Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 488

9/21/2020

การประมงและการเพาะเลียงสัตว์ นํา
ทําไมสัตว์ นําลดลง?

ผลผลิตสัตว ์นํ า
จากธรรมชาติ & การเพาะเลียง
ก่อนลงทุนการเพาะเลียงสัตว ์นํ า
• อดีต
• ปั จจุบน
ั คํานึ งถึงอะไรบ้าง

1
9/21/2020

1) ชนิด สถิติ และแนวโน้ มของตลาด


5) แหล่ งลูกพันธุ์และความแปรปรวนของราคา
2) พืนทีทีมีศักยภาพ 6) แหล่ งทุน
3) ช่ องทางการตลาด 7) ปั จจัยการผลิต
4) วิธีการขนส่ งและความสะดวก 8) ระยะเวลาการเลียง

14) จํานวนรอบการผลิต/ปี
9) แรงงาน 15) ศักยภาพการผลิตต่ อพืนที
10) เงินลงทุนเริ มแรก 16) ความเสียงในการเลียงและการตลาด
11) แหล่ งข้ อมูลทางวิชาการและเทคโนโลยีการผลิต 17) ภาษีและข้ อจํากัดทางการใช้ พนที

12) ผลตอบแทนและกําไร
13) ต้ นทุนการผลิต

2
9/21/2020

กุ้งทะเล
กุ้งกุลาดํา VS กุ้งขาว
Penaeus monodon VS Litopenaeus vannamei

3
9/21/2020

4
9/21/2020

 Examination of Gonad
Development
 Stage of Ovarian Development
 ระยะที 1 (ระยะไข่อ่อน)
 ระยะที 2 (ระยะเริ มเจริ ญ)
 ระยะที 3 (ระยะเจริ ญเต็มที )
 ระยะที 4 (ระยะไข่สก ุ)
 ระยะที 5 (ระยะวางไข่)

โรงเพาะขยายพันธุ์ก้ ุงทะเล (Shrimp Hatchery)

 ปริ มาณและคุณภาพนําทะเล
 แหล่งพ่อแม่พน
ั ธุ์
 สาธารณูปโภค
 สภาพดิ นฟ้าอากาศ
 ที ดิ นและสิ งก่อสร้าง
 อุปกรณ์ โรงเพาะฟัก
 อุปกรณ์ หอ
้ งทดลอง

5
9/21/2020

6
9/21/2020

7
9/21/2020

8
9/21/2020

9
9/21/2020

10
9/21/2020

11
9/21/2020

12
9/21/2020

13
9/21/2020

14
9/21/2020

15
9/21/2020

กุ้งก้ ามกราม
(Giant Freshwater Prawn)
Macrobrachium rosenbergii

16
9/21/2020

การอนุบาลลูกกุ้งวัยอ่ อน อายุระหว่ าง 1-30 วัน


อายุ(วัน) ความเค็ม (ppt) เวลาทีให้ อาหาร (น.)
ไรนําเค็ม อาหารสมทบ
หมายเหตุ ปูม้า
1-2 15 - - ควรดูดสิงสกปรกและตะกอนที

3 15 18.00 -
ตกอยู่ตามก้ นบ่อออกทุกวัน ควร
เปลียนนํา50% ทุกวัน
หลังจากนันควรทําการย้ ายบ่อ
Blue Swimming Crab
ทุกๆ 7 วัน
4-5
6
15
10
18.00
07.00-18.00
-

(ทุกๆ 2 ชม) 09.00, 13.00


Portunus pelagicus
7-11 10 07.00-18.00
(ทุกๆ 2 ชัวโมง) 09.00, 11.00,
13.00 15.00, 17.00
12-18 5-8 18.00 9.00, 13.00
19-26 2-4 18.00 17.00, 19.00, 20.00
> 27 0 18.00 19.00,20.00

17
9/21/2020

อัณฑะ การพัฒนาการของไข่
รังไข่

vas deference

เพศผู้ เพศเมีย

ระบบสืบพันธุ์

18
9/21/2020

ปูทะเล ชนิดปูทะเล
อย่ างน้ อย 3 ชนิด
Mud Crab
Scylla tranquebarica
S. oceanica
Scylla spp. S. serrata

19
9/21/2020

ปูนิม

ปูนิม

20
9/21/2020

กะพงขาว
Sea Bass
Lates calcarifer

21
9/21/2020

หอย (Mollusks)
ตะโกรมกรามขาว (Crassostrea belcheri)
หอยตะโกรมกรามดํา (Crassostrea lugubris)
หอยนางรมปากจีบ (Saccostrea cucullata)
หอยแมลงภู่ (Perna viridis)
หอยแครง (Anadara granosa)

22
9/21/2020

หอยเชลล์ (Amusium pleuronectes)


หอยลาย (Paphia undulata)
หอยตลับ (Meretrix meretrix)
หอยมุกอีกหลายชนิด (Pinctada maxima,
Pinctada margaritifera, Pteria penquin)
หอยหวาน (Babylonia areolata)
หอยเป๋ าฮือ (Haliotis asinina, Haliotis ovina)

23
9/21/2020

24
9/21/2020

ความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ (Food safety)

 มาตรฐานฟาร์ ม
 ความปลอดภัยหลังการเก็บเกียว
 การตรวจสอบย้ อนกลับ (Traceability) ใน
ผลิตภัณฑ์

25
309103 : Marine Science

การใช้ประโยชน์และ
ทรัพยากรธรรมชาติจากทะเล
(อาหารและเวชภัณฑ์)

ผศ.ดร.สวามินี ธีระวุฒิ
1
309103 : Marine Science

1. การแปรรูปสัตว์น้ํา

2 S. Teerawut
309103 : Marine Science

1.1 ความสําคัญของการประมง

3 S. Teerawut
309103 : Marine Science

ปญหาสําคัญที่จะเกิดขึ้น คือ การผลิตอาหารใหมีจํานวนเพียงพอสําหรับเลี้ยง


คนทั้งโลก

ตองคํานึงถึง ปริมาณอาหาร + คุณภาพของอาหาร


ทั้งในดานของ
- ปริ มาณพลังงาน
- โปรตีน
- เกลือแร่ วิตามิน
- สารอาหารทีจ่ ําเป็ นอื่นๆ

4 S. Teerawut
309103 : Marine Science

องค์ ประกอบทางเคมีของสัตว์ นํ้า


(%)
ความชื้น 66 - 84
โปรตีน 15 - 24
ไขมัน 0.1 - 22
เถา 0.8 - 2.2
คารโบไฮเดรต 1-3

5 S. Teerawut
309103 : Marine Science

1.2 สาเหตุการเนาเสียของสัตวน้ํา

- สัตว์น้ าํ เป็ นสัตว์ที่เน่าเสี ยได้ง่ายมาก หลังจากปลาตายเอนไซม์


ในปลาจะย่อยสลายตัวเอง
- อวัยวะภายในและตามเมือกบนตัวปลา จะมีจุลชีพปนเปื้ อนอยู่
ซึ่ งจะเป็ นตัวการที่ทาํ ให้เกิดการเน่าเสี ย
- ในปลาที่มีไขมันสู ง ไขมันปลาจะเกิดปฏิกิริยาออกซิ เดชัน ทํา
ให้เกิดกลิ่นหื นและกลิ่นผิดปกติ

6 S. Teerawut
309103 : Marine Science
แช่แข็ง
เก็บถนอมและแปรรู ป บรรจุกระป๋ อง
เป็ นอาหารมนุ ษย ์
ตากแห้ง ดองเค็ม หมักดอง
สัตว ์นํ ้ าสดจากแหล่งจับ รมควัน
- สัตว ์นํ ้ าจืด
- สัตว ์ทะเล ปลาป่ น
แปรรู ปเป็ นอาหารสัตว ์และ นํ ้ ามันปลา
ผลิตภัณฑ ์อุตสาหกรรม ปุ๋ ย

จําหน่ ายและบริโภคในรู ปสัตว ์นํ ้ าสด

การใชประโยชนจากสัตวน้ํา
7 S. Teerawut
309103 : Marine Science

1.3 จุดประสงคและความสําคัญของการถนอมอาหาร
• ยืดอายุการเก็บอาหารไวใหไดนาน
• รักษาคุณคาทางอาหาร
• บรรเทาความขาดแคลนอาหาร
• ใหเกิดการกระจายอาหาร
• ใหมีอาหารบริโภคนอกฤดูกาล
• ใชอาหารเหลือใหเกิดประโยชน
• ใหเกิดความสะดวกในการขนสง
• เพิ่มมูลคาผลผลิตทางการเกษตร และลดปญหาผลผลิตลนตลาด

8 S. Teerawut
309103 : Marine Science

หลักการถนอมอาหาร

1. ปองกัน/ ยืดเวลาการสลายตัวที่เกิดขึ้นเองของอาหาร

2. ปองกัน/ ยืดเวลาการยอยสลายอาหารที่เกิดจากจุลินทรีย

3. ปองกัน/ ยืดเวลาการเสื่อมสภาพของไขมันในอาหาร

4. ปองกันความเสียหายของอาหารจากแมลง

9 S. Teerawut
309103 : Marine Science

1.4 ประเภทผลิตภัณฑสัตวน้ํา
Ice cream

ผลิตภัณฑอาหาร

ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

ผลิตภัณฑเกษตรกรรม

ผลิตภัณฑยา

10 S. Teerawut
309103 : Marine Science

1.5 หลักการถนอมและแปรรูปสัตวน้ํา

• Curing
• Low temperature
• High temperature

11 S. Teerawut
309103 : Marine Science

การเก็บถนอมผลิตภัณฑ์ สัตว์ นํ้า


(Curing of Fishery Products)

12 S. Teerawut
309103 : Marine Science

Curing คือ การรักษาหรือเก็บรักษา เปนการถนอมอาหารทุกวิธี


ยกเวนการแชเย็นและการบรรจุกระปอง

 Drying
 Salting
 Smoking
 Fermented fish products

13 S. Teerawut
309103 : Marine Science

การตากแหง (drying)

14 S. Teerawut
309103 : Marine Science

การตากแหง (drying)

 การลดความชื้นของผลิตภัณฑอาหาร metabolism และการเจริญของ


จุลินทรียเกิดไดชาลง

 hydrolysis oxidation

 Aw < 0.7

water activity = ปริมาณน้ําอิสระทีจ่ ุลินทรียสามารถนําไปใชในกระบวนการ


metabolism (0-1.0)

15 S. Teerawut
309103 : Marine Science
จุดประสงคของการตากแหง

• ลดปริมาณน้ํา ยืดอายุการเก็บรักษา

• ลดน้ําหนัก ขนสงสะดวก

ขอดีของการตากแหง
– นน.เบาชวยลดคาใชจายในการขนสง
– ตนทุนการผลิตและคาใชจายในการเก็บรักษาต่ํา
– ไมตองใชเครื่องมือเครื่องใชพิเศษ

16 S. Teerawut
309103 : Marine Science

การเสื่อมเสียของอาหารแหงระหวางการเก็บรักษา

oxidation
enzyme
temperature
การจับกันเปนกอน

17 S. Teerawut
309103 : Marine Science

การทําเค็ม (salting)

18 S. Teerawut
309103 : Marine Science

การเก็บถนอมอาหารโดยการใสเกลือ
• การใสเกลือ = เกลือเปนหลักสําคัญในการปองกันการเนาเสีย

• ปลาเค็มจํานวนมากมีคุณภาพต่ําเนื่องจากใชวัตถุดิบคุณภาพต่ํา

19 S. Teerawut
309103 : Marine Science

• วัตถุประสงคของการใสเกลือ

- ดึงนํ้าออกจากอาหาร
- ลดค่ า Aw
- ยับยัง้ /ทําลายจลุ นิ ทรี ย์
- ยับยัง้ การทํางานของเอนไซม์

20 S. Teerawut
309103 : Marine Science
การเสื่อมคุณภาพของปลาเค็ม
• จากจุลินทรีย
- Red halophilic bacteria
- Yeasts and molds
• จากปฏิกิริยาออกซิเดชัน
- เกิดกลิ่นหืน
- สูญเสียคุณคาทางอาหาร
- เกิดสารกอมะเร็ง
• การเกิด histamine หรือ nitrosamine
• การเสียจากแมลง

21 S. Teerawut
309103 : Marine Science

การรมควัน (smoking)

22 S. Teerawut
309103 : Marine Science

จุดประสงคในการรมควัน เพือ่ ให้ เกิดกลิน่ และรส

ขั้นตอนการรมควัน
1. เตรี ยมวัตถุดบิ
2. ปรุงรส
3. ผึง่ ให้ แห้ ง
4. รมควัน
5. การบรรจุ

23 S. Teerawut
309103 : Marine Science

การเสื่อมคุณภาพของสัตวน้ํารมควัน

• สูญเสียคุณคาทางอาหาร
• เกิดออกซิเดชันของไขมัน
• เสื่อมคุณภาพจากจุลินทรีย
• แตกหักเปนชิน้ เล็ก ๆ
• ถูกทําลายโดยแมลง

24 S. Teerawut
309103 : Marine Science

สัตวน้ําหมักดอง (fermented fish products)

25 S. Teerawut
309103 : Marine Science

• กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีของสารอินทรี ยโ์ ดยปฏิกิริยา


ของเอนไซม์ ทําให้ได้สารประกอบที่มีโมเลกุลเล็กลง

ปจจัยที่มีความสําคัญตอการหมัก
1. จลุ นิ ทรี ย์
2. วัตถุดบิ ปลาหรื อสัตว์ นํ้าชนิดอื่นๆ เกลือ คาร์ โบไฮเดรต
3. การควบคมุ สภาวะการหมัก

26 S. Teerawut
309103 : Marine Science

ผลิตภัณฑสัตวน้ําหมักดอง

27 S. Teerawut
309103 : Marine Science

การถนอมผลิตภัณฑ์ สัตว์ น้ําโดยใช้ ความเย็น


(Low temperature)

28 S. Teerawut
309103 : Marine Science

• Chilling
• Freezing

การแชเย็น
 ควบคุมอุณหภูมิของอาหาร 0oC - 8oC

 เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณค่าทางโภชนาการ + คุณสมบัติทางประสาทสัมผัสน้อยที่สุด

 การแช่เย็นควบคู่กบั กรรมวิธีแปรรู ปอื่นๆ


29 S. Teerawut
309103 : Marine Science

การแชเยือกแข็ง (Freezing)

• ลดอุณหภูมิของอาหารให้ต่าํ กว่าจุดเยือกแข็ง

• นํ้า ผลึกนํ้าแข็ง

• การตรึ งนํ้ากับนํ้าแข็ง + ผลจากความเข้มข้นของ


ตัวทําละลายในนํ้าที่ ยงั ไม่ แข็งตัวจะทําให้ค่ า AW
ของอาหารลดลง

• จุลินทรี ยจ์ ึงไม่สามารถนํานํ้ามาใช้ในการเจริ ญได้

30 S. Teerawut
309103 : Marine Science

ขอดีผลิตภัณฑแชเยือกแข็ง
- คงสภาพความสดไดใกลเคียงกับอาหารสดมากที่สุด
- คงคุณคาทางโภชนาการ
- ถนอมรักษาอาหารใหนานขึ้น

ปจจัยที่ทําใหเกิดการเสียของสัตวน้ํา
 Autolysis enzyme
 Bacterial decomposition

31 S. Teerawut
309103 : Marine Science
ทําไมการแชเยือกแข็งอาหารจึงทําให
เก็บรักษาอาหารใหนานขึ้น???

• อุณหภูมิต่ํา
- ยับยัง้ การเจริ ญของจลุ นิ ทรี ย์
***การแชแข็งอาหารไมไดทําลายจุลินทรีย
• ลดคา Aw
- ยับยัง้ การเจริ ญของจลุ นิ ทรี ย์
- ลดการเปลีย่ นแปลงทางชีวเคมี

32 S. Teerawut
309103 : Marine Science

การถนอมผลิตภัณฑ์ สัตว์ น้ําโดยใช้ ความร้ อน


(High temperature)

33 S. Teerawut
309103 : Marine Science

1. Pasteurization
2. Sterilization

 การทําให้อาหารปราศจากเชื้อโรคที่เป็ นอันตรายต่อผูบ
้ ริ โภค และทําลาย
จุลินทรี ย/์ สปอร์ที่เป็ นสาเหตุทาํ ให้เกิดการเน่าเสี ย
ความร้อนในการสเตอริ ไลซ์ 100-130 oC
มีประสิ ทธิ ภาพสู ง เช่น UHT (Ultra High Temperature) โดยจะใช้อุณหภูมิ

135-150 oC เป็ นเวลา 1- 4 วินาที

34 S. Teerawut
309103 : Marine Science

Canning การผลิตอาหารสําเร็ จรู ปบรรจุในภาชนะปิ ดสนิท


อากาศแทรกผ่านเข้าออกไม่ได้ มีการใช้ความร้อนไปฆ่าเชื้อ
ก่อนหรื อหลังการบรรจุ และปิ ดผนึกสนิท

35 S. Teerawut
309103 : Marine Science

การเสียของอาหารกระปอง

- Chemical spoilage
- Physical spoilage
- Microbial spoilage

S. Teerawut
309103 : Marine Science

2. สารสกัดจากสัตว์น้ํา

37 S. Teerawut
309103 : Marine Science

Fish oil
• คือ นํ้ามันที่สกัดจากส่ วนของเนื้อปลา หนัง หัว และหาง ของปลาทะเลนํ้าลึก
โดยเฉพาะปลาในเขตหนาว ในนํ้ามันปลามีกรดไขมันหลายชนิด แต่ที่สาํ คัญและมี
การนํามาใช้ ทางการแพทย์ คือ กรดไขมันกลุ่มโอเมก้า 3

(โครงสร้างของกรดไขมัน)

38 S. Teerawut
309103 : Marine Science

1. (ตอ)
แบ่งออกได้เป็ น 2 ชนิดตามโครงสร้างทางเคมี คือ
– Saturated fatty acids
– Unaturated fatty acids:
–MUFA (กรดโอเลอิค/โอเมก้า 9)
–PUFA (กรดไลโนเลอิค/โอเมก้า 6 และ กรดแอลฟาไล
โนเลนิค /โอเมก้า 3)

39 S. Teerawut
309103 : Marine Science

1. (ตอ)
ชนิด สวนประกอบ หนาที่
1. EPA ลดโคเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์และ
เพิ่ม HDL ในเลือดได้
Alpha Lenolenic acid
2. DHA เป็ นส่ วนประกอบของเซลล์ ส่ วนสมอง
โอเมก้า 3 1000 mg
โอเมก้า บํารุ งสมอง
(EPA 180 mg
3 3. EPA นําไปสร้าง Prostaglandins-3 ซึ่งทําให้เกล็ด
+
เลือดไม่เกาะกัน และนําไปสร้าง Tromboxan-3
DHA 120 mg)
ซึ่งมีผลต่อการเกาะกันของเกล็ดเลือดน้อยมาก
ผลรวมจึงทําให้เกล็ดเลือดไม่แข็งตัวง่าย

40 S. Teerawut
309103 : Marine Science

Eicosapentaenoic acid: EPA

Cancer and tumer
โรคหัวใจพิบตั ิ (heart attact) โรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน (atherosclerosis)

โรคเบาหวาน อาการความดันโลหิ ตสู ง (hypertension)


(diabetes)
41 S. Teerawut
309103 : Marine Science

Docosahexaenoic acid: DHA

DHA เป็ นองค์ประกอบของไขมันในสมองส่ วนสี เทา และมีส่วน


ในการพัฒนาสมอง และจอตาของเด็ก รวมถึงการทํางานของระบบประสาท

42 S. Teerawut
309103 : Marine Science

2.3 การหืนของน้ํามันปลา

 hydrolytic rancidity
 ketonic rancidity
 oxidative rancidity

43 S. Teerawut
309103 : Marine Science
Collagen

44 S. Teerawut
309103 : Marine Science

คอลลาเจน
- เป็ นโปรตีนโครงสร้างหลักที่พบในร่ างกายสัตว์ มีอยู่ 30% ของส่ วนที่
เป็ นโปรตีนทั้งหมดในร่ างกายสัตว์
‐ พบในผิวหนัง กระดูก เอ็น และกระดูกอ่อน

- เป็ น fibrous protein เกิดจากกรดอะมิโนชนิดต่าง ๆ และมีการจัดเรี ยงตัว


กันที่มีความจําเพาะ โดยมีพนั ธะต่าง ๆ ทําให้โครงสร้างของคอลลาเจน
มีความแข็งแรงคงตัวมาก

45 S. Teerawut
309103 : Marine Science

โครงสร้ างของคอลลาเจน

– triple-helix ของโพลีเปปไทด์ ซึ่งแต่ละสาย


เรี ยกว่า α-chain

– แต่ละสายจะมีกรดอะมิโน > 1000 ตัวต่อกัน


ลักษณะการเรี ยงตัวของกรดอะมิโนจะมี
ลักษณะซํ้า ๆ กันของ -Gly-X-Y-

46 S. Teerawut
309103 : Marine Science

โครงสรางของคอลลาเจน
(a) ลําดับของกรดอะมิโน (b)โครงสรางของโทรโปคอลลาเจน
(c) การจัดเรียงตัวของโทรโปคอลลาเจนเปนเสนใยคอลลาเจน (gly, pro, hyp)

47
309103 : Marine Science

3.2 (ต่ อ)
– การที่โครงสร้างของคอลลาเจนมีลกั ษณะเป็ นเกลียว โดยมีพนั ธะ
ไฮโดรเจนเชื่อมทําให้
• คอลลาเจนมีความแข็งแรง
• คงตัวมากขึ้น
• เกิดปฏิกิริยากับโมเลกุลอื่นได้ยาก ทําให้คอลลาเจนไม่ละลายนํ้า

48
309103 : Marine Science

3.2 (ต่ อ)
– ภายในโทรโปคอลลาเจนอาจมีการสร้างพันธะระหว่างสายฮีลิกซ์
(intramolecular crosslinking)

– มีการสร้างพันธะระหว่างโทรโปรคอลลาเจนเอง (intermolecular
crosslinking) ทําให้เส้นใยคอลลาเจนมีความแข็งแรงเพิ่มขึ้น

49
309103 : Marine Science
Agar

• สารที่สกัดได้จากสาหร่ ายทะเลสี แดง (Rhodophyceae) ที่นิยมใช้มากคือ


Gelidium cartilagineum, Gracilaria confervoides

• ประเทศที่ผลิตได้แก่ ญี่ปุ่น สเปน ซิลี และเกาหลี


50
309103 : Marine Science
Agar : โครงสรางและองคประกอบ
• agarose เป็ นโพลีแซคคาไรด์ประกอบด้วย 1,4 linked 3,6-anhydro-L-galactose และ
1,3 linked b-D-galactose เรี ยงสลับกันไป

• agaropectin เป็ นโพลีแซคคาไรด์ซลั เฟตที่โครงสร้างเหมือน agarose แต่


3,6-anhydro-L-galactose บางโมเลกุลถูกแทนที่ดว้ ยซัลเฟตประมาณ 5-8 %
51 S. Teerawut
309103 : Marine Science

Agar : คุณสมบัติ

 ไม่ละลายนํ้าเย็น
 การเกิดเจล
 ความแข็งแรงของเจล Original structure of agar repeat unit

 ความหนืด

52 S. Teerawut
309103 : Marine Science

Agar : การใชประโยชน

 ขนมหวาน
 ขนมอบ
 เนื้อบรรจุกระป๋ อง
 Confectionary
 ผลิตภัณฑ์นม
 อาหารเลี้ยงเชื้อ

53 S. Teerawut
309103 : Marine Science

Chitin
• N-acetyl-D-glucosamine เรียงตอกันเปนสาย

• จัดอยูใ่ นกลุ่มคาร์โบไฮเดรตประเภท โครงสร้างที่เป็ นเส้นใยคล้ายกับ


เซลลูโลสจากพืช

54 S. Teerawut
309103 : Marine Science

N-acetyl-D-glucosamine เรียงตอกันเปนสาย
55 S. Teerawut
309103 : Marine Science

คุณสมบัติของไคติน
• ละลายได้...........ในกรดอนินทรี ย ์ เช่น กรดเกลือ กรดกํามะถัน
กรดฟอสฟอริ ก และกรดฟอร์มิกที่ปราศจากนํ้า
• ไม่ละลาย.......ในด่างเจือจาง แอลกอฮอล์ และตัวทําละลาย
อินทรี ยอ์ ื่น ๆ
• โครงสร้างและสมบัติแตกต่างกันโดยแบ่งตามลักษณะการเรี ยง
ตัวของเส้นใย

56 S. Teerawut
309103 : Marine Science

1.1.2 แหลงที่พบไคติน
• สัตวไมมีกระดูกสันหลัง ประเภทมีขอปลอง (Arthopods)
หนอนทะเล (Annelida)
หอย (Mollusk)
Coelentera

57 S. Teerawut
309103 : Marine Science

• Crustaceans กุงกามกราม กุง กุงนาง Krill ปู

• แมลง (Insect) แมลงปอง Brachiopods มด แมลงสาบ แมลงปกแข็ง แมงมุม

58 S. Teerawut
309103 : Marine Science

• จุลินทรีย สาหรายสีเขียว สาหรายสีเขียวแกมน้ําตาล ยีสต เชื้อรา

• กานชูสปอรของ penicillium, สปอรของ Chytricliacae,


Blastocladiaoeae, Ascomydes

59 S. Teerawut
309103 : Marine Science

ไคโตซาน

• อนุพันธของไคตินที่ตัดเอาหมู acetyl ของน้ําตาล N-acetyl-D-glucosamine

• ไม่สามารถละลายในตัวทําละลายอินทรี ยเ์ กือบทั้งหมดและนํ้าที่มีค่า pH เป็ น


กลางหรื อด่าง แตสามารถละลายในกรดออน

60 S. Teerawut
309103 : Marine Science

(ตอ)
•น้ําหนักโมเลกุลของไคโตซานบอกถึงความยาวของสายไคโตซาน ซึ่งมี
ผลตอความหนืด
•การนําไคโตซานไปใชประโยชนจะตองพิจารณาทั้ง
- เปอรเซ็นตการเกิด deacetylation
- น้ําหนักโมเลกุล

61 S. Teerawut
309103 : Marine Science

รูปแบบของไคโตซานที่ผลิตขึ้นมาจําหนาย

1. เกล็ดหรือแผนบางเล็กๆ (flake)
2. ผงละเอียดคลายแปง (micromilled powder)
3. สารละลายเปนของเหลวหนืด (solutions)
4. รูปเม็ดจิ๋วขนาดประมาณ 300-500
ไมโครเมตร (bead)

62 S. Teerawut
309103 : Marine Science

63 S. Teerawut
309103 : Marine Science

64 S. Teerawut
Marine Vertebrate

วิภูษิต มัณฑะจิตร
วาริ ชศาสตร์
Subphylum Vertebrata
Cuvier 1812.
58,000 species.
Chordates with backbones and spinal
columns.
ข้อกระดุกสันหลัง (Vetebre)
กระเปาะคอ (pharyngeal pouches) หรื อช่องเหงือก (slits)
ระบบประสาทยุบตัว มาทางด้านหลัง
มีเซลล์สร้างฮอร์โมน thyroxin
Subphylum Vertebrata
ลักษณะเฉพาะของไฟลัมย่อย
กระดูกสันหลัง (backbone) อยูเ่ ป็ นแนวยาวตามด้านหลังของสัตว์
ต่อกันเป็ นข้อๆ ยืดหยุน่ เคลือ่ นไหวได้
ช่วยพยุงร่างกายให้เป็ นรูปร่างทรวดทรงอยูไ่ ด้
ช่วยป้ องกันไขสันหลัง (spinal cord)
ระบบของกล้ามเนื้อ จานวนมาก 2 กลุม่ ใหญ่
ระบบประสาท 3 ส่วน
กลาง (วางในกระดูกสันหลังเป็ นส่วน)
สาขา
อัตโนมัติ
สัตว์มกี ระดูกสันหลัง แบ่งออกเป็ น 2 superclass (มี/ไม่มกี ระโหลก)
Phylogenic Tree of
Chordates

Vertebrata
CHORDATA Classification
PHYLUM CHORDATA: 3 subphylum
Subphylum UROCHORDAT
Subphylum CEPHALOCHORDATA
Subphylum VERTEBRATA (CRANIATA)
Superclass AGNATHA 2 Classes "no jaws"
Class MYXINI
Class CEPHALASPIDOMORPHII
Superclass GNATHOSTOMATA 6 Classes jaw + mouth”
Class CHONDRICHTHYES (ปลากระดูกอ่อน)
Class OSTEICTHYES (ปลากระดูกแข็ง)
Class AMPHIBIA (สัตว์ครึ่ งบกครึ่ งน้ า)
Class REPTILIA (สัตว์เลื้อยคลาน)
Class AVES (นก)
Class MAMMALIA (สัตว์เล้ยงลูกด้วยน้ านม)
ความหลากหลายของชนิด 1
SP Urochordata 2,000 เพรี ยงหัวหอม (tunicate)
SP Cephalochordata 29 amphioxus - lancelets
SP Vertebrata 54,000
A. SuperClass Agnatha ปลาปากกลม
1. Myxinoidea 65 hagfish
2. Petromyzontia 41 lampreys
B. SuperClass Gnathostomata ปลามีขากรรไก, tetrapods
3. Chondrichthyes
Elasmobranchii 850 ปลากรพกูกอ่ อน (ฉลาม ประเบน)
Holocephali 30 ปลากระรอก (=chimaeras)
4. Osteicthyes 20,000 ปลากระดูกแข็ง
Sarcopterygii 7 ปลามีปอด ปลาซีลาแค้ นท์
ความหลากหลายของชนิด 2
5. Amphibia 6,000 species
5.1 Gymnophiona 165 ไส้เดือน+งู caecilians
5.2 Caudata 500 กระท่าง salamanders
5.3 Anura 4800 กบ
6. Reptilia 7000 species
6.1 Squamata 6800 Snake -lizards
Lacertilia Lizard
Amphisbaenia worm lizard
Serpentes 2900 งู
6.2 Testudinata 300 เต่า
6.3 Crocodilia 25 จรเข้ alligators, crocodiles
6.4 Rhynchocephalia 1 กิ่งก่าTautara
7. Aves 9900 species (2 subclass 27 orders)
8. Mammalia 5000 species (3 subclass ** orders)
Monotremata 6 platypus, spiny anteaters
Marsupialia 275 opossum, kangaroos, etc.
Eutheria 4700 mice, bats, elephants, horses,
dolphin, dugong, human
How many species are aquatic vertebrates
The Vertebrate Story
เริม่ พบยุค Cambrian ถึง Ordovician (600 – 500 MY.)
มีประมาณ 54,000 ชนิด ทีด่ ารงพันธุอ์ ยู่
จานวนชนิดขึน้ อยูก่ บั ชนิดของปลา
(จานวนชนิดประมาณ 29.000 ชนิด)

ความแตกต่างของขนาด
(Paedocypris progenetica)
- ปลาซิวเคราะ 0.00001 กิโลกรัม
- ปลาวาฬสีฟ้า เพศเมีย 100,000 กิโลกรัม
100 ล้านเท่า
Balsenoptera musculus
Subphylum Vertebrata
8 living classes
1. Myxii
2. Cephalaspidomorphii
3. Chondrichthyes
4. Osteichthyes
5. Amphibia
6. Reptilia Crocodylus siamensis
7. Avis
8. Mamalia
SP3. Vertebrata 1
มีลาตัวเหมือนกันทัง้ สองด้าน (bilateral symmetry)
ส่วนของลาตัวแบ่งออกเป็ น 3 ส่วนได้ชดั เจน
มีอวัยวะใช้ในการหายใจ เช่น เหงือก และปอด
มีโนโตคอร์ดเป็ น แกนพยุงลาตัว และพัฒนาเป็ นกระดูกสันหลัง
ระบบประสาทอยูต่ ามความยาวของลาตัวเหนือกระดูกสันหลัง
ระบบทางเดินอาหารมีทางเข้าและออกแยกออกจากกัน
ท่อทางเดินอาหารแบ่งเป็ น ปาก ช่องคอ หลอดอาหาร กระเพาะ
อาหาร และลาไส้ ตอนต้นของทางเดินอาหารมีตบั อยูด่ ว้ ย
SP3. Vertebrata 2
ไตอยูเ่ ป็ นคูท่ างด้านบนตามช่องว่างของลาตัว
อวัยวะสืบพันธุ์ แบ่งออกเป็ นสองเพศแยกออกจากกัน
ระบบทางเดินโลหิตเป็ นระบบปิ ด มีหวั ใจเป็ นอวัยวะสูบฉีดโลหิต
ช่องว่างภายในลาตัว แบ่งออกเป็ นส่วนๆ ตามอวัยวะทีอ่ ยู่
ระบบโครงร่าง มีกระดูก 2 ชนิดคือกระดูกอ่อน (cartilaginous bone)
และ กระดูกแข็ง (bone)
ระยางค์คู่ มีไม่เกิน 2 คู่
การแบ่งเป็ นข้อ หรือปล้องมองเห็นไม่ชดั เจนจากภายนอก
ความหลากหลายของสัตว์ มกี ระดูกสั นหลัง
อยูใ่ นน้ า
ปลา 29,000 ชนิด 100%
สัตว์ครึ่ งบกครึ่ งน้ า 2,500 ชนิด
สัตว์เลื้อยคลาน 6,000 ชนิด
นก 8,600 ชนิด
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านม 4,500 ชนิด

สั ดส่ วนที่เป็ นสั ตว์ นา้ ?


