Program

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 38

สารบัญ

ความเป็นมาของโครงการ 2
รายละเอียดโครงการการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 3
กาหนดการการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15
กาหนดการสาหรับนักเรียน 8
กาหนดการสาหรับหัวหน้าทีม รองหัวหน้าทีม และ คณะกรรมการวิชาการ 9
กาหนดการสาหรับอาจารย์สังเกตการณ์ 10
กาหนดการพิธีเปิด 11
กาหนดการพิธีปิด 12
รายชื่อผู้เข้าแข่งขันแต่ละศูนย์ 13
ตราสัญลักษณ์และความหมาย 18
รายละเอียดการแข่งขัน 19
รูปแบบการแข่งขัน 19
การออกข้อสอบ 19
การตรวจข้อสอบและรับรองผลการสอบ 19
ข้อปฏิบัติของผู้แข่งขันในขณะทาการแข่งขัน 19
ข้อปฏิบัติของผู้แข่งขันในขณะเข้าร่วมกิจกรรมอื่น ๆ ของการแข่งขัน 20
ขอบเขตเนื้อหาวิชาที่ครอบคลุมในการแข่งขัน 20
โปรแกรมที่ติดตั้งในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการแข่งขัน 23
ข้อกาหนดของระบบปฏิบัติการและตัวแปลภาษาที่ใช้ในการแข่งขัน 23
เกณฑ์การให้คะแนน 24
สถานที่จัดการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 26
ที่พักสาหรับนักเรียน 27
ที่พักสาหรับคณาจารย์ 27
สถานที่ทัศนศึกษา 28
คณะกรรมการดาเนินงานการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 15 29
ติดต่อสอบถาม 34

หมายเหตุ : กรุณากดเลือกหัวข้อที่ท่านต้องการ
ความเป็นมาของโครงการ
สืบเนื่องจากวัตถุประสงค์ประการหนึ่งของมูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระ
อุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.) โดยมีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นองค์ประธาน เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการขยายผลการแข่งขันโอลิมปิก
วิชาการไปสู่ นักเรียน ครู และผู้บริหารการศึกษาทุกระดับ รวมทั้งช่วยพัฒนามาตรฐานการศึกษา ในรายวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ในระดับโรงเรียนให้ได้มาตรฐาน จึงได้มีการจัดการแข่ งขันโอลิมปิกวิชาการระดับชาติ ในสาขาฟิสิกส์ขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2545 และ
สาหรับในปี พ.ศ. 2547 ได้มีการจัดการแข่งขันเพิ่มขึ้นอีก 2 สาขา คือ สาขาคณิตศาสตร์และสาขาชีววิทยา เพื่อให้มีการแข่งขันโอลิมปิก
วิชาการระดับชาติครบทุกสาขาวิชา ในปี พ.ศ. 2548 คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ มูลนิธิ สอวน. จึงมีมติให้มีการจัดการแข่งขันเพิ่มขึ้นในอีก
2 สาขาที่เหลือ คือ สาขาเคมี และสาขาคอมพิวเตอร์
ครั้ง ตราสัญลักษณ์ ชื่ออย่างเป็นทางการ จัดโดย
ที่
1 การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิก สอวน. ครั้งที่ 1
คณะวิทยาศาสตร์
ไม่มี The First POSN Olympiad in Informatics
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
วันที่ 20 เม.ย. - 23 เม.ย. 2548
2 การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิก สอวน. ครั้งที่ 2
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะ
ไม่มี The Second POSN Olympiad in Informatics 2006 (2nd POSN – OI 2006)
วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
วันที่ 19 เม.ย. - 22 เม.ย. 2549
3 การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิก สอวน. ครั้งที่ 3
The Third POSN Olympiad in Informatics 2007 (3rd POSN – OI 2007) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วันที่ 1 พ.ค. - 4 พ.ค. 2550
4 การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิก สอวน. ครั้งที่ 4
สานักวิชาวิทยาศาสตร์
The Fourth POSN Olympiad in Informatics 2008 (4th POSN – OI 2008)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
วันที่ 29 เม.ย. - 2 พ.ค. 2551
5 การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 5
สานักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัย
The Fifth Thailand Olympiad in Informatics 2009 (5th – TOI 2009)
ลักษณ์
วันที่ 4 พ.ค. - 7 พ.ค. 2552
6 การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 6
The Sixth Thailand Olympiad in Informatics 2010 (6th – TOI 2010) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วันที่ 3 พ.ค. - 7 พ.ค. 2553
7 การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 7
The Seventh Thailand Olympiad in Informatics 2011 (7th – TOI 2011) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
วันที่ 3 พ.ค. - 7 พ.ค. 2554
8 การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 8
ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์
The Eighth Thailand Olympiad in Informatics 2012 (8th – TOI 2012)
มหาวิทยาลัยศิลปากร
วันที่ 14 พ.ค. - 18 พ.ค. 2555
2
ครั้ง ตราสัญลักษณ์ ชื่ออย่างเป็นทางการ จัดโดย
ที่
9 การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 9 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย
The Ninth Thailand Olympiad in Informatics 2013 (9th – TOI 2013) ร่วมกับภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
วันที่ 7 พ.ค. - 10 พ.ค. 2556 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
10 การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 10
The Tenth Thailand Olympiad in Informatics 2014 (10th – TOI 2014) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
วันที่ 6 พ.ค. - 9 พ.ค. 2557
11 การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 11 ภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์
The Eleventh Thailand Olympiad in Informatics 2015 (11th – TOI มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
2015) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต
วันที่ 2 มิ.ย. - 5 มิ.ย. 2558 ตรัง
12 การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 12
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต
The Twelfth Thailand Olympiad in Informatics 2016 (12th – TOI 2016)
หาดใหญ่
วันที่ 17 มิ.ย. - 20 มิ.ย. 2559
13 การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 13 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ร่วมกับ
The Thirteenth Thailand Olympiad in Informatics 2017 (13th – TOI 2017) คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
วันที่ 12 มิ.ย. - 15 มิ.ย. 2560 มหาวิทยาลัยมหิดล
14 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และ
การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 14
สารสนเทศ
The Fourteenth Thailand Olympiad in Informatics 2018 (14th – TOI 2018)
คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัย
วันที่ 19 มิ.ย. - 22 มิ.ย. 2561
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
15 การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15
คณะวิทยาศาสตร์ และ
The Fifteenth Thailand Olympiad in Informatics 2019 (15th – TOI 2019)
คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา
วันที่ 4 มิ.ย. - 7 มิ.ย. 2562

3
โครงการ การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15
(15th Thailand Olympiad in Informatics (15th TOI))
มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา
ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
ร่วมกับ คณะวิทยาศาสตร์ และคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา
ระหว่างวันที่ 4 – 7 มิถุนายน พ.ศ. 2562
1. ผู้รับผิดชอบโครงการ
1.1 มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษาในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้า
กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.)
1.2 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
1.3 คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา

2. หลักการและเหตุผล
ตามที่มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษาในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้า
ฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.) ทรงเล็งเห็นถึงความสาคัญในการมุ่งส่งเสริมนักเรียนที่มี
ความสามารถทางคอมพิวเตอร์และวิทยาศาสตร์ ให้มีโอกาสพัฒนาการเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ รวมทั้งเป็นการพัฒนา
มาตรฐานการศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ และวิทยาศาสตร์ ในระดับมัธยมศึกษาให้ทัดเทียมกับระดับสากล นอกจากนั้นยังเป็นการ
สนับสนุนนักเรียนที่มีศักยภาพสูงทางด้านคอมพิวเตอร์และวิทยาศาสตร์ ให้มีโอกาสเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับ
นานาชาติ ในสาขาต่าง ๆ ได้
ทางมูลนิธิ สอวน. จึงได้มอบหมายให้มหาวิทยาลัยในส่วนภูมิภาค 11 แห่ง และโรงเรียนในเขตกรุงเทพฯ 6 โรงเรียนเป็น
ศูนย์ สอวน. เพื่อดาเนินการอบรมและเตรียมความพร้อม รวมทั้งคัดเลือกนักเรียนเข้าไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับประเทศ
ตลอดจน เตรียมครูวิทยาศาสตร์ ครูคณิตศาสตร์ ให้มีคุณภาพ และมีความพร้อมที่จะช่วยพัฒนาการเรียนการสอนของโรงเรียนซึ่ง
ได้ดาเนินการมาตั้งแต่ปีการศึกษา 2543 โดยมีสาขาที่ดาเนินการ 6 สาขา คือ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ เคมี ชีววิทยา ฟิสิกส์
และดาราศาสตร์ ในปีการศึกษา 2547 ได้เพิ่มศูนย์ สอวน. ขึ้นอีก 2 คือ ศูนย์ สอวน. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ และ ศูนย์ สอ
วน. โรงเรียนเตรียมทหาร โดยการดาเนินการที่ผ่านมามีผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์ของมูลนิธิ สอวน. คือ สามารถคัดเลือก
นักเรียนจากศูนย์ สอวน. ไปเป็นตัวแทนแข่งขันโอลิมปิกระดับนานาชาติอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งได้พัฒนาความรู้และเพิ่มศักยภาพ
ของครูจากโรงเรียนต่าง ๆ ทั่วประเทศ ในปี พ.ศ. 2548 มูลนิธิ สอวน. ได้ปรับเปลี่ยนเป็นการสนับสนุนให้สาขาวิชาต่าง ๆ จัดการ
แข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับประเทศ
สาหรับสาขาคอมพิวเตอร์ ได้ดาเนินการจัดการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติมาแล้วทั้งสิ้น 14 ครั้ง โดยครั้งที่
1 ในปี พ.ศ. 2548 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และในปี พ.ศ.
2562 นี้ คณะวิทยาศาสตร์ และคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา ได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน
คอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 ดังนั้น เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องในการจัดกิจกรรมการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิก
4
ระดับชาติ คณะวิทยาศาสตร์ และคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา จึงขอเสนอโครงการ การแข่งขันคอมพิวเตอร์
โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (15th Thailand Olympiad in Informatics (15th TOI)) ในระหว่างวันที่ 4 – 7 มิถุนายน พ.ศ. 2562
ณ คณะวิทยาศาสตร์ และคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา

3. วัตถุประสงค์
3.1 เพื่อยกระดับ และกระตุ้นให้มีให้มีการพัฒนาหลักสูตร และมาตรฐานของระบบการเรียนการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์
ของประเทศ ให้ทัดเทียบนานาประเทศ
3.2 เพื่อทาให้ผู้เข้าร่วมการแข่งขันเกิดความรักและสนใจที่จะมุ่งเน้นศึกษาทางด้านคอมพิวเตอร์ หรือศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องใน
ระดับอุดมศึกษา จนอาจประกอบอาชีพทางคอมพิวเตอร์ในอนาคต
3.3 เพื่อคัดเลือกนักเรียนที่เข้าอบรมวิชาคอมพิวเตอร์ที่เป็นตัวแทนจากศูนย์ สอวน. ทั้ง 13 ศูนย์ทั่วประเทศ ให้เป็นตัวแทนเข้าร่วม
การอบรมค่ายโอลิมปิกวิชาการ ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ในรอบต่อไป
3.4 เพื่อให้คณาจารย์จากศูนย์ สอวน. ทุกศูนย์มีประสบการณ์ร่วมกันในการเข้าร่วมจัดการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ
มีการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งสามารถนาไปใช้ปรับปรุงการสอน รวมทั้งการพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการอบรมทางวิชาการใน
สาขาคอมพิวเตอร์ให้ดียิ่งขึ้น
3.5 เพื่อสร้างโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนทางความคิดของนักเรียน ตัวแทนครูจากโรงเรียน และคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยต่างๆ
ทั่วประเทศ

4. กาหนดการและสถานที่การจัดการแข่งขัน
4.1 กาหนดการจัดการแข่งขัน : วันที่ 4 – 7 มิถุนายน พ.ศ. 2562
4.2 สถานที่จัดการแข่งขัน : คณะวิทยาศาสตร์ และคณะวิทยาการสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยบูรพา 169 ถ.ลงหาดบางแสน ต.แสนสุข อ.เมือง
จ.ชลบุรี 20131

5. ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ
5.1 นักเรียนตัวแทนจากศูนย์ สอวน. ทั่วประเทศ 13 ศูนย์ และนักเรียนจาก สสวท. จานวน 100 คน
5.2 อาจารย์ผู้แทนศูนย์ จานวน 30 คน
5.3 ครูสังเกตการณ์ จานวน 15 คน
5.4 คณะกรรมการอานวยการ จานวน 10 คน
5.5 คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ จานวน 15 คน
5.6 คณะกรรมการดาเนินงาน จานวน 30 คน
5.7 นิสิตพี่เลี้ยง จานวน 20 คน
รวมทั้งสิ้นจานวน 220 คน

5
สาหรับนักเรียนผู้เข้าแข่งขัน อาจารย์ผู้ดูแลศูนย์ และครูผู้สังเกตการณ์ แยกตามศูนย์ สอวน. เป็นดังนี้
ที่ ศูนย์ สอวน. อาจารย์ ครู นักเรียน
ผูแ้ ทนศูนย์ สังเกตการณ์
1 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2 1 6
2 มหาวิทยาลัยนเรศวร 2 1 6
3 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วข.หาดใหญ่ 2 1 6
4 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วข.ปัตตานี 2 1 6
5 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 2 1 6
6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2 1 6
7 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2 1 6
8 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2 1 6
9 มหาวิทยาลัยบูรพา 2 1 6
10 มหาวิทยาลัยศิลปากร 2 1 6
11 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2 1 6
12 โรงเรียมหิดลวิทยานุสรณ์ 2 1 6
13 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย 6 3 18
14 นักเรียนจากโครงการ สสวท. 0 0 10

6. ขั้นตอนการดาเนินการ
การดาเนินงาน พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562
ขัน้ ตอนการดาเนินการ/รายการ/กิจกรรม ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค.
1. คณะกรรมการโอลิมปิกวิชาการคณะ
วิทยาศาสตร์ และคณะวิทยาการสาน
สนเทศ ประชุมวางแผนการดาเนินงาน
เตรียมความพร้อมในการจัดการแข่งขัน
2. เขียนโครงการการจัดการแข่งขันเพือ่
เสนอต่อ มูลนิธิ สอวน.
3. ประสานงานกับ มูลนิธิ สอวน. และศูนย์
โอลิมปิกวิชาการ ทั้ง 13 ศูนย์ เพือ่ แจ้ง
กาหนดวันจัดการแข่งขัน
4. จัดทาร่างคาสั่งคณะกรรมการดาเนินงาน
5. ประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน
6. ประชาสัมพันธ์การแข่งขัน
7. ดาเนินการจัดการแข่งขัน
8. จัดทารายงานสรุปผล
6
7. รูปแบบการจัดการแข่งขัน
7.1 การแข่งขันยึดรูปแบบตามธรรมนูญการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ซึ่งการแข่งขันจะมี 2 วันเฉพาะในช่วงเวลา 09.00 –
12.00 น. ของแต่ละวันโดยข้อสอบที่ใช้แข่งขันอยู่ในระดับยาก ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นผู้มีความชานาญ และเชี่ยวชาญในการแก้ปัญหา
โดยการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
7.2 การตรวจข้อสอบจะดาเนินการโดยคณะกรรมการฝ่ายออกและตรวจข้อสอบ ซึ่งประกอบไปด้วยคณะกรรมการจากมหาวิทยาลัย
บูรพา รวมทั้งคณะที่ปรึกษาจาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัย
ศิลปากร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และ
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
7.3 การตัดสินและการรับรองผลการสอบจะดาเนินการโดยคณะกรรมการฝ่ายตัดสินและรับรองผลการสอบ ซึ่งประกอบด้วย
คณะกรรมการจากมหาวิทยาลัยบูรพา คณะที่ปรึกษาจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
มหาวิทยาลัยสุรนารี และโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รวมทั้งอาจารย์ผู้แทนจากแต่ละศูนย์ สอวน. ทุกศูนย์ เพื่อเปิดโอกาสให้
อาจารย์จากแต่ละศูนย์ สามารถชี้แจ้งเพื่อปรับเปลี่ยนคะแนนของนักเรียนในศูนย์ของตนให้เหมาะสม

8. รางวัล
มีการจัดระดับเป็นรางวัลประเภทเหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง และเกียรติคุณประกาศ สาหรับการตัดสินรางวัลจะใช้เกณฑ์ที่
กาหนดโดยคณะกรรมการรับรองข้อสอบและตัดสินผลการสอบ

9. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
9.1 สามารถยกระดับและกระตุ้นให้มีการพัฒนาหลักสูตร และมาตรฐานของระบบการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ของประเทศ ให้
ทัดเทียมนานาประเทศ
9.2 ได้กระตุ้นและส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงความสารถทางด้านวิชาการและพัฒนาศักยภาพของตนเองให้สูงขึ้น
9.3 ได้ตัวแทนเข้าร่วมการอบรมค่ายโอลิมปิกวิชาการ ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ในรอบต่อไป
9.4 คณาจารย์จากศูนย์ สอวน. ได้ฝึกประสบการณ์ร่วมกันในการเข้าร่วมจัดการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ มีการ
แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งสามารถนาไปใช้ปรับปรุงการสอน รวมทั้งการพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการอบรมทางวิชาการในสาขา
คอมพิวเตอร์ให้ดียิ่งขึ้น
9.5 ครูสังเกตการณ์จากโรงเรียนต่าง ๆ ทั่วประเทศได้มีประสบการณ์ในการจัดการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ
9.6 เพื่อสร้างโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนทางความคิดของนักเรียน ตัวแทนครูจากโรงเรียน และคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั่ว
ประเทศ

7
กาหนดการการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครัง้ ที่ 15
(The 15th Thailand Olympiad in Informatics 2019)
วันที่ 4 – 7 มิถุนายน 2562 ณ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี
สาหรับนักเรียนที่เข้าร่วมแข่งขัน

เวลา กิจกรรม สถานที่


วันอังคารที่ 4 มิถนุ ายน 2562 (การแต่งกาย : ชุดนักเรียน)
09.00 – 12.00 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมงาน โถงชั้น 1 อาคาร CL
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน โถงชั้น 1 อาคาร CL
13.00 – 15.00 น. พิธีเปิดการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 ห้องประชุม CL-101 ชั้น 1
15.00 – 16.00 น. ชี้แจงกติกาการแข่งขัน ห้องประชุม CL-101 ชั้น 1
16.00 – 18.00 น. ทดสอบระบบการแข่งขัน อาคารคณะวิทยาการสารสนเทศ ชัน้ 3
18.00 – 19.00 น. รับประทานอาหารเย็น โถงชั้น 1 อาคาร CL
19.00 น. กลับที่พัก หอพักนิสิตวิทยาลัยนานาชาติ
วันพุธที่ 5 มิถนุ ายน 2562 (การแต่งกาย : ชุดสุภาพ)
07.00 – 08.00 น. รับประทานอาหารเช้า โถงชั้น 1 อาคาร CL
08.00 – 09.00 น. ลงทะเบียนฟังคาชี้แจง ห้องประชุม CL-101 ชั้น 1
09.00 – 12.00 น. สอบแข่งขัน (วันที่ 1) ชั้น 3 อาคาร IF
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน โถงชั้น 1 อาคาร CL
13.00 – 18.00 น. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ห้องประชุม CL-201 ชั้น 2
18.00 – 19.00 น. รับประทานอาหารเย็น โถงชั้น 1 อาคาร CL
19.00 น. กลับที่พัก หอพักนิสิตวิทยาลัยนานาชาติ
วันพฤหัสบดีที่ 6 มิถนุ ายน 2562 (การแต่งกาย : เสือ้ TOI15 กางเกงขายาว รองเท้าผ้าใบ)
07.00 – 08.00 น รับประทานอาหารเช้า โถงชั้น 1 อาคาร CL
08.00 – 09.00 น. ลงทะเบียนฟังคาชี้แจง ห้องประชุม CL-101 ชั้น 1
09.00 – 12.00 น. สอบแข่งขัน (วันที่ 2) ชั้น 3 อาคาร IF
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน โถงชั้น 1
13.00 – 18.00 น. ทัศนศึกษา อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ
18.00 – 22.00 น. งานเลี้ยงสังสรรค์ โรงแรมเทา-ทอง
22.00 น. กลับที่พัก หอพักนิสิตวิทยาลัยนานาชาติ
วันศุกร์ที่ 7 มิถนุ ายน 2562 (การแต่งกาย : ชุดนักเรียน)
07.00 – 08.00 น. รับประทานอาหารเช้า โถงชั้น 1 อาคาร CL
08.00 – 09.00 น. ลงทะเบียนพิธีปิดการแข่งขัน โถงชั้น 1 อาคาร CL
09.00 – 12.00 น. พิธีปิดการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 ห้องประชุม CL-101 ชั้น 1
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน โถงชั้น 1 อาคาร CL
13.00 น. เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ -
หมายเหตุ CL : อาคารปฏิบตั กิ ารพืน้ ฐานและศูนย์เครือ่ งมือวิทยาศาสตร์ , IF : อาคารคณะวิทยาการสารสนเทศ
8
กาหนดการการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครัง้ ที่ 15
(The 15th Thailand Olympiad in Informatics 2019)
วันที่ 4 – 7 มิถุนายน 2562 ณ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี
สาหรับหัวหน้าทีม รองหัวหน้าทีม คณะกรรมการวิชาการ

