Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 3

ใบความรู ้

พระราชประว ัติ ร ัชกาลที่ ๕


พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล ้าเจ ้า
อยูห ่ วั เป็ นพระมหากษั ตริยส ์ ยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศจ ์ ักรี เสด็จ
พระราชสมภพเมือ ่ วันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปี ฉลู ตรงกับวันที่ 20
กันยายน พ.ศ. 2396 เป็ นพระราชโอรสพระองค์ท ี่ 4 ในพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล ้าเจ ้าอยูห ่ วั และเป็ นพระองค์ท ี่ 1 ในพระนางเธอ พระองค์
เจ ้ารำเพยภมราภิรมย์ (ในรัชกาลที่ 6 ได ้มีการสถาปนาพระบรมอัฐเิ ป็ น
สมเด็จพระเทพศริ น ิ ทราบรมราชน ิ )ี พระองค์ได ้รับสมัญญาว่า "พระปิ ย
มหาราช" แปลว่า มหาราชผู ้ทรงเป็ นทีร่ ัก และว่า "พระพุทธเจ ้าหลวง" มี
พระนามเดิมว่า สมเด็จพระเจ ้าลูกยาเธอ เจ ้าฟ้ าจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพ
มหามงกุฎ บุรษ ุ ยรัตนราชรวิวงศ ์ วรุตมพงศบริพัตร สริ วิ ฒ ั นราชกุมาร ซงึ่
คำว่า "จุฬาลงกรณ์" นัน ้ แปลว่า เครือ ่ งประดับผม อันหมายถึง "พระ
เกีย้ ว" ทีม ู เป็ นสว่ นยอดของพระมหามงกุฎหรือยอดชฎา พระองค์ม ี
่ รี ป
พระขนิษฐาและพระอนุชาร่วมพระมารดารวม 3 พระองค์ ได ้แก่ สมเด็จ
พระเจ ้าบรมวงศเ์ ธอ เจ ้าฟ้ าจันทรมณฑล โสภณภควดี กรมหลวงวิสท ุ ธิ
กระษั ตริย,์ สมเด็จพระเจ ้าบรมวงศเ์ ธอ เจ ้าฟ้ าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักร
พรรดิพงษ์ และสมเด็จพระราชปิ ตล ุ าบรมพงศาภิมข ุ เจ ้าฟ้ าภาณุรังษี
สว่างวงศ ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศว์ รเดช
บรมราชาภิเษกครัง้ ที่ 1
วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล ้าเจ ้าอยูห ่ วั เสด็จ
สวรรคตภายหลังเสด็จออกทอดพระเนตรสุรย ิ ปุ ราคา 18 สงิ หาคม พ.ศ.
2411 โดยก่อนทีพ ่ ระบาทสมเด็จพระจอมเกล ้าเจ ้าอยูห ่ วั จะสวรรคตนัน ้
ได ้มีพระราชหัตถเลขาไว ้ว่า "พระราชดำริทรงเห็นว่า เจ ้านายซงึ่ จะสบ ื
พระราชวงศต ์ อ
่ ไปภายหน ้า พระเจ ้าน ้องยาเธอก็ได ้ พระเจ ้าลูกยาเธอ
ก็ได ้ พระเจ ้าหลานเธอก็ได ้ ให ้ท่านผู ้หลักผู ้ใหญ่ปรึกษากันจงพร ้อม สุด
แล ้วแต่จะเห็นดีพร ้อมกันเถิด ท่านผู ้ใดมีปรีชาควรจะรักษาแผ่นดินได ้ก็
ให ้เลือกดูตามสมควร" ดังนัน ้ เมือ
่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล ้าเจ ้าอยู่
หัวเสด็จสวรรคต จึงได ้มีการประชุมปรึกษาเรือ ่ งการถวายสริ ริ าชสมบัต ิ
แด่พระเจ ้าแผ่นดินพระองค์ใหม่ ซงึ่ ในทีป ่ ระชุมนัน้ ประกอบด ้วยพระบรม
วงศานุวงศ ์ ข ้าราชการชน ั ้ ผู ้ใหญ่ และพระสงฆ์ โดยพระเจ ้าน ้องยาเธอ
กรมหลวงเทเวศร์วช ั รินทร์ ได ้เสนอสมเด็จพระเจ ้าลูกยาเธอ เจ ้าฟ้ า
จุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินต ิ ประชานาถ พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ใน
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล ้าเจ ้าอยูห ่ วั ขึน้ เป็ นพระเจ ้าแผ่นดิน ซงึ่ ที่
ประชุมนัน ้ มีความเห็นพ ้องเป็ นเอกฉั นท์ ดังนัน ้ พระองค์จงึ ได ้รับการทูล
เชญ ิ ให ้ขึน ้ ครองราชย์สมบัตต ิ อ
่ จากสมเด็จพระราชบิดา โดยในขณะนัน ้
มีพระชนมายุเพียง 15 พรรษา ดังนัน ้ จึงได ้แต่งตัง้ สมเด็จเจ ้าพระยาบรม
มหาศรีสรุ ย ิ วงศ ์ (ชว่ ง บุนนาค) เป็ นผู ้สำเร็จราชการแทนพระองค์ จนกว่า
พระองค์จะมีพระชนมพรรษาครบ 20 พรรษา โดยทรงประกอบพระราช
พิธบ ี รมราชาภิเษกครัง้ แรก เมือ ่ วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411
ผนวชและบรมราชาภิเษกครัง้ ที่ 2
เมือ่ พระองค์มพ ี ระชนมายุครบ 20 พรรษาแล ้ว เมือ ่ วันที่ 15 กันยายน
พ.ศ. 2416 จึงผนวชเป็ นพระภิกษุ ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม แล ้วเสด็จ
ไปประทับ ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหารเป็ นเวลา 15 วัน หลังจากทรงลา
สกิ ขาแล ้ว ได ้มีการจัดพระราชพิธบ ี รมราชาภิเษกครัง้ ที่ 2 ขึน ้ เมือ
่ วันที่
16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2416 โดยได ้รับการเฉลิมพระปรมาภิไธยในครัง้ นี้
ว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ฯ พระจุลจอมเกล ้าเจ ้า
อยูห ่ วั
สวรรคต
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล ้าเจ ้าอยูห ่ วั เสด็จสวรรคตด ้วยโรคพระ
วักกะ (ไต) เมือ ่ วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 เวลา 2.45 นาฬกา ิ ณ
พระทีน ่ ั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสต ิ สริ พ ิ ระชนมายุได ้ 57 พรรษา ทัง้ นี้
รัฐบาลไทยได ้จัดให ้วันที่ 23 ตุลาคม ของทุกปี เป็ นวันปิ ยมหาราช และ
เป็ นวันหยุดราชการ
พระราชกรณียกิจสำคัญ
การเลิกทาส , การให ้นับถือศาสนาอย่างอิสระ , การใชธนบั ้ ตรและ

