01 ลักษณะของภาษา

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 57

LOGO

ลักษณะของภาษา
บทอาขยาน "ค่านิยม ๑๒ ประการ"
หนึ่งรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สองซื่อสัตย์ เสียสละ อดทนได้
สามกตัญญู พ่อแม่ สุดหัวใจ สีม่ ุ่งใฝ่ เล่าเรียน เพียรวิชา
ห้ารักษา วัฒนธรรม ประจาชาติ หกไม่ขาด ศีลธรรม ศาสนา
เจ็ดเรียนรู้ อธิปไตย ของประชา แปดรักษา วินัย กฎหมายไทย
เก้าปฏิบัติ ตามพระ ราชดารัส สิบไม่ขาด พอเพียง เลี้ยงชีพได้
สิบเอ็ดต้อง เข้มแข็ง ทั้งกายใจ สิบสองไซร้ คิดอะไร ให้ส่วนรวม
ท่อง...บทอาขยานค่านิยม ๑๒ ประการ
ถ้าท่องได้จะมีประโยชน์ ?
๑. พยัญชนะเดิม
๒. ฐานที่เกิดเสียง
๓. อักษรสามหมู่ หรือไตรยางศ์
๔. คามาจากบาลี สันสกฤต
๕. ข้อแตกต่างของคาบาลี และสันสกฤต
๖. คามาจากภาษาอื่น
พยัญชนะเดิมของไทย ๙ ตัว
พยัญชนะเดิมของไทย ๙ ตัว
พยัญชนะบาลี ๓๓ ตัว สันสกฤต ๓๕ ตัว
พยัญชนะวรรคในภาษาบาลี/สันสกฤต

ภาษาบาลี ๓๓ ตัว สันสกฤต ๓๕ ตัว


ไตรยางศ์ : อักษรกลาง ๙ ตัว
ไตรยางศ์ : อักษรสูง ๑๑ ตัว
ไตรยางศ์ : อักษรต่า ๒๔ ตัว
ไตรยางศ์ : อักษรต่าคู่ ๑๔ ตัว
ไตรยางศ์ : อักษรต่าเดี่ยว ๑๐ ตัว
สรุปไตรยางศ์ (อักษรสามหมู)่
พยัญชนะเดิม มี ๙ ตัว คือ ฃ ฅ ซ ฎ ด บ ฝ ฟ ฮ
อักษรกลาง มี ๙ ตัว คือ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ
อักษรสูง มี ๑๑ ตัว คือ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
อักษรต่า มี ๒๔ ตัว คือ ค ฅ ช ซ ฑ ท พ ฟ ฆ ฌ ฒ ธ
ภ ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ ฮ
อักษรต่ำคู่ มี ๑๔ ตัว คือ ค ฅ ฆ ช ซ ฌ ฑ ฒ ท ธ พ ฟ ภ ฮ
อักษรต่ำเดียว มี ๑๐ ตัว คือ ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ
สาระสาคัญ : หลักการใช้ภาษา
 ภาษาไทยมีประวัติความเป็นเวลายาวนานกว่า ๗๐๐ ปี คนไทยใช้
ภาษาไทยเป็นเครื่องมือในการสื่อสารทาความเข้าใจระหว่างคนใน
สังคม เป็นเครื่องมือในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้และถ่ายทอด
ความคิดวิทยาการต่างๆ
 ภาษาไทยจึงเป็นทั้งวัฒนธรรมไทย และเป็นเครื่องมือในการถ่ายทอด
วัฒนธรรม เราคนไทยจึงควรใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องตามหลักภาษา
เพื่อให้การสื่อสารสัมฤทธิ์ผลตามความมุ่งหมาย และเพื่อดารงรักษา
เครื่องมือในการสื่อสารนี้ ให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมสืบไป
เนื้อหาที่จะเรียน
๑ ลักษณะสาคัญของภาษา
๒ ลักษณะของภาษาไทย
๓ ส่วนประกอบของภาษาไทย
๔ องค์ประกอบของคาและพยางค์
สาระสาคัญ
การเรียนรู้ภาษา เพื่อให้การนาไปใช้ในการสื่อสารให้สัมฤทธิ์ผลจะต้องรู้ว่าภาษา มี
ลักษณะเฉพาะ อันประกอบไปด้วย ประเภทของภาษา และองค์ประกอบของภาษา ซึ่งในแต่ละ
ภาษาจะแตกต่างกัน
ภาษาไทยก็จะมีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ ผู้ใช้ภาษาไทย จึงควรศึกษาให้เข้าใจ เพื่อการ
สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ลักษณะสาคัญของภาษา
ภาษาที่แท้จริงของมนุษย์นั้น คือภาษาพูดซึ่งจะต้องประกอบด้วยหน่วยของ
ภาษา ได้แก่เสียงพูดและความหมาย หากขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งไปจะไม่ถือว่าเป็นภาษาที่
สมบูรณ์
ตัวอักษร เครื่องหมาย และสัญลักษณ์
เพื่อใช้บันทึกภาษาในภายหลัง ตัวอักษรต่างๆ ที่
ใช้เขียนจึงไม่ถือว่าเป็นภาษาที่แท้จริง หากแต่เป็น
เพียงเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสียงใน
ภาษาเท่านั้น
ลักษณะสาคัญของภาษาไทย
คาขยายอยู่หลังคาที่ถูกขยาย เป็นภาษาคาโดด