เวลา กิจกรรม สถานที่


วันอังคารที่ 4 มิถนุ ายน 2562 (การแต่งกาย : ชุดสุภาพ)
09.00 – 12.00 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมงาน โถงชั้น 1 อาคาร CL
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน โถงชั้น 1 อาคาร CL
13.00 – 15.00 น. พิธีเปิดการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 ห้องประชุม CL-101 ชั้น 1
15.00 – 16.00 น. ชี้แจงกติกาการแข่งขัน ห้องประชุม CL-101 ชั้น 1
16.00 – 18.00 น. ทดสอบระบบการแข่งขัน อาคารคณะวิทยาการสารสนเทศ ชั้น 3
18.00 – 19.00 น. รับประทานอาหารเย็น โถงชั้น 1 อาคาร CL
19.00 – 22.00 น. พิจารณาข้อสอบ (วันที่ 1) ชั้น 2 อาคาร IF
22.00 น. กลับที่พัก บางแสน บานาน่าเพลส/โรงแรมไพร์มไทม์
วันพุธที่ 5 มิถนุ ายน 2562 (การแต่งกาย : เสือ้ โปโล TOI15)
07.00 – 08.00 น. รับประทานอาหารเช้า* (เฉพาะผู้ที่เข้าพักบานาน่าเพลส) โถงชั้น 1 อาคาร CL
08.00 – 16.00 น. ทัศนศึกษา/รับประทานอาหารกลางวัน สวนนงนุช พัทยา
16.00 – 18.00 น. รับรองผลการสอบ ห้อง IF-304 ชั้น 3
18.00 – 19.00 น. รับประทานอาหารเย็น โถงชั้น 1 อาคาร CL
19.00 – 22.00 น. พิจารณาข้อสอบ (วันที่ 2) ชั้น 2 อาคาร IF
22.00 น. กลับที่พัก บางแสน บานาน่าเพลส/โรงแรมไพร์มไทม์
วันพฤหัสบดีที่ 6 มิถนุ ายน 2562 (การแต่งกาย : ชุดสุภาพ)
07.00 – 08.00 น. รับประทานอาหารเช้า* (เฉพาะผู้ที่เข้าพักบานาน่าเพลส) โถงชั้น 1 อาคาร CL
08.00 – 12.00 น. การบรรยาย “Smart City” ห้องประชุม CL-202 ชั้น 2
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน โถงชั้น 1 อาคาร CL
13.00 – 16.00 น. กิจกรรมเสวนาวิชาการ ห้องประชุม CL-202 ชั้น 2
16.00 – 18.00 น. รับรองผลการสอบ ห้อง IF-304 ชั้น 3
18.00 – 22.00 น. งานเลี้ยงสังสรรค์ โรงแรมเทา-ทอง
22.00 น. กลับที่พัก บางแสน บานาน่าเพลส/โรงแรมไพร์มไทม์
วันศุกร์ที่ 7 มิถนุ ายน 2562 (การแต่งกาย : ชุดสุภาพ)
07.00 – 08.00 น. รับประทานอาหารเช้า* (เฉพาะผู้ที่เข้าพักบานาน่าเพลส) โถงชั้น 1 อาคาร CL
08.00 – 09.00 น. ลงทะเบียนพิธปี ิดการแข่งขัน โถงชั้น 1 อาคาร CL
09.00 – 12.00 น. พิธีปิดการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 ห้องประชุม CL-101
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน โถงชั้น 1 อาคาร CL
13.00 น. เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ -
หมายเหตุ - CL : อาคารปฏิบตั กิ ารพืน้ ฐานและศูนย์เครือ่ งมือวิทยาศาสตร์ , IF : อาคารคณะวิทยาการสารสนเทศ
- ผูท้ พี่ กั โรงแรมไพร์มไทม์ รับประทานอาหารเช้าทีโ่ รงแรมจัดไว้ให้
9
กาหนดการการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครัง้ ที่ 15
(The 15th Thailand Olympiad in Informatics 2019)
วันที่ 4 – 7 มิถุนายน 2562 ณ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี
สาหรับอาจารย์สงั เกตการณ์

เวลา กิจกรรม สถานที่


วันอังคารที่ 4 มิถนุ ายน 2562 (การแต่งกาย : ชุดสุภาพ)
09.00 – 12.00 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมงาน โถงชั้น 1 อาคาร CL
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน โถงชั้น 1 อาคาร CL
13.00 – 15.00 น. พิธีเปิดการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 ห้องประชุม CL-101 ชั้น 1
15.00 – 16.00 น. ชี้แจงกติกาการแข่งขัน ห้องประชุม CL-101 ชั้น 1
16.00 – 18.00 น. ทดสอบระบบการแข่งขัน อาคารคณะวิทยาการสารสนเทศ ชัน้ 3
18.00 – 19.00 น. รับประทานอาหารเย็น โถงชั้น 1 อาคาร CL
19.00 น. กลับที่พัก บางแสน บานาน่าเพลส
วันพุธที่ 5 มิถนุ ายน 2562 (การแต่งกาย : เสือ้ โปโล TOI15)
07.00 – 08.00 น. รับประทานอาหารเช้า โถงชั้น 1 อาคาร CL
08.00 – 16.00 น. ทัศนศึกษา/รับประทานอาหารกลางวัน สวนนงนุช พัทยา
16.00 – 18.00 น. รับรองผลการสอบ ห้อง IF-304 ชัน้ 3
18.00 – 19.00 น. รับประทานอาหารเย็น โถงชั้น 1 อาคาร CL
19.00 น. กลับที่พัก บางแสน บานาน่าเพลส
วันพฤหัสบดีที่ 6 มิถนุ ายน 2562 (การแต่งกาย : ชุดสุภาพ)
07.00 – 08.00 น. รับประทานอาหารเช้า โถงชั้น 1 อาคาร CL
08.00 – 12.00 น. การบรรยาย “Smart City” ห้องประชุม CL-202 ชั้น 2
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน โถงชั้น 1 อาคาร CL
13.00 – 16.00 น. กิจกรรมเสวนาวิชาการ ห้องประชุม CL-202 ชั้น 2
16.00 – 18.00 น. รับรองผลการสอบ ห้อง IF-304 ชัน้ 3
18.00 – 22.00 น. งานเลี้ยงสังสรรค์ โรงแรมเทา-ทอง
22.00 น. กลับที่พัก บางแสน บานาน่าเพลส
วันศุกร์ที่ 7 มิถนุ ายน 2562 (การแต่งกาย : ชุดสุภาพ)
07.00 – 08.00 น. รับประทานอาหารเช้า โถงชั้น 1 อาคาร CL
08.00 – 09.00 น. ลงทะเบียนพิธีปิดการแข่งขัน โถงชั้น 1 อาคาร CL
09.00 – 12.00 น. พิธีปิดการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 ห้องประชุม CL-101
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน โถงชั้น 1 อาคาร CL
13.00 น. เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ -
หมายเหตุ CL : อาคารปฏิบตั กิ ารพืน้ ฐานและศูนย์เครือ่ งมือวิทยาศาสตร์ , IF : อาคารคณะวิทยาการสารสนเทศ

10
กาหนดการพิธีเปิดการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15
(The 15th Thailand Olympiad in Informatics 2019)
วันอังคารที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2562
ณ ห้องประชุม CL-101 ชั้น 1 อาคารปฏิบัติการพื้นฐานและศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี

09.00 – 12.00 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมงาน


ณ โถงชั้น 1 อาคารปฏิบัติการพื้นฐานและศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
12.00 – 12.45 น. รับประทานอาหารกลางวัน
ณ โถงชั้น 1 อาคารปฏิบัติการพื้นฐานและศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
12.45 – 13.00 น. พร้อมกันห้องพิธีการ
ณ ห้องประชุม CL – 101 ชั้น 1 อาคารปฏิบัติการพื้นฐานและศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
13.00 – 13.10 น. พิธีเปิดการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15
- ชมวีดิทัศน์แนะนามหาวิทยาลัยบูรพา
- ชมวีดิทัศน์แนะนาคณะวิทยาศาสตร์
- ชมวีดิทัศน์แนะนาคณะวิทยาการสารสนเทศ
- ชมวีดิทัศน์แนะนาศูนย์ สอวน.
13.10 – 13.30 น. กล่าวรายงานการจัดการแข่งขัน
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกรัฐ ศรีสุข
ประธานศูนย์โอลิมปิกวิชาการ สอวน. มหาวิทยาลัยบูรพา
กล่าวต้อนรับ
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สมนึก ธีระกุลพิศุทธิ์
ผู้ปฏิบัติหน้าที่อธิการบดี มหาวิทยาลัยบูรพา
จุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัยและเครือ่ งสักการะพระฉายาลักษณ์
สมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวฒั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
โดย รองศาสตราจารย์ ดร. พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการมูลนิธิ สอวน.
กล่าวให้โอวาทแก่ผเู้ ข้าร่วมการแข่งขัน และกล่าวเปิดการแข่งขัน
โดย รองศาสตราจารย์ ดร. พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการมูลนิธิ สอวน.
13.30 – 14.00 น. พิธีเชิญธงประจาศูนย์ สอวน. จานวน 13 ศูนย์
14.00 – 14.15 น. นักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันกล่าวปฏิญาณตน
อาจารย์ผู้แทนศูนย์ สอวน. ทั้ง 13 ศูนย์ และคณะกรรมการกล่าวปฏิญาณตน
14.15 – 14.30 น. ถ่ายภาพร่วมกับประธานในพิธี อาจารย์ และนักเรียนแต่ละศูนย์
14.30 – 15.00 น. ฟังคาชี้แจงกิจกรรมถัดไป

11
กาหนดการพิธีปดิ การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15
(The 15th Thailand Olympiad in Informatics 2019)
วันศุกร์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2562
ณ ห้องประชุม CL-101 ชั้น 1 อาคารปฏิบัติการพื้นฐานและศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี

08.00 – 09.00 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมงาน ณ โถงชัน้ 1 อาคารปฏิบัตกิ ารพื้นฐานและศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์