เหรียญบาท , การใชระบบเขตการปกครองใหม่ (ตัง้ เป็ นอำเภอ
จังหวัด) , การสร ้างรถไฟสายแรก คือ กรุงเทพฯ-อยุธยา , การก่อตัง้ การ
ประปา , การไฟฟ้ า , ไปรษณียโ์ ทรเลข , โทรศพ ั ท์ และขุดคูคลองหลาย
แห่งเพือ ้
่ เป็ นเสนทางคมนาคม
พระราชนิพนธ์ ผลงานพระราชนิพนธ์ ทัง้ หมด 12 เรือ ่ ง
1. ไกลบ ้าน
2. ระยะทางเทีย ่ วชวากว่าสองเดือน
3. พระราชนิพนธ์จดหมายเหตุรายวัน ของพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล ้าเจ ้าอยูห่ วั เมือ
่ เสด็จประพาสเกาะชวาครัง้ หลัง
4. เงาะป่ า
5. นิทราชาคริต
6. พระราชพิธส ี บิ สองเดือน
7. กาพย์เห่เรือ
8. คำเจรจาละครเรือ ่ งอิเหนา
9. ตำราทำกับข ้าวฝรั่ง
10. พระราชวิจารณ์จดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวี
11. โคลงบรรยายภาพรามเกียรติ์
12. โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ

You might also like