Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 2

กรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13

คณะรัฐมนตรี รับทราบตามที่สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เสนอกรอบ


แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570) (แผนพัฒนาฯ) สรุ ป
สาระสำคัญได้ ดังนี้ 1. กรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 การวางกรอบทิศทาง
การพัฒนาประเทศไทย (ไทย) ในระยะของแผนพัฒนาฯ มีจุดประสงค์ที่จะพลิกโฉมประเทศให้เท่าทันและ
สอดคล้องกับพลวัตและบริ บทของโลกที่เปลี่ยนแปลงไป โดยมีเป้ าหมายหลักเพื่อนำไทยไปสู่ ประเทศที่มี ?
เศรษฐกิจสร้างคุณค่า สังคมเดินหน้าอย่างยัง่ ยืน? โดยมีองค์ประกอบที่ตอ้ งดำเนินการ 4 ด้าน สรุ ปได้ ดังนี้
องค์ประกอบ
เศรษฐกิจมูลค่าสูงที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มจากการพัฒนา ต่อยอด และใช้ประโยชน์จาก
องค์ความรู ้เทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยการปรับทิศทางของภาคการผลิตเดิมที่มีความสำคัญและส่ งเสริ ม
ภาคการผลิตที่ไทยมีศกั ยภาพสอดรับกับทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก
สังคมแห่งโอกาสและความเสมอภาค เพื่อให้ทุกกลุ่มคนในประเทศมีโอกาสเลื่อนสถานะทางเศรษฐกิจและ
สังคมอย่างเต็มศักยภาพ และประเทศมีความเหลื่อมล้ำลดลงในทุกมิติ
วิถีชีวิตที่ยงั่ ยืน เพื่อส่ งเสริ มรู ปแบบการดำเนินชีวิตและกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เอื้อให้เกิดความยัง่ ยืนของ
ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศ และสภาพภูมิอากาศ รวมถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อมุ ่งจัดการกับ
ปั ญหาที่เป็ นภัยคุกคามสำคัญทั้งในไทยและในระดับโลก เช่น มลพิษทางอากาศ และก๊าซเรื อนกระจก
ปั จจัยสนับสนุนการพลิกโฉมประเทศ เพื่อพัฒนาปั จจัยสนับสนุนที่มีความสำคัญต่อการเปลี่ยนผ่านประเทศ
ไปสู่ การเป็ น ?เศรษฐกิจสร้างคุณค่า สังคมเดินหน้าอย่างยัง่ ยืน?
หมุดหมาย
1. ไทยเป็ นประเทศชั้นนำด้านสิ นค้าเกษตรและเกษตรแปรรู ปมูลค่าสู ง
2. ไทยเป็ นจุดหมายของการท่องเที่ยวที่เน้นคุณค่าและความยัง่ ยืน
3. ไทยเป็ นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้ าของอาเซี ยน
4. ไทยเป็ นศูนย์กลางทางการแพทย์และสุ ขภาพมูลค่าสู ง
5. ไทยเป็ นประตูการค้าการลงทุนและจุดยุทธศาสตร์ทาง โลจิสติกส์ที่ส ำคัญของภูมิภาค
6. ไทยเป็ นฐานการผลิตอิเล็กทรอนิกส์อจั ฉริ ยะและบริ การดิจิทลั ของอาเซี ยน
7. ไทยมีผปู ้ ระกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ที่เข้มแข็ง มีศกั ยภาพสู ง และ
สามารถแข่งขันได้
8. ไทยมีพ้ืนที่และเมืองหลักของภูมิภาคที่มีความเจริ ญทางเศรษฐกิจ ทันสมัย และน่าอยู่
9. ไทยมีความยากจนข้ามรุ่ นลดลงและคนไทยทุกคนมีความคุม้ ครองทางสังคมที่เพียงพอ เหมาะสม
10. ไทยมีเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่ำ
11. ไทยสามารถลดความเสี่ ยงและผลกระทบจากภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
12. ไทยมีก ำลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่องตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต
13. ไทยมีภาครัฐที่มีสมรรถนะสูง
2. การระดมความเห็นต่อกรอบแผนพัฒนาฯ สศช. อยูร่ ะหว่างจัดรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนทุก
ภาคส่ วนในช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม 2564 ผ่าน 3 ช่องทางหลัก ได้แก่ (1) การประชุมระดม
ความเห็นระดับกลุ่มจังหวัดทั้ง 18 กลุ่มจังหวัด (2) การประชุมระดมความเห็นกลุ่มเฉพาะ เช่น กลุ่ม
หน่วยงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ กลุ่มภาคเอกชน และกลุ่มเยาวชน และ (3) การระดมความเห็นผ่านสื่ อ
ออนไลน์และสื่ อสาธารณะ
3. การดำเนินงานในระยะต่อไป สศช. จะนำกรอบแผนพัฒนาฯ ที่ผา่ นการระดมความคิดเห็นไปดำเนิน
การยกร่ างแผนพัฒนาฯ ตามกระบวนการที่ระบุไว้ในพระราชบัญญัติสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ง
ชาติ พ.ศ. 2561 ให้แล้วเสร็ จตามขั้นตอนต่อไป
ที่มา: ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (นายกรัฐมนตรี ) วันที่ 7 เมษายน 2564

You might also like