09.00 – 09.15 น. พิธปี ดิ การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครัง้ ที่ 15
ณ ชัน้ 1 อาคารปฏิบัติการพื้นฐานและศูนย์เครือ่ งมือวิทยาศาสตร์
- ชมประมวลภาพการแข่งขัน
09.15 – 10.45 น. กล่าวรายงานสรุปผลการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครัง้ ที่ 15
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกรัฐ ศรีสุข
ประธานศูนย์โอลิมปิกวิชาการ สอวน. มหาวิทยาลัยบูรพา
มอบเกียรติบตั รรางวัลเหรียญทองแดงพร้อมเหรียญรางวัล
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกรัฐ ศรีสุข
ประธานศูนย์โอลิมปิกวิชาการ สอวน. มหาวิทยาลัยบูรพา
มอบเกียรติบตั รรางวัลเหรียญเงินพร้อมเหรียญรางวัล
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษณะ ชินสาร
คณบดีคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา
มอบเกียรติบตั รรางวัลเหรียญทองพร้อมเหรียญรางวัล
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สมนึก ธีระกุลพิศุทธิ์
ผู้ปฏิบัติหน้าทีอ่ ธิการบดี มหาวิทยาลัยบูรพา
มอบเกียรติบตั รรางวัลพิเศษ (คะแนนรวมสูงสุดระดับภูมภิ าค) พร้อมรางวัล
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สมนึก ธีระกุลพิศุทธิ์
ผู้ปฏิบัติหน้าทีอ่ ธิการบดี มหาวิทยาลัยบูรพา
มอบของทีร่ ะลึกและเกียรติบตั รให้แก่ศนู ย์ สอวน. ทัง้ 13 ศูนย์
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สมนึก ธีระกุลพิศุทธิ์
ผู้ปฏิบัติหน้าทีอ่ ธิการบดี มหาวิทยาลัยบูรพา
10.45 – 11.30 น. ถ่ายภาพร่วมกัน
- แบ่งตามตามประเภทเหรียญรางวัล
- แบ่งตามศูนย์ สอวน. จานวน 13 ศูนย์
11.30 – 12.00 น. มอบธงการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ให้แก่ศูนย์ สอวน. มหาวิทยาลัยขอนแก่นซึ่งเป็นเจ้าภาพ
จัดการแข่งขันครั้งถัดไป (ครั้งที่ 16)
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกรัฐ ศรีสุข
ประธานศูนย์โอลิมปิกวิชาการ สอวน. มหาวิทยาลัยบูรพา

12
รายชื่อผู้เข้าแข่งขันจากแต่ละศูนย์
ศูนย์ สอวน. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หัวหน้าทีม ดร. จักริน ชวชาติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รองหัวหน้าทีม อ.เบญจมาศ ปัญญางาม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผู้เข้าแข่งขัน นายบางกอก วาณิชยานนท์ ดาราวิทยาลัย
นายณัฐนภนต์ บารุงศรี บุญวาทย์วิทยาลัย
นายปณชัย ชมใจ สาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นายปวเรศ ดิลกวุฒิสิทธิ์ มงฟอร์ตวิทยาลัย
นางสาวกัลยกร กิจเสาวภาคย์ มงฟอร์ตวิทยาลัย
นายธีรดนย์ ไทยยันโต ดาราวิทยาลัย
ครูสงั เกตการณ์ อ.ชโยดม พลายสาร สตรีศรีน่าน

ศูนย์ สอวน. มหาวิทยาลัยขอนแก่น


หัวหน้าทีม ดร.มัลลิกา วัฒนะ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รองหัวหน้าทีม อ.ธนพล ตั้งชูพงศ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผู้เข้าแข่งขัน เด็กชายภัครินทร์ ลีไตรรงค์ สาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์)
นายกานต์ เจริญพร สาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์)
นายพีรพล สุดภู่ทอง ขอนแก่นวิทยายน
เด็กชายนนทพันธุ์ สิทธิโชติเลิศภักดี สาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (มอดินแดง)
นายธีธัช วิษณุโยธิน สาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์)
นายภคิน ไกรสินธุ์ สาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (มอดินแดง)
ครูสังเกตการณ์ อ.นฤดล พนมคา หนองบัวพิทยาคาร

ศูนย์ สอวน. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


หัวหน้าทีม ดร.วราวุฒิ ผ้าเจริญ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
รองหัวหน้าทีม ดร.ไพชยนต์ คงไชย มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ผู้เข้าแข่งขัน นายคุณานนต์ รัตนโกเศศ วิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย มุกดาหาร
นายธรรมฤทธิ์ ผิวทน ลือคาหาญวารินชาราบ
นางสาววิลาสินี ใจภักดี วิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย มุกดาหาร
นายธนภูมิ ชัยพรรณา ศรีสะเกษวิทยาลัย
นายวัชรพล ตรีสัตยสกุล วิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย มุกดาหาร
นายปิติณัช อุปัญญ์ วิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย มุกดาหาร
ครูสังเกตการณ์ อ.วีระยุทธ เดชพันธ์ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี
13
ศูนย์ สอวน. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
หัวหน้าทีม ผศ. ดร.อรรถสิทธิ์ สุรฤกษ์ มหิดลวิทยานุสรณ์
รองหัวหน้าทีม อ.บูญนที ศักดิ์บุญญารัตน์ มหิดลวิทยานุสรณ์
ผู้เข้าแข่งขัน นายจิราวุฒิ ทองระอา กาเนิดวิทย์
นายชยภัทร เลิศงามมงคลกุล มหิดลวิทยานุสรณ์
นายณัฏฐ์ภพ พรพลานามัย กาเนิดวิทย์
นายทัตต์ สังขะวิชัย กาเนิดวิทย์
นายภีรกานต์ ทองสตา กาเนิดวิทย์
นางสาวมาติกานต์ วัตราเศรษฐ์ กาเนิดวิทย์
นายปฏิพล ติยะจามร กาเนิดวิทย์
ครูสังเกตการณ์ อ.พรหมพงศ์ ภควันต์วงศ์ กาเนิดวิทย์

ศูนย์ สอวน. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี


หัวหน้าทีม ดร.พิชญสินี กิจวัฒนาถาวร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
รองหัวหน้าทีม อ.สมชาย กองธรรม บุญวััฒนา
ผู้เข้าแข่งขัน นายสรวิชญ์ มานะธุระ ราชสีมาวิทยาลัย
เด็กชายศิษฎา นาคเลื่อน ราชสีมาวิทยาลัย
นายศุภกร สิบทัศน์ บุรีรัมย์พิทยาคม
นางสาวธันยพร ปริวัฒนศักดิ์ บุรีรัมย์พิทยาคม
เด็กชายพัสกร อู่กาญจนกิตติ ราชสีมาวิทยาลัย
นายอินทนนท์ ฉัตรชัยพลรัตน์ ราชสีมาวิทยาลัย
นายศุภวิชญ์ เสรีพาณิชย์การ กาเนิดวิทย์
ครูสังเกตการณ์ อ.ทิพย์สุคนธ์ พันธ์กิ่ง บุญวัฒนา

ศูนย์ สอวน. มหาวิทยาลัยศิลปากร


หัวหน้าทีม ดร.รัชดาพร คณาวงษ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
รองหัวหน้าทีม อ.อภิเษก หงษ์วิทยากร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ผู้เข้าแข่งขัน นายทิวัตถ์ ทรัพย์รัตนกุล พรหมานุสรณ์ จังหวัดเพชรบุรี
นายวิชญ์นพัฒน์ จาปาเรือง พรหมานุสรณ์ จังหวัดเพชรบุรี
นายณัฐชนน มนัสไพบูลย์ สาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
นายวุฒิสรรค์ ปราชญ์พยนต์ สาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
นายตะวันฉาย ฉัตรกุล ณ อยุธยา พรหมานุสรณ์ จังหวัดเพชรบุรี
นายปองภพ ไกรรวีโรจ อัสสัมชัญสมุทรปราการ
ครูสังเกตการณ์ นายศรัณย์ จันทร์แดง โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัยนครปฐม
14
ศูนย์ สอวน. โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย
หัวหน้าทีม 1 ดร.วสิศ ลิ้มประเสริฐ สามเสนวิทยาลัย
รองหัวหน้าทีม 1 อ.กรกมล กาเนิดกาญจน์ สามเสนวิทยาลัย
ผู้เข้าแข่งขันทีม 1 นายพิทักษ์พงศ์ กปิญชรานนท์ สวนกุหลาบวิทยาลัย
นายพิสิฐพงศ์ จงพิพัฒนากูล เตรียมอุดมศึกษา
นายพิสุทธิ์ จิระรัตนรังษี เทพศิรินทร์
นายอธิษฐาน บัวเทพ สวนกุหลาบวิทยาลัย
นายตราภูมิ สกุลปิยวงศ์ กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
นายอนาคินทร์ ธนัยนันท์ธา โพธิสารพิทยากร
เด็กชายกฤติธี รัชชนันท์ บดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
ครูสังเกตการณ์ทีม 1 อ.จิราพร จิตกุย สตรีศรีสุริโยทัย

หัวหน้าทีม 2 ดร.ศรัณย์ กุลยานนท์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รองหัวหน้าทีม 2 อ.สุรชัย ปิยะประภาพันธ์ เทพศิรินทร์
ผู้เข้าแข่งขันทีม 2 นายปราชญ์ บุญนัด กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
นายสิรณัฏฐ์ อัศวสุดสาคร สวนกุหลาบวิทยาลัย
นายวิริทธิ์พล ลิมปวิทยากุล กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
นายชลันธร จันมาธิกรกุล กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
นายสิรวิชญ์ พูลเขตร์กิจ เทพศิรินทร์
นายคณิน สุภาพ สวนกุหลาบวิทยาลัย
ครูสังเกตการณ์ทีม 2 อ.ธรัตน์ บัลลังค์โพธิ์ สตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์

หัวหน้าทีม 3 อ.ไพบูลย์ ปัทมวิภาต สามเสนวิทยาลัย


รองหัวหน้าทีม อ.คาหน้า แสนยะนันท์ สามเสนวิทยาลัย
ผู้เข้าแข่งขัน นายณัชพล ธนูรัตน์พงศ์ กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
ผู้เข้าแข่งขัน นายศิวกร เลิศไตรภิญโญ เตรียมอุดมศึกษา
นายกิตติภพ วิจิตรกิจจา อัสสัมชัญ
นายสิรวิชญ์ ติยะสุทธิพันธุ์ เทพศิรินทร์
นายศิลา ศิลาภิรัตพงศ์ เทพศิรินทร์
นายชยภัทร อาชีวระงับโรค สาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
ครูสังเกตการณ์ อ.ณัฐพล บัวอุไร สวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต

15
ศูนย์ สอวน. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
หัวหน้าทีม ผศ.สุนันต์ ทองสีนุช มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
รองหัวหน้าทีม ผศ. ดร.เกรียงศักดิ์ ดาชุม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ผู้เข้าแข่งขัน นายภทรกร นิจจรัลกุล วิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล
นายบุริศร์ คงกระพันธ์ สาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เด็กหญิงบัซลาอ์ ศิริพธั นะ วิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล
นายวิลดาน หลงลูวา วิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล
นายลุตฟี ดีแม พัฒนาวิทยา
นางสาวนภัสสร รัตนสุวรรณ วิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล
ครูสังเกตการณ์ อ.รุ่งนภา บุญธรรม วิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล

ศูนย์ สอวน. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่


หัวหน้าทีม ดร.จารุณี ดวงสุวรรณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
รองหัวหน้าทีม ดร.ชินพงศ์ อังสุโชติเมธี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ผู้เข้าแข่งขัน นางสาวกชพรรณ หิรัณยรัศมีวงศ์ ธิดานุเคราะห์
นายธนวัฒน์ ผลเกิด ภูเก็ตวิทยาลัย
นายจิรายุวัฒน์ บุญจันทร์ มอ.วิทยานุสรณ์
นายศรณ์ ตันหราพันธุ์ มอ.วิทยานุสรณ์
นายเกียรตินรินทร์ อุดมลาภสกุล วิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง
นายญาณาธิป นาคทิม หาดใหญ่วิทยาลัย
ครูสังเกตการณ์ อ.แก้วตา ชูกลิ่น สตรีภูเก็ต

ศูนย์ สอวน. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์


หัวหน้าทีม ผศ.ดร.โกวิท กิตติวุฒิศักดิ์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
รองหัวหน้าทีม ผศ.ดร.เยาวเรศ ศิริสถิตย์กุล มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผู้เข้าแข่งขัน นายนนทวัต ทองปรอน ศรียาภัย
นายเจตนิพัทธ์ ลาภสุวรรณวงศ์ ศรียาภัย
นายกฤตเมธ แก้วชื่น วิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช
นางสาวฐิติชญา พวงเหล่าเวช วิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช
นายนัฐวุฒิ พิชัยกาล สาธิตเทศบาลวัดเพชรจริก
นายจิรภัทร แก้วส่งแสง สุราษฎร์ธานี
ครูสังเกตการณ์ อ.อัศวิน จุลมูล เตรียมอุดมศึกษาภาคใต้
อ.พรพิมล คงเปีย วิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช

16
ศูนย์ สอวน. มหาวิทยาลัยนเรศวร
หัวหน้าทีม ผศ.ดร.วินัย วงษ์ไทย มหาวิทยาลัยนเรศวร
รองหัวหน้าทีม ผศ.ดร.ธนะธร พ่อค้า มหาวิทยาลัยนเรศวร
ผู้เข้าแข่งขัน นายณิวัฒน์ชัย หวังตระกูลดี จ่านกร้อง
นายธนกฤต ทองหล่อ สวรรค์อนันต์วิทยา
นางสาวกัญญาภัค สดโพธิ์ เฉลิมขวัญสตรี
นางสาวนัฐริกา เดชบุญ มัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
นายพศิน อ่าวงศ์ วิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก
นายไพฑูรย์ ทองมีศรีสุข พิษณุโลกพิทยาคม
ครูสังเกตการณ์ อ.อานนท์ มากมี เฉลิมขวัญสตรี

ศูนย์ สอวน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


หัวหน้าทีม ดร.เสฎฐวิทย์ เกิดผล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
รองหัวหน้าทีม ดร.นพดล จันทร์เอี่ยม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผู้เข้าแข่งขัน นายจิตรชัย คชฤทธิ์ พิบูลวิทยาลัย
นายแทนไท สมยา สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี
เด็กหญิงธนภรณ์ กิจวรเกียรติ สายปัญญารังสิต
นายพิริยะ โอภาสยานนท์ สวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต
นายภัทร์วศิน สุกใส สวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต
นางสาวรดา วิมลขจรกิตติ สวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต

ศูนย์ สอวน. มหาวิทยาลัยบูรพา


หัวหน้าทีม ผศ.ดร.สุนิสา ริมเจริญ มหาวิทยาลัยบูรพา
รองหัวหน้าทีม อ.อัครพนธ์ วัชรพลากร มหาวิทยาลัยบูรพา
ผู้เข้าแข่งขัน นายกันตภณ เนตรพิศาลวนิช ชลราษฎรอารุง
นายธวัชวีร์ เอี่ยมอารีรัตน์ ชลราษฎรอารุง
นายรัชนาท ลาชโรจน์ ระยองวิทยาคม
นายชัยพฤกษ์ มูสกุล ระยองวิทยาคม
เด็กหญิงวิชาดา ชัยประเสริฐสุด ระยองวิทยาคม
นายนัน วาณิชยชลกิจ ระยองวิทยาคม
นายธีรุตม์ สีเขียว ระยองวิทยาคม
นายภูมิพัฒน์ ชัยประเสริฐสุด ระยองวิทยาคม
ครูสังเกตการณ์ นายพงศกร เพ็งบุญ ระยองวิทยาคม
นางสาวจารุภา อุทัยธรรม ระยองวิทยาคม
นางเมลดา ท่าหลวง ระยองวิทยาคม
17
ตราสัญลักษณ์และความหมาย

อักษร T สีเทา หมายถึง ความเจริญทางสติปัญญา เป็นสีหนึ่งของสีประจามหาวิทยาลัยบูรพา ภายในประกอบไปด้วย


ลายแผงวงจร ซึ่งมีจุดทั้งหมด 13 จุด ซึ่งในเทคนิคจุดบนแผ่นวงจรพิมพ์ดังกล่าว ใช้สาหรับเชื่อมต่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือแผ่นวงจร
อื่น ๆ ซึ่งหมายถึง ศูนย์ สอวน. ทั้ง 13 ศูนย์ และจุดทั้ง 13 จุด เชื่อมต่อไปยังแผนที่โลกด้านบน แสดงถึง ผู้ที่ชนะการแข่งขันจะเป็นตัวแทน
เพื่อเข้าแข่งขันในระดับนานาชาติต่อไป

รูปสัญลักษณ์วงกลม สีฟ้า และภายในประกอบด้วย คลื่น ต้นมะพร้าว และเรือใบ สื่อถึงตัวอักษร O หมายถึง “บางแสน”


สถานที่ท่องเที่ยวทางทะเลที่มีชื่อเสียงมาช้านาน ซึ่งอยู่ใกล้กับทางมหาวิทยาลัยบูรพา สถาบันอุดมศึกษาเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันครั้ งนี้
นอกจากนี้ในวงกลมยังมีนกสองตัว สื่อถึง สองคณะ ร่วมเป็นเจ้าภาพ ได้แก่ คณะวิทยาศาสตร์ และคณะวิทยาการสารสนเทศ

อักษร I สีทอง หมายถึง คุณธรรม เป็นอีกสีหนึ่งของสีประจามหาวิทยาลัย วงกลมด้านบน บรรจุเลข 15th หมายถึงการ


แข่งขันครั้งนี้ เป็นครั้งที่ 15 ภายใต้วงกลมเป็นตัวอักษรใน บรรจุไปด้วยเลข 0 และ 1 จัดเรียงไว้ 6 แถว แถวละ 8 ตัว คือ Binary Code แปล
ผลเป็นรหัส ASCII ถอดความออกได้เป็น “15 TOI 2019”

18
รายละเอียดการแข่งขัน
รูปแบบการแข่งขัน
เป็นโครงการจัดการแข่งขันเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อแก้ไขโจทย์ปัญหาในด้านการคานวณเชิงตัวเลข วิทยาการ
คอมพิวเตอร์ และสาขาที่เกี่ยวข้อง โดยยึดรูปแบบตามธรรมนูญการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ โดยการสอบทั้งหมดมี 2 รอบ
ข้อสอบอยู่ในระดับค่อนข้างยาก ผู้เข้าสอบต้องมีความเชี่ยวชาญในการเขียนโปรแกรม และการแก้ปัญหาโดยใช้คอมพิวเตอร์

การออกข้อสอบ
การออกข้อสอบจะดาเนินการโดยคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิออกข้อสอบตามประกาศมูลนิธิ สอวน. ซึ่งประกอบด้วย
คณะกรรมการจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และคณะที่ปรึกษาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี มหาวิทยาลัย
อุบลราชธานี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยบูรพา และมหาวิทยาลัยสุรนารี

การตรวจข้อสอบและรับรองผลการสอบ
สาหรับการตรวจข้อสอบ การตัดสิน และรับรองผลการสอบ จะดาเนินการโดยคณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ และ
คณะอนุกรรมการฝ่ายรับรองข้อสอบ และตัดสินผลสอบ ซึ่งประกอบด้วยคณะอนุกรรมการจากมหาวิท ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ
นครเหนือ และคณะที่ปรึกษาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
นเรศวร มหาวิทยาลัยบูรพา และมหาวิทยาลัยสุรนารี รวมทั้งอาจารย์ผู้ควบคุมทีมซึ่งเป็นผู้แทนจากแต่ละศูนย์ สอวน. ทุกศูนย์ ทั้งนี้เพื่ อเปิด
โอกาสให้อาจารย์จากแต่ละศูนย์ สามารถอุทธรณ์เพื่อปรับคะแนนของนักเรียนในศูนย์ของตนให้เหมาะสม

ข้อปฏิบัติของผู้แข่งขันในขณะทาการแข่งขัน
1. ไม่รบกวนการทางานของผู้แข่งขันอื่นๆ
2. ไม่ทาลายอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้สาหรับการแข่งขัน
3. ไม่ใช้ระบบเครือข่าย หรือระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการแข่งขัน
4. ไม่ใช้เว็บเบราว์เซอร์ติดต่อไปยังเว็บไซต์อื่น ๆ นอกเหนือจากเว็บของการแข่งขันเท่านั้น
5. ไม่รุกล้าระบบความมั่นคงของเครือข่าย และคอมพิวเตอร์
6. ไม่พยายามติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่นในขณะที่ตนเองกาลังดาเนินการแข่งขันอยู่ ยกเว้นการติดต่อกับกรรมการ
ควบคุมการสอบเท่านั้น

