Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 3

ความรูเ้ รือ

่ งอิศรญาณภาษิต
ความเป็นมา
อิศรญาณภาษิตเรียกอีกอย่างว่า “เพลงยาวอิศรญาณ” เป็ นพระนิพนธ์ของ
หม่อมเจ ้าอิศรญาณ ซงึ่ เล่ากันว่าเป็ นผู ้มีพระจริตไม่ปกติ ครัง้ หนึง่ พระองค์ได ้ทำสงิ่
วิปริตไปแล ้วพระบาทสมเด็จพระจอมเกล ้าเจ ้าอยูห ่ วั ตรัสบริภาษว่าเป็ นบ ้า ทำให ้
ใครๆ ก็พากันเห็นด ้วยกับพระราชดำรัสนัน ้ ด ้วยความน ้อยพระทัยของหม่อมเจ ้า
อิศรญาณจึงทรง นิพนธ์เพลงยาวฉบับนีข ้ นึ้
ั นิษฐานว่าอิศรญาณภาษิตนี้ ไม่ใชพ
มีผู ้สน ่ ระนิพนธ์ของหม่อมเจ ้าอิศรญาณ
แต่เพียงผู ้เดียว หากแต่ทรงนิพนธ์ไว ้เพียงตอนแรกเท่านัน ้ กล่าวคือ สนั นิษฐานว่า
ทรงนิพนธ์ถงึ วรรคว่า “ปุถช ุ นรักกับชงั ไม่ยั่งยืน” ซงึ่ มีลล ี ง
ี าการ แต่งไว ้ด ้วยน้ำเสย
เหน็ บแนมประชดประชน ั อย่างรุนแรง ชด ั เจนสว่ นทีเ่ หลือเป็ นของผู ้อืน
่ แต่งต่อ โดย
เป็ นการสอน เรือ ่ งทั่วๆ ไป มีลล ี าหรือท่วงทำนองแบบเรียบๆ มุง่ สงั่ สอนตามปกติ
ของผู ้มีประสบการณ์ในเรือ ่ งต่างๆ ซงึ่ ได ้นำมาเรียบเรียงไว ้ทัง้ หมด

ประว ัติผแ
ู ้ ต่ง
หม่อมเจ ้าอิศรญาณ(ไม่ทราบพระนามเดิม)เป็ นโอรสในพระเจ ้าบรมวงศเ์ ธอกรม
หลวงมหิศวรินทรามเรศ พระองค์ทรงผนวชทีว่ ัดบวรนิเวศ ได ้พระนามฉายาว่า อิส
สรญาโณ มีพระชนม์ชพ ี อยูใ่ นชว่ งรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล ้าเจ ้าอยูห
่ วั

ล ักษณะคำประพ ันธ์
กลอนเพลงยาว ซงึ่ ขึน ื่ เรียกอีกอย่างหนึง่ ว่าเพลงยาวอิศร
้ ต ้นด ้วยวรรคสดับ(มีชอ
ญาณหรือภาษิตอิศรญาณ)

จุดประสงค์
่ สงั่ สอน
๑. เพือ
๒. เพือ่ เตือนใจให ้คิดก่อนทีจ่ ะทำสงิ่ ใด
๓. สอนเกีย ่ วกับการปฏิบต
ั ต ่ ในสงั คมให ้อยูร่ ว่ มกันได ้อย่างมีความ
ิ นต่อผู ้อืน
สุข
้ เรือ
เนือ ่ ง
อิศรญาณภาษิตมีเนือ ้ หาทีเ่ ป็ นคำสงั่ สอนแบบเตือนสติ และแนะนำเกีย ่ วกับ
การประพฤติปฏิบต ั ใิ ห ้เป็ นทีพ
่ อใจของผู ้อืน ่ โดยเฉพาะผู ้ทีม่ อ
ี ำนาจมากกว่า สอน
ว่าควรจะทำอย่างไรจึงจะอยูใ่ นสงั คมได ้โดยปราศจากภัยแก่ตน ทำอย่างไรจึงจะ
ประสบความสำเร็จสมหวังบางตอนก็เน ้นเรือ ่ งการเห็นคุณค่าและความสำคัญของผู ้
อืน ่ โดยไม่สบประมาทหรือดูแคลนกัน โดยทัง้ นีก ้ ารสอนบางครัง้ อาจเป็ นการบอก
ตรงๆ หรือบางครัง้ ก็สอนโดยคำประชดประชน ั เหน็ บแนม โดยเนือ ้ หาสว่ นใหญ่จะ
สงั่ สอนให ้คนมีปัญญา ไม่หลงใหลกับคำเยินยอ สอนให ้รู ้จักคิดไตร่ตรองก่อนพูด
รู ้จัก เคารพผู ้อาวุโส รู ้จักทำตามทีผ ่ ู ้ใหญ่แนะนำรู ้จักกตัญญูผู ้ใหญ่

คุณค่างานประพ ันธ์
     คุณค่าด้านวรรณศล ิ ป์ ใชถ้ ้อยคำง่าย ๆ มาเรียงร ้อยได ้เหมาะ
เจาะและมีความหมายลึกซงึ้

