราว ้ ทงนเพราะโบราณเรามี
วิธีนับเวลาโดยใชกะลามะพร
้ าวเจาะรู
้ แลวนํ
้ าไปลอยนา เมอจมครงหนงๆ ก็เรียกว่า
นา กาหนง ตอมาเรามี
่ นา กาอยางปั
่ จจุบันซงเราเรียกวานา
่ กากล แตก็่ กรอนเป็
่ น
นา กาในเวลาตอมา ่
ความสัมพันธระหว
์ างภาษากั
่ บวัฒนธรรม

4. ภาษาเป็ นเครองบงชวั ่ ฒนธรรมของผูใช ้ ้


ถอยคํ
้ าในภาษามีระดับและนอกจากสอความหมายแลวยั ้ งสอความรูสึ ้ กไดอี้ กดวย ้
อยางเช
่ นคํ
่ าใชแทนชอภาษาไทย
้ ทเรียกวาคํ
่ าสรรพนามก็มีมาก เชน ่ ฉัน ผม เกลากะ้
ผม กระหมอม ่ ขาพระพุ
้ ทธเจา้ ดิฉัน หมอมฉั
่ น ทาน ่ คุณ ใตฝ่้ ่ าละอองธุลีพระบาท เป็น
ตน้ คํากริยาแสดงอาการกินก็มีมาก เชน ่ กิน รับประทาน ฉัน เสวย เป็นตน ้ เรองน
สะทอนให
้ เห็
้ นวาภาษาเป็
่ นเครองแสดงระดับวัฒนธรรมของผูใช ้ ้ เพราะคําเหลานไม
่ ได
่ ้
บอกเฉพาะความหมายเทานน ่ ยังบอกถึงความรู็สึก อารมณ ์ และระดับการศึกษาของผูใช ้ ้
ดวย้ ดังมีคํากลาวว
่ า่ "สําเนียงส่อภาษา กริยาส่อสกุล" หมายความวา่ ภาษา กิริยา
พฤติกรรมของผูใช ้ เป็้ นเครองบงบอกวั
่ ฒนธรรมของผูนนว้ าสู
่ งตาเพียงใด
ความสัมพันธระหว
์ างภาษากั
่ บวัฒนธรรม

5. ภาษาเป็ นเครองอบรมจิตใจและความประพฤติของผูใช ้ ให
้ มี้ ความละเอียดออน ่
ในภาษาไทยเรามีการใชคํ้ าราชาศัพท ์ สําหรับบุคคลทเป็นเจานาย ้ พระราชาและราชวงศ์
พระสงฆและสุ
์ ภาพชน โดยใชภาษาสํ
้ าหรับการปฏิบัติภารกิจแตละอย ่ างแตกต
่ างไปจาก

ภาษาทสามัญชนใช ้ เชน ่ พระสงฆจะใช ์ คํ้ าวา่ ฉัน แทนคําวา่ กิน ใชคํ้ าวา่ จําวัด แทนคํา
วา่ นอน พระราชาใชคํ้ าวาเสวยแทนคํ
่ าวา่ กิน ใชคํ้ าวา่ บรรทม แทนคําวา่ นอน เป็นตน ้
ทงนเพราะพระสงฆและพระราชาจะปฏิ
์ บัติกิจเหลานเช่ นเดี
่ ยวกับชาวบานไม
้ ได
่ ้ กอนท่
พระสงฆจะฉั์ นอาหาร ก็ตองมี้ ผประเคนให
ู้ เสี
้ ยกอน่ เวลาจะจําวัดก็ตองจํ
้ าวัดบนทนอนท
ไมได่ บรรจุ
้ ดวยนุ
้ ่นหรือสําลี พระราชาเวลาจะเสวยก็ตองเสวยด ้ วยอาการสํ
้ ารวม เวลาจะ
บรรทมก็ตองบรรทมในทมิ
้ ดชิดไมประเจิ
่ ดประเจอ้ ดังนนจึงเป็ นการแสดงใหเห็ ้ นวาจิ ่ ตใจ
และความประพฤติของคนเรานนสามารถควบคุมไดโดยภาษา ้
วัฒนธรรม (culture) หมายถึง สง
ตางๆ่ ทมนุษยสร ์ างขนอั
้ น
ไดแก ้ ่ ประเพณี ความคิดความเชอ
ตางๆ ่ สงเหลานล
่ วนเป็
้ นพฤติกรรมของ
มนุษยซงเป็
์ นสมาชิกของสังคม และ
ถายทอดสื
่ บเนองตอกั ่ นมาอยางมี
่ แบบ
แผนและเป็นมรดกของสังคมในทสุด
ลักษณะของวัฒนธรรม