ปลา (กระดูกอ่อน+แข็ง)
เป็ นสัตว์ที่ดารงชีวิตปกติอยูใ่ นน้ า แต่บางชนิด
อยูบ่ นพื้น เช่น ปลาหมอ ปลาตีน หรื อ
อยูบ่ นอากาศได้ระยะเวลาจากัด เช่น ปลานกระจอก
เป็ นสัตว์เลือดเย็น (poikilothermal animal) คือ
อุณหภูมิของร่ างกายเปลี่ยนแปลงได้ตามอุณหภูมิของน้ า
ร่ างการแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วนชัดเจน หัว ลาตัว และหาง
ร่ างกายมีลกั ษณะสมมาตรแบบ ซ้าย-ขวา
(bilateral symmetry)
ยกเว้นปลาซีกเดียว (ลาดับ Hetrostomata)
ปลา
ร่ างกายปกคลุมด้วยเกล็ด หรื อมีเมือกห่อหุม้ ร่ างกาย ยกเว้น
บางกลุ่ม เช่น
ปลาไหล (Anguilliformes)
ปลาดุก (Siliroidei)
มีระยางค์คู่ ไม่เกิน 2 คู่
เคลื่อนที่โดยใช้ครี บ
มีอวัยวะต่างๆ แยกออกมาอย่างชัดเจน
ตัวอ่อนมีโนโตคอรด์ (notochord) 1 เส้น
โตขึ้น เปลี่ยนเป็ นกระดูกสันหลัง (vertebrim)
ปลา
โครงกระดูก กระดูกอ่อนและกระดูกแข็ง
มีฟันชัดเจน
หายใจด้วยเหงือก มีชอ่ งเป็ ดเหงือก (gill slit) ให้น้าไหลผ่าน
ระบบทางเดินโลหิต แบบวงจรปิ ด
มีเม็ดเลือดสีแดงของ ฮีโมโกลบิน ยกเว้นปลาทีอ่ าศัยอยูใ่ ต้พน้ื น้าแข็ง
มีหวั ใจ 2 ห้อง คือ ออริเคิล (auricle) และ
เวนติเคิล (ventricle)
มีทอ่ ประสาทกลวงอยูเ่ หนือทางดินอาหาร
ปลา
มีรจู มูกสาหรับใช้ดมกลิ่น
โดยทัง้ ไปมีเส้นข้างลาตัว
มีรทู วารอยู่บริเวณสันท้อง
เพศผูแ้ ละเพศเมียมีลกั ษณะแยกออกจากกันชัดเจน
ส่วนมากออกลูกเป็ นไข่ (oviparous) บางชนิดออกลูกเป็ นตัว
ได้รบั อาหารจากไข่แดงที่ติดตัวมา (ovoviparous) บางชนิด
ออกลูกเป็ นตัวตัวอ่อนได้รบั อาหารผ่านสายสะดือ
(viviparous)
การจัดหมวดหมู่
4 living classes
Superclass Agnatha
Class Myxini (hagfish)
Class Petromyzones (lamprey)

Superclass Gnathostomata
Class Chondricthyes (ปลากระดูกอ่อน)
Class Osteichthyes (ปลากระดูกแข็ง)
Superclass Agnatha ไม่มีขากรรไก
Class Myximi
Class Petromyzones
Class 1: Myximi (hagfishes)

สัตว์ทะเล
มีกระโหลก แต่ไม่มกี ระดูกสันหลัง
มีฟันเทียม มีสาร keratin เป็ นองค์ประกอบ
ตาไม่สมบูรณ์ eyespots.
ไม่มคี รีบทีแ่ ท้จริง
หนวด 6 หรือ 8 เส้น
รูจมูก 1 รู
"slime eels"
7 genera, 100 species
Myxine kuoi
Class 2: Petromyzones (Lampreys)

lambere = เลีย , petra = หิน

lเป็ น ตัวเบียน parasite

ฟั น เหมือนท่อ ปากดูดทรงกลม
มีรเู ปิ ดเหงือก
9 genus 40 species
อยุใ่ นเขตอบอุน่
Superclass Gnathostomata มีขากรรไก

1. Chondrichthyes ปลากระดูกอ่อน
2. Osteichthyes ปลากระดูกแข็ง
Class 3 Chondrichthyes
ปลากระดูกอ่อน
2 subclasses
Subclass Elasmobranchii ปลาฉลาม กระเบน
Subclass Holocephali ปลากระรอก

1. บรรพบุรษ
ุ มีกระดูกแข็ง กระดูกอ่อนพัฒนาเป็ นพิเศษ
2. ครีบท้องของตัวผู้ มีสว่ นพัฒนาเป็ นอวัยวะสืพพันธุ์ Clasper
3. เกล็ดเป็ นแบบ placoid
4. ฟั น Homodon
Subclass 1: Elasmobrancii

Subclass 2: Holocephalii (h-g)


Subclass 1. Elasmobranchii
หลากหลายมากทีส่ ดุ ในปลากระดูกอ่อน
ลักษณะเด่น
1. ช่องปิ ดเหงือกคูท
่ ่ี 1 เปลีย่ นเป็ นรูน้ าผ่าน เรียก
“spiracle”
2. ทีป
่ ิ ดเหงือกเป็ นร่อง (slit) ไม่มแี ผ่นปิ ดเหงือก
(operculum)
3. ปากเปิ ดทางด้านล่างของส่วนหัว
Gill slit
4. ตัวผู้ ครีบท้องเปลีย่ นแปลงรูปทรงเป็ นท่อนา sperm
เรียก clasper
5. เกล็ด เป็ นแบบ Placoid

6. หาง เป็ นแบบ Heterocercal


Placoid

Heterocercal

Tail
Subclass 2: Holocephalii
Order. Chimaeriformes
 elephant fishes, ghost shark,
spookfishes
 ปลาทะเล
 ช่องเปิ ดเหงือก มีแผ่นเนื้อเยือ
่ ปิ ด และรูน้า
เปิ ด
 เกล็ดมีน้อย

 บรรพบุรษ ุ เดียวกับฉลาม
Chimaeriformes
Class 4 Osteichthyes
Teleostomi
ปลากระดูกแข็ง
1. กระดูกเป็ นกระดูกแข็งทัว้ หมด หรือเกือบทัง้ หมด
2. ช่องเหงือก ปิ ดด้วยแผ่นกระดูกปิ ดเหงือก (operculum )
3. ผิวหนังปกคุมด้วยเกล็ด
4. มักมีกระเพาะลม (swim bladder)
5. ครีบมีกา้ นครีบ หรือเป็ นชิน

6. มีระยางค์คู่ 2 คู่
7. มีรงู มูก เป็ นคู่ (อาจมากกว่า 1 คู)่
แบ่งเป็ น 2 subclasses
1. Sarcopterigii 2. Actinopterigii
4.1 Subclass Sarcopterygii
ปลาปอด ปลาครีบเป็ นชิน้ (lobe-finned fishes)
ครีบคู่ เป็ นชิน้
ฐานครีบมีเกล็ดค้าอยู่ และมีชน้ิ กระดูกช่วย
เฉพาะปลาปอดมีมรี จู มูกน้าเข้าออก
4.1 Subclass Sarcopterygii
ปลาครีบเป็ นชิน้ : 3 orders.
1 Order Crossopterygii - พบยุค Paleozoic.
- ลักษณะเริม ่ ต้นขอ งสัตว์คง่ึ บกครึง่ น้า ( amphibians)
- ปอดเดีย่ ว หรือปอดคู่ หัวใจและระบบหมุนเวียนโลหิต.
- แหล่งน้ าจืด ตืน
้ มี oxygen ต่า ไม่พอสาหรับการใช้เหงือก
- กระดูกของครีบ เหมือนกับ กระดูกระยางค์ของ tetrapod
- กระดูกอ่อน
- กระโหลกคล้ายกับสัตว์ครึง่ บกครึง่ น้ ายุคแรก (amphibians)
- กระเพาะลม อาจทาหน้าทีค ่ ล้ายปอด
- หางมี 3 พลู หุม ้ ด้วยเกล็ดแข็ง
1. Order Crossopterygii

Devonian

Jurassic

Present
4.1 Subclass Sarcopterygii

2. Order Coelacanthiformes
 Family Latimeriidae
 Latimeria
 Macropoma
กลุม่ โบราณทีส่ ดุ ทีเ่ ชือ่ มกับปลามีขากรรไก (gnathostomata)
เชือ่ มโยงระหว่าง lungfishes กับ tetrapods.
Latimeria chalumna พบชายฝั ง่ ตะวันออกของ อาฟริกกาใต้
แม่น้า chalumna ปี 1938.
Latimeria menadoensis พบทีเ่ กาะ Sulawesi, Indonesia
ปี 1999
Latimeria chalumna Latimeria menadoensis
Macropoma spp.
สกุลทีส่ ญ
ู พันธุ.์
ยุค Cretaceous
ใกล้ชดิ Latimia
อาศัยอยูบ่ ริเวณน้ า
ตืน้ .
4.1 Subclass Sarcopterygii
3 Order Dipnoi – ปลาปอด lungfish
3 สกุลมีชวี ติ อยู่ กระจายตามภูมภิ าคของโลก
1. South America
2. Africa
3. Australia

ชนิดที่ African & South American เหงือกไม่ดี


จมน้าตายได้
ชนิดที่ Australian (Neoceratodus forsteri) เหงือกดี
ใช้ปอดเมือ่ oxygen ในน้าต่า
Dipnoi (lungfishes)
and Coelacanths
Lepidosiren paradoxa

Protopterus annectens Neoceratodus forsteri


4.2 Subclass : Actinopterygii
ครีบ มีกา้ นครีบ
ปลากระดูกแข็งชัน้ สูง
ครีบคู่ ไม่เป็ นชิน้ หรือแผ่น ฐานไม่เป็ นเกราะเกล็ด
รูจมูกตัน
แบ่งออกเป็ น 2 infra classes
1. Chondrostei
2. Neopterygii
4.2.1. Infraclass
Chondrostei
ปลามีกา้ นครีบชัน้ ต่า
Paleozoic (300-400 mybp)
2 orders
1. Acipenseriformes
Acipenseridae Acipenser sturio
Sturgeons
Paddlefish Polyodon spathula
2. Polypteriformes
Bichirs and reedfishes
4.2.2. Infraclass
Neopterygii
ปลามีกา้ นครีบชัน้ ต่า
ปลาน้าจืดโบราณ จากยุค Triassic ถึง Cretaceous.
ลักษณะผสม ปลากระดูกอ่อน-แข็ง
ปลา gar มีหางแบบ heterocercal (เหมือนปลาฉลาม)
เกล็ด รูปสีเ่ หลีย่ มขนมเปี ยกปูน ganoid scales เรียง
ติดกัน

Lepisosteus osseus
Neopterygii
2 orders
1. Lepisosteiformes Gars
1 family 4 species

2. Amiiformes Bowfin
1 species
Amia calva Linnaeus, 1766
4.3 Subclass Teleostei
ปลา ครีบเป็ นก้าน (ray-finned fishes)
ปลากระดูกแข็งปั จจุบนั
95% ของปลาปั จจุบน ั
38 orders ของปลาปั จจุบน ั
กระดูก (กาง) เป็ นกระดูกแข็ง (oscillate)
เกล็ด ยืดหยุน่ และเรียงซ้อน แบบ cycloid หรือ ctenoid
บางกลุม่ ไม่มเี กล็ด (ปลาดุก)
ครีบอก มักอยูใ่ กล้หวั
ไม่มรี เู หงือก
Order Cypriniformes
ปลาไน Carps.
ปลาน้าจืดแท้
กระจายทัวไป
่ ทุกอนุภมู ภิ าค
Eurasia, Africa, and North America.
ไม่มฟี ั นบนขากรรไก
มีฟันทีค่ อหอย
กินพืช สัตว์ทขนาดเล็ก
Order Perciformes 1

ปลาทะเล
เป็ น order ใหญทีส่ ดุ ของปลา
เป็ น order ใหญทีส่ ดุ ของสัตว์มกี ระดูกสันหลัง
1 ใน 5 ของสัตว์มก
ี ระดูกสันหลัง
มีชนิดมากกว่า 9,000 ชนิด
อาจไม่ได้มาจาก บรรพบุรษุ เดียวกัน
พบได้เกือบทุกแห่ง
เขตร้อน ถึงเขตหนาว
มีขนาดแตกต่างกันมาก 1 cm ปลาบู่ 4,500 cm ปลากรโทงแทงดา
Order Perciformes 2

few examples of
perciform fishes include
angelfishes,
barracudas, gobies,
basses, gouramies,
blennies, mackerels,
butterflyfishes, parrotfishes,
cardinalfishes, whitings,
cichlids, sea basses,
damselfishes, sillagos,
fusiliers, snappers,
glassfishes, sweepers,
goatfish wrasses,
Order
Tetraodontiformes
ปลาปั กเป้ า
ส่วนใหญ่อยูท่ ะเล
ฟั นรวมกันเป้ นแผ่น คล้ายปากนกแก้ว
เกล็ดเปลีย่ นเป็ นหนาม หรือเกราะ
ปลากวาง
ปลาปั กเป้ า
ปลาพระอาทิตย์
Mola mola
5. Class Amphibia
Amphibian มาจากภาษากรีก
Amphi referring to "both"
bio referring to “life”.
"amphíbios" = both kinds of life.
หมายถึงสัตว์ทอ่ี าศัยอยูท่ งั ้ บนบกและในน้ า
สะเทินน้าสะเทินบก
สั ตว์ สะเทินน้าสะเทินบก
มีต่อมเมือกทาให้ผวิ หนังชุม่ ชืน้ ตลอดเวลา ผิวหนังเปี ยกลืน่ อยูเ่ สมอ
ไม่มเี กล็ดหรือขน
หายใจด้วยเหงือก ปอด ผิวหนัง หรือผิวในปากในคอ
สืบพันธุโ์ ดยการผสมพันธุภ์ ายนอกลาตัว สืบพันธ์เมือ่ อายุ 2–3 ปี
ตัวผูม้ กั มีถุงลมปากเพือ่ ใช้สง่ เสียงร้องเรียกตัวเมีย
ออกลูกเป็ นไข่อยูใ่ นน้า ไม่มเี ปลือก
วางไข่เป็ นกลุม่ ในน้ามีสารเป็ นวุน้ หุม้
สัตว์ครึง่ บกครึง่ น้าเป็ นสัตว์เลือดเย็น เช่น เดียวกับสัตว์พวกปลา
สั ตว์ สะเทินน้าสะเทินบก
ลูกอ่อนทีอ่ อกจากไข่มรี ปู ร่างคล้ายปลาอยูใ่ นน้าหายใจด้วย
เหงือก
โตเต็มทีม่ ปี อด หายใจ
ขึน้ บกได้ แต่ตอ้ งอยูใ่ กล้น้า เช่น กบ คางคก อึง่ อ่าง เขียด
ซาลามานเดอร์
การเปลีย่ นแปลงรูปร่างทัง้ ภายนอกและภายในอย่างสิน้ เชิง ไป
ตามวงจรชีวติ (Metamorphosis)
ตัวอ่อนอาศัยอยูใ่ นน้า หายใจด้วยเหงือก
ตัวโตเปลีย่ นรูปร่างอาศัยอยูบ่ นบก หายใจด้วยปอดหรือผิวหนัง
สั ตว์ สะเทินน้าสะเทินบก
ฤดูหนาวถึงฤดูรอ้ น สัตว์พวกนี่สว่ นใหญ่จะขุดรูจาศีล หนีความแล้ง
ผิวหนังแห้ง อาจหายใจไม่ได้ และอาจตาย
ก๊าชจากอากาศต้องละลายไปกับน้าเมือกทีผ่ วิ หนัง แล้วจึงแพร่เข้าสู้
กระแสโลหิต
ระยะจาศีล ใช้อาหารทีส่ ะสมไว้ในร่างกาย
นิวต์และซาลามานเดอร์ เมือ่ เจริญเติบโตเต็มทีจ่ ะยังคงหางไว้
กินแมลง และ หนอนทีย่ งั มีชวี ติ อยู่
Newt larva
5. Class Amphibia
เขียดงู
ระยางค์ 2 คู่
ยกเว้น Caecilians
http://games.konseo.com/
(Gymnophiona) video-DMvL4zOLSeM

ระยางค์หายหมด

Amphibians เป็ นดัชนีทางนิเวศวิทยา


แนวโน้มประชากรลดลง ทัว้ โลก Atelopus zeteki,
Panamanian golden
หลายชนิดอยูใ่ นภาวะเสีย่ งต่อการสูญพันธุ์ frog
The world largest amphibian.

Andrias davidianus
Chinese giant salamander
1.8 m.
5. Class Amphibia
Amphibians ยุคแรก พบในช่วง Devonian Period
(400)
เหมือนกับ coelacanth และ lungfish
ครีบ เปลีย่ นเป็ นขา
บนบกปลอดภัยจากปลานักล่าขนาดยักษ์
2 ปั ญหาหลัก ของการเปลีย ่ นมาอาศัยอยูบ่ นบก
- อาหารทีก่ นิ อยูใ่ นน้า
- ผิวหนังไม่ใช่ แบบเก็บน้ า water-tight
3 Living orders 170 species
Gymnophiona, Caudata และ Anura
5.1 Order Gymnophiona
เขียดงู Caecilians
แปลกทีส่ ดุ ใน Amphibians
ไม่มขี า
เหมือนไส้เดือนขนาดยักษ์
อาศัยในป่ าดิบชื้น
ขุดรูในดิน หรือแหล่งน้ าจืด Gymnopsis syntrema
Ichthyophis cardamomensis
Geissler et al., 2014
is a genus of caecilians (limbless amphibians, sometimes called
the Asian caecilians) found in Southeast Asia, the southern
Philippines, and the western Indo-Australian Archipelago.

In Sri Lanka, three species occur, and all are found in almost all
habitats, preferring moister ones. The most common is
Ichthyophis glutinosus, which is found in almost all altitudes; the
others are I. orthoplicatus, which is found in similar habitat to I.
glutinosus, but is never found in lowlands below 460 metres
(1,510 ft) above sea level; and I. pseudangularis, found in
lowlands below 1,200 metres (3,900 ft) ASL. A new species was
recently discovered called Ichthyophis multicolor.
5.2 Order Caudata
Salamanders จิง้ จกน้า (จืด)
Newts กระท่าง
มีหางเป็ นลักษณะเด่น
ระยางค์ 4 ข้าง ขนาดใกล้เคียงกัน
Salamanders จัดเป็ นสัตว์ครึง่ บกครึง่ น้ าแท้จริง อาศัยหา
กินบนบก สืบพันธุใ์ นน้า
ขณะที่ order อื่นเป็ นสัตว์น้า หรือสัตวืบก
ลาดับนี้ อาศัยอยูใ่ นเขตอบอุ่น ของซีกโลกเหนือ รวมถึงเขต
ร้อนของทวีปอเมริกากลางและใต้
Newts

Tylototiton verrucosus
5.3 Order Anura (Salientia)
กบ อึง่ อ่าง คางคก เขียด ปาด...
ประสบผลสาเร้งมากทีส่ ดุ ในการปรับตัว
พบในแหล่งน้าจืด ทุกแห่ง ทัวโลก

ลัการะเด่น มีรางกายรูปสีเ่ หลีย่ ม และขายาว สาหรับการ
กระโดด
กบปกติ ชอบสันโดด ยกเว้นฤดูผสมพันธุ์
รวมฝูงนาดใหญ่ได้
ส่วนใหญ่มรี ะยะตัวอ่อน เป็ นลูกอ๊อดtadpole ก่อนเลีย่ น
รูปร่างเหมือนตัวโต และมีปอด
ในช่วง ฤดูหนาม หรือภาวะแห้งแล้ง ปรับตัวโดยการจาศิล
ประเทศไทยพบ 1 ชนิด เป็ นสัตว์ทะเล
กบน้ าเค็ม Rana cancrivora
กบน้าเค็มเป็ นสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก
ชนิดเดียวในประเทศไทยทีอ่ าศัยอยูไ่ ด้ใน
น้าเค็ม
7 cm.
ผิวลาตัวมีสนี ้าตาลอ่อนแต้มลายจุด และ
ขีดสีน้าตาลเข้ม
ไข่เป็ นแพ
แมลงและลูกปลาขนาดเล็ก
ปากแม่น้า ป่ าชายแลน ชายฝั ง่ ทะเล
อ่างศิลา ชลบุร ี
6. Class Reptilia
สัตว์เลือ้ ยคลาน หายใจจากอากาศโดยตรง
สัตว์เลือดเย็น
ผิวหนังมีเกล็ดปกคลุม (scales or scutes)
เทีย่ บได้กบั ขนสัตว์ และขนนก
เป็ นสัตว์สข่ี า (tetrapods)
ออกลูกเป็ นไข่ เรียก amniote eggs
ตัวอ่อนพัฒนาอยูใ่ นไข่แดง หุม้ ด้วย amnion
membrane
Reptiles พบบนทุกทวีป ยกเว้น Arctic และ
Antarctica … ทาใม?
6. Reptilia
Reptile ส่วนใหญ้ป็น oviparous (ออกลูกเป็ นไข่)
Squamates ออกลูกเป็ นตัวได้
ovoviviparity (ออกลูกเป็ นไข่)
viviparity (ออกลูกเป็ นตัว)
viviparous กินรกของตัวเอง fetuses
(placenta analogous to mammals)
บางชนิดอนุบาลตัวอ่อนภายใน
ความแตกต่างของขนาด
- ตุ๊กแกจิว๋ Sphaerodactylus ariasae 1.6 cm.
- จรเข้น้ าเค็ม Crocodylus porosus 6 m
หนัก 1,000 kg.
วิชาเกีย่ วกับสัตวืเลือ้ ยคลาน เรียก “herpetolog”
6. Reptile
4 orders ทีย
่ งั ไม่สญ
ู พันธุ์
Testudines (turtles, tortoises, and terrapins):
300 species
Crocodilia (crocodiles, gavials, caimans, and
alligators): 23 species
Sphenodontia (tuatara from New Zealand):
2 species Rhynchocephala?
Squamata (lizards, snakes, and amphisbaenids
("worm-lizards"): 7,900 species
6.1 Order Testudines
เต่า Turtles ลักษณะสาคัญ มี:
- เปลือกขนาดใหญ่ (carapace) ด้านบนเป็ นแผ่นต่อกัน และ
ด้านล่างเป็ นแผ่นปิ ดอก breast-covering plastron.
พบทัวโลก่
มหาสมุทร แล่งน้าจืด บนแผ่นดิน
กลุม่ ทีอ่ ยูบ่ นบกเรียก “ tortoises “
เชือ่ ว่าเต่ามีอายุได้มากกว่า 150 ปี
300 million มีการเปลีย ่ นแปลง น้อยมากเมือ่ เทียบกับ
สัตว์เลือ้ ยคลานทัง้ หมด
กลุ่มพบในทะเล
Suborder Cryptodira
Infraorder Eucryptodira
Superfamily Chelonioidea (sea turtles)
• พบ ๕ ชนิดในน่านน้าไทย
Family Cheloniidae (green sea turtles )
Chelonia mydas Green sea turtle เต่าตนุ
Eretmochelys imbricata Hawksbill sea turtle เต่ากระ
Lepidochelys olivacea Olive ridley sea turtle เต่าหญ้า
Caretta caretta Loggerhead turtle เต่าหัวฆ้อน
Family Dermochelyidae (leatherback sea turtles)
Dermochelys coriacea เต่ามะเฟื อง
Chelonia mydas Green sea turtle เต่าตนุ
Lepidochelys olivacea Olive ridley sea turtle เต่าหญ้า
Caretta caretta Loggerhead turtle เต่าหัวฆ้อน
Dermochelys coriacea เต่ ามะเฟื อง
Leatherback
6.2 Order Crocodylia
22 species.
ใหญ่และน่ากลัวทีส่ ดุ ของสัตว์เลือ้ ยคลานปั จจุบนั
อาศัยในเขตร้อน และเขตอบอุ่น subtropical.
น้าจืด และน้าทะเล ทัวโลก

จรเข้มลี กั ษณะทัวไปเหมื
่ อนกิง้ ก่า
Crocodiles, Alligators, Caimans, and Gavials.
จรเข้ที่พบในประเทศไทย
๑ วงศ์ Crocodylidae Cuvier, 1807
ประเทศไทยมี ๓ ชนิด
จระเข้บงึ หรือ จระเข้น้าจืด (Crocodylus siamensis)
จระเข้อา้ ยเคีย่ ม หรือ จระเข้น้าเค็ม (Crocodylus porosus)
จระเข้ปากกระทุงเหว หรือ ตะโขง (Tomistoma schlegelii)
จระเข้น้ าเค็ม
จระเข้ปากกระทุงเหว
จระเข้น้ าเค็ม
ถ้าจระเข้
คลองพันเตมะละกา
6.3 Order Sphenodontida
หรือ Rhynchocephala
สัตว์บก
สัตว์เลื้อยคลานคล้ายกิ้งก่ายุคแรก
Tuataras
2 ชนิด พบที่ New Zealand เป็ น endemic
Sphenodon guntheri (Buller, 1877)
Sphenodon punctatus (Gray, 1842)
6.4 Order Squamata
สัตว์บก 6,847 species
3 suborders.
Lacertilia – กิ้งก่า

Serpentes – งู มีชนิดทีอ่ ยูใ่ นทะเล


Amphisbaenia - กิ้งก่าไร้ขา
วิวฒ
ั นาการถึง ยุค Jurassic
ลักษณะ กระโหลก และขากรรไก คล้ายกัน
- temporal arch reduced or absent
- quadrate movable or secondarlily fixed.
6.4.3 Suborder Serpentes
งู
tetrapods ไม่มข
ีา
สัตว์กนิ เนื้อ ผูล้ า่
กล้ามเนื้อพัฒนาให้เคลือ่ นทีไ่ ด้เร็ว
ระบบทางเดินอาหาร เปิ ดให้ใส่เหยือ่ ขนาดใหญ่
ปรับตัวให้อยูใ่ นสิง่ แวดล้อมทีห่ ลากหลาย บก - ทะเล
พบทุกแห่ง ยกเว้น Antarctica.
2,647 species
1 วงศ์ อยูใ่ นทะเล Elapidae Boie, 1827
Family: Elapidae Boie, 1827
อยูใ่ นทะเล
บรรพบุรษุ อยูบ่ นบก
อยูบ่ นบกไม่ได้
ยกเว้น Laticauda, เลื่อนททีบ่ นบกได้บา้ ง
พบ Indian Ocean to the Pacific.
หางเป็ นใบพาย paddle-like tails
ลาตัวแบนข้าง
ไม่มเี หงือก หายใจบนผิวน้ า
air-breathing vertebrates]
ดุรา้ ย มีพษิ ร้านแรงมาก ไม่มซี ลี มแก้
ั ่ พษิ
17 genera 62 species.
งูสมิงทะเลปากเหลือง
Yellow-lipped Sea Krait
Laticauda colubrina มีพษิ ร้ายแรงต่อระบบกล้ามเนื้อ
L. aticaudata งูสมิงทะเลปากดา

ตัวผูข้ นาดเมือ่ โตเต็มทีม่ คี วามยาวประมาณ 60 cm


ตัวเมียจะมีความยาวกว่า 1.5 เมตร หนัก 2 กิโลกรัม
ชอบอยูร่ วมกันเป็ นฝูง 5-6 ตัว วางไข่บนบก]
อาศัยอยูใ่ นแนวปะการังน้ าตืน้ ใกล้ชายฝั ง่
พบได้ทงั ้ ฝั ง่ อ่าวไทย และ ทะเลอันดามัน
Sea snake in Thai Water
Acalyptophis peronii
Aipysurus eydouxii

Aipysurus laevis

Thalassophis anomalus
7. Class Aves
ปี ก 1 คู,่ ขา 1 คู่
เลือดอุ่น endothermic
vertebrate ออกลูกเป็ นไข่
10,000 ชนิด ทีม ่ ชี วี ติ
หลากหลายทีส่ ดุ ในกลุม่ tetrapod
มีถนิ่ ทีอ่ ยูห่ ลากหลาย the Arctic to the Antarctic
5 cm Bee Hummingbird
2.7 m Ostrich
7. Class Aves
หลักฐาน fossil ชีว้ า่ นกวิวฒ
ั นาการมาจาก
ไดโนเสาร์กนิ พืช theropod dinosaurs
นกตัวแรก พบปลายยุค Jurassic 155–150 Ma
Archaeopteryx
Paleontologists เป็ นสายพันธุห
์ นึ่งของไดโนเสาร์
รอดจากการสูญพันธุย์ คุ Cretaceous–Tertiary
65.5 Ma.
Modern birds
ขน
จงอยปาก ไม่มฟี ั น
วางไข่ เปลือกแข็ง
อัตราการเผาผลาญอาหารสูงมาก
หัวใจ 4 ห้อง
กระดูก พรุน เบา
ระยางค์คหู่ น้า เปลีย่ นเป็ นปี กสาหรับ บิน หรือ ว่ายน้า
Ratites และ Penguins
ระบบหายใจและย่อยอาหาร ปรับให้เหมาะกับการบิน
นกทะเล
นกปรับตัวเข้ากับสิง่ แวดล้อม ออกลูกน้อย
ของทะเล ใช้เวลาดูแลลูกมาก
ดารงชีวติ หลากหลาย ชอบยูเ่ ป็ น โคโลนี ร้อย ถึง
นกทะเลตัวแรก พบในช่วง ล้านตัว
Cretaceous
อบพย ระยะทางไกล
วงศ์นกทะเล เริม่
Paleocene
หากินบนผิวทะเล
นกทะเลมีอายุยนื คุน้ เคยกับมนุษย์มาเป็ นระ
เวลายาวนนมาก
สืบพันธุช์ า้
การจัดจาแนกชนิดนกทะเล
4 orders Charadriiformes (305 as seabirds)
Sphenisciformes Stercorariidae skuas
Spheniscidae penguins Laridae gulls นกนางนวล นกนางแอ่น
Sternidae terns
Procellariiformes (93 as seabirds)
Rhynchopidae skimmers
Diomedeidae albatrosses
Alcidae auks
Procellariidae นกจมูกหลอด
Pelacanoididae diving-petrels
Hydrobatidae storm-petrels

Pelecaniformes (57 species)


Pelecanidae pelicans นกกระยาง
Sulidae gannets and boobies
Phalacrocoracidae cormorants
Fregatidae frigatebirds
Phaethontidae tropicbirds
นกนางแอ่นกินรัง
ลาดับ Apodiformes
ปี กยาวและเรียวคล้ายเคียว
กระพือปี กถี่ บินได้เร็ว
วงศ์ Hirundinidae ชอบนอนพักผ่อนอยูต่ ามสายไฟและตามพุม่ ไม้
วงศ์ Apodidae เกือบทุกชนิดจะพักผ่อนนอนหลับ เกาะอยูต่ ามผนังถ้ารัง
วงศ์ Apodidae
12 ชนิด

ข้อแตกต่างทีส่ าคัญอย่างหนึ่งคือ
Hirundinidae สร้างรังด้วยใยของต้นไม้ผสมกับดินเหนียว

Apodidae สร้างรังด้วยใยของต้นไม้ผสมกับน้ าลาย หรือน้ าลาย


Aerodramus fuciphagus
นกนางนวลขอบปี กขาว Larus ridibundus
(Common Black- headed Gull)
มีถนิ่ กาเนิดในตอนกลางของทวีปเอเชีย
อพยพมากยังประเทศไทยในฤดูหนาว
จงอยปากแหลมสีสม้ แดง ปลายจงอยปากสีดา ด้านข้างสีเทา
นัยน์ตาสีดา ลาตัวด้าน ข้างสีขาว ด้านล่างสีขาว ด้านหลังสีเทา หางสีขาว
ปี กด้านหลังสีเทา นิ้วเท้ามี แผ่นหนังเชือ่ มติดกันระหว่าง นิ้วเท้า เมือ่ เข้า
ใกล้
ฤดูผสมพันธุ์ หัวของนกจะมีสดี า จงอย ปากจะมีสสี ม้ แดงชัดเจนมากทีส่ ดุ
พบยูบ่ นผิวน้า หรือบริเวณริมน้าใกล้ๆชายเลน
กลางคืน จะบินออกไปกลางทะเล
กิน ปลาและสัตว์น้า
นกอพยพ พบได้ในฤดูหนาว
นกนางนวลธรรมดา
Brown-headed Gull
Larus bwnnicephalus
จงอยปากสีสม้ แดง ปลายสีดา
ลาตัวด้านข้างสีขาว นัยน์ตาสีเหลืองอ่อน หาง สีขาว
ปลายปี กทัง้ สองข้างสีดา และปลาย ขนสีดาจะมีวงสีขาวมองเห็นเด่นชัด
ฤดูผสมพันธุห์ วั จะเปลีย่ นเป็ น สีน้าตาลดา จงอยปากจะมีสสี ม้ สดขึน้
ลอยตัวอยูบ่ นผิวน้า
กินปลาและ สัตว์น้าต่างๆ
พบตามชายฝัง่ และแม่น้า
นกอพยพพบได้ในฤดูหนาว
Laridae gulls

Pseudochelidon sirintarae
(นกนางแอ่น)

Larus brunnicephalus
Order Ciconiiformes
นกกระสา นกกระยาง
เป็ นนกขนาดใหญ่มากจนถึงขนาด
Family Ardeidae นกกระสา-นกกระยาง มีหลายขนาดด้วยกันตามชนิด
และตามสกุล
ปากยาว แข้งยาว ขายาว นิ้วยาว
เดินลุยโคลน นิ้วกลางมี "หวี" ยืน่ ออกมาเป็ นซีเ่ ล็กๆ เหยียบไม่จมเลน
นกกระสา (heron)
นกกระยาง (egret)

Family Ciconiidae นกปากห่าง เป็ นนกขนาดใหญ่มาก


นกปากห่าง (openbilled stork) คุม้ ครอง พบตามท้องนา
นกกระสาคอดา
Ephippiorhynchus asiaticus

นกกระยาง
Ardea alba Linnaeus, 1758
8. Class Mammalia
หายใจ บนบก สมอง neocortex (outer
layer of the cerebral
มีขน
hemisphere) ควบคุมระบบ
กระดูกหูชนั ้ กลาง 3 ชิน้ ฮอร์โมน และหม่นเวียน
ต่อมน้านม (ทางานเมือ่ มี โลหิต
ลูก) หัวใจ 4 ห้อง
ต่อมเหงือ่ 30–40 mm. Bumblebee
Craseonycteris thonglongyai

ฟั นลักษณะพิเศษ Bat. (บก)

มีรก (Placenta) ส่งอาหาร นากทะเล (Enhydra lutris)


ให้ตวั อ่อน 16-27 กก.