การฝ่าฝืนข้อห้ามข้างต้นถือเป็นการละเมิดกฎการแข่งขัน และจะมีผลให้ผู้ที่ละเมิดหมดสิทธิ์
ในการแข่งขันและการรับรางวัลทุกประเภททันที ทั้งนี้การตัดสิทธิ์ดังกล่าวให้ขึ้นอยู่กับมติของคณะกรรมการ
จัดการแข่งขัน ผู้แทนของแต่ละศูนย์ต้องรับผิดชอบในการทาความเข้าใจกับผู้แข่งขัน ในสังกัดศูนย์ของ
ตนเองให้เข้าใจและปฏิบัติตามกฎข้อบังคับของการแข่งขันอย่างเคร่งครัด
19
ข้อปฏิบัติของผู้แข่งขันในขณะเข้าร่วมกิจกรรมอื่น ๆ ของการแข่งขัน
1. นักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันจะต้องอยู่ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ทุกกิจกรรม ที่ศูนย์เจ้าภาพได้จัดให้มีขึ้นตลอดช่วง
ระยะเวลาของการแข่งขัน ยกเว้นกรณีเจ็บป่วย หรือมีเหตุจาเป็นสุดวิสัยซึ่งจะต้องได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการ
จัดการแข่งขันของศูนย์เจ้าภาพอย่างเป็นทางการ
2. นั ก เรี ย นที่ เ ข้ า ร่ ว มการแข่ ง ขั น จะต้ อ งแต่ ง กายตามที่ ค ณะผู้ จั ด งานก าหนดตลอดระยะเวลาการแข่ ง ขั น โดยมี
รายละเอียดดังต่อไปนี้
2.1. วันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2562 เครื่องแบบนักเรียน
2.2. วันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ชุดสุภาพ (เสื้อยืด กางเกงขายาว รองเท้าผ้าใบ)
2.3. วันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2562 เสื้อยืด TOI สีเทา กางเกงขายาว รองเท้าผ้าใบ
2.4. วันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2562 เครื่องแบบนักเรียน
การฝ่าฝืนข้อห้ามข้างต้นถือเป็นการละเมิดกฎการแข่งขัน และให้คณะกรรมการจัดการแข่งขันของศูนย์เจ้าภาพ
โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการจากศูนย์ สอวน. วิชาคอมพิวเตอร์ทั่วประเทศพิจารณาดาเนินการลงโทษด้วยบทลงโทษ บทใด
บทหนึ่งต่อไปนี้ ได้แก่ การตักเตือน การตัดคะแนนการแข่งขัน การตัดสิทธิ์การรับรางวัล การตัดสิทธิ์การเข้าร่วมสอบแข่งขัน หรือ
การส่งตัวกลับ โดยอาจจะพิจารณาแจ้งความประพฤติไปยังโรงเรียนต้นสังกัดของนักเรียนเป็นการเพิ่มเติมได้ด้วย

ขอบเขตเนื้อหาวิชาที่ครอบคลุมในการแข่งขัน
แบ่งได้เป็น 3 หมวด คือ (1) คณิตศาสตร์ (2) พื้นฐานวิทยาการคอมพิวเตอร์ และ (3) อัลกอริทึม
(1) หมวดคณิตศาสตร์
1.1. เลขคณิตและเรขาคณิต
1.1.1. จานวนเต็ม คุณสมบัติของเลขจานวนเต็ม (ค่าบวก ค่าลบ เลขคู่ เลขคี่ การหารลงตัว จานวนเฉพาะ)
1.1.2. เลขเศษส่วน และร้อยละ
1.1.3. จุด เวคเตอร์ พิกัดจุดแบบคาร์ทิเชียน (Cartesian coordinates) ในตารางสองมิติที่มีพิกัดเป็นจานวนเต็ม
1.1.4. ระยะทางแบบยูคลิด ทฤษฏีพิธากอรัส
1.1.5. ส่วนของเส้นตรง จุดตัดของเส้นตรง และคุณสมบัติพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง
1.1.6. มุม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมผืนผ้า สี่เหลี่ยมจัตุรัส วงกลม
1.2. โครงสร้างไม่ต่อเนื่อง (discrete structures)
1.2.1. ฟังก์ชัน ความสัมพันธ์ และเซ็ต
1.2.2. ตรรกศาสตร์พื้นฐาน
1.2.3. วิธีการพิสูจน์
1.2.4. วิธีการนับเบื้องต้น
1.2.4.1. กฎของการบวกและกฎของการคูณ (Sum rule and Product rule), หลักการเพิ่ม
เข้า-ตัดออก (inclusion-exclusion principle), ลาดับเลขคณิตและเรขาคณิต
จานวนแบบฟิโบนัชชิ (Fibonacci numbers)
20
1.2.4.2. กฎรังนกพิราบ (Pigeonhole principle) เพื่อใช้ในการหาขอบเขต
1.2.4.3. การเรียงสับเปลี่ยน และวิธีจัดหมู่ระดับพื้นฐาน
1.2.4.4. ฟังก์ชันเลขเศษส่วน (Fractional function) และสัมประสิทธิ์ทวินาม (Binomial coefficient)
1.2.5. กราฟและต้นไม้
1.2.5.1. ต้นไม้และคุณสมบัติพื้นฐาน
1.2.5.2. กราฟไม่มีทิศทาง (degree, path, cycle, connectedness, Handshaking Lemma)
1.2.5.3. กราฟแบบมีทิศทาง (in-degree, out-degree, directed path/cycle)
1.2.5.4. Spanning trees
1.2.5.5. วิธีการเดินผ่านต้นไม้ (traversal strategies: defining the node order for ordered trees)
1.2.5.6. 'Decorated' graphs with edge/node labels, weights, colors
1.2.5.7. Multigraphs และ graphs ที่มี self loops
หมายเหตุ การแข่งขันไม่ครอบคลุมเนื้อหาเรื่อง planar graphs, bipartite graphs, และ hypergraphs
1.3. เนื้อหาที่ไม่รวมอยู่ในการแข่งขัน
1.3.1. แคลคูลัส
1.3.2. ความน่าจะเป็น
1.3.3. สถิติ
1.3.4. จานวนจริงและจานวนเชิงซ้อน
1.3.5. ภาคตัดกรวยทั่วไป (parabolas, hyperbolas, ellipses) แต่เรื่องวงกลมอยู่ภายใต้ขอบเขต
เนื้อหาในการแข่งขันระดับชาติ
1.3.6. โพลิกอน (ในระดับนานาชาติจะครอบคลุมเนื้อหาเกี่ยวกับโพลิกอน)
(2) หมวดพื้นฐานวิทยาการคอมพิวเตอร์
2.1. พื้นฐานด้านการเขียนโปรแกรม
2.2. ทักษะการแก้ปัญหา (problem-solving skill)
2.3. พื้นฐานโครงสร้างข้อมูล
2.3.1. ชนิดข้อมูลดั้งเดิม (Primitive data type) ได้แก่ Boolean, signed/unsigned integer, character
2.3.2. แถวลาดับ (อาเรย์ อาเรย์หลายมิติ)
2.3.3. Record/Struct
2.3.4. สตริงและการดาเนินการกับสตริง
2.3.5. Static และ Stack allocation
2.3.6. Lined structures (ทั้งที่เป็นแบบเส้นตรง และแบบที่แบ่งเป็นสาขาได้)
2.3.7. การสร้าง โครงสร้างกองซ้อน (stack), คิว (queue), ต้นไม้ และกราฟ
2.3.8. การเลือกโครงสร้างข้อมูลที่เหมาะสม
2.3.9. คิวลาดับความสาคัญ (priority queue), ไดนามิกเซต (dynamic set), ไดนามิกแมพ
(dynamic map)
21
2.4. การเรียกตัวเองซ้า (Recursion)
2.4.1. แนวคิด
2.4.2. ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่เรียกตัวเองซ้า
2.4.3. วิธีแบ่งแยกและเอาชนะ (divide and conquer)
2.4.4. อัลกอริทึมการย้อนรอยแบบเรียกตัวเองซ้า (recursive backtracking)
(3) หมวดอัลกอริทมึ
3.1. พื้นฐานการวิเคราะห์ความซับซ้อนของอัลกอริทึม (algorithmic complexity)
3.2. กลวิธีทางอัลกอริทึม
3.2.1. Brute-Force algorithm
3.2.2. Greedy algorithm
3.2.3. การแบ่งแยกและเอาชนะ
3.2.4. Backtracking (ทั้งที่เป็นแบบเรียกตัวเองซ้า และไม่เรียกตัวเองซ้า)
3.2.5. Branch-and-Bound algorithm
3.2.6. Pattern matching and string/text algorithm
3.2.7. Dynamic programming
3.3. อัลกอริทึมเชิงคานวณพื้นฐาน
3.3.1. อัลกอริทึมเชิงตัวเลขพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับจานวนเต็ม เช่น Radix Conversion, Euclid's
algorithm, Primality test in O(N1/2), Sieve of Eratosthenes, Factorization, Efficient
exponentiation
3.3.2. การจัดการอาร์เรย์ขั้นพื้นฐาน (รวมถึงการทาฮิสโทแกรม และ Bucket sort)
3.3.3. Sequential และ Binary search
3.3.4. Search by elimination
3.3.5. การแบ่งข้อมูล (partitioning) การจัดลาดับด้วยการแบ่งข้อมูลซ้าๆ Quick sort
3.3.6. การเรียงข้อมูลที่มีเวลาที่แย่ที่สุดเป็น O(NlogN) เช่น Heap sort และ Merge sort
3.3.7. Binary heap พื้นฐาน และ Binary search tree
3.3.8. การบรรยายโครงสร้างกราฟ เช่น adjacency list และ adjacency matrix
3.3.9. Depth-first and breadth-first traversals of graphs และการหาองค์ประกอบที่เชื่อมต่อกัน
ของกราฟแบบไม่มีทิศทาง
3.3.10. Shortest path algorithm เช่น Dijkstra, Bellman-Ford และ Floyd-Warshall
3.3.11. Transitive closure (Floyd's algorithm)
3.3.12. Minimum spanning tree
3.3.13. Topological sort

22
โปรแกรมที่ติดตั้งในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการแข่งขัน
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการแข่งขันใช้ระบบปฏิบัติการ Linux โดยมีโปรแกรมที่ติดตั้งดังนี้
1. ระบบปฏิบัติการ Ubuntu 64 บิต (18.04.2)
2. Web browsers: Google Chrome (74.0.3729.15)
3. Editors: codeblocks (17.12-1), vim (8.0.1453), kate (17.12.3), kwrite (17.12.3), kdevelop(5.2.1),
emacs(25.2.2), gedit (3.28.1), nano (2.9.3)
4. Compiler: gcc, g++ (7.4.0)
5. Debugger: gdb (8.1.0)
หมายเหตุ: ตัวเลขในวงเล็บคือหมายเลขเวอร์ชันของโปรแกรม ทางคณะกรรมการอาจเปลี่ยนแปลงเวอร์ชันของโปรแกรม
ต่างๆ เป็นเวอร์ชันที่ใหม่ขึ้น หากเห็นสมควร