มีลักษณนาม ภาษาไทย เป็นคาพยางค์เดียว

เรียงลาดับคาในประโยค สะกดตรงตามมาตรา
คาถาม : มีลักษณะของภาษาไทยเพิ่มจากเดิมกี่ข้อ ?

คาขยายอยู่หลังคาที่ถูกขยาย มีวรรคตอนในการเขียนและพูด

มีลักษณนาม ภาษาไทย เป็นคาพยางค์เดียว

มีคาราชาศัพท์ และคาสุภาพ สะกดตรงตามมาตรา


ลักษณะสาคัญของภาษาไทย (ต่อ)
คาขยายอยู่หลังคาที่ถูกขยาย มีวรรคตอนในการเขียนและพูด

มีลักษณนาม ภาษาไทย เป็นคาพยางค์เดียว

มีคาราชาศัพท์ และคาสุภาพ สะกดตรงตามมาตรา


ส่วนประกอบของภาษาไทย :

เสียง สระ + พยัญชนะ + วรรณยุกต์

ความ
ความหมายตรง + ความหมายนัยประหวัด
หมาย
เสียงในภาษาไทย : อวัยวะในการเกิดเสียง
เสียงพยัญชนะ : ๒๑ เสียง
มาตราตัวสะกด : ๘ มาตรา (เป็นตัวสะกดได้ ๘ เสียง)