Blue Whale 33 เมตร


8. Class Mammalia
• 5000 species (3 subclass)

• Monotremata 6 platypus, spiny anteaters


ออกลูกเป็ นไข่ สัตว์น้าจืด
• Marsupialia 275 opossum, kangaroos
มีถุงหน้าท้อง สัตวืบก
• Eutheria 4700 mice, bats, elephants, horses,
whale, dolphin, dugong, human
Subclass Eutheria
Order Siernia
Family Dugongidae พบ 1 ชนิด
Trichecdae 3 spp.
Dugong dugong Trichechus manatus
Order Cetacea
• ประเทศไทย มีรายงานพบ 20 ชนิด
Suborder Mysticeti Baleen whales
Family Balaenopteridae
Balaenoptera brydei
วาฬบรูดา หรือ วาฬแกลบ
Suborder Odontoceti toothed whales
Family Physeteridae Pygmy sperm
Family Kogiidae Dwraf sperm
Family Ziphiidae Killer whale
Family Delphinidae Dolphin, False..
Family Phocoenidae Porpoises
Balaenoptera brydei
Pseudorca crassidens

Tursiops aduncus (Ehrenberg, 1832)

Orcinus orca
Sperm Whale Kogia breviceps
o การจัดการชายฝั่งและการอนุรักษ์ ทรัพยากรในทะเล

ดร.ประสาร อินทเจริญ
ภาควิชาวาริ ชศาสตร์
วิชา ๓๐๙๑๐๓๕๙ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

วิทยาศาสตร์ทางทะเล

(Marine Science)
o การจัดการชายฝั่งและการอนุรักษ์ ทรัพยากรในทะเล

ชายฝั่ง: คือ ขอบเขต หรื ออาณาเขตหรื อพื้นที่ที่มีการเชื่อมต่อกันระหว่างแผ่นดิน


และทะเล โดยทั้ง แผ่น ดิ น และทะเล ต่ า งมี ป ฏิ สั ม พัน ธ์ ซ่ ึ งกัน และกัน โดยผ่า น
กระบวนการต่าง ๆ ทั้งทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ ซึ่งลักษณะของชายฝั่งจะมีการ
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

การอนุรักษ์ : หมายถึง การรักษาไว้ ให้ได้นานที่สุด หรื อการใช้ทรัพยากรอย่าง


มีประสิ ทธิภาพ โดยไม่ทาให้เกิดผลกระทบในทางเสี ยหายต่อสภาพแวดล้อม
ปัจจุบนั และอนาคต
แหล่งความรู.้ ..
- หนังสือและคู่มือ
- Website และ Facebook
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
o การจัดการชายฝั่งและการอนุรักษ์ ทรัพยากรในทะเล
กิจกรรม ชื่อหน่วยงาน อานาจหน้าที่
➢ นโยบาย -สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและ -กำหนดนโยบำย จัดทำนโยบำยและแผนเพื่อประโยชน์ในกำรบริหำร
ประสานงาน สังคมแห่งชำติ จัดกำร อนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่ง ในประเทศและ
การศึกษาวิจัย -สำนักงำนนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรรมชำติ ประสำนงำนควำมร่วมมือระหว่ำงประเทศ
กฎ ระเบียบ และ สวล. -เสนอควำมเห็นเพื่อจัดทำนโยบำยและแผน
-กรมทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่ง -ดำเนินกำร ประสำนงำน อนุรักษ์ ฟื้นฟู
-กรมประมง/ กรมเจ้ำท่ำ/ กรมควบคุมมลพิษ -ดำเนินกำรตำมกฎหมำย
-กองทัพเรือ -รักษำผลปะโยชน์ควำมมั่นคงทำงทะเลและ คุ้มครอง ป้องกัน
ทรัพยำกรธรรมชำติในทะเลและชำยฝั่ง
➢ พื้นที่คุ้มครอง -กรมทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่ง -เสนอแนะแหล่งควรอนุรักษ์
-กรมอุทยำนแห่งชำติสัตว์ป่ำและพันธุ์พืช -ประกำศเขตพื้นที่คุ้มครอง อุทยำนแห่งชำติทำงทะเล
➢ การมีส่วนร่วม -กรมทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่ง สร้ำงควำมเข้ำใจ ส่งเสริมกำรมีส่วนร่วม
ของประชาชน -กรมส่งเสริมคุณภำพสิ่งแวดล้อม
➢ ศูนย์ข้อมูล ทุกกรม -รวบรวม จัดทำ พัฒนำฐำนข้อมูล ถ่ำนทอดควำมรู้
-ให้ควำมช่วยเหลือ ปรึกษำทำงวิชำกำร
การอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง,
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
ดาเนินการจัดการ เพื่อความสมบูรณ์ และยัง่ ยืน

กาหนดนโยบาย วางแผน และ บริหารจัดการ


ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง โดยยึดหลักการ
บริหารจัดการบ้ านเมืองที่ดี เพื่อให้ เกิดความ
สมบูรณ์ และการใช้ ประโยชน์ ทยี่ งั่ ยืน
การบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
....เสนอความเห็นเพื่อจัดทานโยบายและแผน เพื่อประโยชน์ในการบริการจัดการการอนุรักษ์
1
และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

...เสนอให้มีการปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติมกฎระเบียบมาตรการ เกี่ยวกับการอนุรักษ์


มีภาระกิจ 2 การฟื้นฟูการจัดการ และการใช้ประโยชน์ทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่งเพื่อให้มี
การใช้อย่างยั่งยืน
หลัก
3 ...กากับดูแล ประเมินผลติดตาม ตรวจสอบให้เป็นไปตามกฎ ระเบียบ มาตรการ

...ศึกษา วิจัย พัฒนา การอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง รวมถึงพืชและสัตว์ทะเล


4
หายาก และใกล้สูญพันธุ์
การบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
.... เสนอแนะ แหล่งอันควรอนุรักษ์เพื่อประโยชน์ในการสงวน รักษา คุ้มครอง ควบคุมดูแล
5
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

... สร้างความเข้าใจและส่งเสริม การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการอนุรักษ์ และ


มีภาระกิจ 6
ฟื้นฟู ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
หลัก
7 ...เป็นศูนย์ข้อมูล เกี่ยวกับทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งของประเทศ

8 ... ประสานความร่วมมือกับองค์การระหว่างประเทศ และ ในด้านทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง


ปัญหาความเสื่อมโทรมของชายฝั่งทะเลประเทศไทย... VDO: 5 นำที
การบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ความจาเป็ นใน • ประชากรที่เพิ่มขึ้น การใช้ประโยชน์ และ ภัยคุกคามจากธรรมชาติ
การจัดการชายฝั่ง จนเกิดภาวะผลกระทบต่อทรัพยากรชายฝั่งเกิดความเสื่ อมโทรม

การจัดการชายฝั่ง บูรณาการสูค่ วามยั่งยืน


Coastal Management Integration to Sustainability
ความรู้พื้นฐาน o เทคนิควิธีการในการจัดการชายฝั่งอย่าง
o อาณาเขตทางทะเล และชายฝั่ง บูรณาการ ที่ต้องใช้องค์ความรู้หลาย
สาขาและหน่วยงาน
o ขอบเขตและลักษณะของชายฝั่ง
o ประเมินผล ความก้าวหน้า ความสาเร็จ
o ทรัพยากรชายฝั่งและระบบนิเวศวิทยาชายฝั่ง เช่น
ป่าชายเลน แนวปะการัง หญ้าทะเล ระบบหาด o ตัวชี้วัดความสาเร็จ อนุรักษ์ ฟื้นฟู
o คุณค่าและความสาคัญของระบบนิเวศน์ o ทิศทางและความท้าทาย
การบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
แนวคิดพืน้ ฐานการจัดการ
ชายฝั่งแบบบบูรณาการ
• การจัดการชายฝั่งแบบบูรณาการ
การประชุมคณะกรรมาธิการโลกว่าด้วย สิ่งแวดล้อมและ แผนปฏิบัติการ 21 ในการประชุมองค์การสหประชาชาติว่า
การพัฒนา (World Commission on ด้วยการพัฒนาอย่างยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ
(United Nations Conference on Environment and
Environmental and Development: WCED)
Development: UNCED) ในปี พ ศ 2535
ในปี พ ศ 2530
Keys การพัฒนาอย่างยั่งยืน ไปสู่ปฏิบัติได้
Keys การพัฒนาอย่างยั่งยืนจากดั้งเดิม
o รัฐชายฝั่งต้องคุ้มครองมหาสมุทร ทะเล และชายฝั่ง
o การคงอยู่ของระบบนิเวศน์ กิจกรรมของมนุษย์ต้องเป็นมิตร ที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้
กับสิ่งแวดล้อม
o มิติด้านสังคมและเศรษฐกิจ ครอบคลุม ความร่วมมือ
o การพัฒนาทางเศรษฐกิจ อย่างมีประสิทธิภาพ ปรังปรุง ระหว่างประเทศ การต่อสู้กับความยากจน การ
คุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ใช้ทรัพยากร แบบหมดไปให้น้อยลง เปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริโภค ปริมาณประชากร
o ความเท่าเทียมกันในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร o การอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรเพื่อการพัฒนา
การบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่
การพัฒนาแบบดั้งเดิม • การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรมากเกิน ทาให้ทรัพยากรลดลง
เนื่องจากการเพิ่มของประชากร
• การค้นพบทรัพยากรใหม่ๆ
• ขาดการวางแผนจัดการอย่างเหมาะสม ทดแทน ควบคุม

▪ การประเมินสภาพทรัพยากรและการใช้ประโยชน์
▪ การพัฒนาปรับปรุ ง/แผนการจัดการ
การพัฒนาแบบยั่งยืน ▪ การนาแผนไปจัดการปฏิบตั ิ
▪ การติดตามตรวจสอบทรัพยากร รัฐ
- สภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง เกิดความไม่แน่นอน ภาคเอกชน
- เศรษฐกิจภาคทะเลและชายฝั่ง
การมีส่วนร่ วมของประชาชน
4 จังหวัดชายฝัง่ ตะวันออก
การจัดการแบบบูรณาการทางทะเลและชายฝั่ง ❑

• ความยาวชายฝัง่ 550 กม.


❑ 6 จังหวัดอ่าวไทยตอนใน • มี 9 ระบบกลุ่มหาด
• ความยาวชายฝัง่ 200 km. • PEMSEA-ICM Program เริ่มจากชลบุรี
• เครือข่าวชุมชนจัดการการกัดเซาะชายฝัง่
• มี 1 ระบบกลุ่มหาด
• พืน
้ ที่อนุรกั ษ์วาฬและโลมา
• ดอนหอยหลอด Ramsar site ❑ 4 จังหวัดอ่าวไทยฝัง่ ตะวันตกตอนบน
• แผนการจัดการทะเลและชายฝัง่ ปากน้าแม่กลอง • ความยาวชายฝัง่ 720 กม.
• แหล่งประมงปลาทู • COBSEA marine spatial planning workshop
• มี 8 ระบบกลุ่มหาด (S1-S8)
• พืน
้ ที่อนุรกั ษ์ปลาทู (กรมประมง)
• กลุม่ เกาะสมุย
เกาะพงัน
เกาะเต่า
❑ 6 จังหวัดทะเลอันดามัน ❑ 4 จังหวัดอ่าวไทยตอนล่าง
• ความยาวชายฝัง่ 1,000 กม. • ความยาวชายฝัง่ 600 กม.
• BOBLME target (DOF) • มี 5 ระบบกลุ่มหาด (S9-S13)
• เตรียมเสนอมรดกโลก • แผนการจัดการลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา
• ยุทธศาสตร์อน
ั ดามัน (สผ.) • ลุ่มน้าปากพนัง
• อ่าวปัตตานี

ภาพจาก ศักดิอนันต์ ปลาทอง


❖ เศรษฐกิจสีน้าเงิน...
คือ เศรษฐกิจฐำนทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่ง ซึ่งครอบคลุมกิจกรรมทำงเศรษฐกิจที่ใช้ประโยชน์จำกทรัพยำกรทำง
ทะลทั้งทำงตรงและทำงอ้อม อำทิ กำรเป็นแหล่งอำหำร แร่ ทรัพยำกรธรรมชำติ กำรเป็นแหล่งพลังงำน กำรท่องเที่ยว
กำรขนส่ง และภำคบริกำรที่เกี่ยวเนื่อง ฯลฯ
เช่น...ป่าชายเลน...
➢ มูลค่าทางเศรษฐกิจรวมของป่าชายเลน ประกอบด้วย
• มูลค่าจากการใช้ทางตรงด้านการประมง
• มูลค่าการใช้ทางอ้อม เพื่อใช้ประโยชน์ในการ
✓ เป็นแหล่งเพำะพันธุ์ แหล่งที่อยู่อำศัยและแหล่งอนุบำลสัตว์น้ำวัยอ่อน
✓ ใช้ประโยชน์ในกำรดูดซับและกักเก็บคำร์บอน
• มูลค่าที่ไม่ได้เกิดจาการใช้
- ถ้ำเรำไม่เข้ำใจมูลค่ำทำงเศรษฐกิจรวมของป่ำชำยเลน...ก็เปรียบเสมือน เรำไม่ทรำบว่ำสินทรัพย์ที่เรำมีอยู่ซึงหมำยถึงต้นทุน
ทำงธรรมชำติมมูลค่ำที่แท้จริงอย่ำงไร???
- แล้วเรำจะไม่ทรำบว่ำสินทรัพย์ที่เรำมีอยู่นั้น จะนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่ำงไร ???
คณะกรรมการนโยบายทรัพยากรทาง
ทะเลและชายฝั่ง ชายฝัง่

อนุกรรมการ/คณะทางาน
คณะกรรมการทรัพยากรทางทะเล
รายประเด็นปัญหา และชายฝั่งจังหวัด

พืน้ ที่ปฏิบัตกิ ารหลักของกรม ทช.

ภาพจาก ศักดิอนันต์ ปลาทอง


พระราชบัญญัติส่งเสริ มการบริ หารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พ.ศ. 2558
พระราชบัญญัติ
ส่ งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
พ.ศ. ๒๕๕๘
มาตรา ๑๒ ให้มีคณะกรรมกำรทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่งจังหวัด สำหรับจังหวัดใดที่มีพื้ นที่
เพื ่ อ กำรปลู ก กำรบ ำรุ ง รั ก ษำ กำรอนุ ร ั ก ษ์ และกำรฟื ้ น ฟู ท รั พ ยำกรทำงทะเลและชำยฝั ่ ง
ประกอบด้วย ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเป็นประธำนกรรมกำร ผู้อำนวยกำรสำนักงำนเจ้ำท่ำภูมิ ภำคสำขำ
จังหวัด ผู้แทนกรมป่ำไม้ ผู้แทนกรมอุทยำนแห่งชำติ สัตว์ป่ำและพันธุ์พืช ผู้อำนวยกำรสำนักงำน
ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ประมงจังหวัด โยธำธิกำรและผังเมืองจังหวัด ผู้ แทน
กองทัพเรือ ผู้บังคับกำรต ำรวจภูธรจังหวัด นำยกองค์กำรบริหำร ส่วนจังหวัดเป็นกรรมกำรโดย
ตำแหน่ง และกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด แต่งตั้งจำกผู้แทนภำคประชำชนหรือ
ชุมชนชำยฝั่งในจังหวัดนั้นซึ่งเป็นผู้มีควำมรู้และประสบกำรณ์เป็นที่ประจักษ์ หรื อเป็นที่ยอมรับด้ำน
กำรบริห ำรจัดกำรทรัพ ยำกรทำงทะเลและชำยฝั ่ง ด้ำ นระบบนิเวศทำงทะเลและชำยฝั ่ง ด้ำ น
สิ่งแวดล้อม ด้ำนกำรท่องเที่ยว หรือด้ำนกำรประมง จำนวนแปดคนเป็นกรรมกำร
มาตรา ๑๓ คณะกรรมกำรทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่งจังหวัด มีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) จัดทำและเสนอนโยบำยและแผนกำรบริหำรจัดกำรทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่งจังหวัด ต่อคณะกรรมกำรเพื่อกำหนดไว้
เป็นส่วนหนึ่งของนโยบำยและแผนกำรบริหำรจัดกำรทรัพยำกรทำงทะเล และชำยฝั่งแห่งชำติิ
(๒) เสนอควำมเห็นต่อคณะกรรมกำรในกำรออกกฎกระทรวงกำหนดให้พนื้ ที่ปำชำยเลน บริเวณหนึ่งบริเวณใดในจังหวัดเป็นพื้นที่
ป่ำชำยเลนอนุรักษ์ตำมมำตรำ ๑๘ หรือออกกฎกระทรวงกำหนดพื้นที่ คุ้มครองทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่งตำมมำตรำ ๒๐
(๓) เสนอควำมเห็นต่อคณะกรรมกำรในกำรพิจำรณำให้ควำมเห็นชอบพื้นที่ที่จะใช้มำตรกำร ในกำรป้องกันกำรกัดเชำะชำยฝั่ง
ช่วยเหลือ ให้คำแนะนำ และประสำนงำนกับหน่วยงำนของรัฐในระดับจังหวัดและจังหวัด ใกล้เคียง เพื่อให้มีกำรดำเนินกำรหรือ
ปฏิบัติกำรที่สอดคล้องกับนโยบำยและแผนกำรบริหำรจัดกำรทรัพยำกร ทำงทะเลและชำยฝั่งแห่งชำติในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับจังหวัดนั้น
(๕) ดำเนินกำรร่วมกับภำคประชำชน ชุมชนชำยฝั่ง และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในกำรปลูก กำรบำรุงรักษำ กำรอนุรักษ์ กำร
ฟื้นฟู และกำรใช้ประโยชน์จำกทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่ง ในจังหวัด
(๖) เสนอควำมเห็นต่อคณะกรรมกำรหรืออธิบดีเพื่อพิจำรณำดำเนินกำรตำมที่เห็นสมควร ในกรณีที่ปรำกฏว่ำทรัพยำกรทำงทะเล
และชำยฝั่งภำยในบริเวณจังหวัดได้รับควำมเสียหำย หรือจำเป็นต้อง ได้รับกำรปลูก กำรบำรุงรักษำ กำรอนุรักษ์ หรือกำรฟื้นฟู
(๗) รำยงำนผลกำรดำเนินกำรของคณะกรรมกำรทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่งจังหวัด สำหรับจังหวัดนั้นและสถำนกำรณ์ด้ำน
ทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่งของจังหวัดนั้น และเรื่องกำรกัดเชำะชำยฝั่ง ต่อคณะกรรมกำรอย่ำงน้อยปีละหนึง่ ครั้ง
(๘) ปฏิบัติกำรอืน่ ตำมที่คณะกรรมกำรมอบหมำย
ความร่ วมมือการบริหารจัดการทะเลและชายฝั่ง
ของทุกจังหวัดชายทะเล
(Partnerships in Coastal and Ocean Governance)

ผลลัพธ์ : นโยบายทางทะเลและชายฝั่งแห่ งชาติ


National coastal/ocean policy and
institutional arrangements

ระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่งมีความสมบูรณ์ และภูมคิ ุ้มกันทีด่ ตี ่ อการเปลีย่ นแปลง


Healthy and Resilient Coastal and Marine Ecosystems
A Typical Coastal Area

ภาพจาก ศักดิอนันต์ ปลาทอง CRMP 1996


ระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่งมีความสมบูรณ์ และภูมคิ ุ้มกันที่ดี

การวางแผน ICM และปฏิบัติตามแผน กระบวนการวางแผน การจัดการชายฝั่ง

เป้าหมาย/กิจกรรม

ฟื้ นฟูระบบนิเวศ อนุรักษ์ ความ ทาประมงอย่ างยัง่ ยืน และ การใช้ การอนุรักษ์ นา้ และการ การจัดการภัยพิบัติจาก
หลากหลายทางชีวภาพ และ สนับสนุนอาชีพทางะเลือก ลดมลภาวะทางนา้ ธรรมชาติ และมนุษย์
จัดการพืน้ ทีค่ ุ้มครองทางทะเล
ประเมินสถานภาพทรัพยากร ประเมินการรองรับสารพิษได้ ผลกระทบจากภัยพิบัติ
จัดการพืน้ ทีค่ ้ ุมครองอย่างมี เศรษฐกิจ สั งคม
ประสิ ทธิภาพ ประเมินเศรษฐกิจ สั งคม และ ประเมินประสิ ทธิภาพการ
ประเมินความเสี่ ยง นิเวศของพืน้ ทีร่ ับนา้ และ แก้ ไขสถานการณ์ ฉุกเฉิน
ประเมินคุณค่ าระบบนิเวศ ชายฝั่ง
จัดการบนฐานระบบนิเวศ
จัดทาแผนทีค่ วามเสี่ ยง
ประเมินความเสี่ ยง
ศึกษาการพัฒนาคุณภาพชี วติ การลงทุนเพื่อลดมลภาวะ
อนุรักษ์ และฟื้ นฟูทรัพยากร แผนรับมือการเปลีย่ นแปลง
ทางาทะเล ส่ งเสริมธุรกิจทีเ่ ป็ นมิตรต่ อ นวัตกรรม และเทคนิคการลด ภูมิอากาศ และภัยพิบัติ
สิ่ งแวดล้อม การใช้ นา้ และลดมลพิษ
PSHEMS สาหรับท่าเรื อ

การติดตาม ประเมินผล ให้ รางวัล และขยายผลตัวอย่ างที่ดี


สนับสนุนทักษะ ความรู้ งานวิจยั เฉพาะด้ าน และกลไกความยัง่ ยืนของงบประมาณ
ความร่ วมมือกับเครื อข่ าย (หน่ วยงานระดับชาติ ระหว่างประเทศ แหล่งทุน สถาบันการศึกษา สังคม และภาคเอกชน) 20
การจัดการความรู้เพื่อสร้ างความยัง่ ยืนของการใช้ ประโยชน์
ทางเศรษฐกิจจากทะเล

การติดตามสถานการณ์ รายงานสถานการณ์ ทะเล สนับสนุนทักษะ และความรู้ งานวิจัยสนับสนุน


ทรัพยากรธรรมชาติและ และชายฝั่ง
สิ่ งแวดล้อม ศู นย์ เรียนรู้ การจัดการ งานวิจัยเพื่อ
ฝึ กอบรมการจัดทา ชายฝั่ง สนับสนุนการ
ฝึ กอบรมเสริมสร้ าง รายงาน ตัดสิ นใจเชิง
ศู นย์ ความเป็ นเลิศระดับ
ศักยภาพบุคลากร นโยบาย
การจัดทารายงาน ภูมภิ าค
การตรวจวัดคุณภาพ สถานการณ์ ชายฝั่ง ฝึ กอบรมการจัดการ พัฒนาเทคนิคการ
สิ่ งแวดล้อม ให้ เชื่ อมโยงไปยัง ชายฝั่ง และทักษะเฉพา เก็บข้ อมูล การเลือก
ระดับชาติ ด้ านทีส่ าคัญ ตัวชี้วดั
ข้ อมูล และระบบช่ วย สถานการณ์ ชายฝั่ง
ระบบรับรอง และการจัดทา
ตัดสิ นใจ
ผู้ชานาญการด้ าน ICM รายงาน
▪ โครงการสร้างความตระหนัก ความรู ้ การแลกเปลี่ยนข้อมูล และการ ตั้งคณะทางาน ทีเ่ ป็ น
เสริ มสร้างศักยภาพให้กบั ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยในการจัดการชายฝั่ง ทั้ง ผู้เชี่ยวชาญระดับภูมภิ าค
ระดับชาติ และระดับท้องถิ่น และระดับชาติ
▪ สนับสนุนการใช้ขอ้ มูลทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
▪ ถอดบทเรี ยนกระบวนการในการจัดทานโยบายและแผนการจัดการ
21
โครงการ ขยายการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์การ พัฒนาอย่างยั่งยืน ในทะเลเอเชียตะวันออก (SDS-SEA)
ภายใต้การสนับสนุน ของ GEF/UNDP/PEMSEA 2561 -2563
PEMSEA เป็นองค์กรที่ได้รับงบประมำณสนับสนันจำก โครงการพัฒนาสหประชาชาติและกองทุนสิง่ แวดล้อมโลก
• เพื่อให้ประเทศไทยสำมำรถวำงแผนกำรดำเนินงำนในมิติต่ำง ๆ ได้แก่
1) กำหนดนโยบำยระดับชำติที่เกี่ยวข้องกับกำรจัดกำรทะเลและชำยฝั่ง
2) กำรปรับปรุงกฎหมำยที่เกี่ยวข้อง
3) มำตรกำรด้ำนกำรเงินในกำรดำเนินกิจกรรมทั้งในระดับชำติและระดับท้องถิ่น ในกำรวำงแผนด้ำนกำรอนุรักษ์และฟื้นฟู
ทรัพยำกรธรรมชำติและชำยฝั่ง
4) พัฒนำศักยภำพของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในกำรบริหำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม
รวมทั้งพัฒนำศักยภำพของบุคลำกรด้ำนกำรจัดกำรทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่ง
• อนึ่งกำรขยำยกำรดำเนินงำน โครงกำรตำมยุทธศำสตร์กำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืนในทะเลเอเชียตะวันออกโดยขยำยพื้นที่
ดำเนินกำรโครงกำรจัดกำรชำยฝั่งแบบบูรณำกำร จำกจังหวัดชลบุรี ไปยังระยอง จันทบุรี ตรำด
SDS-SEA = Sustainable Development Strategy for the Seas of East Asia
UNDP = โดรงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ
GEF = กองทุนสิ่งแวดล้อม
PEMSEA = องค์กรหุ้นส่วนเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมทางทะเลในเอเชียตะวันออก
❖ การอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

➢ ประเทศไทย ตั้งอยู่ในบริเวณคำบสมุทร มีพื้นที่แนวชำยฝั่ง


ทะเลยำว ประมำณ 3,148 กิโลเมตร โดยมีพื้นที่เกำะแก่ง
ต่ำง ๆ กระจำยอยู่ทั้งทำงฝั่งอันดำมัน และอ่ำวไทย
ประมำณ 936 เกำะ
➢ ตั้งอยู่บริเวณศูนย์สูตรซึ่งมีภูมิอำกำศแบบร้อนชื้นเหมำะกับ

กำรอยู่อำศัยของพืชและสัตว์ต่ำงๆ ในทะเล เป็นอย่ำงดี


➢ อ่าวไทยเป็นเขตทะเลน้ำตื้นมีลักษณะเป็นทะเลปิด ส่วน

ทะเลอันดำมันเป็นทะเลเปิดติดต่อกับมหำสมุทรอินเดีย ทำ
ให้ทั้งสองฝั่งมีควำมแตกต่ำงกันทำงระบบนิเวศทำงทะเล
อย่ำงเห็นได้ชัด
DUGONG Sea Turtle Dolphin & Whale
➢ พื้นที่บริเวณชำยฝั่งเหล่ำนี้ประกอบ ไปด้วย
ทรัพยำกรธรรมชำติประเภทต่ำงๆ
➢ ชำยหำด แบบต่ำงๆ
➢ หญ้ำทะเล
➢ และแนวปะกำรัง
➢ ป่ำชำยเลน
➢ ป่ำพลุ
➢ ซึ่งมีคุณค่ำทั้งทำงด้ำนนิเวศวิทยำ และทำงด้ำน
เศรษฐกิจทั้งในระดับท้องถิ่นจนถึงระดับชำติ
➢ ความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเลและชายฝั่ง ของระบบ
นิเวศของประเทศไทยมีมำกนี้เอง ที่ยังส่งผลให้ประเทศไทยมี
พันธุ์พืชและสัตว์ทะเลที่ค้นพบ และกำลังศึกษำอีกหลำยชนิด ซึ่ง
ต้องคำนึงถึงจำนวนชนิด และ ปริมำณในแต่ละชนิด
➢ ชำยฝั่งทะเล มี เต่ำทะเล โลมำ พะยูน วำฬ อำศัยในทรัพยำกร
หลำกหลำย เช่น ปะกำรังน้ำตื้นและน้ำลึก หญ้ำทะเล ป่ำชำยเลน
ป่ำชำยเลนแบบป่ำพลุ
❖ ทรัพยากรชีวภาพที่มีคุณค่าของประเทศไทย
จะดารงอยู่หรือสูญสิ้นไปช้าหรือเร็วเพียงใด มีหลายปัจจัย