ข้อกาหนดของระบบปฏิบัตกิ ารและตัวแปลภาษาที่ใช้ในการแข่งขัน
1. โปรแกรมที่ผู้เข้าแข่งขันจัดทาในระหว่างการแข่งขัน กาหนดให้เขียนตามมาตรฐานของภาษา C หรือภาษา C++ ไม่
อนุญาตให้เขียนโปรแกรมที่ทางานใน Graphic Mode
2. ฟังก์ชันทั้งหมดในการเขียนโปรแกรม กาหนดให้ใช้ฟังก์ชันจากคลังมาตรฐานของภาษา C (The Standard C
Library), conio.h (เฉพาะการทางานบนระบบปฏิบัติการวินโดวส์) และ Standard Template Library (STL) เท่านั้น
2.1. ไม่อนุญาตให้ใช้ฟังก์ชันจัดการกับแฟ้มและอุปกรณ์โดยตรงที่กาหนดรูปแบบใช้งานในแฟ้ม (fcntl.h), (io.h)
และ (iomanip.h)
2.2. ไม่อนุญาตให้โปรแกรมสร้างแฟ้มข้อมูลสารองเพิ่มเติมระหว่างการทางาน ห้ามอ่านหรือเขียนแฟ้มข้อมูลอื่น
นอกเหนือจากที่โจทย์ระบุ
2.3. ไม่อนุญาตให้เรียกใช้โปรแกรมอื่นๆ (เช่น ผ่านทางฟังก์ชัน system) หรือเรียกใช้ system call นอกเหนือจากที่ใช้งานปกติ
2.4. ไม่อนุญาตให้ทาการคานวณแบบมัลติโปรเซสซิง (multi-processing) เช่น ไม่อนุญาตให้โปรแกรมเรียกใช้
ฟังก์ชันใน thread library ต่างๆ
3. โปรแกรมภาษา C ที่ผู้เข้าแข่งขันจัดทาในระหว่างการแข่งขัน กาหนดให้เขียนโปรแกรมที่ส่วนขยายเป็น .c สาหรับ
ภาษา C++ ให้ใช้นามสกุล .cpp และต้องอยู่ในรูปแบบที่สามารถแปล (compile) ให้เป็นโปรแกรมที่สามารถทางาน
ได้โดยสมบูรณ์จากบรรทัดคาสั่ง (command line)
4. ใช้ GCC (GNU compiler collection) ในการตรวจโปรแกรมเพื่อให้คะแนน โดยใช้วิธีการแปลและให้ทางานจาก
บรรทัดคาสั่งเท่านั้น โปรแกรมจะถูกสั่งให้ทางานบนระบบปฏิบัติการและคอมไพเลอร์เดียวกันกับที่ผู้เข้าแข่งขัน
เลือกใช้ ทั้งนี้เครื่องที่ใช้ในการตรวจสอบคาตอบของผู้เข้าแข่งขันจะเลือกระบบปฏิบัติการและคอมไพเลอร์โดย
พิจารณาข้อมูลจากที่กาหนดไว้ที่ต้นไฟล์คาตอบของผู้เข้าแข่งขัน (รายละเอียดเพิ่มเติมอยู่ในหัวข้อ 'ข้อมูลและ
รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการแข่งขัน')
5. คอมไพเลอร์ออปชัน (compiler option) ที่ใช้ในการแข่งขันจะทาการออปทิไมซ์ (optimize) โปรแกรมโดยใช้ออปชัน -O2
6. อนุญาตให้เขียนโปรแกรมภาษา C ตามมาตรฐาน C++11 โดยคอมไพเลอร์ออปชันที่กาหนดเพิ่มใช้ออปชัน -std=c++11

23
เกณฑ์การให้คะแนน
สาหรับการตรวจให้คะแนนในการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติครั้งที่ 10 นี้ ได้มีการกาหนดเงื่อนไขสาหรับ
การตรวจชุดทดสอบเพื่อความสะดวกในการตัดสินและสามารถรองรับการแสดงคะแนนแบบทันที โดยได้กาหนดประเภทชุดทดสอบ (test
case) ที่ใช้ในการแข่งขันออกเป็น 4 ประเภทดังนี้
1. ชุดทดสอบธรรมดา (Normal test case) ชุดทดสอบนี้เหมือนกับชุดทดสอบที่ใช้ในการแข่งขันครั้งที่ผ่านๆมา โดย
ทาการตรวจทุกชุดทดสอบและผู้เข้าแข่งขันจะได้คะแนนตามจานวนของชุดทดสอบที่ถูกต้อง
2. ชุดทดสอบที่จะตรวจเมื่อผ่านชุดทดสอบอื่นก่อน (Prerequisite test case) ชุดทดสอบนี้มีเพื่อประหยัดเวลาในการ
ตรวจชุดทดสอบของเครื่องตรวจ จะทาการตรวจชุดทดสอบนี้ก็ต่อเมื่อมีการรันชุดทดสอบอื่นที่กาหนดไว้ผ่านก่อน
เท่านั้นและผู้เข้าแข่งขันจะได้คะแนนตามจานวนชุดทดสอบที่ถูกต้อง โดยจะใช้ชุดทดสอบประเภทนี้สาหรับการวัด
ประสิทธิภาพในการประมวลผลทั้งในแง่ของเวลาและหน่วยความจา
3. กลุ่มชุดทดสอบที่ต้องผ่านทุกชุดทดสอบในกลุ่ม (Group test case) กลุ่มชุดทดสอบนี้มีเพื่อป้องกันผู้เข้าแข่งขันทา
การเดาคาตอบจากคะแนนที่ได้ โดยรวมเอาชุดทดสอบหลายชุดมาสร้างเป็นกลุ่มของชุดทดสอบ และผู้เข้าแข่งขัน
จะได้คะแนนจากกลุ่มชุดทดสอบนี้เมื่อรันชุดทดสอบทุกชุดทดสอบในกลุ่มผ่านเท่านั้น
4. กลุ่มชุดทดสอบที่จะตรวจเมื่อผ่านชุดทดสอบ(กลุ่ม)อื่นและจะได้คะแนนเมื่อผ่านทุกชุดทดสอบในกลุ่ม จะทาการ
ตรวจชุดทดสอบนี้ก็ต่อเมื่อมีการรันชุดทดสอบอื่นที่กาหนดไว้ผ่านก่อนเท่านั้นและผู้เข้าแข่งขันจะได้คะแนนเมื่อรัน
ชุดทดสอบทุกชุดทดสอบในกลุ่มผ่านเท่านั้น

นอกจากนี้คะแนนของชุดทดสอบแต่ละชุดอาจจะกาหนดคะแนนไม่เท่ากัน โดยอาจมีการระบุเกณฑ์การให้คะแนนอย่าง
คร่าวๆไว้ในข้อสอบ เพื่อให้ผู้เข้าแข่งขันสามารถประเมินขอบเขตคะแนนได้

ตัวอย่างการให้คะแนนจากเกณฑ์การให้คะแนนใหม่ดังนี้
กาหนดโจทย์ "จงเขียนโปรแกรมรับค่า X เพื่อตรวจสอบว่าเป็นจานวนเฉพาะหรือไม่ ถ้าใช่ให้แสดง Y ถ้าไม่ใช่ให้แสดง N"
จากโจทย์นี้อาจสร้างโปรแกรมเฉลยและสร้างชุดทดสอบได้ดังนี้
โปรแกรมเฉลยที่ 1 ได้คะแนน 40 % worse case
โปรแกรมเฉลยที่ 2 ได้คะแนน 100% worse case

ชุดทดสอบ ค่า X ผลลัพธ์ Group test case Prerequisite test case น้าหนักคะแนน

1 2 Y - - 5

2 97 Y A - 10

3 1002001 N A - 10

24
ชุดทดสอบ ค่า X ผลลัพธ์ Group test case Prerequisite test case น้าหนักคะแนน

4 880001 Y A - 10

5 88000009 Y B 2,3,4 30

6 98029801 N B 2,3,4 30

7 1 N - - 5

จากตัวอย่างนี้ จะเห็นว่าชุดทดสอบที่ 2-4 อยู่ในกลุ่มเดียวกันต้องรันผ่านทั้งหมดจึงจะได้ 30 คะแนน และหากรันไม่ผ่านชุด


ทดสอบชุดใดชุดหนึ่งในกลุ่มนี้ก็จะได้ 0 คะแนนทันที สาหรับชุดทดสอบที่ 5และ 6 จะทาการตรวจเมื่อชุดทดสอบที่ 1, 2, 3 และ 4 ผ่าน และ
จะได้คะแนนก็ต่อเมื่อรันผ่านทั้งสองชุดทดสอบเช่นกัน สาหรับชุดทดสอบที่ 1 และ 7 เป็นชุดทดสอบธรรมดา โดยจะตรวจชุดทดสอบนี้ทุก
ครั้ง
จากชุดทดสอบที่กาหนดให้สามารถอธิบายตัวอย่างการให้คะแนนได้ดังนี้ โดยกาหนดให้ กาหนดให้ "P" แทนผลลัพธ์การรัน
ผ่าน "X" แทนผลลัพธ์การรันไม่ผ่าน "T" แทนผลลัพธ์การประมวลผลเกินเวลาที่กาหนด และ "-" แทนการไม่ตรวจเนื่องจากไม่ผ่านเงื่อนไข
การตรวจ

ผู้ หมายเลขชุดทดสอบ คะแนนที่ หมายเหตุ


แข่งขัน ได้
1 2 3 4 5 6 7

A P P X P - - P 10 ไม่ตรวจชุดทดสอบที่ 5 และ 6 เพราะ ชุดทดสอบที่ 3 ไม่ผ่าน และไม่ได้


คะแนนในชุดทดสอบที่ 2-4 เนื่องจากชุดทดสอบที่ 3 ไม่ผ่าน

B X P P P P T P 35 ไม่ได้คะแนนในชุดทดสอบที่ 5 และ 6 เนื่องจากชุดทดสอบที่ 6 ไม่ผ่าน

C P P T T - - X 5 ไม่ตรวจชุดทดสอบที่ 5 และ 6 เพราะชุดทดสอบที่ 3 และ 4 ประมวลผล


เกินเวลาที่กาหนด

D P P P P T T X 35

E P P P P P P X 95

F P P P P P X P 40

25
สถานที่จัดการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15
สถานที่จัดกิจกรรมพิธีการและรับประทานอาหาร
อาคารปฏิบัติการพื้นฐานและศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สถานที่จัดการสอบแข่งขัน
อาคารคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา

26
ที่พักสาหรับนักเรียน
หอพักนิสติ วิทยาลัยนานาชาติ (ภายในมหาวิทยาลัยบูรพา)

ที่พักสาหรับคณาจารย์

โรงแรมไพรม์ไทม์บางแสน PRIMETIME HOTEL


(สาหรับหัวหน้าทีม รองหัวหน้าทีม และกรรมการวิชาการ)
60 ถ.มิตรสัมพันธ์ ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี

บางแสน บานาน่าเพลส (สาหรับอาจารย์สงั เกตการณ์)