เสียงสั้น ๓ เสียง
เสียงยาว ๕ เสียง

LOGO www.themegallery.com
ฐานที่เกิดเสียงพยัญชนะ :
เสียงสระ : มี ๓๒ เสียง

LOGO www.themegallery.com
รูปสระ : มี ๒๑ รูป

LOGO www.themegallery.com
ลักษณะการออกเสียง : สระแท้ ๑๘ เสียง
ลักษณะ หน้า กลาง หลัง
สูง อิ อี อึอ อือ อุ อู
กลาง เอะ เอ เออะ เออ โอะ โอ
ต่า แอะ แอ อะ อา เอาะ ออ
LOGO www.themegallery.com
สระประสม : ๖ เสียง
เสียงสั้น เสียงยาว
เสียงสระ เกิ ดจาก เสียงสระ เกิ ดจาก
เอียะ อิ + อะ เอีย อี + อา
เอือะ อึ + อะ เอือ อื + อา
อัว ะ อุ + อะ อัว อู + อา
สรุป : เสียงสระ ๓๒ เสียง
เสียงวรรณยุกต์ : ๕ เสียง (เสียงดนตรี)
เสียงวรรณยุกต์ : ๕ เสียง (เสียงดนตรี)
ตารางผันวรรณยุกต์ :
ลักษณะของเสียงวรรณยุกต์ :
ค่า ความหมายโดยนั ย ตรง หรื อ ความหมายตามตัว
ตา อวัยวะส่วนหนึ่งของมนุษย์หรือสัตว์ใช้ในการมองเห็น
กิน การนาอาหารเข้าปาก เคีย้ ว แล้วกลืนลงคอ
มือ อวัยวะส่วนหนึ่งของร่างกาย ประกอบด้วยนิ้วมือและฝ่ามือ
หัว อวัยวะส่วนบนสุดของร่างกายมนุษย์
หู อวัยวะส่วนหนึ่งของร่างกาย ใช้ในการฟังเสียง
เปล่งเสียงโดยไม่มี เปล่งเสียงโดยมีกลุ่ม
เปล่งเสียงโดยมีกลุ่ม
กลุ่มลมออกมาด้วย ลมออกทางจมูก
ลมออกมาด้วย
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจการสอนวิชาภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท๓๒๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๗
ด้านที่ รายการประเมิน เฉลีย่ ร้อยละ ผลการประเมิน ลาดับ
ด้านที่ ๑ ด้านการชีแ้ จงและการนาเข้าสูบ่ ทเรียน ๔.๔๗ ๘๙.๔๘ พอใจมากทีส่ ุด ๔
ด้านที่ ๒ ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน ๔.๔๔ ๘๘.๗๒ พอใจมากทีส่ ุด ๕
ด้านที่ ๓ ด้านสือ่ การสอน ๔.๕๔ ๙๐.๘๘ พอใจมากทีส่ ุด ๓
ด้านที่ ๔ ด้านบุคลิกภาพของครู ๔.๕๙ ๙๑.๗๙ พอใจมากทีส่ ุด ๑
ด้านที่ ๕ การวัดและประเมินผล ๔.๕๘ ๙๑.๖๒ พอใจมากทีส่ ุด ๒
ด้านที่ ๖ อืน่ ๆ ๔.๒๓ ๘๔.๕๖ พอใจมากทีส่ ุด ๖
ค่าเฉลีย่ ทุกด้าน ๔.๔๘ ๘๙.๕๑ พอใจมากทีส่ ุด
จานวนนักเรียนทาแบบสอบถาม ๒๙๔ คน
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจการสอนวิชาภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท๓๒๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๗
ด้านที่ รายการประเมิน เฉลีย่ ร้อยละ ผลการประเมิน ลาดับ
ด้านที่ ๔ ด้านบุคลิกภาพของครู ๔.๕๙ ๙๑.๗๙ พอใจมากทีส่ ุด ๑
ด้านที่ ๕ การวัดและประเมินผล ๔.๕๘ ๙๑.๖๒ พอใจมากทีส่ ุด ๒
ด้านที่ ๓ ด้านสือ่ การสอน ๔.๕๔ ๙๐.๘๘ พอใจมากทีส่ ุด ๓
ด้านที่ ๑ ด้านการชีแ้ จงและการนาเข้าสูบ่ ทเรียน ๔.๔๗ ๘๙.๔๘ พอใจมากทีส่ ุด ๔
ด้านที่ ๒ ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน ๔.๔๔ ๘๘.๗๒ พอใจมากทีส่ ุด ๕
ด้านที่ ๖ อืน่ ๆ ๔.๒๓ ๘๔.๕๖ พอใจมากทีส่ ุด ๖
ค่าเฉลีย่ ทุกด้าน ๔.๔๘ ๘๙.๕๑ พอใจมากทีส่ ุด
จานวนนักเรียนทาแบบสอบถาม ๒๙๔ คน
www.themegallery.com
LOGO

อ.บุญกว้าง ศรีสุทโธ

You might also like