➢ มนุษย์จะอยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่างยั่งยืนได้หรือไม่ทุกคาตอบคงต้องขึ้นอยู่กับการกระทาของ
มนุษย์เอง
➢ มนุษย์จะรักษานิเวศธรรมชาติ หรือจะเลือกการทาลายซึ่งจะส่งผลกระทบให้กับมนุษย์ทั้ง
ทางตรงและทางอ้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติในระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับ
สิ่งแวดล้อม การนาเทคโนโลยีมาใช้ในชีวิตประจาวัน
➢ ปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม ตลอดจนผลกระทบของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีต่อมนุษย์และ
สิ่งแวดล้อม ตระหนักถึงความสาคัญของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตในปัจจุบัน และ
อนาคตโดยการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืน
❑ ประเภทของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

o ทรัพยำกรที่ดินชำยทะเล
o ทรัพยำกรป่ำชำยเลน
o ทรัพยำกรปะกำรัง
o ทรัพยำกรพืชและสัตว์ทะเล
o ทรัพยำกรสัตว์ทะเลหำยำก
❑ ทรัพยากรที่ดินชายทะเล

1) เขตสงวน มีควำมสำคัญทำงระบบนิเวศน์ เศรษฐกิจและสังคม ประวัติศำสตร์


และโบรำณคดี
2) เขตอนุรักษ์ มีควำมจำเป็นต้องเก็บรักษำ แต่น้อยกว่ำ เขตสงวน
จึงต้องมีมำตรกำรที่เหมำะสมในกำรใช้ประโยชน์
3) เขตพัฒนา มีกำรใช้ประโยชน์ที่ดินในด้ำน เกษตรกรรม อุตสำหกรรม กำรท่องเที่ยว
ชุมชน ท่ำเรือเป็นต้น
❑ ทรัพยากรที่ดินชายทะเลถูกใช้ไปในรูปแบบต่าง ๆ
o ทรัพยากรดินและน้าทะเลชายฝั่ง บริเวณสำมเหลี่ยมปำกแม่น้ำ ป่ำชำยเลน เป็นที่รวม
ของสำรอำหำรและแร่ธำตุ เพื่อกำรดำรงชีพของสัตว์น้ำทะเลวัยอ่อนและถูกใช้ประโยชน์
ทำงกำรเพำะเลี้ยงสัตว์ทะเล เช่น สร้ำงบ่อเลี้ยงกุ้งทะเล ปลำทะเล
o ทรัพยากรพืช พรรณไม้น้าทะเล เช่น สำหร่ำย รวมทั้งป่ำชำยเลน เพื่อกำรดำรงชีพและ
สืบพันธ์ของสัตว์น้ำทะเล โดยเฉพำะป่ำชำยเลน ถูกใช้เพื่อประโยชน์เป็นถ่ำน
o ทรัพยากรสัตว์ ถูกใช้เป็นอำหำร อำศัยตำมชำยฝั่งทะเล ตำมป่ำชำยเลน หญ้ำทะเล แนว
ปะกำรังน้ำตื้น
o ทรัพยากรอื่นๆ แร่ ปิโตรเลียมและก๊ำซธรรมชำติ เพื่อพลังงำนเครื่องประดับ อัญมณี เพื่อ
ควำมงำมและให้คุณค่ำ
❑ ควำมหลำกหลำยของชนิดพันธุ์พืชและสัตว์ในป่ำชำยเลน

➢ ไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม ที่พบในปัจจุบันมี 74 ชนิด เช่น โกงกำงใบใหญ่ โกงกำงใบเล็ก แสมดำ แสม


ขำว แสมทะเล ฝำดแดง ฝำดขำว พังกำหัวสุม โปรงขำว โปรงแดง ลำพู ลำแพน ตำตุ่มทะเล
โพธิ์ทะเล ตะบูนขำว ตะบูนดำ ไม้พื้นล่ำง ได้แก่ เหงือกปลำหมอ จำก เป้งทะเล เป็นต้น
นอกจำกนี้มี เถำวัลย์ และ สำหร่ำย
➢ สัตว์ทะเล มีปลาทะเล เช่น ปลำกระบอก ปลำกะพง ปลำนวลจันทร์ ปลำกะรัง ปลำตีน
เป็นต้น พบกุ้งประมำณ 15 ชนิด ปู 7 สกุล 54 ชนิด ที่สำคัญได้แก่ ปูแสม ปูก้ำมดำบ ปู
ทะเล หอยฝาเดียวพบไม่น้อยกว่ำ 17 ชนิด หอยสองฝาอีกหลำยชนิด ทั้งนี้ มีนกประจำถิ่น
นกอพยพ ค้ำงคำว สัตว์เลื้อยคลำน แมลงชนิดต่ำงๆ
❑ การอนุรักษ์ทางทะเล และ การท่องเที่ยว

o วัตถุประสงค์สวนทำงกัน
o ส่งเสริมกำรท่องเที่ยว ทำให้กำรอนุรักษ์เกิดเป้ำประสงค์ได้ช้ำ หรือยำก
เพรำะ นักท่องเที่ยวเข้ำไปรบกวนระบบนิเวศน์ทำงทะเล แต่ส่งเสริม
กำรท่องเที่ยว ทำให้ท้องถิ่นมีรำยได้เพิ่มขึ้น
o ชุมชนในท้องถิ่นต้องรวมตัวกันเพื่อตัดสินใจพื้นที่ของตัวเอง
Marine conservation project in Thailand VDO: 3.30 นำที
กิจกรรมและกรณีศึกษาการอนุรกั ษ์ในประเทศไทย
➢ 1) การอนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล

1) เต่ าตนุ (Chelonia mydas) 2) เต่ ากระ (Eretmochelys imbricata)

3) เต่ าหญ้ า (Lepidochelys olivacea)


สถานการณ์ของเต่าตนุ…ในปัจจุบัน
➢ สถานีอนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล เต่าตนุและชนิดอื่นๆ มีจานวนลดลง

➢ เต่าตนุแพร่และขยายพันธุ์ได้ยาก

➢ มีสาเหตุการตายเกิดจากธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์

➢ ในอ่าวไทยพบว่าจากไข่ 6,000 ฟอง จะมีรอดเพียง 1 ตัว

www.pmbc.go.th
ที่มา : www.navy.mi.th/turtles
หลุมฟักไข่เต่าทะเล เกาะคราม ดูแลโดยกองทัพเรือ ลูกเต่าทะเล ฟักออกจากไข่
เต่าตนุเมื่อครบอายุประมาณ 45 วัน เต่ากระเมื่อครบอายุประมาณ 50 วัน
การปล่ อยเต่ าทะเลสู่ ธรรมชาติ ในวันสาคัญ
เพื่อปลูกจิตสานึกในการอนุรักษ์ เต่ าทะเล
➢ 2) ปะการังและการอนุรักษ์ด้วยการปลูกเพิ่ม

ปะการังฟอกขาว
coral bleaching

Sacrophyton species

o มีผลกระทบต่อการท่องเที่ยว และ ทรัพยากร


สิ่งมีชีวิตตามแนวปะการัง
• ภัยจากธรรมชาติที่เกิดในอดีต เป็นการบ่งชี้ความเสี่ยงจะมีความรุนแรงมากขึ้น และถี่ขนึ้
เนื่องจากภูมิอากาศที่เปลีย่ นแปลง
กรณีศึกษา: การฟื้นฟูปะการัง บริเวณเกาะขาม
อุทยานใต้ทะเลเกาะขาม ทัพเรือภาคที่ ๑ กองทัพเรือ
➢ กองทัพเรือ รับผิดชอบจัดทำโครงกำรอุทยำนใต้ทะเลพื้นที่ สัตหีบ และบริเวณ
ใกล้เคียง โดยกำหนดพื้นที่เกาะขาม ให้เป็นอุทยำนใต้ทะเล เนื่องจำกมีระบบนิเวศ
ที่เหมำะสมและมีลักษณะทำงอุทกศำสตร์ในระดับที่เอื้ออำนวยต่อกำรเจริญเติบโต
ของปะกำรัง และเป็นพื้นที่ที่ไม่ห่ำงไกลจำกฝั่งมำกนัก มีควำมสะดวกในกำรเดินทำง
ไปเยี่ยมชม
➢ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ สร้ำงควำมสมบูรณ์ของแนวปะกำรัง สัตว์น้ำ และ
คุณภำพของน้ำทะเลบริเวณอุทยำนใต้ทะเลเกำะขำม รวมทั้งกำรมีส่วนร่วมของ
องค์กรต่ำงๆ ในกำรฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติทำงทะเล
สภาพแปลงปะการังเมื่อผ่ าน ๑ ปี
สภาพแปลงปะการังเมื่อผ่ าน ๒-๓ ปี

48
โครงการ วีนิไทย ร่ วมใจปลูกปะการัง ๘๐,๐๐๐ กิง่ ที่เริ่มต้ น เพื่อล้ นเกล้ าพระเจ้ าอยู่หัว
o กองทัพเรือ
o กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
o มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี
o มูลนิธิกิจกรรมวิทยาศาสตร์ทางทะเลและการอนุรักษ์
o องค์กรเครือข่ายชุมชนรักษ์เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง เกาะหวาย จังหวัดตราด
เกาะขาม จังหวัดชลบุรี ภายใต้การดูแลของกองทัพเรือ
o องค์การบริหารส่วนตาบลแสมสาร จังหวัดชลบุรี
❖ โครงการปลูกปะการัง
o จัดขึ้นโดยหวังเป็นจุดเริ่มต้นในกำรอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งปะกำรังให้กลับมำสมบูรณ์ดังเดิม
o โดยอำศัยท่อพีวีซีช่วยในกำรยึดเกำะตัวปะกำรังให้เติบโตเป็นกิ่งพันธุ์ และกิ่งอนุบำลเพื่อใช้ในกำรฟื้นฟู
o ได้ลงมือสำธิตวิธีกำรปลูกปะการังเขากวางด้วยท่อทีวีซี โดยกำรนำกิ่งพันธุ์ปะกำรังเขำกวำงใส่ในท่อพีวีซี
และใช้สกรูขันน็อตเพื่อให้ปะกำรังยึดเกำะ แล้วเสียบลงในแปลงบ่อพิเศษที่มีอุณหภูมิน้ำที่เหมำะสม
จำกนั้นจึงส่งมอบกิ่งพันธุ์ที่มีควำมสมบูรณ์ให้นักประดำน้ำนำปะกำรังเขำกวำงที่ปลูกเสร็จแล้วกลับคืนสู่
ท้องทะเลไทย
o เมื่อปะกำรังอำยุประมำณ 1 ปีก็จะแยกกิ่งปะกำรังออกจำกแปลงท่อพีวีซี แล้วนำไปวำงตำมแนวปะกำรังที่
เสียหำยหรือถูกทำลำย เพื่อคืนชีวิตปะกำรังสู่ท้องทะเล สร้ำงควำมสมบูรณ์ของแนวปะกำรัง
o แปลงท่ออนุบำลดังกล่ำวกลับมำใช้ใหม่ จึงทำให้สะดวกและประหยัด ทั้งยังได้ผลกำรขยำยพันธุ์ที่ดีอีกด้วย
กิจกรรมที่ว่านีค้ ือ การปลูกปะการัง กับ กิจกรรมเมื่อ วันที่ 25 พฤษภาคม 2551
o การจัดกิจกรรมครั้งนี้จัดขึ้นเพื่อปลูกจิตสานึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และ คืนความสมดุลให้กับ
ธรรมชาติทางทะเล ด้วยการดาน้า .. คืนชีวิตปะการังกลับคืนสู่ท้องทะเลไทย ณ หาดเตยงาม หน่วย
บัญชาการนาวิกโยธิน (กองทัพเรือ) อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี
o ทางบริษัท โมโนทราเวล จากัด ได้มีการสอนเรียนดาน้าตามหลักสูตรต่างๆอยู่แล้ว จึงได้รับเกียรติให้เป็น
บริษัทนาล่อง กิจกรรม “โมโนร่วมใจ อนุรักษ์ฟื้นฟู...แนวปะการัง”
✓ ร่ วมแรงร่ วมใจอนุรักษ์ปะการังได้อย่างไร
➢ เป็นนักท่องเที่ยว ดำน้ำดูปะกำรังที่ดี อย่ำเป็นนักสะสม
➢ นักดำน้ำมือใหม่ต้องมีครูฝึก และฝึกที่ปะกำรังเทียมก่อน
➢ ไม่ส่งเสริมกำรซื้อปะกำรัง
➢ ช่วยกันตักเตือนผู้ทำลำย หรือแจ้งเจ้ำหน้ำที่ดูแล
➢ ไม่ทิ้งขยะต่ำงๆ ลงทะเล เมื่อเดินทำงท่องเที่ยวทำงทะเล
➢ 3) ป่าชายเลน และป่าพรุ

o ตำมแนวชายฝั่งทะเลอันดามันซึ่งเป็นรอยต่อระหว่ำงพื้นบกกับพื้นน้ำ มีป่ำชำยเลน ป่ำพรุซึ่งเป็น


ทรัพยำกรธรรมชำติที่มีควำมสำคัญยิ่งต่อระบบนิเวศชำยฝั่ง ทำหน้ำที่เชื่อมโยงระหว่ำงระบบนิเวศในทะเล
และระบบนิเวศบนบก และเป็นแหล่งรวมควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ ป่ำชำย
เลนและป่ำพรุหลำยแห่งยังคงควำมอุดมสมบูรณ์
o พื้นที่ป่าชายเลน (23 จังหวัด)
o พื้นที่คุ้มครองทำงทะเล เขตสงวนชีวมณฑล ศูนย์วิจัยป่ำชำยเลนหงำว จังหวัดระนอง
ได้รับกำรประกำศจำกองค์กำร UNESCO ให้เป็นเขตสงวนชีวมณฑลโลก เดินชมทิวทัศน์ตำมเส้นทำงศึกษำ
ธรรมชำติ ชมต้นตะบูนดำใหญ่อำยุกว่ำ 200 ปี
✓ ความอุดมสมบูรณ์และเสื่อมโทรมของป่าชายเลนในภูมิภาค
ภาคใต้ฝั่งตะวันออก ภาคกลาง
สมบูรณ์มำกกว่ำภำคอื่นๆ จัดลำดับ -ชุมชน ใช้ประโยชน์เพื่อกำร
1 ระนอง เพำะเลี้ยงสัตว์น้ำชำยฝั่ง นำเกลือ
2 พังงำ เหลือป่ำชำยเลนเป็นหย่อม
3 กระบี่ - ปลูกฟื้นฟู
4 ตรัง ภาคตะวันออก
5 สตูล -เสื่อมโทรม เนื่องจำก ชุมชนกำรทำ
ภาคใต้ฝั่งตะวันตก ไม้ ใช้ประโยชน์กำรเพำะเลี้ยงสัตว์
-ใช้ประโยชน์เพื่อกำรเพำะเลี้ยงสัตว์ น้ำชำยฝั่ง พื้นที่จ.จันทบุรีเกือบ
น้ำชำยฝั่ง ชุมชน ทั้งหมดเป็นนำกุ้ง
- ปลูกฟื้นฟู - ปลูกฟื้นฟู
o ปัญหาของพื้นที่ป่าชายเลนและการฟื้นฟูกราฟแสดงของจังหวัดชลบุรี
25000
Rai)

20000

15000

10000

5000

0
1975 1989 1991 1993 1996 2000 2002 2004
(year)

ปัจจุบันป่าชายเลนมี 1.5 ล้านไร่ คิดเป็น 0.47% ของพื้นที่ประเทศไทย ตัดไม้ชายเลนเป็นฟืน และ


มีปัญหาการกัดเซาะตามแนวชายฝั่งทะเล
o ปฏิบัติการ..ทวงคืนผืนป่า...
โดย...กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
การปลูกป่าชายเลนทดแทน ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 จะปลูกให้ได้ 5,000 ไร่ ต่อปี โดยให้
ชุมชนมีส่วนร่วม
• เทศบาลแสนสุข และ ประชาชนในท้องถิ่น
หน่วยงานรัฐบาลและเอกชน ร่วมกันปลูกต้นกล้าไม้
จานวน 5,000 ต้น ที่ ถนนบางแสน-อ่างศิลา และ
จะปลูกให้ครบ 36,060 ต้น ในวันเฉลิมพระ
ชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ใน
ปีพศ. 2554
✓ จัดกิจกรรมอนุรักษ์ ......ในวันพื้นที่ชุ่มน้าโลก
. .............จัดในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ของทุก ๆ ปี

ㆍ พื้นที่ชุมน้า (wetland) หมำยถึง พื้นที่ที่มีลักษณะทำงภูมิประเทศที่มีรูปแบบเป็น พื้นที่ลุ่ม พื้นที่รำบลุ่ม


พื้นที่ลุ่มชื้นแฉะ พื้นที่ฉ่ำน้ำ มีน้ำท่วม มีน้ำขัง พื้นที่พรุ พื้นที่แหล่งน้ำ ทั้งที่เกิดขึ้นเอง ตำมธรรมชำติและที่มนุษย์
สร้ำงขึ้น ทั้งที่มีน้ำขัง หรือท่วมอยู่ถำวร และชั่วครำว ทั้งที่เป็น แหล่งน้ำนิ่ง และน้ำทั้งที่เป็นน้ำจืด น้ำกร่อย และ
น้ำเค็ม รวมไปถึงพื้นที่ชำยฝั่งทะเล และ
พื้นที่ของทะเล ในบริเวณซึ่งเมื่อน้ำลดลงต่ำสุดมีควำมลึกของระดับน้ำไม่เกิน 6 เมตร
• ประเทศไทยร่วมลงนำมเป็นภำคีในอนุสัญญำว่ำด้วยพื้นที่ชุ่มน้ำหรือแรมชำร์ (Ramsa Convention) เป็นลำดับ
ที่ 110 มีผลบังกับใช้ในวันที่ 13 กันขำยน 2541
เป็นกำร แสดงเจตนำรมณ์ของประเทศที่ต้องกำรอนุรักษ์พื้นที่ชุมน้ำ โดยกำรสนับสนุนให้มกี ำรใช้
ประโยชน์อย่ำงมีประสิทธิภำพ
ㆍ หน่วยประสำนงำนกลำง คือ สำนักงำนนโยบำยและแผนทรัพยำกร ธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม

....... เป็นโอกาสจัดงานกิกรรมเพื่อปลูกจิตสานึกการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.....
➢ 5) อนุรักษ์สัตว์ทะเลหายาก

o พยูน (หมูดุด วัวทะเล) มีชนิดเดียว จำนวน คำดว่ำมีประมำณ 200 ตัว


โลมำจำนวน 13 ชนิด วำฬ จำนวน 10 ชนิด
o ประกำศกระทรวงเกษตรกรและสหกรณ์ เรื่องกำหนดห้ำมทำกำรประมง
โลมำ ลงวันที่ 18 มิถุนำยน พศ 2533 และทั้งโลมำและวำฬเป็นสัตว์
คุ้มครองตำม พรบ สงวนสัตว์ป่ำ ซึ่งได้ประกำศในกฎกระทรวง ฉบับที่ 4
พศ 2537 จึงห้ำมทำลำยและครอบครอง
17 สิงหาคม 2557 ติดในอวนชาวประมง หาดวอนนภา
❑ โลมาที่ปากแม่น้ าบางปะกง
o เพื่อกำรท่องเที่ยว มีเรือโดยสำรรับจ้ำงไปชมโลมำ
o สำรวจเมื่อปี พศ 2545 ชนิดที่พบมี โลมำอิระวดี โลมำเผือกหลัง
โหนก โลมำหัวบำตรหลังเรียบ
o มีควำมเสี่ยงในกำรสูญพันธุ์ ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ถูกล่ำอย่ำงผิด
กฎหมำย เพื่อใช้ในกำรแสดง กำรทำลำยป่ำชำยเลน มลพิษตำม
แนวชำยฝั่งทะเล ปำกแม่น้ำที่มีกำรเปลี่ยนแปลงของน้ำเค็ม
อย่ำงฉับพลัน และ กำรประมง
✓ Year of the Dolphin 2007… ทั่วโลกรณรงค์การอนุรักษ์โลมา
o โลมาอิระวดี
ครีบหลังรูปทรงสำมเหลี่ยมขนำดเล็กปลำยมน พบในตำแหน่งที่ห่ำงจำกจุดกึ่งกลำงลำตัว
ค่อนไปทำงหำง มีสีเทำดำ

o โลมาเผือกหลังโหนก
สีชมพู มีรูปร่ำงยำว ปำกผอมยำว ยิ่ง
อำยุมำกปำกจะจำงลงเรื่อย ๆ

o โลมาหัวบาตรหลังเรียบ
รูปร่ำงคล้ำยโลมำอิรวดีมำก แต่ขนำดเล็กกว่ำ ไม่มีจะงอย
ปำก ครีบค่อนข้ำงใหญ่ปลำยแหลม แต่ไม่มีครีบหลัง
• มีวำฬบรูด้ำจำนวน 4 ตัว ว่ำยน้ำห่ำงจำกชำยฝั่งบำงแสน
เมื่อปี พศ 2551 และต่อมำมีลูกเพิ่มอีก 2 ตัว
ต่อมำ 10 สิงหำคม 2559 เกยตื้นตำยที่หำดบำงแสน
และ 14 สิงหำคม 2559 ตำย ชำยฝั่งอ่ำงศิลำ

• วาฬเพศผู ้ ลาตัวยาว 9.45 เมตร


น้ าหนักกว่า 20 ตัน เป็ นชนิดซี่ กรอง
กินอาหารแพลงตอนพืชโดยไม่ใช้ฟัน
✓ลดขยะเพื่ออนุรักษ์ทะเลไทย

• ขยะท่วมทะเล ทิ้งวันละ 1.8 พันตัน เกือบทั้งหมดเป็นขยะพลำสติก ส่งผลกระทบเป็นวงกว้ำง ส่งผล


กระทบโดยตรงต่อแนวปะกำรัง กระทบกำรท่องเที่ยว และรำยได้ในชุมชนและในประเทศ กระทบต่อ
ชำยทะเลทำให้ชำยหำดสกปรก ที่สำคัญส่งผลกระทบต่อสัตว์ทะเลหำยำก เช่น เต่ำทะเล โลมำ และวำฬ"
• กรมทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่ง ปลุกจิตสำนึกในกำรลดปริมำณขยะพลำสติก ร่วมลงนำมข้อตกลง
ควำมร่วมมือกำร รณรงค์กับหน่วยงำน
• วันคุ้มครองโลก หรือ Earth Day
• วันสิ่งแวดล้อมโลก หรือ World Environment Day
• International Day for the Conservation of the Mangrove Ecosystem (by UNESCO)
• โครงการ 24 ชายหาด 15 จังหวัด ปลอดบุหรี่
➢ มาตรการการอนุรักษ์พืชและสัตว์ทะเลหายาก

o เก็บปะกำรัง ตำมพระรำชบัญญัติกรมประมง พศ 2540 และ พระรำชบัญญัติ


สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่ำ พศ 2535 ผู้ฝ่ำฝืนทำกำรเก็บปะกำรัง มีควำมผิดโทษ
ปรับ 5,000 – 10,000 บำท หรือจำคุก 1 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ
o ทำลำยปะกำรัง โดยกำรประมง หรือเหยียบย่ำตำมแนวปะกำรัง เพื่อต้อนจับปลำ
ทะเล เข้ำเครื่องมือทำงกำรประมง มีควำมผิดโทษปรับ 5,000 – 10,000 บำท
หรือจำคุก 1 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ
o สินค้ำปะกำรัง ทั้ง ส่งซำก หรือผลิตภัณฑ์ ปลำทะเลตำมแนวปะกำรัง มี
ควำมผิดต้องโทษปรับเป็นเงิน 5 เท่ำของสินค้ำ จำคุก ไม่เกิน 10 ปี
o ผู้ฝ่ำฝืนมีหินปะกำรัง กัลปังหำ เต่ำทะเล และผลิตภัณฑ์ไว้ครอบครองเพื่อ
กำรค้ำ มีควำมผิดต้องโทษปรับ 20,000 บำท หรือจำคุก 1 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ
o ผู้ฝ่ำฝืนทำกำรประมงในเขตรักษำพรรณพืช ควำมผิดต้องโทษปรับ 10,000
บำท หรือจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือทั้งจำทั้งปรับ
• พลังงานจากน้ามันและก๊าซธรรมชาติในทะเล

แท่ นขุดเจาะนา้ ม้ นในอ่ าวไทย


✓ แนวโน้มพลังงานจากทะเลในอนาคตและการอนุรักษ์
o ปริมำณน้ำมันและก๊ำซน้อยลง เนื่องจำกควำมก้ำวหน้ำของเทคโนโลยี่
o ควำมต้องกำรพลังงำนมีมำก จนไม่สำมำรถจะอนุรักษ์ในกำรลดกำรใช้
o ควรหำพลังงำนทดแทนจำกทะเล เช่น
o กำรพัฒนำกังหันลมไฟฟ้ำในทะเลในประเทศจีน เริ่มเมื่อ 2549
o กำรพัฒนำเชื้อเพลิงชีวภำพ เป็นเชื้อเพลิงทีม่ ีสว่ นผสมของเชื้อเพลิงจำกพืชคือสำหร่ำยทะเลและเชื้อเพลิงฟอสซิล ทั้ง
ช่วยลดกำรเติมคำร์บอนในบรรยำกำศ
✓ Green (Blue) Economy

❑ Green environment กำรผลิตเครื่องมือ โครงกำรต่ำงๆ ต้องใช้ เทคโนโลยีสะอำด และเป็น


มิตรกับสิ่งแวดล้อมทำงทะเล (ระบบนิเวศน์ทำงทะเล)
❑ Blue economy มูลค่ำได้จำกภำคเศรษฐกิจทำงทะเล นอกจำกเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมแล้ว
ต้องมีกำรลดค่ำใช้จ่ำยและกำรใช้พลังงำนร่วมด้วย ในกำรอนุรักษ์ทำงทะเล
✓ โครงการชายหาดติดดาว โดยกรมควบคุมมลพิษ
❑ ชายหาดมีความสมบูรณ์เพียงใด พิจำรณำได้จำก สำนักงำนจัดกำรคุณภำพน้ำ กรม
ควบคุมมลพิษ ประเมินดัชนีคุณภำพสิ่งแวดล้อมชำยหำดท่องเที่ยว หรือโครงกำร
ชำยหำด ติดดำว เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในกำรบ่งชี้ระดับคุณภำพสิ่งแวดล้อมชำยหำด
ท่องเที่ยวว่ำมีจุดแข็งที่ควรรักษำไว้ และจุดอ่อนด้ำนใดบ้ำง และสนับสนุนข้อมูลในกำร
แก้ไขปัญหำคุณภำพสิ่งแวดล้อมที่พบ

เกณท์ประเมินคุณภาพชายหาดท่องเที่ยว ปัจจัยที่สาคัญ 4 กลุ่ม ได้แก่


1) คุณภาพสิ่งแวดล้อมด้านมลพิษ (แบคทีเรียโคลิฟอรม์ทั้งหมด ความขุ่น ในรูปแขวนลอย)
2) การจัดการสิ่งแวดล้อม (ปริมาณขยะตกค้าง การบาบัดน้าเสียก่อนปล่อยทิ้ง การรุกล้าชายหาด)
3) ความสมบูรณ์ของชายหาด (ความหลากหลายทางชีวภาพ การกัดเซาะ ชายฝั่ง)
4) การจัดการการท่องเที่ยว (สิ่งอานวยความสะดวก ภูมิทัศน์ชายหาด การมีส่วนร่วม)
❖ ผลการประเมินดัชนีคุณภาพสิ่งแวดล้อมชายหาดติดดาวในพื้นที่จังหวัดชลบุรี ปี 2549

จังหวัด พื้นที่ชายหาด ดัชนี (จำนวน เกณฑ์การประเมิน


ดำว)
หำดบำงแสน 3.5 พอใช้-ดี
หำดวอนนภำ 3 พอใช้
ชลบุรี หำดตำแหวน/เกำะล้ำน 4 ดี
(6 หาด) หำดพัทยำ 4 ดี
หำดจอมเทียน 3 พอใช้
หำดถ้ำพัง/เกำะสีชัง 4 ดี
81
❖ ชายหาดบางแสนลดลงจาก 3.5 เป็น 3 ดาว
o มีควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพน้อยลง (จะฟื้นฟูและอนุรักษ์อย่ำงไร)
o ตะกอนโคลนดินบนชำยหำด (จะฟื้นฟูและอนุรักษ์อย่ำงไร)
o ปริมำณขยะมำก
o (เทศบำลรณรงค์ ประเภทขยะ กล่องอำหำรจำกโฟมให้น้อยลง)
โดยลดค่ำภำษีน้อยลง และเก็บสูงขึ้นกับร้ำนค้ำที่ยังใช้อยู่
o หน่วยงานส่งเสริมการอนุรักษ์

ศูนย์ต่างๆ ในโครงการพระราชดาริ
โครงการจัดการชายฝั่งแบบบูรณาการ จังหวัดชลบุรี
หน่วยงานเอกชนในประเทศ และ สถาบันการศึกษา ต่างๆ
องค์กรระหว่างประเทศ เช่น
• WWF (World Wild Foundation)
• Green Peace
• Green Fins
o ตัวอย่างศูนย์ศึกษาในประเทศไทย

o ศูนย์ศึกษำกองทัพบก (บำงปู)
o ศูนย์ศึกษำฯ อุทยำนสิ่งแวดล้อมนำนำชำติ สิรินธร จังหวัดเพชรบุรี เพือ่ กำร
ฟื้นฟูพัฒนำสิ่งแวดล้อมป่ำชำยเลน
o ศูนย์วิจัย และ ศึกษำธรรมชำติ ป่ำพลุแดง จังหวัดนรำธิวำส
o ศูนย์เรียนรู้ระบบนิเวศป่ำชำยเลนสิรินำถรำชินี จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ คืนชีวิต
แก่พื้นที่ถูกทำลำยด้วยควำมสำมัคคี
o อุทยำนสิ่งแวดล้อมนำนำชำติสิรินธร ตำบลแสมสำร อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี
กฎระเบียบใหม่ ที่ควรทราบ...

o สานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ออกระเบียบการเข้าถึงและ
การแบ่งปันผลประโยชน์ตอบแทนจากทรัพยากรชีวภาพ พศ ๒๕๕๔ ทั้งนี้เพื่ออนุรักษ์และใช้
ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ
o ในส่วนของผู้วิจัยในสถาบันการศึกษา เมื่อต้องการเก็บตัวอย่างทั้งสัตว์ทะเล พืชทะเล ตาม
ชายฝั่ง เกาะ ต้องทาการแจ้งต่อหน่วยงานของรัฐทีค่ รอบครองทรัพยากรชีวภาพ เช่น
อุทยานแห่งชาติ กองทัพเรือ
o จะได้ใบอนุญาตในการเข้าเก็บตัวอย่างได้ อาจใช้เวลาประมาณ ๓-๖ เดือน
o พรบ. ส่งเสริมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ปี พ.ศ 2558 เริ่มใช้เมื่อ 26 มิถุนายน 2558
➢ ภัยคุกคามการอนุรักษ์ทรัพยากรพืชและสัตว์ทะเล

o กำรทำผิด ฝ่ำฝืนกฎหมำย
o โลกร้อน
o ภัยแล้ง
o น้ำท่วม
o ครำบน้ำมันจำกกำรรั่วไหลน้ำมันจำกอุบัติเหตุ และ กำรลอบทิ้ง ล้ำง
เรือ ถ่ำยน้ำมันเครื่องยนต์
❖ ข้อสรุป
• กำรดำเนินงำนด้ำนกำรสร้ำงจิตสำนึกด้ำนกำรอนุรักษ์ทรัพยำกร กำรพัฒนำ
ศักยภำพในกำรบริหำรจัดกำรทรัพยำกรสำหรับเจ้ำหน้ำที่อุทยำนแห่งชำติ
ทำงทะเล
• งำนฟื้นฟูทรัพยำกรทำงทะเล
• งำนฟื้นฟูวิถีชีวิตของชุมชนชำยฝั่ง
• กำรสนับสนุนด้ำนข้อมูลทำงเทคนิคสำหรับท้องถิ่น ผู้ประกอบกำรท่องเที่ยว
องค์กรพันธมิตร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และกำรร่วมขับเคลื่อนเชิง
นโยบำย ตลอดจนข้อกฎหมำย ด้ำนกำรอนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติและ
สิ่งแวดล้อม
...จบการบรรยาย...
เอกสารประกอบการสอนวิชา 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล ......................................................................................ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี

สภาวะภูมิอากาศของโลกกับปรากฏการณ์ธรรมชาติทางทะเล
อ.ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี
ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สภาวะภูมิอากาศของโลกจากอดีตถึงปัจจุบัน
การเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศของโลกตั้งแต่ยุคไพลโตซีน (Pleistocene) เมื่อ 2,588,000 –
12,000 ปีก่อน พบว่าโลกมีช่วงที่เป็นยุคน้้าแข็งและยุคโลกร้อนสลับผลัดเปลี่ยนกันมาเป็นวัฏจักรไม่ต่้ากว่า 7-8
ครั้ง ในแต่ละรอบใช้เวลาประมาณ 100,000 – 150,000 ปี (Imbrie & Imbrie, 1986) ซี่งเกิดจากการโคจร
ของโลกรอบดวงอาทิตย์ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงต้าแหน่งของโลก มุมและระยะห่างของโลกที่มีต่อดวง
อาทิตย์ (Lomolino et al. 2010) การเปลี่ยนแปลงต้าแหน่งของโลก และมุมที่ท้าต่อดวงอาทิตย์ เกิดจาก
ปัจจัยหลักสามประการ คือ
1. แกนโลกเกิ ด การเปลี่ ย นแปลงตามธรรมชาติ โดยการเอี ย งของแกนโลกมี ก ารเปลี่ ย นแปลงอยู่
ตลอดเวลา โดยมี มุ ม เอี ย งน้ อ ยที่ สุ ด 22.1 องศา จนถึ ง มุ ม เอี ย งมากที่ สุ ด 24.5 องศา โดยการ
เปลี่ยนแปลงหนึ่งรอบใช้เวลาประมาณ 41,000 ปี (รูปที่ 1) ในปัจจุบันแกนโลกอยู่ที่มุมเอียง 23.5
องศา การเปลี่ยนแปลงของแกนโลกนี้มีผลต่อการเข้าสู่ยุคต่างๆ ขึ้นอยู่กับว่าบริเวณใดของโลกเอียงเข้า
หาดวงอาทิตย์ บริเวณนั้นก็จะมีน้าแข็งปกคลุมน้อย

รูปที่ 1 การเอียงของแกนโลก (การเปลี่ยนแปลง 1 รอบ ใช้เวลาประมาณ 41,000 ปี) ที่มา: Lomolino et al.
(2010)
2. แกนหมุนของโลกส่ายเป็นวงคล้ายลูกข่าง โลกมักมีการเคลื่ อนที่ 3 แบบ คือ 1) หมุนรอบตัวเอง รอบ
ละ 1 วัน (ท้าให้เกิดกลางวัน-กลางคืน) 2) โคจรรอบดวงอาทิตย์ รอบละ 1 ปี (ท้าให้เกิดปี และความ
แตกต่างของฤดูกาล) และ 3) แกนของโลกซึ่งเป็นแกนสมมติที่ผ่านขั้ว โลกเหนือและขั้วโลกใต้นั้น
นอกจากจะเอียงกับระนาบการโคจรของโลกรอบดวงอาทิต ย์แล้ว ยังส่ายไปรอบๆด้วยลักษณะคล้าย
การหมุนของลูกข่าง ซึ่งการส่ายของแกนหมุนของโลกเป็นการเคลื่อนที่แบบที่ 3 ของโลก โดยมีรอบ

1
เอกสารประกอบการสอนวิชา 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล ......................................................................................ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี

ของการส่ายหนึ่งรอบใช้เวลาประมาณ 22,000 ปี ในปัจจุบันแกนที่ผ่านซีกโลกเหนือชี้ไปที่ขั้วฟ้าเหนือ


ซึ่งมีดาวฤกษ์ที่ส่องสว่างอยู่ใกล้ๆ หรือที่ เรียกว่าดาวเหนือ อยู่ในกลุ่มดาวหมีเล็ก (Ursa minor) แต่
เมื่อ 11,000 ปีก่อน แกนที่ผ่านซีกโลกเหนือชี้ไปที่ดาวในกลุ่มพิณ (Vega, Lyra) (รูปที่ 2)

11,000 ปีก่อน ดาวเหนืออยู่ในกลุ่มของดาวพิณ ปัจจุบันดาวเหนืออยู่ในกลุ่มของดาวหมี


เล็ก
รูปที่ 2 การส่ายของแกนหมุนของโลก หนึ่งรอบใช้เวลาประมาณ 22,000 ปี ที่มา: Lomolino et al. (2010)
3. วงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ เนื่องจากวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี (ประมาณ 1-5%)
บางช่วงอาจหมุนเป็นวงรีแคบ บางช่วงมีการหมุนเป็นวงรีกว้างจนเกือบเป็นวงกลม (ในหนึ่งรอบของ
การเปลี่ยนแปลงใช้เวลาประมาณ 100,000 ปี) มีผลท้าให้เกิดช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์อยู่ห่างจากเส้น
ศูนย์สูตรมากที่สุด (solstice) และช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์อยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร ท้าให้ ช่วงเวลากลางวัน
เท่ากับกลางคืน (equinox) ซึ่งเกิดขึ้นประมารวันที่ 20-21 มีนาคม (vernal equinox) และวันที่ 22-
23 กันยายน (autumnal equinox) ของทุกปี (รูปที่ 3)

2
เอกสารประกอบการสอนวิชา 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล ......................................................................................ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี

รูปที่ 3 การส่ายของแกนโลกและวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ท้าให้เกิดฤดูกาลต่างๆขึ้นบนโลก ที่มา:


Lomolino et al. (2010)
องค์ประกอบของทั้งสามปัจจัยนี้ เป็นสาเหตุส้าคัญที่ท้าให้ธรรมชาติของโลกมีการปรับเปลี่ยนเข้าสู่ยุค
น้้าแข็งและยุคโลกร้อน หมุนเวียน สลับสับเปลี่ยนตลอดมา

ยุคน้าแข็งและยุคโลกร้อน
ยุคโลกร้ อนครั้งหลังสุ ด (interglacial) เกิดขึ้นเมื่อประมาณ 125,000 ปีก่อน ในยุคไพลสโตซีน
(Pleistocene) โดยโลกมีอุณหภูมิสูงกว่าปัจจุบัน 3-5 องศาเซลเซียส และน้้าท้าเลมีระดับสูงกว่าปัจจุบัน 2-4
เมตร ในยุคนี้พบว่าน้้าทะเลได้ท่วมถึงจังหวัดสิงห์บุรีและบางส่วนของจังหวัดชัยนาท (ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล,
2550) ต่อมาโลกมีการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ช่วงยุคน้้าแข็งครั้งล่าสุด (Last glacial period) ในช่วงท้ายของยุค
ไพลสโตซีน เมื่อประมาณ 100,000 ปีที่แล้ว ระดับน้้าทะเลลดต่้ากว่าระดับน้้าทะเลปัจจุบันประมาณ 20 เมตร
เมื่อ 60,000 และ 30,000 ปีก่อน น้้าทะเลเริ่มเป็นน้้าแข็งมากขึ้น ท้าให้ระดับน้้าทะเลได้ลดต่้า กว่าปัจจุบัน
ประมาณ 50 เมตร และ 80 เมตร ตามล้าดับ บริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เข้าสู่ยุคน้้าแข็งเต็มที่ในช่วงที่โลก
เย็นที่สุดของยุคน้้าแข็ง ครั้งหลังสุด (Last Glacial Maximum: LGM) เมื่อประมาณ 19,000 – 20,000 ปีก่อน

3
เอกสารประกอบการสอนวิชา 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล ......................................................................................ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี

ในขณะนั้นระดับน้้าทะเลอยู่ต่้ากว่าระดับน้้าทะเลปัจจุบันถึง 100-130 เมตร อุณหภูมิโดยเฉลี่ยต่้ากว่าอุณหภูมิ


ปัจจุบันประมาณ 8-12 องศาเซลเซียส (ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล, 2550; Lomolino et al. 2010) ชายฝั่ง
ประเทศไทยถอยร่นไปอยู่ในทะเลจีนใต้ บริเวณอ่าวไทยเป็นพื้นดินที่ เชื่อมต่อกับหมู่เกาะต่างๆในแถบอินโดจีน
รวมทั้งเกาะบอร์เนียวเป็นแผ่นดินเดียวกันเรียกว่า แผ่นดินซุนดร้า (Sundra shelf) (รูปที่ 4)

รูปที่ 4 หมู่เกาะในอินโดนีเซียเชื่อมต่อกันกับแผ่นดินเอเชียและออสเตรเลีย โดยมีช่องวอลเลซ (Wallace’s


Line) แบ่งเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ออกจากออสเตรเลีย ที่มา: Lomolino et al. (2010)
ยุคน้้าแข็งสิ้นสุดลงในอีกประมาณ 5,000 ปีต่อมา โลกมีการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคโลกร้อนอีกครั้ง ซึ่ง
เรียกว่า ยุคโลกร้อนปัจจุบัน ในช่วง 9,000 – 8,000 ปีก่อน ในยุค โฮโลซีน (Holocene) ชายฝั่งทะเลในอดีต
อยู่ในต้าแหน่งใกล้เคียงกับปัจจุบัน แต่ในช่วง 6,000 ปีก่อน ที่เรียกว่าช่วงร้อนที่สุดของยุคโลกร้อนปัจจุบัน
(interglacial) เป็นช่วงที่น้าทะเลท่วมสูงสุด โดยระดับน้้าทะเลสูงกว่าปัจจุบันประมาณ 2-3 เมตร อุณหภูมิสูง
กว่าปัจจุบัน 2-4 องศาเซลเซียส ท้าให้น้าทะเลรุกเข้าไปท่วมพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย หลังจากนั้นทะเล
เริ่มคงที่ และระดับน้้าทะเลเริ่มลดระดับลง จึงท้าให้พื้นที่ภาคกลางเป็นแหล่งสะสมตะกอนบริเวณดินดอน
สามเหลี่ยมปากแม่น้า เกิดการงอกของแผ่นดินจนกลายเป็นพื้นที่ราบลุ่มภาคกลาง (ธนวัฒน์ จรุพงษ์สกุล,
2550; ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล และ ณรงค์ ศิรมงคล, 2534)
จากหลักฐานทางการศึกษาทางโบราณคดีของชั้นตะกอนที่เป็นป่าชายเลนและซากไม้โบราณ โดย
น้าไปหาค่าอายุด้วยวิธีคาร์บอน 14 พบว่าชายฝั่งทะเลเดิมของประเทศไทยอยู่ในจังหวัดอ่างทอง ซึ่งซากไม้
โบราณนี้มีอายุประมาณ 6,000 ปี (ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล, 2550) แสดงให้เห็นว่าขณะที่โลกมีการเปลี่ยนแปลง
ช่วงที่น้าทะเลขึ้นสูงสุด เมื่อ 6,000 ปีก่อนนั้น พื้นที่ส่วนใหญ่ของลุ่มน้้าเจ้าพระยา รวมทั้งกรุงเทพเคยเป็นทะเล
มาก่อน และพบสันทรายเหล่านี้ประกอบด้วยซิลิกา ต่อมาในยุคปัจจุบันจึงเป็นแหล่งทรายแก้วที่ พบทั่วไปใน
จังหวัด รอยอง และสงขลา เป็นต้น ระดับน้้าทะเลในช่วงหลังจาก 6,000 ปีก่อน จนถึงปัจจุบันอัตราการเพิ่ม
ของระดับ น้้าทะเลลดลงอยู่ที่ประมาณ 0.16-0.25 มม./ปี จึงท้าให้ ชายฝั่งทะเลมีการงอกของตะกอน จน
กลายเป็นพื้นดิน เป็นที่ราบลุ่มชายฝั่งทะเลที่เราเห็นในปัจจุบัน

4
เอกสารประกอบการสอนวิชา 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล ......................................................................................ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี

สภาวะโลกร้อนในอดีต และภาวะโลกร้อนในปัจจุบัน
ภาวะโลกร้อนในอดีตเกิดจากมีเทนไฮเดรต (methane hydrate) ที่อยู่ในชั้นตะกอนในมหาสมุทรใต้
แผ่นน้้าแข็ง และในดิน ในภาวะปกติมีเทนไฮเดรตจะเป็นผลึกของแข็งอยู่ใต้พื้นท้องทะเลและมหาสมุทร ใน
บริเวณที่อุณหภูมิต่้าหรือความดันสูง หากอุณหภูมิมีการเปลี่ยนแปลงโดยเพิ่มสูงขึ้นในระดับหนึ่ง มีเทนไฮเดรต
จะเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นกาซมี เทน ลอยขึ้นสู่บรรยากาศ กาซมีเทน เป็นกาซเรือนกระจกตัวหนึ่งที่มี
คุณสมบัติในการดูดกลืนรังสีอินฟราเรด (infrared) ได้มากกว่ากาซคาร์บอนไดออกไซด์ถึง 21 เท่าตัว กาซ
มีเทนมีข้อดีคือ ตามวัฏจักรในธรรมชาติ กาซมีเทนจะสลายตัวกลับไปอยู่ในรูปเดิมได้เองโดยใช้เวลาประมาณ
11 ปี การเพิ่ ม ขึ้ น ของกาซมี เ ทนอย่ า งต่ อ เนื่ อ งในอดี ต ท้ า ให้ เ กิ ด ภาวะโลกร้ อ น น้้ า แข็ ง ขั้ ว โลกละลาย
ระดับน้้าทะเลสูงขึ้น จึงมีผลท้าให้มีเทนไฮเดรตเกิดการแตกตัวกลายเป็นกาซเรือนกระจกเข้าสู่บรรยากาศมาก
ขึ้น ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดสภาวะโลกร้อน ซึ่งยุคโลกร้อนที่ผ่านมาในอดีตทุ กครั้งมักเกิดจากกาซมีเทนไฮเดรต
ทั้งสิ้น (ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล, 2550)

รูปที่ 5 การเปลี่ยนแปลงงวงโคจรของโลก พลังงานของแสงอาทิตย์ที่ถูกดูดซับในบริเวณขั้วโลกเหนือ (65 º


เหนือ) และการเปลี่ยนแปลงของน้้าแข็งขั้วโลก ตั้งแต่ช่วงปลายยุคไพลสโตซีน (200,000 ปีก่อนถึงปัจจุบัน)
และแบบจ้าลองโมเดลในอนาคตของการเปลี่ยนแปลงวงโคจรของโลก ซึ่งท้าให้คาดการณ์สภาวการณ์ใน
อนาคตได้ ที่มา: Lomolino et al. (2010)
จากรูปที่ 5 จะเห็นว่าช่วงยุคน้้าแข็งและยุคโลกร้อน มีการด้าเนินสลับไปมาเป็นวัฏจักร และหากปล่อย
ให้วัฏจักรนี้ด้าเนินไปตามธรรมชาติโดยไม่มีมนุษย์เข้าไปเกี่ยวข้อง โลกของเราก้าลังเข้าสู่ยุคน้้าแข็งโดยจะเริ่ม
เย็นลงตามล้าดับ แต่ในปัจจุบันมนุษย์เป็นตัวการส้าคัญในการเร่งท้าลายธรรมชาติ และเพิ่มระดับกาซเรือน
กระจกในบรรยากาศให้เสียสมดุล จึงท้าให้วัฏจักรในธรรมชาติเบี่ยงเบนไป ไม่เป็นไปตามสมดุลที่ควรจะเป็น
ส่งผลให้เกิดปรากฏการณ์ใหม่ คือ ภาวะโลกร้อนจากอิทธิพลของมนุษย์

5
เอกสารประกอบการสอนวิชา 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล ......................................................................................ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี

ภาวะโลกร้อนจากอิทธิพลของมนุษย์
การเปลี่ยนแปลงสภาวะสมดุลของบรรยากาศของโลกในปัจจุบัน เกิดขึ้นจากอิทธิพลของมนุษย์เป็น
ส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นกลไกผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ เนื่องมาจากการปลดปล่อยกาซเรือน
กระจก (greenhouse gas: GHG) เข้าสู่ชั้นบรรยากาศเป็นจ้านวนมาก
ในสภาวะปกติชั้นบรรยากาศของโลกประกอบไปด้วยกาซไนโตรเจน 78 % กาซออกซิเจน 21% กาซ
อาร์กอน 0.9% นอกจากนั้น 0.1% ประกอบไปด้วยไอน้้า กาซคาร์บอนไดออกไซด์และกาซอื่นๆ ถึงแม้ว่ากาซ
ไนโตรเจน กาซออกซิเจน และกาซอาร์กอนจะเป็นองค์ประกอบหลักของชั้นบรรยากาศของโลก แต่กาซเหล่านี้
ไม่ได้มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกตรงกันข้ามกาซปริมาณน้อยต่างๆ ส่วนที่เป็นกาซโมเลกุลใหญ่
หรือกาซเรือนกระจก ประกอบไปด้วย ไอน้้า กาซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) กาซมีเทน (CH4) กาซไนตรัส
ออกไซด์ (N2O) กาซโอโซน (O3) กาซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และฮาโลคาร์บอน (กาซที่มีองค์ประกอบของ
ฟลูออรีน คลอรีน และโบรมีน) เป็นต้น ถึงแม้กาซเหล่านี้จะมีปริมาณน้อยในบรรยากาศ แต่การเปลี่ยนแปลง
ความเข้มข้นของกาซเหล่านี้มีผลโดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศของโลก โดยไอน้้ามีหน้าที่เป็น
ตัวดูดกลืนรังสีอินฟราเรด (infrared radiation) กาซคาร์บอนได้ออกไซด์ เป็นกาซที่ใช้ในกระบวนการ
สังเคราะห์แสง (photosynthesis) ของพืชและจุลินทรีย์บางชนิด และยังเป็นกาซที่ส้าคัญในการดูดกลืนรังสี
อินฟราเรดอีกด้วย กาซโอโซนมีหน้าที่ในการดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet radiation: UV) เป็น
การกักเก็บความร้อนไว้ กาซเหล่านี้ในปริมาณที่สมดุลที่มีอยู่ตามธรรมชาติช่วยให้พื้นผิวของโลกมีอุณหภูมิที่
อบอุ่นพอเหมาะส้าหรับการด้ารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตต่างๆ ถ้าปราศจากกาซเหล่านี้พื้นผิวโลกจะมีอุณหภูมิเพียง -
18 องศาเซลเซียสเท่านั้น
ภาวะโลกร้อนจากอิทธิพลของมนุษย์ มีจุดเริ่มต้นนับตั้งแต่มนุษย์เริ่มต้นยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม ปี พ.ศ.
2393 กาซเรือนกระจกที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์เป็นตัวการเร่งทีส้าคัญท้าให้เกิดภาวะโลกร้อนขึ้นที่ผิดปกติ
ไปจากสมดุลธรรมชาติ (ตารางที่ 1)
ตารางที่ 1 สรุปปริมาณการปล่อยกาซเรือนกระจกชนิดต่างๆ ก่อนยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมและปัจจุบัน พร้อมทั้ง
เปรียบเทียบคุณสมบัติของกาซเรือนกระจกที่ส้าคัญชนิดต่างๆด้วย (ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล, 2550)
ชนิดกาซ คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน (CH4) ไ น ต รั ส คลอโรฟลู อ อ โอโซน (O3)
(CO2) อ อ ก ไ ซ ด์ โ ร ค า ร์ บ อ น
(N2O) (CFCs)
แหล่งก้าเนิด วัฏจักรธรรมชาติ พื้นที่ชุ่มน้้า ดิน ป่าเขต ไม่มี สาร
ตามธรรมชาติ การหายใจ การสลาย ร้อน ไฮโดรคาร์บอน
มีเทนไฮเดรต
แหล่งก้าเนิด การเผาป่า นาข้าว ปศุ ปุ๋ย การใช้ เครื่องท้าความ การเผาไหม้
โดยมนุษย์ อุตสาหกรรม การ สัตว์ การเผา ประโยชน์ที่ดิน เย็น ละออง เชื้อเพลิง มวล
เผาไหม้เชื้อเพลิง ไหม้เชื้อเพลิง การเผาไหม้ อากาศ โรงงาน ชีวภาพ
เช่น ถ่านหิน น้้ามัน เชื้อเพลิง อุตสาหกรรม
อายุที่คงอยู่ใน 200-450 ปี 11 ปี 120 ปี 60-100 ปี 30-40 สัปดาห์
บรรยากาศ

6
เอกสารประกอบการสอนวิชา 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล ......................................................................................ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี

ศักยภาพใน 1 21 310 140-11,700 2,000


การท้าให้เกิด
ภาวะโลกร้อน
(เทียบกับ
CO2)
ปริมาณก่อน 278 ppbv 790 ppbv 288 ppbv 0 10 ppbv
ยุค
อุตสาหกรรม
(พ.ศ. 2393)
ปริมาณใน 383 ppmv 1,752 ppbv 317 ppbv 503 pptv 20-40 ppbv
ปัจจุบัน (พ.ศ.
2549)
อัตราเพิ่ม 0.4% 0.4% 0.3% 1% 0.5-2.0%
สะสมความ 1.56 0.47 0.14 0.28 2.85
ร้อน (วัตต์/
ตารางเมตร)
อิทธิพลต่อ 55% 16% 5% 10% 14%
ภาวะเรือน
กระจก

รูปที่ 6 ก) แสดงการเปลี่ยนแปลงของการปลดปล่อยกาซเรือนกระจก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 ถึงปี พ.ศ. 2547 ข)


สัดส่วนของกาซแต่ละประเภทที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ คิดโดยเปรียบเทียบกันปริมาณการดูดกลืนของ
กาซคาร์บอนไดออกไซด์ในปี พ.ศ. 2547 ค) สัดส่วนของกิจกรรมแต่ละประเภทที่ปลดปล่อยกาซเรือนกระจก
ในปี พ.ศ. 2547 เทียบกับประมาณการดูดกลืนของกาซคาร์บอนไดออไซด์ ที่มา: IPCC (2007)
7
เอกสารประกอบการสอนวิชา 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล ......................................................................................ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี

ในบรรดากาซเรือนกระจก พบว่ากาซในกลุ่มฮาโลคาร์บอน (halocarbons) เช่น คลอโรฟลูโอโร


คาร์บอน (CFCs) ซึ่งไม่เคยมีอยู่ในชั้นบรรยากาศในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรม แต่ในปัจจุบันพบคลอโรฟลูโอโร
คาร์บอน 503 ส่วนในพันส่วน (pptv) โดยคุณสมบัติของสารซีเอฟซี 1 โมเลกุล สามารถท้าลายชั้นโอโซนได้
นาน 5-25 ปี (ตารางที่ 1) นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติท้าให้โลกร้อนได้มากกว่ากาซคาร์บอนไดออกไซด์ 140-
11,700 เท่า และมีอายุอยู่ในชั้นบรรยากาศได้นานถึง 60-100 ปี ในต่างประเทศพบว่าส่วนใหญ่เลิกใช้สารซี
เอฟซีกันหมดแล้ว แต่ในประเทศไทยยังมีการใช้อยู่ในปริมาณร้อยละ 1 ของสารซีเอฟซีที่ใช้กันทั่วโลก ใน
อุตสาหกรรมเครื่องท้าความเย็น เช่น ตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ และอุตสาหกรรมอื่นๆ (ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล,
2550) สารซีเอฟซีเป็นตัวท้าลายโอโซน ท้าให้เกิดช่องโหว่ในชั้นบรรยากาศ ท้าให้เราได้รับผลกระทบจากรังสียู
วี และพลังงานจากแสงอาทิตย์มากขึ้น
กาซคาร์บอนไดออกไซด์มีปริมาณเพิ่มขึ้นมากที่สุดเมื่อเทียบกับกาซเรือนกระจกอื่นๆ (รูปที่ 6) โดย
เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เช่น กระบวนการหายใจ กระบวนการย่อยสลาย การตัดไม้ท้าลายป่า และจากกิจกรรม
ของมนุษย์ เช่น การเผาไหม้เชื้อเพลิง โรงงานอุตสาหกรรม การเผาป่าเพื่อใช้พื้นที่ท้าที่อยู่อาศัย โรงงานและ
กิจกรรมต่างๆ การเผาป่าเป็นการปล่อยกาซคาร์บอนไดออกไซด์ สู่ชั้นบรรยากาศและยังเป็นการลดศักยภาพ
ของวัฏจักรคาร์บอนตามธรรมชาติ พื้นที่ป่าที่ลดลงส่งผลกระทบโดยตรงถึงปริมาณกาซคาร์บอนไดออกไซด์ที่
เพิ่มขึ้นในชั้นบรรยากาศ (ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล, 2550; IPCC, 2007) กาซคาร์บอนไดออกไซด์มีอายุที่คงที่อยู่
ในบรรยากาศถึง 200-450 ปี โดยมีความสามารถสะสมความร้อนได้ถึง 1.56 วัตต์/ตารางเมตร คิดเป็นร้อยละ
55 ที่มีอิทธิพลต่อภาวะเรือนกระจก
กาซมีเทนมีแหล่ งก้าเนิ ดในธรรมชาติ และที่เกิดจากมนุษย์ เช่น กระบวนการย่อยสลายของซาก
สิ่งมีชีวิต การสลายของมีเทนไฮเดรต การเกษตร แต่กาซมีเทนมีอายุเฉลี่ยนในชั้นบรรยากาศประมาณ 11 ปี
ซึ่งนับว่าสั้นมาก เมื่อเทียบกับกาซคาร์บอนไดออกไซด์ ดังนั้นผลกระทบต่อโลกร้อนจึงยังไม่น่ากลัวนัก
กาซเรือนกระจกอีกชนิดหนึ่งที่มีอันตรายคือ ไนตรัสออกไซด์ ซึ่งสะสมอยู่ในดิน ป่าเขตร้อน ปุ๋ยเคมี
และถ่านหิน ในการลดกาซชนิดนี้จึงจ้าเป็นต้องลดการใช้ปุ๋ยไนโตรเจน เปลี่ยนมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์ให้มากขึ้น ลด
การใช้ถ่านหินมาเป็นเชื้อเพลิง ต้องท้าให้กระบวนการเผาไหม้ถ่านหินสะอาดขึ้น หรือใช้พลังงานสะอาดอื่นๆ
ทดแทน กาซไนตรัสออกไซด์มีศักยภาพในการท้าให้เกิดภาวะโลกร้อนได้มากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ 310 เท่า
และสามารถดูดซับความร้อนและอยู่ในชั้นบรรยากาศได้นานถึง 120 ปี และยังท้าลายโมเลกุลของชั้นโอโซนอีก
ด้วย (ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล. 2550)

8
เอกสารประกอบการสอนวิชา 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล ......................................................................................ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี

รูปที่ 7 แสดงปริมาณของกาซคาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน และไนตรัสออกไซด์ ในช่วง 10,000 ปีที่ผ่านมา (ภาพ


ใหญ่) และตั้งแต่ปีพ.ศ. 2293 (ค.ศ. 1750) (ภาพเล็ก) โดยวัดจากการขุดแท่งน้้าแข็ง ที่มา: IPCC (2007)

9
เอกสารประกอบการสอนวิชา 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล ......................................................................................ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี

รูป ที่ 8 เปรี ยบเทีย บการเปลี่ ยนแปลงของอุณหภูมิพื้ นผิ ว โลก ในระดับโลก โดยใช้โ มเดลค้านวณจากการ
เปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากมนุษย์ร่วมกับการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ โดย
การส้ารวจในช่วงปี ค.ศ. 1906-2005 แสดงโดยใช้เส้นสีด้า แถบสีน้าเงินเป็นการพยากรณ์โดยใช้โมเดลโดยใส่
เฉพาะข้อมูลการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ แถบสีแดง เป็นการพยากรณ์โดยใช้ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงตาม
ธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ ที่มา: IPCC (2007)

สภาวะภูมิอากาศของโลก สังคมของมนุษย์ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ (ทางทะเล) ทุกอย่างเชื่อมโยง


ในระบบสั งคมของมนุ ษย์ โ ดยมีการพัฒ นาเศรษฐกิจและสั งคมเป็นตัว กระตุ้นให้ เกิดกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศของโลก โดยเพิ่มภาวะกาซเรือนกระจกเป็นตัวกระตุ้นให้สภาวะภูมิอากาศของ
โลกเปลี่ยนแปลง ท้าให้อุณหภูมิพื้นผิวโลกและมหาสมุทรเปลี่ยนแปลง ระดับน้้าทะเลเพิ่มสูงขึ้น ปริมาณฝนใน
ภูมิภาคเปลี่ย นแปลง ฤดูกาลเปลี่ยน เกิดเหตุการณ์ทางธรรมชาติที่รุนแรง เช่น พายุหิมะ ไต้ฝุ่ น เฮอริเคน
ไซโคลน เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีผลกระทบท้าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรน้้า
ระบบนิ เวศ แหล่ งอาหาร สุ ขภาพของมนุ ษย์ การตั้งรกราก และการก่อ ตั้งสั งคมของมนุษย์และสิ่ งมีชีวิต
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนี้ท้าให้สิ่งมีชีวิตต่างๆต้องมีการอพยพย้ายถิ่น หรือปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์
เพื่ออยู่รอด (รูปที่ 9)

10
เอกสารประกอบการสอนวิชา 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล ......................................................................................ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี

รูปที่ 9 แผนภูมิแสดงการกระตุ้นการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศของโลก จากมนุษย์ ผลกระทบ และการ


ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและความเชื่อมโยงของสิ่งต่างๆ ที่มา: IPCC (2007)

ปรากฏการณ์ธรรมชาติทางทะเลและผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศของโลก
โลกประกอบไปด้วยพื้นที่ที่เป็นน้้าทะเลประมาณร้อยละ 70 กระแสน้้าในมหาสมุทรมีอิทธิพลมากต่อ
ภูมิอากาศและลมฟ้าอากาศ กระแสน้้าบนพื้นผิวมหาสมุทรเกิดจากลม และมีทิศทางไหลไปตามทิศทางเดียวกับ
ลมเป็นส่ วนใหญ่ กระแสน้้าพื้นผิ วมีบทบาทในการถ่ายโอนความร้อนจากเขตร้อนไปยังแถบขั้วโลก แต่ล ะ
มหาสมุทรจะมีระบบกระแสน้้าพื้นผิวและลมสินค้าที่พัดพาไปทางเหนือและใต้เส้นศูนย์สูตร

11
เอกสารประกอบการสอนวิชา 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล ......................................................................................ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี

รูปที่ 10 รูปแบบของอุณหภูมิน้า ทิศทางการไหลของกระแสน้้า และการเกิดฝนในภูมิภาคต่างๆในสภาวะปกติ


ในสภาวะปกติ ลมสินค้าพัดมาจากทางแปซิฟิกตะวันออกไปทางแปซิฟิกตะวันตก โดยลมสินค้านี้จะ
พัดพาความร้อนมาสะสมท้าให้เกิดแอ่งน้้าอุ่น (warm pool) บริเวณผิวน้้าในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก และ
อากาศที่อยู่เหนือแอ่งน้้าอุ่นจะมีอุณหภูมิสูงกว่าและมีความชื้นมากกว่าอากาศที่อยู่เหนือกระแสน้้าเย็น ท้าให้
เกิดฝนในแถบประเทศออสเตรเลีย อิน โดนีเซียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส่ วนทางฝั่งแปซิฟิกตะวันตก
(เอกวาดอร์, เปรู) น้้าเย็นจากก้นมหาสมุทรจะลอยตัวสูงขึ้นและผสมกับน้้าอุ่นที่ผิวท้าให้เกิดน้้าผุด (upwelling)
บริเวณชายฝั่งเอกวาดอร์และเปรู ทวีปอเมริกาใต้ในเขตร้อน จะแห้งแล้งไม่มีฝนตก เนื่องจากมีความชื้นน้อย
(รูปที่ 10)

1) เอลนิโญ/ลานิญา (El Nino/La Nina – Southern Oscillation หรือ ENSO)