1/23 ซอย18 ถนนบางแสนสาย2 ต.แสนสุข อ.เมือง ชลบุรี 20130

27
สถานที่ทัศนศึกษา
นักเรียนทีเ่ ข้าร่วม
อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ (SPACE INSPIRIUM)

หัวหน้าทีม รองหัวหน้าทีม อาจารย์ผู้สงั เกตการณ์ คณะกรรมการวิชาการ


สวนนงนุช พัทยา

28
คณะกรรมการดาเนินงาน
การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 15
คณะกรรมการอานวยการ
1. อธิการบดี ประธานกรรมการ
2. รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร กรรมการ
3. รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ กรรมการ
4. รองอธิการบดีฝ่ายระบบกายภาพ กรรมการ
5. คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ กรรมการ
6. คณบดีคณะวิทยาการสารสนเทศ กรรมการ
7. รองคณบดีฝ่ายเสริมสร้างการเรียนรู้ คณะวิทยาศาสตร์ กรรมการและเลขานุการ

คณะกรรมการดาเนินงาน
1. คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ ประธานกรรมการ
2. คณบดีคณะวิทยาการสารสนเทศ กรรมการ
3. รองคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ กรรมการ
4. รองคณบดีคณะวิทยาการสารสนเทศ กรรมการ
5. ผู้ช่วยคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ กรรมการ
6. ประธานฝ่ายฯ กรรมการ
7. รองคณบดีฝ่ายเสริมสร้างการเรียนรู้ คณะวิทยาศาสตร์ กรรมการและเลขานุการ
8. นางสาวธารารัตน์ โนจิตร กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

คณะกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ และลงทะเบียน
1. นายประจักษ์ จิตเงินมะดัน ประธานกรรมการ
2. นางปริยา ปะบุญเรือง รองประธานกรรมการ
3. นายธนาชัย จันทรศร กรรมการ
4. นางสาวธารารัตน์ โนจิตร กรรมการ
5. นายชาติชาย มาลาพงษ์ กรรมการ
6. นางสาวนันทิกานต์ มงคลนรกิจ กรรมการ
7. นางสาวนพวรรณ ทับขัน กรรมการ
8. นางสมฤดี ศิริวัฒนะกูล กรรมการ
9. นายสิทธิพงษ์ ฉิมไทย กรรมการ

29
คณะกรรมการฝ่ายต้อนรับ
1. นายกฤษณะ ชินสาร ประธานกรรมการ
2. นายณัฐนนท์ ลีลาตระกูล รองประธานกรรมการ

คณะกรรมการฝ่ายพิธกี าร
1. นางอุรีรัฐ สุขสวัสดิ์ชน ประธานกรรมการ
2. นางปริยา ปะบุญเรือง รองประธานกรรมการ
3. นางจิตตาภา สารพัดนึก ไชยปัญญา กรรมการ
4. นางสาวชนิกานต์ กู้เกียรติ กรรมการ
5. นางสาวศริญญา ขวัญทอง กรรมการ
6. นางสาวอังศุมาลี สุทธภักติ กรรมการ
7. นางสาวสุภาวดี ศรีคาดี กรรมการ
8. นางสาวจรรยา อ้นปันส์ กรรมการ
9. นายภาคภูมิ พระประเสริฐ กรรมการ
10. นายอนันต์ อธิพรชัย กรรมการ
11. นางสาวกัญจน์ชญา หงส์เลิศคงสกุล กรรมการ
12. นางสาวสาธินี เลิศประไพ กรรมการ
13. นางธนิดา ตระกูลสุจริตโชค กรรมการ
14. นางปิยะพร ณ หนองคาย กรรมการ
15. นางยุภาพร สมีน้อย กรรมการ
16. นายภาณุพงศ์ บุญเพียร กรรมการ
17. นายพงศ์พันธ์ รุ่งขจรชัย กรรมการ
18. นางสาวประภารัตน์ มณีรัตน์ กรรมการ
19. นางสาวชนาภา ล้วนรัตน์ กรรมการ
20. ว่าที่ ร.ต. เกียรติษฎา ภูมิเพ็ง กรรมการ
21. นางสาวศิวานันท์ ไทยวิชญ์เจริญ กรรมการ
22. นางสาวธารารัตน์ โนจิตร กรรมการ

คณะกรรมการฝ่ายทีพ่ กั
1. นายอนันต์ อธิพรชัย ประธานกรรมการ
2. นายชาติชาย มาลาพงษ์ กรรมการ
3. นางสาวนันทิกานต์ มงคลนรกิจ กรรมการและเลขานุการ

30
คณะกรรมการฝ่ายอาหารและอาหารว่าง
1. นางปริยา ปะบุญเรือง ประธานกรรมการ
2. นางสาวภรณี ศรีปรีชาศักดิ์ รองประธานกรรมการ
3. นางสาวปาลิตา เอี่ยมหมดจด กรรมการ
4. นางสาวรัชดาภรณ์ อาจพงษ์ กรรมการ
5. นายภาณุพงศ์ บุญเพียร กรรมการ
6. นางสาวเกศวลี อุดมเวช กรรมการ

คณะกรรมการฝ่ายสถานที่ ยานพาหนะ พยาบาล และโสตทัศนูปกรณ์


1. นายภูสิต กุลเกษม ประธานกรรมการ
2. นายณรงค์ อึ้งกิมบ้วน รองประธานกรรมการ
3. ว่าที่ ร.ต. กิตติศักดิ์ เกตุแก้ว กรรมการ
4. นางสาวศรัณยา พงศ์เรืองรอง กรรมการ
5. นายจิรวัฒน์ มาตรแม้น กรรมการ
6. นางสาวจิดาภา จิตประสงค์ กรรมการ
7. นายกร ชื่นศิริ กรรมการ
8. นายวิชญา กันบัว กรรมการ
9. นายภาณุพงศ์ บุญเพียร กรรมการ
10. นายธวัชชัย ยอดยิ่ง กรรมการ
11. นายณัฐวุฒิ จาริยะศิลป์ กรรมการ
12. นางสาวนิตยา ติรพงษ์พัฒน์ กรรมการ
13. นางสาวศิริจันทร์ ชานาญช่าง กรรมการ
14. นางสาวปัทมา วชิรพันธุ์ กรรมการ
15. นางสาวเปรมปรีดา สลับสี กรรมการ
16. นางสาวหรรษา รอดเงิน กรรมการ

31
คณะกรรมการฝ่ายจัดเตรียมข้อสอบ
1. นายกฤษณะ ชินสาร ที่ปรึกษา
2. นายณัฐนนท์ ลีลาตระกูล ประธานกรรมการ
3. นายจักริน สุขสวัสดิ์ชน รองประธานกรรมการ
4. นายเหมรัศมิ์ วชิรหัตถพงศ์ กรรมการ
5. นายวรวิทย์ วีระพันธุ์ กรรมการ
6. นายโกเมศ อัมพวัน กรรมการ
7. นางสาวอังศุมาลี สุทธภักติ กรรมการ
8. นางคนึงนิจ กุโบลา กรรมการ
9. นายพิเชษ วะยะลุน กรรมการและเลขานุการ

คณะกรรมการฝ่ายจัดทาระบบการแข่งขัน
1. นายเหมรัศมิ์ วชิรหัตถพงศ์ ประธานกรรมการ
2. นายเอกภพ บุญเพ็ง กรรมการ
3. นายพีระศักดิ์ เพียรประสิทธิ์ กรรมการ
4. นายเกรียงศักดิ์ ปานโพธิ์ทอง กรรมการ
5. นายสิทธิพงษ์ ฉิมไทย กรรมการ
6. นายญาณพัฒน์ อินทร กรรมการ
7. นางสาวกุลชลี รัตนคร กรรมการ
8. นายกรสหนันท์ ต่อพงษ์พันธุ์ กรรมการ
9. นางสาวกมลวรรณ แสงระวี กรรมการ

คณะกรรมการฝ่ายของทีร่ ะลึกและเหรียญรางวัล
1. นางปริยา ปะบุญเรือง ประธานกรรมการ
2. นางสาวธารารัตน์ โนจิตร กรรมการ
3. นายชาติชาย มาลาพงษ์ กรรมการ

32
คณะกรรมการฝ่ายทัศนศึกษา
1. นางสาวนิรมล ปัญญ์บุศยกุล ประธานกรรมการ
2. นางคนึงนิจ กุโบลา รองประธานกรรมการ
3. นายวรวิทย์ วีระพันธุ์ กรรมการ
4. นายธนาชัย จันทรศร กรรมการ
5. นางสาวเกศวลี อุดมเวช กรรมการ
6. นายสามารถ สายอุต กรรมการ
7. นางสาวภรณี ศรีปรีชาศักดิ์ กรรมการ
8. นางสาวจินต์จุฑา โอวกุสุมสิริสกุล กรรมการ

คณะกรรมการฝ่ายการเงิน และพัสดุ
1. นายณรงค์ อึ้งกิมบ้วน ประธานกรรมการ
2. นางปริยา ปะบุญเรือง รองประธานกรรมการ
3. นางสุชาดา ไม้งาม กรรมการ
4. นางสาวหัสชา ศรีจินดา กรรมการ
5. นางสาวชนัดดา จูสวัสดิ์ กรรมการ
6. นางอินทิรา เรืองเวช กรรมการ
7. นางสาวหรรษา รอดเงิน กรรมการ

คณะกรรมการฝ่ายประเมินผล และจัดทารายงานสรุปผล
1. นายอภิศักดิ์ ไชยโรจน์วัฒนา ประธานกรรมการ
2. นางพัชรี วงษ์เกษม กรรมการ
3. นางสาวธารารัตน์ โนจิตร กรรมการ

33
ติดต่อสอบถาม

ผู้ประสานงาน
คุณ ธารารัตน์ โนจิตร
โทร. 0-3810-3170
E-mail: tararatn@go.buu.ac.th
ที่อยู่: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
169 ถ.ลงหาดบางแสน ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี 20131

ฝ่ายทีพ่ กั
คุณ นันทิกานต์ มงคลนรกิจ
โทร. 0-3810-3157

ฝ่ายจัดหารายได้
คุณ สมฤดี ศิริวัฒนะกูล
โทร. 0-3810-3009

ฝ่ายลงทะเบียนและจัดเตรียมการแข่งขัน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษณะ ชินสาร
โทร. 08 1260 0141
E-mail: krisana@it.buu.ac.th
Line-ID: krisana.chinnasarn

34
สนับสนุนโดย

บริษัท นิวทาวน์ จากัด

35
สนับสนุนเสือ้ การแข่งขัน สือ่ ประชาสัมพันธ์และอุปกรณ์ประกอบการแข่งขัน

สนับสนุนเสือ้ การแข่งขัน

36
ผู้ให้การสนับสนุนเงินรางวัล

37

You might also like