     คุณค่าด้านสงคม ให ้ข ้อคิดในการดำเนินชวี ต
ิ เพือ
่ ดำรงอยูใ่ น
สงั คมได ้อย่างมีความสุข
วิเคราะห์อศ
ิ รญาณภาษิต
เป็ นวรรณกรรมทีม ่ เี ป้ าหมายเพือ ่ สงั่ สอนอบรมผู ้คนให ้อยูใ่ นกรอบจารีตของ
สงั คม ขณะเดียวกันก็เป็ นการสร ้างค่านิยมให ้เกิดขึน ้ ในความคิดของผู ้คน เพือ ่ ให ้
ซม ึ ซาบในจิตใจเป็ นการจัดระเบียบความสม ั พันธ์ระหว่างผู ้คนในสงั คม วรรณกรรม
คำสอนจึงเปรียบเสมือนกฎทีค ่ อยควบคุมผู ้คนให ้อยูใ่ นระเบียบและเสนอแนะวิถ ี
ปฏิบต ิ องคนในสงั คม แต่อศ
ั ข ิ รญาณภาษิตนับเป็ นวรรณกรรมคำสอนทีม ่ ล
ี ล
ี า
แข็งกร ้าว น้ำเสย ี งประชดประชน ั เสยี ดส ี แปลกไปจากวรรณกรรมคำสอนเรือ ่ งอืน
่ ๆ
เป็ นภาษิตทีม ่ เี นือ
้ หาเน ้นถึงความสม ั พันธ์ของมนุษย์ในสงั คม สอนให ้รู ้จักวางตัวให ้
เหมาะสมและอยูร่ อดในสงั คมได ้อย่างปลอดภัย
อิศรญาณภาษิตเริม ่ งโดยชใี้ ห ้เห็นว่า มนุษย์เราไม่อาจอยูค
่ เรือ ่ นเดียวตามลำพังได ้
จำต ้องพึง่ พาอาศย ั กัน ความเข ้าใจและเห็นอกเห็นใจกันเป็ นสงิ่ ดี ควรมีให ้แก่กน ั
ดังนี้
"ชายข ้าวเปลือกหญิงข ้าวสารโบราณว่า น้ำพึง่ เรือเสอ ื พึง่ ป่ าอัชฌาสยั
เราก็จติ คิดดูเล่าเขาก็ใจ รักกันไว ้ดีกว่าชงั ระวังการ "
มนุษย์เรานัน ้ ควรทำดีตอ ่ ผู ้ทีด
่ ก
ี บ
ั เรา แม ้ผู ้ทีท
่ ำไม่ถก
ู ต ้องก็ไม่ควรโกรธหรือตัดรอน
อย่างแตกหัก ดังนี้
" ผู ้ใดดีดต
ี อ
่ อย่าก่อกิจ ผู ้ใดผิดผ่อนพักอย่าหักหาญ"
อิศรญาณภาษิตสอนให ้เรารู ้จักตนเองก่อนทีจ
่ ะรู ้จักผู ้อืน
่ ถ ้าเราไม่รู ้จักตนเอง ใคร
จะรู ้ใจเราเองดีกว่าตัวเรา ดังนี้
"อย่านอนเปล่าเอากระจกยกออกมา สอ ่ งดูหน ้าเสยี ทีหนึง่
แล ้วจึงนอน"
และ "ใจของเราไม่สอนใจใครจะสอน"
ขณะเดียวกัน เราก็ต ้องรู ้จักผู ้อืน ่ ด ้วย คือเข ้าถึงจิตใจ รู ้จักทัศนะ ความประพฤติรวม
ทัง้ รู ้เท่าทันผู ้ทีเ่ ราคบค ้าสมาคมด ้วย ดังความว่า
"เกิดเป็ นคนเชงิ ดูให ้รู ้เท่า"
ั ดิม
"อันยศศก ์ ใิ ชเ่ หล ้าเมาแต่พอ ถ ้าเขายอเหมือนอย่างเกาให ้
เราคัน
บ ้างโลดเล่นเต ้นรำทำเป็ นเจ ้า เป็ นไรเขาไม่จับผิดคิดดูขน

ผีมันหลอกชา่ งผีตามทีมัน คนเหมือนกันหลอกกันเอง
กลัวเกรงนัก"
ดังนัน
้ เราก็ควรทำใจให ้หนักแน่น ไตร่ตรองเรือ
่ งต่าง ๆ ด ้วยเหตุผล อย่าเชอ ื่ คน
ง่าย ดังนี้
"จงฟั งหูไว ้หูคอยดูไป เชอื่ น้ำใจดีกว่าอย่าเชอ
ื่ ยุ"
น่าสงั เกตว่า อิศรญาณภาษิตมักจะสอนเรือ ่ งการวางตัว เพือ่ ให ้อยูร่ อดปลอดภัย
คือสอนให ้รู ้จักกำหนดท่าทีของตนต่อผู ้อืน
่ ปฏิบตั ต
ิ นให ้เหมาะ งามแก่บค ุ คลและ
สถานการณ์ ดังความว่า
"หญิงเรียกแม่ชายเรียกพ่อยอไว ้ใช ้ มันชอบใจข ้างปลอบ
ไม่ชอบดุ
ทีห
่ า่ งปิ ดทีช ิ ไชให ้ทะลุ
่ ด คนจักษุ เหล่หลิว่ ไพล่พลิว้
พลิก"

You might also like