เอลนิโญ/ลานิญา มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า “El Nino/La Nina-Southern Oscillation” หรือ
เรียกสั้นๆว่า เอ็นโซ (ENSO) เป็นการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและกระแสน้้าที่เกิดขึ้นในบริเวณ
มหาสมุทรแปซิฟิก ENSO เป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ค่อนข้างมีรูปแบบ โดยเกิดขึ้นตลอดแนว
ชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกเขตร้อน เกิดขึ้นเฉลี่ยทุกๆ 5 ปี โดยการเปลี่ยนแปลงการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิผิวน้้าใน
มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก เรียกว่า เอลนิโญ ในทางตรงกันข้าม หากอุณหภูมิน้าเย็นลงกว่าปกติ เรียก ลา
นิญา และยังหมายรวมถึงการเปลี่ยนแปลงความกดอากาศทางฝั่งแปซิฟิกตะวันตก ที่เรียกว่า เซาเทิร์นออส
ซะเลเชิน (Southern Oscillation) หรือความผันแปรของสภาพอากาศทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก
ENSO เป็นสาเหตุท้าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศอย่างรุนแรง เช่น น้้าท่ วม ภัยแล้ง พายุโซน
ร้อน ไต้ฝุ่น ไซโคลน เฮอริเคน ในหลายๆภูมิภาคของโลก ในประเทศก้าลังพัฒนาหลายๆประเทศที่ต้องมีการ
พึ่งพาการเกษตรและการประมง โดยเฉพาะประเทศโดยรอบมหาสมุทรแปซิฟิกจะได้รับผลกระทบมากที่สุด

12
เอกสารประกอบการสอนวิชา 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล ......................................................................................ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี

รูปที่ 11 รูปแบบของอุณหภูมิน้า ทิศทางการไหลของกระแสน้้า และการเกิดฝนในภูมิภาคต่างๆในสภาวะเอล


นิโญ

เอลนิโญ (El Nino) เป็นค้าภาษาสเปน หมายถึงเด็กผู้ชาย ซึ่งก็คือ บุตรของพระคริสต์ เอลนิโญ เป็น


ปรากฎการณ์ที่ผิดปกติทางธรรมชาติอย่างหนึ่งทีเกิดขึ้นในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก ในเขตร้อน เอลนิโญ
เป็นชื่อของกระแสน้้าอุ่นที่ไหลเลียบชายฝั่งของประเทศเปรูลงไปทางใต้ ซึ่งเกิดขึ้นทุกๆ 2-3 ปี มักเริ่มในช่วง
คริสต์มาส โดยกระแสน้้าอุ่นจะไหลเข้าแทนที่กระแสน้้าเย็นที่อยู่ตามชายฝั่งของประเทศเปรู ประมาณ 2 -3
เดือน และในบางครั้งอาจยาวนานกว่า และมีเวลาไม่แน่นอน ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของห่วงโซ่อ าหาร
และระบบนิเวศ จากการเปลี่ยนแปลงของการเกิดน้้าผุด (upwelling) ซึ่งมีผลต่อการประมงของประเทศใน
แถบนั้ น ส่ วนในบริ เวณเหนือกระแสน้้ าเย็ นมีอุณหภูมิสูงขึ้นและมีความชื้นมากขึ้น ท้าให้พื้นที่บริเวณทวีป
อเมริกาซึ่งเคยแห้งแล้งกลับมีฝนตกหนัก เกิดพายุ พายุนี้ก่อนให้เกิดอากาศร้อนและมีความชื้นสูงแผ่ขึ้นเหนือ
ท้องฟ้าและมีผลต่อระดับความสูงของกระแสลม ส่งผลท้าให้เกิดอากาศทั่วโลกแปรปรวน (รูปที่ 11)
สัญญาณของการเกิดเอลนิโญประกอบไปด้วย
1. ความกดอากาศที่เพิ่มขึ้นเหนือมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอินโดนีเซีย และออสเตรเลีย
2. ความกดอากาศลดลงเหนือเกาะตาฮิติ ตอนกลางและตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก
3. ลมสินค้าทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิกอ่อนก้าลังลง หรือเปลี่ยนทิศมุ่งหน้าไปทางตะวันออก
4. มวลอากาศร้อนก่อตัวเหนือประเทศเปรู ท้าให้ฝนตกทางตอนเหนือของทะเลทรายเปรู (Peruvian
desserts)
5. กระแสน้้าอุ่นแพร่จากแปซิฟิกตะวันตก และมหาสมุทรอินเดียไปสู่แปซิฟิกตะวันออก โดยมีการน้าพา
ฝนไปด้วย ส่งผลให้เกิดภาวะแห้งแล้งในแปซิฟิกตะวันตก และท้าให้ มีฝนตกในแปซิฟิกตะวันออก
แทนที่ปกติควรจะแห้งแล้ง

13
เอกสารประกอบการสอนวิชา 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล ......................................................................................ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี

รูปที่ 12 รูปแบบของอุณหภูมิน้า ทิศทางการไหลของกระแสน้้า และการเกิดฝนในภูมิภาคต่างๆในสภาวะลา


นิญา

ลานิญา (La Nina) เป็นปรากฏการณ์ที่กลับกันของเอลนิโญ ลานิญา เป็นค้าภาษาสเปน แปลว่า


เด็กผู้หญิง เป็นชื่อที่ใช้เรียกภาวะตรงกันข้ามกับเอลนิโญ โดยกระแสน้้าเย็นแผ่ปกคลุมเป็นบริเวณกว้างใน
แปซิฟิกตะวันออก อุณหภูมิอากาศบริเวณเหนือผิวน้้าทะเลลดต่้าลง ท้าให้ลมสินค้ามีก้าลังรุนแรงขึ้นกว่าปกติ
และพัดพาผิวน้้าทะเลจากแปซิฟิกตะวันออกไปสะสมทางฝั่งแปซิฟิกตะวันตกมากขึ้น ท้าให้แปซิฟิกตะวันตก
รวมทั้งเอเชียตะวันออกและตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเดิมมีอุณหภูมิผิวน้้าทะเลสูงกว่าแปซิฟิกตะวันออกอยู่แล้ว ยิ่งมี
อุณหภูมิน้าทะเลสูงขึ้นไปอีก อุณหภูมิน้าทะเลที่สูงขึ้นส่งผลให้อากาศร้อนเหนือบริเวณดังกล่าวมีการลอยตัว
สูงขึ้น และกลั่นตัวเป็นเมฆฝน อยู่เหนือชายฝั่งประเทศออสเตรเลียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในทางตรงข้าม
นอกฝั่งของประเทศฝรั่งเศส เปรู และเอกาดอร์ เกิดกระบวนการไหลของน้้าเย็นในทะเลลึกขึ้นไปสู่ผิวหน้าน้้า
ทะเลท้าให้เกิดน้้าผุด (upwelling) อย่างต่อเนื่อง อุณหภูมิน้าทะเลจึงลดต่้าลงกว่าปกติ (รูปที่ 12)
ผลกระทบของลานิญาตรงกันข้ามกับเอลนิโญ จากการที่อากาศลอยตัวสูงขึ้นและกลั่นเป็นเมฆฝน
เหนือแปซิฟิกตะวันตกเขตร้อน ท้าให้ประเทศออสเตรเลีย อินโดนีเซีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อื่นๆมี
แนวโน้มที่จะมีฝนตกมาก และมีน้าท่วม ขณะที่บริวเณประเทศแถบแปซิฟิกตะวันออกมีฝนน้อยและแห้ งแล้ง
นอกจากพื้นที่ในบริเวณเขตร้อนจะได้รับผลกระทบแล้ว ลานิญายังมีผลกระทบไปยังพื้นที่ห่างไกลออกไปด้วย
เช่น แอฟาริกาใต้ที่มีแนวโน้มที่จะมีฝนตกมากกว่าปกติและมีความเสี่ยงต่ออุทกภัยมากขึ้น ทางใต้ของอเมริกา
ใต้จะเสี่ยงต่อความแห้งแล้ง บางพื้นที่ทางตอนเหนือและตะวั นออกของอเมริกาจะมีฝนตกมากกว่าปกติในฤดู
หนาว ช่วงฤดูหนาวของซีกโลกเหนือและทางตะวันตกเฉียงเหนือของแปซิฟิก เช่น ญี่ปุ่น เกาหลีจะมีอุณหภูมิต่้า
กว่าปกติ ตอนเหนือของอเมริกาต่อเนื่องถึงแคนาดา และยุโรป มีอากาศหนาวเย็นกว่าปกติ ในขณะที่ตะวันตก
เฉียงเหนือของออสเตรเลียมีอุณหภูมิสูงกว่าปกติ

14
เอกสารประกอบการสอนวิชา 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล ......................................................................................ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี

2) กาซเรือนกระจกเป็นตัวขับเคลื่อนให้น้าแข็งขัวโลกละลาย
ภาวะโลกร้อน ส่งผลให้ธารน้้าแข็งบริเวณแอนตาร์กติกา ในขั้วโลกใต้ และอาร์กติกในขั้วโลกเหนือ
ละลายอย่างรวดเร็ว รวมทั้งแผ่นธารน้้าแข็งชายฝั่งก็ละลายแตกออกเป็นภูเขาน้้าแข็งขนาดมหึมาหลายก้อน
การเปลี่ ย นแปลงของธารน้้ าแข็งขั้ว โลก เกิดจากการขับเคลื่ อนซึ่งประกอบด้ว ย การเปลี่ ยนแปลงสภาวะ
ภูมิอากาศของยุคโฮโลซีน (Holocene) ฝนที่ตกเพิ่มขึ้นและการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้้าในมหาสมุทร แต่
ในระยะหลังการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศของโลก ส่งผลโดยตรงและเฉียบพลันต่อแผ่นน้้าแข็งและธาร
น้้าแข็งขั้วโลก ยกตัวอย่างเช่น พื้นที่บริเวณแอนตาร์กติก ทีมีอุ ณหภูมิอากาศสูงขึ้นประมาณ 2 องศาเซลเซียส
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1950 การละลายของน้้าแข็งในแอนตาร์กติก ท้าให้สูญเสียปริมาตรของน้้าแข็งไปเป็นจ้านวนมาก
ถึงแม้จะมีการสะสมแทนที่ของหิมะที่ตกลงมา แต่การละลายของชั้นหิ้งน้้าแข็ง (ice shelves) ท้าให้ลดการ
สะสมตัวของกลาเซียร์ (glaciers) ท้าให้เกิดความไม่สมดุลอย่างรุนแรง และการเคลื่อนที่ของก้อนน้้าแข็งไปยัง
พื้นที่ต่างๆยังเป็นการท้าให้เกิดความไม่สมดุลของชั้นน้้าแข็งขั้วโลก และส่งผลต่อการเพิ่มระดับของน้้าทะเล
(sea level rise) (Cook et al. 2005) (รูปที่ 13).

รูปที่ 13 ภาพแสดงแผ่นน้้าแข็งที่ปกคลุมอาร์คติกเซอร์เคิล (Arctic circle) ในปี ค.ศ. 1979 และ ปีค.ศ. 2003
ที่มา: http://earthobservatory.nasa.gov
15
เอกสารประกอบการสอนวิชา 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล ......................................................................................ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี

3) ผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ
ภาวะโลกร้อนส่งผลให้เกิดปะการังฟอกขาว
แนวปะการั งเป็ น ระบบนิ เ วศทางทะเลที่ มี ความอุ ดมสมบู ร ณ์ มีค วามหลากหลายทางชีว ภาพสู ง
เนื่องจากโครงสร้างที่สลับซับซ้อนท้าให้เป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นอีกนับพันชนิด ปะการังมีการก่อตัว
มานับพันนับหมื่นปี โดยปะการังชนิดที่สามารถสร้างแนวปะการังได้ (hermatypic corals) จะมีสาหร่ายซูแซน
เทลลี (zooxanthallae) ซึ่งเป็นไดโนแฟลกเจลเลต (dinoflagellates) ที่มีคุณสมบัติในการสังเคราะห์แสงได้
อาศัยอยู่ร่วมกับปะการังโดยอยู่ในชั้นเนื้อเยื่อแกสโตรเดอร์มิส (gastrodermis) ของปะการัง สาหร่ายซูแซน
เทลลีเป็นแหล่งอาหารและพลังงานให้กับปะการังถึงประมาณร้อยละ 80 นอกจากนี้สาหร่ายซูแซนเทลลียังมี
ส่วนในกระบวนการสะสมหินปูนซึ่งท้าให้เกิดเป็นแนวปะการังและท้าให้เกิดสีสันต่างๆในปะการัง
การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิน้าเพียง 1-2 องศาเซลเซียส จากอุณหภูมิน้าปกติ จะส่งผลอย่างมากต่อการ
ด้ารงชีวิตของปะการังและสาหร่ายซูแซนเทลลีที่อาศัยอยู่ร่วมกับปะการัง เนื่องจากอัตราการเพิ่มของอุณหภูมิ
น้้าทะเลในรอบ 100 ปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน พบว่าน้้าทะเลมีอุณหภูมิสูงขึ้น 1-1.5 องศาเซลเซียส จนใกล้พับ
อุ ณ หภู มิ สู ง สุ ด ที่ ป ะการั ง จะสามารถด้ า รงชี วิ ต ได้ อ ย่ า งปกติ การเพิ่ ม ขึ้ น หรื อ ลดลงของอุ ณ หภู มิ น้ า อย่ า ง
เฉียบพลันเพียง 1-2 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิเพิ่มขึ้นในฤดูร้อน หรืออุณหภูมิลดต่้าลงในฤดูหนาว เกินกว่าการ
เปลี่ยนแปลงปกติของอุณหภูมิในรอบปี) จึงท้าให้เกิดปะการังฟอกขาวได้ ปะการังฟอกขาวเป็นการตอบสนอง
ของสาหร่ายซูแซนเทลลีต่ออุณหภูมิของน้้าทะเลที่มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างกะทันหันเป็นเวลา
ต่อเนื่องกัน ท้าให้เซลล์ของสาหร่ายซูแซนเทลลีถูกท้าลายได้ง่ายขึ้น เนื่องจากความเข้มแสงและอุณหภูมิที่
เปลี่ยนแปลง ท้าให้สาหร่ายชนิดนี้ออกจากตัวของปะการังที่เป็ นเจ้าบ้าน หากสถานการณ์เกิดขึ้นต่อเนื่องเป็น
เวลานาน สาหร่ายไม่สามารถกลับเข้ามาอาศัยในตัวปะการังได้เหมือนเดิมก็จะท้าให้ปะการังขาดอาหารและ
ตายได้ในที่สุด เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิน้าเกิดขึ้นเป็นบริเวณกว้างมีผลจากการเคลื่อนที่ของมวลน้้า
และทิศทางการไหลของกระแสน้้าที่มีอุณหภูมิสูง ส่งผลให้เกิดการตายของปะการังเป็นบริเวณกว้าง ท้าให้แนว
ปะการังที่ได้รับผลกระทบอยู่ในสภาพที่เสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว (Hoegh-Guldberg, 1999; Hoegh-
Guldberg et al. 2007)
สาเหตุ ห ลั ก ที่ ท้ า ให้ ป ะการั ง ฟอกขาวครอบคลุ ม พื้ น ที่ เ ป็ น วงกว้ า ง กิ น อาณาเขตครอบคลุ ม ใน
ระดับประเทศ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และภูมิภาคอื่นๆ คือ อุณหภูมิน้าทะเลที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างผิดปกติ
สืบเนื่องจากผลกระทบของเอลนิโญและลานิญา ซึ่งในน่านน้้าไทยเคยได้รับผลกระทบเช่นนี้เมื่อปี พ.ศ.2534
2538 2541 2546 2548 2550 และ 2553 โดยเฉพาะในปีพ.ศ. 2534 และ 2538 แนวปะการังทางฝั่งทะเล
อันดามันได้รับความเสี ยหายอย่างมาก ปะการังตายไปประมาณร้อยละ 10-20 ส่วนในปีพ.ศ. 2541 แนว
ปะการังในอ่าวไทยได้รับผลกระทบรุนแรงกว่าฝั่งทะเลอันดามัน (Wilkinson, 1998) ในปีต่อมาได้เกิดปะการัง
ฟอกขาวบางส่วน ซึ่งพบทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามันแต่ไม่ได้รับความเสียหายมากนัก
ปะการังฟอกขาวที่เกิดขึ้นในปีพ.ศ. 2553 นั้นท้าให้แนวปะการัง เสียหายมากที่สุดในประวัติการณ์ที่
เคยมีรายงานมาในประเทศไทย อุณหภูมิน้าทะเลจากปกติ 29 องศาเซลเซียสเพิ่มขึ้นเป็น 30 องศาเซลเซียส
ตั้งแต่ปลายเดือนมีนาคม พ.ศ.2553 สามสัปดาห์ต่อมาเริ่มมีการรายงานพบปะการังฟอกขาวครอบคลุมพื้นที่
เป็นบริเวณกว้างทั้งสองฝั่งของประเทศไทย จากข้อมูลอุณหภูมิน้าในแนวปะการังที่บันทึกโดยสถาบันวิจัยและ
พัฒนาทรัพยากรทางทะเลชายฝั่งทะเล และป่าชายเลน ตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2552 ถึงเดือนกันยายน

16
เอกสารประกอบการสอนวิชา 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล ......................................................................................ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี

พ.ศ. 2553 พบว่าอุณหภูมิน้าทะเลสูงขึ้นจาก 29 องศาเซลเซียสเป็น 30-34 องศาเซลเซียสติดต่อกันเป็นเวลา


3 เดือน ตั้งแต่ปลายเดือนมีนาคม พ.ศ. 2553 ถึงมิถุนายน พ.ศ. 2553 (คณะกรรมการแก้ไขปัญหาผลกระทบ
ของการฟอกขาวต่อสถานภาพปะการัง, 2553; สถาบันวิจัยพัฒนาทรัพยากรทางทะเลชายฝั่งทะเล และป่าชาย
เลน, 2554) เหตุการณ์ในครั้งนี้พบปะการังฟอกขาวเกือบทุกชนิด ยกเว้นเพียง 3-4 ชนิดที่ยังคงต้านทานอยู่ได้
เช่น ปะการังสีน้าเงิน (Heliopora coerulea) ปะการังลายดอกไม้ (Pavona decussata) และปะการังดาว
ใหญ่ (Diploastrea heliopora) แนวปะการังของทุกจังหวัดทางฝั่งอันดามันเกิดการฟอกขาวมากกว่าร้อยละ
70 ของปะการังมีชีวิต ส่วนในอ่าวไทยพบว่ามีการฟอกขาวช้าและมีปะการังที่ตายจากการฟอกขาวน้อยกว่า
บริเวณอื่นๆ (คณะกรรมการแก้ไขปัญหาผลกระทบของการฟอกขาวต่อสถานภาพปะการัง, 2553) หากแนว
ปะการังที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ปะการังฟอกขาว ได้รับผลกระทบซ้้าเติมจากปัญหาอื่นๆในพื้นที่ เช่น
คุ ณ ภาพน้้ า ที่ แ ย่ ล งเนื่ อ งจากปั ญ หาตะกอน หรื อ ธาตุ อ าหาร การประมงที่ เ กิ น ก้ า ลั ง ผลิ ต จองธรรมชาติ
โดยเฉพาะสัตว์น้าที่มีความส้าคัญทางระบบนิเวศ เช่น ปลาหรือสัตว์กินพืชบางชนิด เช่น หอย หรือเม่ นทะเล
ซึ่งควบคุมการเจริญเติบโตของสาหร่าย ปัจจัยเหล่านี้จะส่งผลให้แนวปะการังเสื่อมโทรม และแนวปะการังอาจ
ไม่สามารถฟื้นตัวกลับมาได้ในอนาคต ผลกระทบจากการบริหารจัดการทรัพยากรที่ไม่ถูกต้อง และความถี่ของ
การเกิดปะการังฟอกขาว จะส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งในด้านการประมง การ
ท่องเที่ยว การปกป้องชายฝั่งและความเป็นอยู่ของประชากร

การเปลี่ยนแปลงของกระแสน้าในมหาสมุทร อาจส่งผลต่อระดับน้าทะเลท้องถิ่น
การเปลี่ยนแปลงของกระแสน้้าในมหาสมุทรอาจส่งผลต่อระดับน้้าในทะเลท้องถิ่นหรือภูมิภาคให้เพิ่ม
สูงขึ้นมากกว่า หรือน้อยกว่าระดับน้้าโดยเฉลี่ยของโลก อัตราการเพิ่มขนาดและทิศทางของการเปลี่ยนแปลง
ของน้้าทะเลจะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับการตอบสนองของลักษณะชายฝั่ง การเปลี่ยนแปลงของการไหลของน้้า
ทะเล เป็นต้น ซึ่งลักษณะเหล่านี้จะแตกต่างกันไปตามลักษณะของท้องถิ่นและภูมิภาค การที่ระดับน้้า ทะเล
สูงขึ้นเป็นล้าดับ จะส่งผลกระทบต่อพื้นที่ชายฝั่ง ซึ่งผลกระทบที่ส้าคัญได้แก่
1. พื้นที่บริเวณชายฝั่งจะถูกน้้าท่วมและถูกกัดเซาะมากขึ้น
2. สร้างความเสียหายค่อเศรษฐกิจชายฝั่งทะเลที่ส้าคัญ โดยเฉพาะการเพาะเลี้ยงและการประมง
ชายฝั่งรวมถึงการท่องเที่ยว
3. ระบบนิเวศชายฝั่งที่มีคุณค่าจะมีความเสี่ยงสูง เช่น ป่าชายเลน แนวปะการัง และหญ้าทะเล
4. ระบบนิเวศของมหาสมุทร นอกจากจะได้รับผลกระทบจากการแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ
แล้ว ยังจะท้าให้แผ่นน้้าแข็งในมหาสมุทรลดลง เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบการหมุนเวียนของน้้า
ทะเล ส่งผลกระทบต่อผลผลิตของทรัพยากรชี วภาพ ธาตุอาหารและโครงสร้างของระบบนิเวศ
(ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล, 2550)

4) ปรากฏการณ์ธรรมชาติทางทะเลอื่นๆ
ธรณีพิบัติภัย: คลื่นสึนามิ

17
เอกสารประกอบการสอนวิชา 309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล ......................................................................................ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี

ธรณีพิบัติภัย หมายถึง ภัยธรรมชาติที่เกิดจากกระบวนการทางธรณีวิทยา เช่น แผ่นดินไหว ดินถล่ม


ภูเขาไประเบิด และสึนามิ (tsunami) เป็นต้น
คลื่นสึนามิ (tsunami มาจากภาษาญี่ปุ่น หมายถึงคลื่นชายฝั่ง) คือ คลื่น หรือกลุ่มคลื่นที่มีจุดก้าเนิด
อยู่ในเขตทะเลลึก ซึ่งมักเกิดขึ้นหลังจากการเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ แผ่นดินไหวใต้ทะเลหรือแผ่นดินทรุด ที่
มีความรุนแรงสูง คลื่นสึนามิจะถาโถมเข้าสู่พื้นที่ชายฝั่งทะเลด้วยความเร็วและความรุนแรง สร้างความเสียหาย
กั บ ชี วิ ต และสิ่ ง ต่ า งๆที่ อ ยู่ บ ริ เ วณชายฝั่ ง ทะเลให้ ไ ด้ รั บ ความเสี ย หาย สึ น ามิ เ ป้ น คลื่ น ที่ มี ข นาดของคลื่ น
(amplitude) ขนาดเล็กมากเมื่ออยู่นอกชายฝั่ง แต่มีความยาวคลื่นที่ยาวมาก (มีความยาวหลายร้อยกิโลเมตร)
ท้าให้ไม่สามารถสังเกตเห็นคลื่นสึนามิได้ในขณะที่อยู่บนผิวน้้ากลางทะเลลึก แต่เมื่อคลื่นสึนามิเคลื่อนที่เข้า
ชายฝั่งความลึกของทะเลลดลง คลื่นจะมีความเร็วลดลงและมีการก่อตัวเป็นคลื่นสูง โดยอาจมีความสูงของคลื่น
สูงถึงกว่า 30 เมตร ซึ่งมีความสามารถในการท้าลายพื้นที่ชายฝั่งกินพื้นที่หลายกิโลเมตร ดังที่เคยเกิดขึ้นบริเวณ
ชายฝั่งทะเลอันดามัน เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ซึ่งได้ก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิต และทรัพย์สิน
ของประชาชนในพื้นที่ 6 จังหวัดอันดามันอย่างประเมินค่าไม่ได้ นอกจากประเทศไทยแล้วประเทศที่อยู่บริเวณ
แนวชายฝั่งทะเลอันดามัน และมหาสมุทรอินเดียอื่นๆ เช่น อินเดีย ศรีลังกา ยังได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง
เช่นเดียวกัน และในปี พ.ศ. 2554 คลื่นสึนามิได้เกิดขึ้นอีกครั้งหลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวอย่างรุนแรงที่ญี่ปุ่น

เอกสารอ่านประกอบ
ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล (2550) โลกร้อนสุดขัว วิกฤติอนาคตประเทศไทย. ฐานบุ๊คส์: กรุงเทพ. 258 หน้า.
IPPC (2007) Climate Change 2007: Synthesis Report. An Assessment of the Intergovernmental
Panel on Climate Change. Allali A. et al., Eds.
www.ipcc.ch/publications_and_data/publications_and_data.shtml
Lomolino M.V., Ridele B.R., Whittaker R.J., Brown J.H. (2010) Biogeography. Sinauer
Associates, Inc. Massachusetts. p. 259-353.
http://earthobservatory.nasa.gov

18
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

วิทยาศาสตร์ทางทะเล กับชีวิตประจาวัน

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี

ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา

วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล

ข่าวพยากรณ์อากาศ บอกอะไรเราบ้าง

1
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

ในชีวิตประจาวัน เราเคยสงสัยเรื่องเหล่านี้ไหม
พยากรณ์อากาศ จังหวัดภูเก็ต
• มีฝนฟ้าคะนองเป็นแห่งๆ 30% ของพื้นที่ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ความเร็ว 15 – 35 กม./ชม.
• ทะเลมีคลื่นสูง 1 - 2 เมตร เรือเล็กควรงดออกจากฝั่ง
• วันนี้ อุณหภูมิสูงสุดประมาณ 33 องศาเซลเซียส วันพรุ่งนี้ อุณหภูมิต่าสุดประมาณ 24 องศา
เซลเซียส
ที่ประภาคารกาญจนาภิเษก แหลมพรหมเทพ
• วันนี้ ดวงอาทิตย์ตกเวลา 18.35 น. วันพรุ่งนี้ ดวงอาทิตย์ขึ้นเวลา 06.19 น.
อิทธิพลน้าทะเลที่เกาะตะเภาน้อย คานวณโดยกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ
• วันพรุ่งนี้ น้่าขึ้นเต็มที่เวลา 00.10 น. สูงกว่าระดับทะเลปานกลาง 1.13 เมตร
และเวลา 12.26 น. สูงกว่าระดับทะเลปานกลาง 1.07 เมตร
• น้่าลงเต็มที่เวลา 06.26 น. ต่่ากว่าระดับทะเลปานกลาง 1.59 เมตร
และเวลา 18.42 น. ต่่ากว่าระดับทะเลปานกลาง 1.66 เมตร

ทะเล เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันของเราอย่างไร

https://www.youtube.com/watch?v=6vgvTeuoDWY

2
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

ทะเล เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันของเราอย่างไร

มีใครเข้าใจเรื่องเหล่านี้ทั้งหมดแล้วบ้าง
ลมมรสุม (ตต.เฉียงใต้/ตอ.เฉียงเหนือ) • ฤดูกาลประเทศไทย vs ที่อื่น
การเกิดคลื่นลม • น้าขึน้ – น้าลง (อ่าวไทย vs
อันดามัน)
อุณหภูมสิ ูง-ต่า
• การเกิดคลื่น (ใกล้ฝั่ง-ไกลฝั่ง)
ดวงอาทิตย์ขึ้น-ตก
• กระแสน้าในมหาสมุทร
น้าขึ้น-น้าลง
ระดับทะเลปานกลาง • แผ่นดินไหว
• สึนามิ
• ไซโคลน/เฮอริเคน/ไต้ฝุ่น
• เอลนิโญ ลานิญา

3
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

ปริมาณแสงและความร้อนที่ดวงอาทิตย์ส่องไปยัง
ภูมิภาคต่างๆของโลกไม่เท่ากัน

ทาไมน้าทะเลบริเวณเส้นศูนย์สูตรจึงไม่เดือดพล่าน
หรือแข็งเป็นน้าแข็งทั้งหมดในเขตหนาว
เนื่องจากมีการเคลื่อนที่ของมวลอากาศร้อน
และเย็นในชั้นบรรยากาศของโลก

4
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

การเคลื่อนที่ของอากาศร้อนและเย็น มีลักษณะเช่นเดียวกับ
การเคลื่อนที่ของอากาศในห้องปรับอากาศ

รูปแบบการหมุนเวียนอากาศของโลก

5
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

ความกดอากาศและการเกิดมรสุม

Northeast monsoon Southwest monsoon

ลมบก - ลมทะเล

6
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

การเคลื่อนที่ของเปลือกโลก
และการเกิดแผ่นดินไหว

การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก จากอดีตสู่ปัจจุบัน

7
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ได้อย่างไร

การเกิดภูเขาและรอยแยกในทะเล

8
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

การเกิดภูเขาและรอยแยกในทะเล

การเกิดแผ่นดินไหว
S wave

P wave

9
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

สึนามิ (Tsunami)

การเคลื่อนที่ของสึนามิ (Tsunami)

10
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

กระแสน้าในมหาสมุทร
ลม และกระแสน้า

Ocean gyres
กระแสน้าในมหาสมุทร

11
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

Upwelling น้าผุด – downwelling น้ามุด

downwelling น้ามุด upwelling น้าผุด

12
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

การเกิดน้าขึ้น - น้าลง

อิทธิพลจากแรงดึงดูดของดวงอาทิตย์
โลก และดวงจันทร์

อิทธิพลของดวงจันทร์ กับน้าขึ้น - น้าลง

13
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

ทาไมน้าขึ้นสูงสุดในแต่ละวัน จึงไม่ใช่เวลาเดิม
และความสูงเท่าเดิม

อ.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี

อิทธิพลร่วมของโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์


น้าเกิด (spring tide) – น้าตาย (neap tide)

14
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

น้าเดี่ยว น้าคู่ น้าผสม


ระดับน้าทะเลปานกลาง ... อยู่ตรงไหน

อ.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี

การเกิดคลื่น

15
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

ความสูงของคลื่น

ความสูงของคลื่นในภูมิภาคต่างๆของโลก

16
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

พายุโซนร้อน ไซโคลน เฮอริเคน ไต้ฝุ่น


• เฮอริเคน (hurricanes) เป็นปรากฏการณ์ทางอุตุนิยมวิทยา โดยเกิด ปฎิ
สัมพันธ์ของมหาสมุทรและบรรยากาศ ทาให้เกิดเป็นมวลของอากาศร้อน ชื้น
หมุนอยู่ในอากาศ มักเกิดขึ้นในเขตละติจูด 5-15 องศา พายุโซนร้อนขนาด
ใหญ่ที่มีความรุนแรง โดยมีความเร็วลมตั้งแต่ 119 กม/ชม เรียกว่า เฮอริเคน
(hurricanes) เกิดขึ้นในแอตแลนติกเหนือ และแปซิฟิกตะวันออก
• ในเขตอินโด-แปซิฟิก เรียกว่า ไซโคลน(cyclone)
• ถ้าเกิดขึ้นในแปซิฟิกตะวันตก เรียกว่า ไต้ฝุ่น (typhoons)
• เกิดขึ้นในมหาสมุทรอินเดีย เรียก พายุโซนร้อน

17
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

ระดับความรุนแรงของเฮอริเคน
ความกดอากาศ ความเร็วลม ลมพายุซัด (ม) การทาลาย
(hectopascals) (กม/ชม)
1 > 980 118-152 1.2 – 1.6 น้อย
2 965-979 153-176 1.7-2.5 ปานกลาง
3 945-964 177-208 2.6-3.7 มาก
4 920-944 209-248 3.8-5.4 รุนแรงมาก
5 < 920 > 248 >5.4 รุนแรงมาก-
เป็นพื้นที่กว้าง