วัฒนธรรมมีลักษณะตางๆ
่ ดังน

๑. วัฒนธรรมเป็นสงทเกิดจากการเรียนรู้ รับ
และถายทอดสงต
่ างๆ
่ จากมนุษยด์ วยกั
้ นจากรุนต ่ อรุ
่ น่

๒. วัฒนธรรมถือเป็ นมรดกทางสังคม ภาษาเป็ น


สอกลางในการถายทอดวั
่ ฒนธรรม ถาไม้ มี่ ภาษาจะ
ไมสามารถถ
่ ายทอดวั
่ ฒนธรรมหรือพัฒนาวัฒนธรรม
ใหเจริ
้ ญยงๆ ขนตอไปได ่ ้
• ๓. วัฒนธรรมเป็ นวิถีชีวิตของมนุษย ์
เราสามารถจําแนกวัฒ นธรรมของสังคม
หนงออกจากอีกสังคมหนงได ้ ทงน
เพราะแตละสั
่ งคมมนุษยย์ อมมี ่ วิถชี ีวิต
การดําเนินชีวิตทแตกตางกั
่ นออกไป
จนมีลักษณะเฉพาะตน
• ๔. วัฒนธรรมเป็ นสงทไมคงท

ยอมมี
่ การเปลยนแปลงอยูเสมอ
่ ทงน
เกิดขนจากความตองการของคนใน

สังคมทคิดจะเปลยนแปลงและปรับปรุง
วัฒนธรรมของตนใหเจริ
้ ญงอกงามขน
เหมาะสมกับสภาพชีวิตและแวดลอมท

เปลยนแปลงไปในสมัยของตน
•ประเภทของวัฒนธรรม

• ๑. วัฒนธรรมทเป็ นรูปธรรม เชน ่ ทอยู ่


อาศัย เครองมือเครองใช ้ สงกอสร ่ างต
้ างๆ

ภาษา ยานพาหนะตางๆ ่ เป็ นตน

• ๒. วัฒนธรรมทเป็ นนามธรรม เป็ นสงท


ทําใหจิ้ ตใจมีความเจริญงอกงาม ใชเป็
้ นหลัก
ในการดําเนินชีวิต ไดแก ้ ่ การปฏิบัตท
ิ าง
ศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณี
เอกลัก ษณทางวั
์ ฒนธรรม

เอกลักษณทางวั
์ ฒนธรรม คือ แบบแผนการใชชี้ วิตของมนุษยในวั
์ ฒนธรรม
หนงทแสดงใหเห็ ้ นวาแตกต
่ างจากวั
่ ฒนธรรมอน มีเอกลักษณ ์ มีความโดดเดน

เฉพาะตัว
เอกลักษณทางวั
์ ฒ นธรรมของไทย มีด ังน
๑. ความไมกี่ ด กันคนตางชาติ
่ ตางภาษา

๒. ความมีเสรีภาพในการนับ ถือศาสนา
๓. ความรักสงบ
๔. ความพอใจในการประนีประนอม
๕. การไมแบ ่ งชนวรรณะ

ภาพสะทอนวั
้ ฒนธรรมจากภาษา
๑. ภาษาไทยมีร ะเบียบการใชถ้ อยคํ
้ าใหเหมาะสมกั
้ บฐานะของบุคคล
๒. ภาษาไทยมีวิธีการใชถ้ อยคํ
้ าและขอความทเปลยนแปรไปให
้ เหมาะสมตาม

ความสัมพันธระหว
์ างบุ
่ คคล มีการใชคํ้ าสรรพนามทงทแทนตัวกับคูสนทนาและผู
่ ท้
กลาวถึ
่ ง
๓. ภาษาไทยมีศัพทแสดงความละเอี
์ ยดในการกลาวถึ
่ งเรองใกลตั้ ว และมีศัพท ์
เฉพาะในเรองตางๆ
่ จํานวนมาก
๔. ภาษาไทยมีการสร้างคําขนจากภาษาตางๆ ่
๕. ภาษาไทยมีถอยคํ้ าสํานวนแสดงการเปรียบเทียบจํานวนมาก แสดงใหเห็ ้ น
ความประณีตละเอียดออนในการใช
่ ภาษา
้ ความเป็ น คนเจาบทเจ
้ ากลอน

You might also like