18
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

ระดับความรุนแรงของเฮอริเคน

ฝน wet
ใบไม้ผลิ spring
ร้อน summer
ฤดูกาลเกิดขึ้นได้อย่างไร

หนาว winter
ใบไม้ร่วง fall

19
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

การเกิดฤดูกาลในภูมิภาคต่างๆของโลก
เนื่องจากโลกหมุนรอบตัวเอง และโคจรรอบดวงอาทิตย์ ปริมาณแสงและความร้อนในภูมิภาค
ต่างๆที่แตกต่างกันในรอบปี ทาให้เกิดเป็นฤดูกาล

เอลนิโญ
ภาวะปกติ เอลนิโญ

20
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

ลานิญา
ภาวะปกติ ลานิญา

เอลนิโญ (El Nino) ลานิญา (La Nina)

21
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

การเกิดภาวะโลกร้อน ในอดีต
• การเกิดยุคโลกร้อนและยุคน้าแข็ง เนื่องวิถีการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์
- การเปลี่ยนแปลงตาแหน่งของโลก ขณะโคจรรอบดวงอาทิตย์

การเกิดภาวะโลกร้อน ในอดีต
• ความแตกต่างของมุมที่โลกเอียงเข้าหาดวงอาทิตย์
(รอบของการเปลี่ยนแปลง ~ 41,000 ปี)
• ทิศทางของแกนโลก
(รอบของการเปลี่ยนแปลง ~ 22,000
ปี)

22
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

โลกในอดีต กับโลกปัจจุบัน
50,000 BP

Present

การเปลี่ยนแปลงระดับน้าทะเลในอดีต
ในยุคไพลโตซีน (Pleistocene) มีการเปลี่ยนแปลงของ
ระดับน้าทะเลอย่างมาก น้าทะเลอยู่ต่ากว่าระดับน้าทะเล
ปัจจุบัน 100 -130 เมตร แผ่นทวีปหลายๆแผ่นเชื่อมต่อ
กันในยุคน้าแข็ง (glacial maxima) เบอรินเจีย
(Beringia) เชื่อมอเมริกาเหนือและเอเชียเข้าด้วยกัน

เกาะหลายเกาะในอินโดนีเซีย เชื่อมต่อกับ
แผ่นดินเอเชียและออสเตรเลีย โดยมีแนว
เขตวอลเลซ แบ่งเขตการ กระจายตัวของ
สิ่งมีชีวิตในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ
ออสเตรเลียออกจากกัน

23
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

• ในยุค ฟาเนอโรโซอิก
(Phanerozoic) แสดงให้เห็นว่า
ระดับน้าทะเลในอดีต สูงกว่า
ระดับน้าทะเลในปัจจุบันอย่างมาก
• หลักฐานในยุคไพลโตซีน
(Pleistocene) ในยุคน้าแข็ง
(glacial และ interglacial) แสดง
ให้เห็นว่ามีการเปลี่ยนแปลงขึ้น ลง
ของระดับน้าทะเล หลายครั้ง ทั้งสูง
กว่า และต่ากว่าระดับน้าทะเล
ปัจจุบนั
• การเปลี่ยนแปลงนี้เกิดขึ้นเกิดขึ้น
ในช่วงยุคต่างๆ ตามการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของ
โลก กราฟนี้แสดงให้เห็นถึงการ
เปลี่ยนแปลงในช่วง ตั้งแต่
140,000 ปี ก่อนคริสตกาลจนถึง
ปัจจุบนั

การเกิดภาวะโลกร้อน ในปัจจุบัน
• การปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Green House Gases – GHGs)
• ก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของโลก เนื่องจากกิจกรรมของมนุษย์ เพิ่มขึ้น
70% ตั้งแต่ยุคที่เริ่มมีการพัฒนาอุตสาหกรรม ในช่วงปี 1970 – 2004

24
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

ผลจากภาวะโลกร้อน ในปัจจุบัน

• การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ

• ระดับน้าทะเล

• และปริมาณหิมะที่ปกคลุม
บริเวณขั้วโลก

25
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

26
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศทางทะเล
อุณหภูมิเฉลี่ยของน้าทะเลสูงขึน้ น้าทะเลมีความเป็นกรดสูงขึน้

ปะการังฟอกขาว (Coral Bleaching)

27
ผศ.ดร.นริ นทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี วิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 03/09/63

ภาวะทะเลเป็นกรด (Ocean Acidification)


โครงสร้างหินปูน (แคลเซียม
คาร์บอเนต) ถูกทาลาย หรือ
ถูกยับยั้งในการสร้าง

สิ่งมีชีวิตที่มีร่างกายประกอบ
ไปด้วยหินปูน เช่น ปะการัง
หอย เม่นทะเล ฟอแรม จะ
ได้รับผลกระทบ

6 องศา โลกาวินาศ - six degrees could change the


world วิกฤตการณ์ที่จะส่งผลกระทบต่อเผ่าพันธุ์มนุษย์
https://www.youtube.com/watch?v=Jfsdvy1qDJI

อุณหภูมิโลกสูงขึ้นมีผลน้าแข็งขั้วโลกละลายทาให้น้า
ทะเลอุ่นขึ้นทีม่ ีโอกาสเกิดการก่อตัวของพายุ
https://www.youtube.com/watch?v=xNmhFA7Td54

28
การใช้ ประโยชน์ ทรัพยากรทางทะเลในด้ านเศรษฐกิจและสั งคม
(Utilization of Natural Resources from
Economic and Social Perspectives)

รองศาสตราจารย์ ดร. วีรพงศ์ วุฒิพนั ธุ์ชยั


ภาควิชาวาริ ชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา
ทรัพยากรธรรมชาติ

• ทรัพยากรธรรมชาติ (natural resource) หมายถึง สิ่ งต่างๆที่เกิดขึ้นเองใน


ธรรมชาติ ซึ่งมนุษย์สามารถนาเอาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ได้ท้ งั
โดยตรง หรื อโดยอ้อม ทรัพยากรธรรมชาติอาจเป็ นได้ท้ งั ของแข็ง (เช่นแร่
ดิน หิ น เป็ นต้น) ของเหลว (เช่นน้ า น้ ามันปิ โตรเลียม เป็ นต้น) แก๊ส
(ออกซิเจน ไนโตรเจน และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เป็ นต้น) และสิ่ งมีชีวิต
(เช่นสัตว์ป่า ป่ าไม้ เป็ นต้น)
• ทรัพยากรธรรมชาติในทะเลจึงเป็ นได้ท้ งั biological and physical sources
รวมทั้ง product ที่สิ่งมีชีวติ ผลิตและหลัง่ ออกมา
ทรัพทยากรธรรมชาติ
ทะเลและมหาสมุ รมีพืน้ ที่ 2 ใน 3 ส่ วนของพืน้ โลก
ชายหาด
ทรัพยาธรรมชาติที่พบเมื่อมีนา้ ลงบริเวณชายฝั่งทะเล
• ป่ าชายเลน
• พื้นทราย/ชายหาด
• สัตว์หน้าดิน/สัตว์น้ า
• สาหร่ าย
• สิ่ งมีชีวติ ขนาดเล็ก เช่น แบคทีเรี ย แพลงตอน เป็ นต้น
ป่ าชายเลนเป็ นที่พกั อาศัยและทีห่ ลบภัยของสั ตว์ นา้ หลายชนิด
พืน้ ทราย/ชายหาดประกอบด้ วยสิ่ งมีชีวติ ขนาดเล็กหลายชนิดทั้งพืชและสั ตว์
สาหร่ ายที่พบบนพืน้ ทราย/ชายหาด
ทีม่ า: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ทีม่ า: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
พะยูน
ปลาทะเลในแนวปะการัง
เพรียงทราย
สาหร่ ายบริเวณชายฝั่ง
หอยนางรม
ปลากะรังจุดฟ้ า
ม้ านา้
แมงกะพรุน
หอยหวาน

หอยเป๋าฮื้อ
Mud crab

ปูทะเล
ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ

ทรัพยากรธรรมชาติสามารถจาแนกได้เป็ น 3 ประเภทดังนี้
1. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดสิ้ นไป (non-exhausting natural
resources) ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้พบทัว่ ไปในโลก และสามารถ
นามาใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ไม่มีวนั หมดสิ้ น เช่น อากาศ น้ า และ
แสงอาทิตย์ เป็ นต้น
ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ

2. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วเกิดทดแทนได้ (renewable natural resources)


ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้เมื่อถูกนามาใช้ประโยชน์แล้วก็สามารถ
เกิดขึ้นทดแทนได้ เช่น พืช สัตว์ ป่ าไม้ และดิน เป็ นต้น ซึ่งระยะเวลาในการ
เกิดขึ้นมาทดแทนนั้นก็แตกต่างกันไปเร็ ว หรื อช้า ก็ข้ ึนอยูก่ บั ชนิดของ
ทรัพยากรธรรมชาติเหล่านั้น
ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ

3. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป (exhausting natural resources)


ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้จะมีอยูอ่ ย่างปริ มาณจากัด ซึ่ งเมื่อถูกนามาใช้
ประโยชน์แล้วจะไม่สามารถเกิดทดแทนได้ในระยะเวลาสั้นๆ ดังนั้น
ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ถา้ ถูกนามาใช้อย่างฟุ่ มเฟื อยและไม่ประหยัด
เมื่อเวลาผ่านไปจะมีผลทาให้ทรัพยากรธรรมชาติเหล่านี้หมดไป เช่น แก๊ส
ธรรมชาติ น้ ามันปิ โตรเลียม ถ่านหิ นและแร่ เป็ นต้น
ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ

โดยทัว่ ไปทรัพยากรธรรมชาติจากทะเล ประกอบด้วย


• ทรัพยากรที่มีชีวติ
• ทรัพยากรที่ไม่มีชีวติ จานวนมากที่พบในทะเล
• โดยทะเล และมหาสมุทรมีพ้นื ที่ประมาณ 2 ใน 3 ส่ วนของโลกทาให้
ทรัพยากรธรรมชาติในทะเลมีความหลากหลายของสิ่ งมีชีวติ ใต้ทอ้ งทะเลสู งมาก
• มนุษย์สามารถนาเอาทรัพยากรธรรมชาติในทะเลมาใช้ประโยชน์ เช่น การประมง
การบริ โภค การท่องเที่ยว การอนุรักษ์ การแพทย์และสาธารณสุ ข และ
อุตสาหกรรมต่างๆ รวมทั้งน้ ามันปิ โตรเลียม และก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเป็ นการใช้
ประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
ทีม่ า: National Wildlife Federation
ทีม่ า: National Wildlife Federation
ทีม่ า: ชัชรี สุ พนั ธุ์วณิช
แหล่งกาเนิดมลพิษในทะเล

Domoic acid (DA), the neurotoxin that causes amnesic shellfish poisoning (ASP)
produced by certain harmful algal blooms
ทีม่ า: กรมควบคุมมลพิษ
การนาทรัพยากรชีวภาพทางทะเลไปใช้ ประโยชน์
การใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรชีวภาพทางทะเล

• โดยทัว่ ไปประชาชนมีสิทธิที่จะจัดการดูแล ส่ งเสริ มคุม้ ครองทรัพยากรธรรมชาติ


และสิ่ งแวดล้อมร่ วมกับรัฐ และชุมชน และโครงการใดๆ ก็ตามที่มีผลกระทบต่อ
สิ่ งแวดล้อมอย่างรุ นแรง จะต้องมีการศึกษาอย่างรอบครอบเสี ยก่อน จึงจะ
ดาเนินการได้ ซึ่งในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ใน
ส่ วนที่ ๑๒ สิ ทธิชุมชน มาตรา ๖๗ ระบุไว้ดงั นี้
• สิ ทธิของบุคคลที่จะมีส่วนร่ วมกับรัฐและชุมชนในการอนุรักษ์ บารุ งรักษา และการ
ได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพ และในการ
คุม้ ครองส่ งเสริ ม และรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อม เพื่อให้ดารงชีพอยูไ่ ด้อย่างปกติ
และต่อเนื่องในสิ่ งแวดล้อมที่จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุ ขภาพอนามัย สวัสดิภาพ
หรื อคุณภาพชีวติ ของตน ย่อมได้รับความคุม้ ครองตามความเหมาะสม
การใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรชีวภาพทางทะเล

• การดาเนินโครงการหรื อกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุ นแรง


ทั้งทางด้านคุณภาพ สิ่ งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุ ขภาพ จะกระทามิได้
เว้นแต่จะได้ศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพของ
ประชาชนในชุมชน และจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
และผูม้ ีส่วนได้เสี ยก่อน รวมทั้งได้ให้องค์การอิสระซึ่งประกอบด้วย ผูแ้ ทนองค์การ
เอกชนด้านสิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพ และผูแ้ ทนสถาบันอุดมศึกษาที่จดั การ
การศึกษาด้านสิ่ งแวดล้อมหรื อทรัพยากรธรรมชาติหรื อด้านสุ ขภาพ ให้ความเห็น
ประกอบก่อนมีการดาเนินการดังกล่าว
• สิ ทธิของชุมชนที่จะฟ้องหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่ วน
ท้องถิ่น หรื อองค์กรอื่นของรัฐที่เป็ นนิติบุคคล เพื่อให้ปฏิบตั ิหน้าที่ตามบัญญัติน้ ี
ย่อมได้รับความคุม้ ครอง
พระราชบัญญัติ การรักษาผลประโยชน์ ของชาติทางทะเล พ.ศ. ๒๕๖๒
การใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรชีวภาพทางทะเล

• ทรัพยากรธรรมชาติในทะเลมีความหลากหลายทางชีวภาพไม่วา่ จะเป็ นพืช สัตว์


จุลินทรี ย ์ ซึ่งสามารถนามาสกัดเป็ นยา หรื อใช้ในอุตสาหกรรมประเภทต่างๆได้
มากมาย เช่น การสกัดสารที่ออกฤทธิ์ทางชีวภาพในการป้องกันโรคมะเร็ ง (cancer )
โรคภูมิคุม้ กันบกพร่ อง (acquired immuno-deficiency syndrome, AIDS) โรคข้ออักเสบ
(Arthritis) และโรคติดเชื้อจากแบคทีเรี ย เป็ นต้น
• การพัฒนางานวิจยั เพื่อใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพในทะเลได้เริ่ มมีการศึกษา
อย่างแพร่ หลายในประเทศ เช่นออสเตรเลีย ที่ได้มีการศึกษาค้นคว้านาเอา
ทรัพยากรธรรมชาติในทะเลมาใช้ประโยชน์ นารายได้เข้าประเทศปี ละจานวนมาก
การใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรชีวภาพทางทะเล
• เทคโนโลยีชีวภาพทางทะเล (marine biotechnology) เป็ นศาสตร์ที่ศึกษาการใช้ประโยชน์
จากสิ่ งมีชีวติ ในทะเล โดยใช้ความรู ้ดา้ นชีววิทยาโมเลกุล (molecular and
biotechnological techniques) ในการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ (bioactive
compounds) จากพืชและสัตว์ที่อาศัยในทะเลเพื่อใช้ประโยชน์เฉพาะด้าน
• การศึกษาด้าน biological activity ของพืช Harvey (2000) รายงานว่า มีพืชเพียงประมาณ
10% จากพืช 25,000 ชนิดที่มีสารที่มีฤทธิ์ชีวภาพ (biological activity)
• ตัวอย่างของสิ่ งมีชีวติ ในทะเลที่มีการนามาใช้ประโยชน์ได้แก่ เพรี ยง (tunicates), ฟองน้ า
(sponges), ปะการัง (soft corals), กระต่ายทะเล (sea hares), เสื่ อทะเล/พรมทะเล
(bryozoans), ทากทะเล (sea slugs) and marine organisms
• สารสกัดออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากทะเลมีรายงานว่าสกัดได้ประมาณ 10,000 ชนิด
• Poison kills the poison: the famous proverb is the basis for researchers in finding the
biomedical metabolites from living organisms.
Harvey, A. Strategies for discovering drugs from previously unexplored natural products. Drug Discov Today. 2000, 5, 294-300 .
การใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรชีวภาพทางทะเล
• สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพส่ วนใหญ่พบใน sponges (37%), coelenterates (21%), microorganisms
(18%), algae (9%), echinoderms (6%), tunicates (6%), molluscs (2%) bryozoans (1%)
• Fuesetani (2000) รายงานว่า สาร metabolites ประมาณ 10,000 ชนิดได้ถูกสกัดจากสิ่ งมีชีวติ ใน
ทะเล (marine organisms)
• Sponges สารสกัดจากฟองน้ าหลายชนิดสามารถรักษามะเร็ ง (anticancer compound)
• antituberculosis, antibiotics, antitumour agents
• Seaweed สารสกัดจากสาหร่ ายหลายชนิดสามารถนามาใช้ประโยชน์ในลักษระของ agar, algin
และ carrageenin
– Agar = culture media of bacteria
– Algin = thickener in foods as well as a stabilizer
– Carrageenan = used in many milk products as well as beer, lunch meats, pet food and
toothpaste
• น้ าทะเลยังถูกนามาผลิตเป็ นเกลือ น้ าจืด และหล่อเย็นใน power plants
Fuesetani, N. In Drugs from the Sea. Fuesetani, M., Ed.; Basel: Karger, 2000; Chapter 1, p1-5.
ทาไมทรัพยากรชีวภาพทางทะเลมีประโยชน์
• สามารถสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพนามาใช้ประโยชน์เป็ นยารักษาโรคได้
• ทรัพยากรชีวภาพทางทะเลมีท้ งั ชนิดและปริ มาณที่มากในทะเล ที่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้
(พืชและสัตว์ที่มีในโลกนี้ประมาณ 80% พบในทะเล/มหาสมุทร)
• นักวิทยาศาสตร์ได้ให้ความสนใจการใช้ประโยชน์สิ่งมีชีวติ ในทะเลกลุ่มของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
โดยเฉพาะสัตว์ในกลุ่มฟองน้ า เพรี ยงหัวหอม และมอสทะเล เนื่องจากสภาพการดารงชีวติ ของสัตว์เหล่านี้
มีลกั ษณะเกาะติดอยูก่ บั ที่ กินอาหารด้วยการกรอง จึงเป็ นอาหารของผูล้ ่าอื่นได้ ประกอบกับมีลาตัวอ่อนนิ่ม
ทาให้มีววิ ฒั นาการสร้างสารเคมีป้องกันตัว
• สารสกัดชีวภาพบางชนิดที่ได้จากทะเลถ้านามาสังเคราะห์ หรื อเปลี่ยนแปลงโครงสร้างบางตาแหน่งก็
สามารถนามาเป็ นยารักษาโรคได้
• สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่สามารถพัฒนาเป็ นยารักษาโรคได้ สามารถนาไปจดสิ ทธิบตั ร ซึ่งก่อให้เกิดมูลค่า
ถ้ามีการนาไปใช้ต่อไป
• ในปัจจุบนั มีการใช้สมุนไพร และอาหารเสริ มที่สกัดจากธรรมชาติมากขึ้นทัว่ โลกเพื่อทดแทนการใช้ยา
ประเภทต่างๆ แต่ดว้ ยเหตุที่ทรัพยากรชีวภาพในทะเลมีความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity) มาก ซึ่ง
ในทรัพยากรชีวภาพหลายชนิดมีสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่เป็ นประโยชน์ต่อมนุษย์ จึงทาให้มีการศึกษา
วิจยั การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพเหล่านั้น
แหล่ งที่พบสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในทะเล
• แบคทีเรี ยในทะเล (Marine bacteria)
• สาหร่ ายสี เขียวแกมน้ าเงิน (Cyanobacteria; Blue-green algae)
• สาหร่ ายทะเล (Seaweeds)
• ฟองน้ า (Sponges)
• สัตว์หลายเซลล์ที่มีเนื้อเยือ่ 2 ชั้นจาพวกปะการัง/แมงกระพรุ น/ดอกไม้ทะเล (Cnidarian)
• เสื่ อทะเล/พรมทะเล (Bryozoans; ไบรโอซัว): สัตว์ที่อยูร่ วมกันเป็ นโคโลนีขนาดเล็ก ดูคล้ายปะการัง
• หอย (Molluscs)
• เพรี ยง (Tunicates)
• สัตว์ที่มีลาตัวเป็ นหนามจาพวกดาวทะเล เม่นทะเล ดาวเปราะ ดาวขนนก ปลิงทะเล (Echinoderms)
• ปลา (Fish), งูทะเล (Sea Snakes) and สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเล (Marine mammals)
ตัวอย่ างสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในทะเล
• Thermo-stable proteases, lipases, esterases, and starch degrading enzymes สามารถสกัดได้จาก
แบคทีเรี ยบางชนิดในทะเล
• Lyngbyatoxin-A และ debromoaplysiatoxin เป็ นสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ 2 ชนิดที่คดั แยกได้จาก
สาหร่ ายสี เขียวแกมน้ าเงิน Lyngbya mausculata บริ เวณเกาะ Hawaii
• สาหร่ ายสี แดง Sphaerococcus coronopifolius มีสารสกัดที่ออกฤทธิ์ตา้ นเชื้อแบคทีเรี ย (Antibacterial
activity) ในขณะที่สาหร่ ายสี เขียว Ulva lactuca มีฤทธิ์ตา้ นการอักเสบ (Anti-inflammatory compound)
• ฟองน้ าสกุล 3 สกุล (Haliclona, Petrosia and Discodemia) มีสารสกัดที่ออกฤทธิ์ตา้ นเซลล์มะเร็ งและ
ต้านการอักเสบ (Anti-cancer and Anti-inflammatory agents)
• ปะการังสกุล Montipora spp.ของประเทศเกาหลีมีสารสกัดที่ออกฤทธิ์ฆ่าเซลล์เนื้องอก (Anti-tumor agent)
• ไบรโอซัวสกุล Bugula neritina มีสารสกัดที่ชื่อว่า Bryostatin ซึ่งมีประสิ ทธิภาพสู งในการต้านเซลล์มะเร็ ง-
เม็ดเลือดขาว เซลล์มะเร็ งที่ไต เซลล์มะเร็ งผิวหนัง (Anti-cancer agent)
• หอยสกุล Bursatella leachii มีสารสกัดที่ชื่อว่า Bursatellanin-P ซึ่ งเป็ นโปรตีนที่มีฤทธิ์ตา้ นเชื้อ HIV
• เพรี ยงสกุล Eudistoma sp. มีสารสกัดที่ชื่อว่า Eudistomins from ซึ่งมีประสิ ทธิภาพสู งในการต้านเชื้อไวรัส
ในหลอดทดลอง และได้นามาทดสอบในร่ างกาย (Anti-viral agent)
• ปลาดาว (starfish) สกุล (Certonardoa semiregularis) มีสารสกัดที่ชื่อว่า certonardosides-I และ
certonardosides-J ซึ่งมีประสิ ทธิภาพปานกลางในการต้านเชื้อไวรัส HIV และ herpes simplex (HSV)
ตัวอย่ างสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในทะเล
• สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่ได้จากปลา งูทะเล และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมพบไม่มาก
• ปลาทะเลสามารถนามาสกัดน้ ามันปลา (Fish oil) ที่มีโอเมกา ทรี (omega-3 fatty acid)
• ปลาปักเป้ามีสารพิษที่ชื่อว่า Tetradotoxin (TTX) ซึ่งเป็ นพิษแบบ Neurotoxin
• ยาปฏิชีวนะที่ชื่อว่า Squalamines (antibiotic steroid) ได้สกัดออกมาจากกระเพาะอาหารของปลาฉลาม
สกุล Squalus acanthias โดยยานี้อยูใ่ นระหว่างการพัฒนามาใช้ในคน
• ยาที่มีชื่อว่า Fu-anntai ของประเทศจีนที่ได้สกัดออกมาจากงูทะเลบางชนิดมีฤทธิ์ตา้ นมะเร็ งเม็ดเลือดขาวและ
มะเร็ งที่กระเพาะอาหาร
ตัวอย่ างยาที่ได้ จากทรัพยากรชีวภาพทางทะเล
• ยา Cytarabine เป็ นยาที่ใช้ในการรักษามะเร็ งเม็ดเลือดขาว (Leukemia) ซึ่ งยาชนิดนี้ได้พฒั นามาจาก
การปรับสู ตรโครงสร้างของสารสกัดที่ได้จากฟองน้ าชนิดหนึ่ง Caribbean sponge (Cryptotheca crypta)
• ยา Ecteinascidin 743 ซึ่งได้จากเพรี ยงหัวหอมชนิดหนึ่ง Ecteinascidia turbinata มีฤทธิ์ตา้ นมะเร็ ง/เนื้องอก
• ยา Aplidine ซึ่งได้จากเพรี ยงหัวหอม Aplidium albicans มีแนวโน้มใช้เป็ นยาต้านมะเร็ งได้
• ยา Dolastatin 10 ซึ่งได้จากทากทะเล Dolabella auricularia มีฤทธิ์ตา้ นมะเร็ ง/เนื้องอก
งานวิจัยการใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรชีวภาพทางทะเลในไทย
• ดร.ประสาท กิตตะคุปต์ และคณะ แห่งมหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ ได้ศึกษาสารที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ
จากฟองน้ า และเพรี ยงหัวหอมจากบริ เวณรอบเกาะพงัน และเกาะเต่า จ.สุ ราษฎ์ธานี ผลการวิจยั พบว่า
ฟองน้ าที่รวบรวมได้จากบริ เวณรอบเกาะเต่า มีฤทธิ์ยบั ยั้งการเจริ ญของแบคทีเรี ย Bacillus subtilis และ
Staphyllococcus aureus นอกจากนั้นยังพบว่าฟองน้ าตัวอย่างอีกชนิดหนึ่งที่เก็บจากบริ เวณรอบเกาะเต่า
และเกาะนางยวนสามารถยับยั้งการเจริ ญของเซลล์มะเร็ งหลายชนิดในระดับที่ดีมาก
• เพรี ยงหัวหอมก็มีสารออกฤทธิ์ชีวภาพที่มีประสิ ทธิภาพสู งมาก สามารถยับยั้งเซลล์มะเร็ ง ต้านมาลาเรี ย
ต้านวัณโรคและสามารถบรรเทาอาการอัลไซเมอร์ได้ โดยยับยั้งการทางานของเอนไซม์
acetylcholine esterase ซึ่งเป็ นตัวการสาคัญที่ทาให้เกิดโรค
• พันธุ์ทิพย์ วิเศษพงษ์พนั ธ์ และคณะได้วจิ ยั ผลของสารสกัดจากพืชทะเล 16 ชนิดและสัตว์ทะเล 26 ชนิดที่
มีต่อการกาจัดลูกยุง พบว่าสารสกัดจากผลเถาถอบแถบ (Derris trifoliate) มีประสิ ทธิภาพสู งสุ ดในการ
กาจัดลูกน้ ายุงก้นปล่องและลูกน้ ายุงลาย สาหรับสารสกัดจากสัตว์ทะเลที่มีศกั ยภาพในการกาจัด
ลูกน้ ายุงก้นปล่อง ได้แก่ สารสกัดจากกัลปังหา ปะการังอ่อน และฟองน้ า
ผลิตภัณฑ์ ทรัพยากรชีวภาพทางทะเล
• สารสกัดจากปะการังนามาใช้เป็ นส่ วนผสมครี มป้องกันแสงอุลตร้าไวโอเลท
• โปรตีนสกัดจากปลาทะเลใช้เป็ นอาหารเสริ มเช่น กรดไขมันโอเมก้า ทรี (omega 3)
• Ambergris (อาพันจากทะเล) ซึ่งได้จากสารอกของปลาวาฬ ใช้เป็ นส่ วนประกอบในการผลิตน้ าหอม
และในเครื่ องสาอางหลายชนิด
• Spermaceti หรื อไขปลาวาฬ เป็ นไขที่พบในส่ วนหัวของปลาวาฬสเปิ ร์ม แต่เดิมเข้าใจผิด
ว่าเป็ นสเปิ ร์ม ซึ่งไขปลาวาฬใช้เป็ นส่วนประกอบในการเตรี ยมตาหรับยาครี ม โลชัน่ และยาขี้ผ้ งึ
• วุน้ และกรดอัลจินิก ซึ่งได้จากสาหร่ ายทะเล ใช้เป็ นสารเพิม่ ความหนืดในอาหารและยา
• กรดไคนิก ได้จากสาหร่ ายสี แดง มีฤทธิ์เป็ นยาถ่ายพยาธิ
• ยาจากทะเล (ได้จากพืชและสัตว์ทะเล)
ผลประโยชน์ แห่ งชาติทางทะเล

ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล ของประเทศไทย ประกอบด้วย


• ทรัพยากรที่มีชีวติ 234,608.85 ล้านบาท
• ทรัพยากรที่ไม่มีชีวติ 499,069.12 ล้านบาท
• พาณิ ชยนาวี 6,120,901.00 ล้านบาท
• อุตสาหกรรมต่อเนื่อง 341,061.30 ล้านบาท
• การท่องเที่ยว 197,390.30 ล้านบาท
• อื่นๆ 49,786.60 ล้านบาท

ที่มา: อ้างอิงจากงานวิจยั ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ์ ในปี พ.ศ. 2549


แนวโน้มเทคโนโลยีและความมัน่ คงทางทะเล: แรงขับเคลื่อนเพื่อการพัฒนาสมุททานุภาพไทย สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ
พันธุศาสตร์กบั การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ

ผศ. ดร. วันศุกร์ เสนานาญ


ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 ความหลากหลายทางพันธุกรรม
 ระหว่างสมาชิกในประชากร
 ระหว่างประชากร (population)

 ความหลากชนิดในระบบนิเวศ

 ความหลากหลายของแหล่งที่อยู่อาศัย/ระบบนิเวศ

2
3
ประเด็นการอนุรกั ษ์
 เกี่ยวกับสัตว์ทะเลหายาก (หรือใกล้ สญ
ู พันธุ์ หรือ
ได้ รับความคุ้มครอง)
 ลักลอบทาการค้ าชิ้นส่วนสิ่งมีชีวิตที่มีการคุ้มครอง ทั้ง
ในประเทศ และส่งออก
 ลักลอบเคลื่อนย้ ายสัตว์สงวน (มีชีวิต) ข้ ามพรมแดน
 ศึกษาชีววิทยา และชีวประวัติ
http://switchboard.nrdc.org/  อธิบายความหลากชนิดในกรณีท่สี ณ
ั ฐานแยกไม่ได้
 การตัดสินใจขอบเขต ของความคุ้มครอง/
http://www.telegraph.co.uk
อนุรักษ์ กลุ่มของสิ่งมีชีวิต
 การประเมินผลกระทบกิจกรรมมนุษย์ต่อความ
หลากหลายทางพันธุกรรมของประชากรสิ่งมีชีวติ
4
ตัวอย่างประเด็นฯ ในสัตว์กลุม่ โลมา วาฬ เต่าทะเล และฉลาม
 อยู่ภายใต้ การคุ้มครองภายในประเทศ (พรบ. สงวนและคุ้มครองสัตว์
ป่ า, สัตว์สงวน และสัตว์ค้ ุมครอง) และระหว่างประเทศ (CITES,
The Convention on International Trade in
Endangered Species of Wild Fauna and Flora;
Appendix 1, 2)
 สามารถเคลื่อนที่ในระยะทางไกลไปในน่านนา้ ของหลายประเทศ ที่มี
กฎหมายคุ้มครองไม่เหมือนกัน
 มีการขายเนื้อในตลาด ในบางประเทศ http://www.telegraph.co.uk
 ชนิดไหน เป็ นชนิดที่ได้ รับความคุ้มครองหรือไม่
 ในกรณีท่มี ีการอนุญาตให้ จับ เนื้อที่พบมาจากสัตว์ก่ตี วั
(ตรงตามที่ขออนุญาตไว้ หรือไม่)
5
 จับจากแหล่งที่ถูกกฎหมายหรือไม่
6
http://switchboard.nrdc.org/

ประเด็น (ต่อ)
 มีการซื้อขายตัวที่มชี ีวิต และซาก
(หรือชิ้นส่วน)
 ชนิด และแหล่งของสินค้ าตรงตามที่
ระบุไว้ ในใบขออนุญาตหรือไม่
 มีอตั ลักษณ์ตรงตามที่ระบุไว้ หรือไม่

Thaidolphin.com

7www.profauna.org Jenny ovenden


ประเด็นฯ (ต่อ) ความผัน
แปรทาง
 สัตว์มกี ารเส้ นทางการเดินทางผ่านประเทศใดบ้ าง
พันธุกรรม
 ซากที่พบตายจากเครื่องมือประมง เป็ นสัตว์ของประเทศไหน
ระดับ
 สัตว์ท่ถี ูกจับในน่านนา้ หนึ่ง เป็ นกรรมสิทธิ์ของใคร ประชากร

การเดินทางของเต่ามะเฟื อง ที่เกิดบริเวณทะเล การเดินทางของเต่าตนุ ที่เกิดบริเวณเกาะคราม


8 บเบียน wwf.panda.org
แคริ จังหวัดชลบุรี www.pmbc.co.th
9
เครือ่ งมือในการใช้วดั ความหลากหลายทางพันธุกรรม

10
เครือ่ งหมายพันธุกรรม
สารพันธุกรรมทีบ่ ่งชี้
แยกความแตกต่าง
ระหว่าง
• ชนิด
• ประชากร ของสัตว์
ชนิดเดียวกัน
• อัตลักษณ์ตัวตน
ของสัตว์

DNA = Deoxyribonucleic acid


11
12
ดีเอ็นเอที่ไม่ ใช่ ยีน Non-
DNA vs. Gene coding region
of DNA

13
คุณสมบัตทิ พี่ งึ ประสงค์เครือ่ งหมายพันธุกรรม
ระดับที่ตอ้ งการบ่งบอก คุณสมบัติ ประเภทของสารพันธุกรรม
ความแตกต่าง (เน้นดีเอ็นเอ)
ชนิด - ดีเอ็นเอโปรไฟล์ ต่างกันระหว่าง ยีน (มีรหัสพันธุกรรมของ
ชนิด แต่ไม่ตา่ งกันภายในชนิด กรดอะมิโน หรือเกี่ยวข้อง
กับการสังเคราะห์โปรตีน)
ประชากร - มีความแปรปรวนภายในประชากร ดีเอ็นเอที่ไม่ใช่ยีน
- มีความหลากหลายพอที่จะบ่งชี ้
ความแตกต่างระหว่างกลุ่มได้ (ถ้ามี)
ระหว่างสมาชิกภายใน - มีความแปรปรวนสูง ดีเอ็นเอในนิวเคลียสที่ไม่ใช่
ประชากร - ดีเอ็นเอโปรไฟล์ตอ้ งไม่ซา้ กัน ยีน
14
ระหว่างสัตว์ตา่ งตัว
กรณ๊ศกึ ษา….
กรณีศกึ ษา 1: การบ่งชี้ชนิดสัตว์อนุรักษ์ จากซาก เนื้อ หรือชิ้นส่วน
อย่างอื่น
กรณีศกึ ษา 2: ศึกษาความต่างระหว่างประชากร; แหล่งของเนื้อวาฬ
ในญี่ปุ่น และเกาหลี

15
กรณีศกึ ษาที่ 1 การบ่งชีช้ นิดสัตว์อนุรกั ษ์ จากซาก เนือ้ หรือชิน้ ส่วน
อย่างอืน่ ; เนือ้ วาฬชนิดใหน
 เนื้อวาฬ พบขายอยู่บ้างในตลาดขายเนื้อของญี่ปุ่น เกาหลี และสหรัฐอเมริกา
 ในญี่ปุ่น เนื้อวาฬที่อนุญาตให้ ขายได้ โดยถูกกฎหมาย (‘scientific whaling’)
ได้ แก่ Antarctic minke whale (เริ่มในปี ค.ศ. 1988), western North
Pacific common minke whales, sei whales, Bryde’s whales,
sperm whales and Antarctic fin whales

www.weirdasianews.com
16 pbase.com
บริบทของการค้าเนือ้ วาฬ
 ในจีน เกาหลี อนุญาตให้ วางขายเนื้อของวาฬที่เป็ นติดอวนประมงมาโดยไม่ได้
ตั้งใจ (bycatch) ได้
 Iceland และ Norway ก็อนุญาตให้ ล่าได้ ในบริเวณมหาสมุทร North
Atlantic ภายใต้ เงื่อนไขพิเศษ
 แต่ วาฬทุกชนิด (13 ชนิด) ไม่สามารถส่งออกได้ ตามข้ อกาหนดของ CITES
 ยกเว้ นจะส่งออกไปยังประเทศที่ ขอสงวนสิทธิ์ท่จี ะทาตาม CITES (ญี่ปุ่นกับ
นอร์เวย์) แต่ข้อยกเว้ นไม่ได้ คลอบคลุมถึงประเทศอื่นๆ
 ประเด็น
 เนื้ อวาฬที่วางขายในตลาดต่างๆ เป็ นวาฬชนิดที่ได้รบ ั อนุ ญาตหรือไม่
 แหล่งของเนื้อวาฬมาจากไหน
 เนื้อวาฬที่วางขายมาจากสัตว์ก่ตี วั (ตรงตามที่ได้ รับอนุญาตหรือไม่)

17
ตรวจสอบชนิดด้วยยีนบนไมโตคอนเดรีย

 D-loop, CytB gene, และ COI


gene of mtDNA
 ใช้ เทคนิคการเพิ่มดีเอ็นเอในหลอดทดลอง
จึงไม่ต้องการเนื้อเยื่อมาก
 ตรวจสอบความหลากหลายด้ วยการหา
ลาดับนิวคลีโอไทด์

18
ปฏิกริ ยิ าลูกโซ่ (Polymerase Chain Reaction,
PCR) - เพิม่ ปริมาณดีเอ็นเอในหลอดทดลอง
วัตถุดิบ ทาให้ดีเอ็นเอสายคูแ่ ยก
ออกจากกัน ด้วย
ความรัอนสูง (95°C)
ไพร์เมอร์ (primers) ที่
ขนาบบาร์โคด ลดอุณหภูมิให้ไพร์เมอร์
สามารถเกาะกับดีเอ็นเอ
ดีเอ็นเอต้นแบบ ต้นแบบ (45-60°C)
เพิ่มปริมาณ
dNTPs: dATP, dTTP, dGTP, ดีเอ็นเอแบบ
dCTP ทวีคณู ในแต่
ละรอบ
เอนไซม์ดีเอ็น ปฏิกิรยิ า
เอ็นไซม์โพลีเมอเรส สังเคราะห์
19
เอโพลีเมอเรส ดีเอ็นเอสายใหม่ (70-75°C)
ข้อดีของเทคนิคทีใ่ ช้พซี อี าร์
 ใช้ปริมาณดีเอ็นเอเพียงเล็กน้อย และคุณภาพของดีเอ็นเอไม่จาเป็ นต้องสมบูรณ์
แบบ
 สามารถเพิ่มปริมาณดีเอ็นในหลากหลายบริเวณ ขึน้ กับวัตถุประสงค์การใช้งาน
 เก็บตัวอย่างโดยไม่รบกวนสัตว์มากนัก หรือไม่ทาให้สตั ว์ตาย

20
ลาดับนิวคลีโอไทด์

21
Minke whale Molecular genetic
method to monitor
whaling (Baker and
Palumbi, 1994)
Humpback whale
 Whale meat sold in Japanese
market (labeled as kujira)
 Use of PCR – avoid violation to
Fin whales CITES
 Dloop mtDNA sequences
 16 samples from markets
 Baseline sequences from known
individuals

22
North Pacific Minke

Antarctic Minke
 Mitochondrial
Sei whale cytochrome b, D-loop
 วิเคราะห์เนื้อวาฬในตลาดและ
ร้ านอาหาร ใน USA และ S.
Korea
Fin whale  ละเมิดข้ อตกลงใน CITES

Risso’s dolphin

23 Baker et al. 2010


กรณีศกึ ษา 2: ศึกษาความต่างระหว่างประชากร; แหล่งของเนือ้ วาฬ ใน
ญีป่ ุ่น และเกาหลี
 เนื้อวาฬ Minke whale ที่ O stock
ขายอยู่ในตลาดญี่ปุ่น และ
เกาหลี มาจากไหน
 มาจากประชากรที่ได้ รับ J stock
อนุญาตผ่านการวิจัย (O
stock) หรือ ประชากร
อนุรักษ์ (J stock)
 J stock จับได้ เหมือนกัน ใน
กรณี bycatch
 ความแตกต่างจะเป็ นสัดส่วน
ของรูปแบบสายนิวคลีโอไทด์
ที่แตกต่างกัน
24 Dalebout et al. 2002
ความสัมพันธ์ ทางพันธุกรรมระหว่าง
ประชากร
 ลาดับนิวคลีโอไทด์ของ D-loop บน
ไมโตคอนเดรียลดีเอ็นเอ
 รูปแบบลาดับนิคลีโอไทด์ท่แี ตกต่างกัน
= แฮพโพลไทป์
 แฮพโพลไทป์ ของวาฬในกลุ่มที่สนใจมี
4 แบบ
 ความแปรปรวนที่ตาแหน่ง 298

Baker et al. 2000


25
Baker et al. 2000
26
กรณ๊ศกึ ษา….
กรณีศกึ ษา 3: การศึกษาอัตลักษณ์ตัวสัตว์
กรณีศกึ ษา 4: นับจานวนตัวสัตว์ในประชากร
กรณีศกึ ษา 5: ความสัมพันธ์พ่อแม่ลก็

27
กรณีศกึ ษา 3: การศึกษาอัตลักษณ์ตวั สัตว์; วาฬทีข่ ายอยู่ในตลาดเนือ้
มาจากวาฬกีต่ วั
 เนื้อวาฬมีท้งั มาจากแหล่งที่ได้ รับอนุญาต O stock และ แหล่งอนุรักษ์ J
stock (ในบางกรณี)
 รู้ได้ อย่างไรว่า จานวนสัตว์ท่วี างขายตรงตามที่รายงานไว้ หรือไม่
 สามารถใช้ รูปแบบจีโนโทป์ หลายตาแหน่ง จากดีเอ็นเอของเนื้อวาฬ
 รูปแบบจีโนไทป์ ที่ไม่ซา้ กัน
 mark-recapture – ประเมินขนาดประชากร
 เครื่องหมายพันธุกรรมที่หลากสภาพสูง ที่สามารถเพิ่มปริมาณได้ ด้วยวิธพ
ี ีซี
อาร์

28
เครือ่ งหมายพันธุกรรมทีม่ คี วามหลากสภาพสูง
 ไมโครแซทเทลไลท์ – เป็ นดีเอ็นเอสายสั้นที่มีการซา้ ของลาดับเบสเป็ นช่วงๆ มี
ลักษณะข่มร่ วม (มีอลั ลิลปรากฏทั้งสองอัลลิล ในกรณีท่เี ป็ น heterozygote)
กระจายอยู่ท่วั จีโนม
 สามารถเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอ ด้ วยเทคนิคพีซีอาร์
ATGTTCACTTATACCCACAACACACACACACACAACACTGTGACTCAATGGT
TACAAGTGAATATGGGTGTTGTGTGTGTGTGTGTTGTGACACTGAGTTACCA

29
ไมโครแซทเทลไลท์ดีเอ็ นเอที่ 1 ตำแหน่ง
อัลลิล
• จีโนไทป์ ประกอบ Mother

ด้ วยอัลลิล 2 ชุด

• อัลลิลของสัตว์ตัว 161 169


หนึ่งๆ อาจเหมือน
Hatchling 1
หรือต่างกันก็ได้

• จีโนไทป์ หลายๆ 161 167


ตาแหน่งของสัตว์ตัว
เดียวกัน – โปรไฟล์ Hatchling 2

161 179
30
31
ต้องพิสูจน์….
 โปรไฟล์ของดีเอ็นเอ (จีโนไปท์หลายตาแหน่ง) ไม่ซา้ กับสัตว์ตัวอื่น
ในประชากร (probability of identity มีค่าต่า)
 ค่าที่ยอมรับได้ คือ 1 ใน จานวนสัตว์ท่อี ยู่ในประชากร
 ความเป็ นไปได้ ท่จี ะเกิดจีโนไทป์ ที่ตาแหน่งหนึ่งๆ ขึ้นอยู่กบ
ั ความถี่
ของอัลลิลที่อยู่ในประชากร (สัดส่วนของอัลลิลหนึ่งๆ ในประชากร
เช่น ในประชากรมี อัลลิล 161 อยู่ 3 จาก 6 อัลลิล (สัตว์ 3 ตัว)
ความถี่ของอัลลิล 161 จะเท่ากับ 0.5
 ความน่าจะเป็ นของจีโนไทป์ ที่หลายตาแหน่ง คือ ผลคูณของความ
น่าจะเป็ นของแต่ละตาแหน่ง
32
p=0.6 q=0.4

p=0.6

p2 pq

q=0.4
pq q2

33 p และ q คือความถี่ของอัลลิล
Luikart and Allendorf 2007
สัตว์ทมี่ จี โี นไทป์ 11/14, 12/18, 10/10
Pop allele freq Genotypic freq
Loci Allele ID No. allele Total no. Allele Formula Freq Combined
obs alleles freq prob.

#1 11 55 100 0.55 2pq 0.418 0.418

14 38 0.38

#2 12 5 100 0.05 2pq 0.040 0.017

18 40 0.40

#3 10 13 100 0.13 p2 0.017 0.0028

34 Profile freq = 0.0028 (1/3539


นับจานวน จีโนไทป์ ที่แตกต่างกันในกลุ่ม (มีแนวคิดว่า 1 จีโนไทป์ = สัตว์ 1 ตัว)
Luikart
35
et al., 2010
หลักการ Capture-Mark-Recapture
 1st trail = M  2nd trail = C, R

C R

N M
 หลักการคือ หาสัดส่ วนของสัตว์ที่มีเครื่ องหมาย เมื่อจับขึ้นมาครั้งที่ 2
36
วาฬกีต่ วั ใน ตลาดเกาหลี + ญีป่ ุ่น ปี ค.ศ. 1997-
1999 (Dalebout et al. 2002)
 ใช้ ไมโครแซทเทลไลท์ดีเอ็นเอ 5 ตาแหน่ง
 ตลาดญี่ปุ่น
 วิเคราะห์เนื้อจาก 99 ตัวอย่าง
 ได้ จีโนไทป์ หลายตาแหน่งที่ไม่ซา้ กัน 86 จีโนไทป์
 O-type (ใช้ mtDNA ยืนยัน): 57 ตัว; J-type: 29 ตัว
 Probability of Identify = 1/14,500
 ตลาดเกาหลี
 วิเคราะห์เนื้อจาก 42 ตัวอย่าง
 ได้ จีโนไทป์ หลายตาแหน่งที่ไม่ซา้ กัน 34 จีโนไทป์
 O-type: 2 ตัว; J-type: 32 ตัว
 Probability of Identify = 1/3,500
37
ญีป่ ุ่ น จานวนตัวของวาฬทีอ่ นุมานจากจีโน
ไทป์ของเนือ้ วาฬ
O stock

J stock

เกาหลี

38
วาฬกีต่ วั ในตลาดเกาหลี ปี ค.ศ. 1999-2003
(Baker et al. 2007)
 ใช้แนวคิด capture-recapture
 จากเนื้ อวาฬ 289 ชิ้ น พบ ดีเอ็นเอโพรไฟล์ทีไ่ ม่ซ้ ากัน 205 แบบ

39
40
กรณีศกึ ษา 4 การประเมินจานวนสัตว์ในธรรมชาติ ด้วย DNA profiles
North Atlantic Right Whale (Eubalaena
glacialis)
 ประเมินจานวนสัตว์
ในประชากร
 ใช้ การมองเห็น
 ตาหนิ
 DNA analysis
 Fecal samples

41 www.ronnestam.com/.../10/whale_diver_wow1.jpg
 Free-floating feces
 Microsatellite genotyping
 mtDNA control region
 Sex-specific markers
 ต้ องพิสจู น์ให้ ได้ ว่า จีโนไทป์ ที่หลาย
ตาแหน่งไม่ซา้ กัน

42Gillett et al. 2010


Right whale DNA profiling (cont.)
 ปกติใช้ ไมโครแซทฯ 35 ตาแหน่ง แต่ ตัวอย่างมูล ให้ DNA ปริมาณน้ อย
มากๆ จึงใช้ แค่ 5 ตาแหน่งที่มคี วามหลากหลายทางพันธุกรรมสูงสุด
(จานวนอัลลิลต่อตาแหน่งสูงสุด)

 ประชากรที่ศึกษามีจานวนสัตว์ไม่เกิน 350-400 ตัว ดังนั้นค่าความน่าจะเป็ น


ที่สตั ว์ 2 ตัวจะมี genotype ซา้ กันไม่ควรมากกว่า 1/1000

 118 fecal samples – 61 genotypes โดยที่ 24 genotypes ไม่เห็นตัวสัตว์ และ


12 genotypes น่าจะเป็ นสัตว์ตัวใหม่ท่ไี ม่เคยอยู่ในฐานข้ อมูลมาก่อน

43
กรณีศกึ ษา 5: ชีววิทยา และชีวประวัต ิ
จานวนพ่อเต่าทีใ่ ห้ลูกเต่าตนุ (Chelonia mydas) ทีเ่ กาะคราม
 เต่าทะเลมักกลับมาวางไข่ท่ห
ี าดเดิม
 ลูกใน 1 รัง อาจมีพ่อหลายตัว
(multiple parternity, MP)

44
OR2
Mother

162 bp

166 bp
Parentage
Offspring 1 Assignment
with
microsatellite
166 174**
DNA alleles
Offspring 2
164**

45 162
ระดับ MP ของแม่เต่าทีเ่ กาะคราม
 30.76% (4/13 clutches), 64.29% (9/14 clutches) for
clutches collected in 2004 and 2006
 During a nest season, single paternity clutches and MP
clutches with two fathers were sired by the same male.
 MP clutches usually have one or two fathers contribute to the
majority of the offspring.

46
การประยุกต์ใช้งานอืน่ ๆ….
งานวิจัย สัตว์หายากของประเทศไทย
การใช้ งาน DNA barcodes, environmental DNA

47
วานวิจยั ของม. บูรพาร่วมกับกรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ ง
 สร้ างฐานข้ อมูลดีเอ็นเอโพรไฟล์ เพื่อบ่งชี้ชนิดของโลมา และวาฬ โดยใช้ ยีน
cytochrom b, และ D-loop region
 พัฒนาการตรวจสอบอัตลักษณ์ของโลมาอิระวิดใี นที่กกั ขัง โดยใช้ ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ
 ตรวจสอบความแตกต่างระหว่างประชากรพะยูนในประเทศไทย

Irrawaddy dolphin Rough-toothed dolphin Spinner dolphin

48
www.wwf.org.ph www-bioc.rice.edu/ www.nmfs.noaa.gov/
Bottlenose

Striped

Spinner

Family
Humpback Delphinidae

Rough-
toothed
Irrawaddy

Risso’s

Family
Phocoenidae
Finless

49
Bryde’s whale
เครือ่ งมือทีใ่ ช้แยกชนิด - บาร์โคดดีเอ็นเอ (DNA
Barcode)
 บาร์โคดดีเอ็นเอ คือลาดับนิวคลีโอไทด์ สายสั้นๆ ที่สามารถบ่งชี้ความแตกต่าง
ระหว่างชนิดของสิ่งมีชีวิต คล้ ายกับบาร์โคดของสินค้ า

Metopograpsus frontalis, 560 bp, 16SrDNA


ปูแสมก้ามม่วง

ปูใบ้หิน Leptodius exaratus, 547bp, 16SrDNA

์ นึ่งๆ (มีความแปรปรวน
 บาร์โคดดีเอ็นเอ เป็ นสมบัติเฉพาะตัวของชนิดพันธุห
ภายในชนิดได้ เล็กน้ อย)
50
การเทียบมาตรฐานบาร์โคด
 ต้ องมีการเทียบมาตรฐานของบาร์โคด และสร้ างฐานข้ อมูลระดับสากล เพื่อให้
สามารถเปรียบเทียบสิ่งมีชีวิตทั่วโลก ด้ วยบาร์โคดดีเอ็นเอชิ้นเดียวกัน
 บาร์โคดมาตรฐานที่ผลักดันโดย Consortium for the Barcoding of Life
(CBOL, www.barcodeoflife.org)
 สัตว์: ส่วนของยีน Cytochrome C oxidase I (COI หรือ COX I) ของไมโท
คอนเดรีย (ขนาด 648 คู่เบส)
 พืช: ส่วนของยีนในคลอโรพลาส คือ ยีน large subunit of ribulose-
bisphosphate carboxylase (rbcL) และ ชิ้นส่วนดีเอ็นเอที่อยู่ระหว่าง ยีน
trnH tRNA และยีน photosystem II protein D1 (psbA) และ
internal transcribed sequence (ITS) ของยีนในนิวเคลียส

51
เปอร์ เซ็นต์ของระดับความเหมือนของลาดับนิวคลีโอไทด์

http://www.malariaworld.org

http://support.mosquitomagnet.com
/

52
www.barcodeoflife.org
53
ลักษณะการใช้ประโยชน์ของบาร์โคดดีเอ็นเอ
 แยกชนิดสิ่ งมีชีวิต ที่มีลกั ษณะภายนอก คล้ายคลึงกัน
ใช้บางส่ วนของ 16SrDNA ขนาด 560 คู่เบส ในการแยกชนิด ปูแสมก้ามม่วง
Metopograpsus frontalis และ ปูแสมก้ามแดง M. oceanicus (บาร์โคดของ 2 ชนิดมี
ความแตกต่าง ประมาณ 6%)

ปูแสมก้ามม่วง Metopograpsus frontalis

Metopograpsus oceanicus
ปูแสมก้ามแดง
ภาพจาก ผศ.ดร. นงนุช ตั้งเกริ กโอฬาร (ม. บูรพา)
54
Radulovici et al. 2010
55
การใช้ประโยชน์ฯ
 ยืนยันชนิดพันธุ์ที่มีความแปรปรวนของลักษณะภายนอก
ใช้บางส่ วนของ 16SrDNA ขนาด 547 คู่เบส ในการยืนยันชนิด ปูใบ้หิน Leptodius exaratus

ภาพจาก ผศ.ดร. นงนุช ตั้งเกริ กโอฬาร (ม. บูรพา)


56
การใช้ประโยชน์ฯ
ใช้บางส่ วนของยีน msh1 ขนาด 730 คู่เบสในการยืนยันชนิดของปะการังอ่อน Sinularia
verseveldti

JUA-NOV-52 11

JUA-NOV-52 12

ภาพและข้
57 อมูลจาก ดร. ทรรศิน ปณิ ธานะรักษ์
การใช้ประโยชน์
ใช้บางส่ วนของ 16SrDNA ขนาด 783 คู่เบส ในการยืนยันสกุล ฟองน้ าทะเลว่าน่าจะอยูใ่ นสกุล
Xestospongia sp. (บาร์ โคดของ 2 ตัวอย่างต่างกัน ประมาณ 0.8%)

Xestospongia/ Petrosia sp.?, Xesto_Petrosia_Chan_D03

Xestospongia testudinaria, Xestospongia_Jorake_A02

58
ภาพจากดร. สุ เมตต์ ปุจฉาการ และข้อมูลจาก ผศ. ดร. ชูตา บุญภักดี
การใช้ประโยชน์ฯ
 แยกชนิดโดยใช้ ช้ ินส่วน (เช่นเนื้อ หรือซาก)
 แยกชนิดโดยใช้ ช่วงชีวิตต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตได้

 คาดหวังที่จะพัฒนาเครื่องมือในการบ่งชี้ชนิดในภาคสนาม

59
www.barcodeoflife.org
Environmental DNA (eDNA)
 การใช้ ดีเอ็นเอในการตรวจติดตามร่ องรอยของสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้ อม ในระบบ
เตือนภัย สาหรับสิ่งมีชีวิตที่ไมพึงประสงค์
 ในการตรวจสอบ การปรากฏของดีเอ็นเอของ Asian carps ในนา้ ของ Great
Lakes ประเทศสหรัฐอเมริกา
 ดีเอ็นเอของปลาที่ปรากฏอยู่ในนา้ เพียงเล็กน้ อย ก็สามารถเป็ นวัตถุดิบสาหรับการ
เพิ่มปริมาณดีเอ็นเอ (PCR ) ได้
 ยีน COI, ND2

http://www.nature.org/
60
61
Grass carp

Silver carp

Bighead carp

http://brainerddispatch.com

62
63
(Bighead carp)

64
มลพิษทางทะเลและผลกระทบ

อ.ภัทราวุธ ไทยพิชิตบูรพา
ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
What is pollution ???

มลพิษ หรือมลภาวะ หมายถึง


......................................................................รวมทั้งกาก ตะกอน
หรือสิ่งตกค้างจากสิ่งเหล่านั้นที่ถูกปล่อยทิ้งจากแหล่งกาเนิดมลพิษ
หรือ..............................................ซึ่งก่อให้เกิดหรืออาจก่อให้เกิด
ผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือภาวะที่เป็นพิษภัยอันตรายต่อ
สุขภาพอนามัยของประชาชนได้
(พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๓๕)
Marine pollution
• "Introduction of man, directly or indirectly, of
substances or energy into the marine environment
(including estuaries) resulting in such deleterious
effects as harm to living resources, hazard to
human health, hindrance to marine activities
including fishing, impairment of quality for use of
sea-water, and reduction of amenities.“ (Given by
GESAMP)
Wastes reach the marine environment
from a large variety of sources,.
Sources of Marine Pollution
- แหล่งที่มาจากแผ่นดิน (Land-based sources)
- แหล่งที่มาจากทะเล (Sea based sources)
1. Land-based source
1.1 นำ
้ ทิง้ จำกบ้ ำนเรื อน/นำ้ โสโครก (Wastewater or Sewage)
• สารอินทรีย์ Organic matter
• แบคทีเรีย Coliform bacteria
• ขยะ Debris
• สารเคมี Chemicals
1.1 Wastewater (นำ้ ทิง้ จำกบ้ ำนเรื อน)
– Sanitary wastewater
1.1 Wastewater
– Domestic wastewater
1.1 Wastewater
– Municipal wastewater
1.1 Wastewater
– Combine wastewater
1. Land-based source
1.2 น้าทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม (Industrial sources)
• สารอินทรีย์ Organic matter
• สารพิษ Toxic Waste Contamination
- โลหะหนักHeavy metal
• ความร้อน Heat
1.2 Industrial sources
• Organic matter
1.2 Industrial sources
• Toxic Waste Contamination
- Heavy metal
มลพิษโลหะหนัก (Heavy metal)

• โลหะหนัก (Heavy metal) หมายถึง โลหะ (metal)


ที่มีความถ่วงจาเพาะมากกว่าน้า 5 เท่าขึ้นไป เช่น ทองแดง
(Cu) ตะกั่ว(Pb)ปรอท(Hg)แคดเมียม(Cd) โครเมีย (Cr)
นิกเกิล(Ni)และ สังกะสี(Zn)
มลพิษโลหะหนัก (Heavy metal)
• โลหะหนัก ที่ปนเปื้อนบริเวณชายฝั่งส่วน
ใหญ่จะมาจากกิจกรรมของมนุษย์ เช่น การถลุงแร่
การทาเหมืองแร่ การชุบโลหะ การเผาไหม้ถ่านหิน
การเผาไหม้น้ามันเชื้อเพลิง การผลิตสี อุปกรณ์
ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิคส์ และน้าทิ้งจาก
อุตสาหกรรมต่างๆ
Marine pollution: Mercury and Minamata disease

• Many industries use mercury but it is extremely


toxic.
• A chemical plant released large quantities of
mercury into Minamata Bay, Japan
• Residents who ate highly contaminated fish
suffered neurological disease and birth disorders
(Minamata disease)
23
1.2 Industrial sources
• Heat
โรงไฟฟ้ ำนิวเคลียร์ ฟุกชุ ิมะไดอิชิ
บริ ษทั โตเกียว อิเล็กทริ ก พาวเวอร์ หรื อ เทปโก้ ทาให้เกิดน้ าปนเปื้ อนกัมมันตรังสี มากกว่า
1.4 ล้านตันในความพยายามที่จะหล่อเย็นแท่งเชื้อเพลิงที่หลอมละลายหลายร้อยตันในเตา
ปฏิกรณ์นิวเคลียร์หน่วยที่ 1, 2 และ 3 ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ฟุกชุ ิมะ ไดอิจิ นอกเหนือจาก
กากนิวเคลียร์ที่เป็ นของเหลวที่รั่วไหลในช่วงสัปดาห์แรกของอุบตั ิภยั และการรั่วไหลของรังสี
ในแต่ละวันมาจนถึงปั จจุบนั การปนเปื้ อนรังสี ยงั แพร่ กระจายทัว่ พื้นดิน โดยเฉพาะผืนป่ าและ
เทือกเขาในเขตฟุกชุ ิมะ และยังคงปนเปื้ อนลงสู่ มหาสมุทรแปซิ ฟิกต่อไปอีกอย่างน้อย 300 ปี
The Marine Effects of Fukushima Radiation
1.3 การเกษตรกรรม (Agricultural sources)
• สารอินทรีย์ (Organic matter & nutrient)
• ปุ๋ยเคมี (Fertilizers)
• สารกาจัดศัตรูพืช (Pesticides)
ผลกระทบต่อทะเล
Eutrophication process
THE HYPOXIC ZONE
1.3 Agricultural sources
• Pesticides
เป็นสารที่ใช้เพื่อป้องกัน ทาลาย ไล่หรือ ลดปัญหาของศัตรูพืชและสัตว์ก่อ
ความราคาญสารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์ อาจเป็นสารเคมี หรือ สารชีวภาพ (เช่น ไวรัส
หรือ แบคทีเรีย) ที่ใช้ทาลายหรือยับยั้งการเจริญเติบโตแพร่พันธุ์ ของสัตว์ (แมลง หนู
หอย) วัชพืช หรือ จุลชีพ ที่ส่งผลกระทบกับพืชหลักที่เพาะปลูก ให้คุณภาพหรื
อปริมาณต่าลง
ผลกระทบต่อระบบนิ เวศทางน้ า
2. Sea-based sources
2.1 มลพิษจากน้ามัน Oil pollution
มลพิษจากน้ามัน (Oil Pollution) สภาวะที่น้ามันหรือผลิตภัณฑ์
เข้าไปปนเปื้อน (contaminated) ในสิ่งแวดล้อมในรูปของคราบน้ามัน
ในแหล่งน้า ทาให้คุณสมบัติและคุณภาพของสิ่งแวดล้อมเหล่านั้น
เปลี่ยนแปลงไปในทางเสื่อมโทรม อาจเกิดจากอุบัติเหตุทางเรือ
Fate of oil spilled at sea showing the main weathering processes
จุดเกิดเหตุน้ามันรั่วไหลในน่านน้าไทย ระหว่างปีพ.ศ. 2516 – 2553

เขตที่ 1 มีความเสี่ยงสูงมาก
เขตที่ 2 มีความเสี่ยงสูง
เขตที่ 3 มีความเสี่ยงระดับปานกลาง
เขตที่ 4 มีความเสี่ยงต่า
ทรัพยากรทางทะเลในพื้นที่การรั่วไหลของน้ามันดิบ

41
2.2 การขุดเจาะก๊าซธรรมชาติ
2.3 การขุดลอกร่องน้า (Dredging)
และการทาเหมืองแร่ในทะเล (Offshore Mining)
Dredging
แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษทางทะเล

• การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้าทะเล
• กาหนดมาตรฐานเพื่อควบคุมคุณภาพน้าทิ้งจากแหล่งกาเนิดมลพิษ
ต่างๆ
• จัดทาแผนปฏิบัติการฟื้นฟูคุณภาพแหล่งน้าและน้าทะเลชายฝั่ง
• พัฒนาเทคโนโลยีในการลดและขจัดมลพิษทางทะเล
• ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ และจิตสานึกด้านอนุรักษ์ แก่ประชาชน
• แผนปฏิบัติการฉุกเฉินเพื่อป้องกันและแก้ไขมลพิษทางทะเล

You might also like