ไตรภูมิพระร่วงแผนที่ 2 การพิจารณาเนื้อหาและคำศัพท์ PDF 3

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 1

Search

ไตร:;พระ=วงแผน3
Download now
2 การ
BจารณาเEอหาและGHพI

Uploaded by sisaengtham.ac.th

 54% (13) · 56K views · 21 pages


Document Information 

Original Title
ไตร$%พระ(วงแผน.
Download2 การ1จารณาเ5อหาและ9:พ;
now 
Copyright
 
© Attribution Non-Commercial (BY-NC)

Available Formats
DOCX, PDF, TXT or read online from Scribd
แผนการจัดการเรียนรู ้ท ่ี    การพิจารณาเนื ้อหาและคาศพท
ั  ์
Share this document เวลา 1-2 ชัวโมง
  
1.  สาระสาคัญ/ความค    ิ ดรวบยอด 
 ไตรภู มิ พ ระร่ ว ง เป็ น วรรณคดี ท ี มี คุ ณ ค่ า ทัง ด้ า นเนื อ หา ด้า นวรรณศิ ล ป ์ และด้ า นสังคม
การที จะเข ้าใจเนื อหาของเร อื งได้นัน เราจาเป็นที จ ะต้อ งร ู้และเข้าใจความหมายของคา ศัพท์ต่างๆ
ที ปรากฏอยู ในเรื 
 ่ อง จึงสามารถถอดความบทประพันธ์และเข้าใจเนื อหาของเรื องได้อย่างถูกต้องชัดเจน  
Facebook Twitter
2.  ตัวชี  วด/จุ
ั ดประสงค์การเรียนรู  ้ 
ตัวชี วดั  


2.1

ท 5.1 ม.4-6/1  วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื องต้น 


2.2   จุดประสงค์การเรียนรู ้   

Email
1)  วิ เ คราะห์
เ นื
  อหาของเรื
 อง ไตรภูมพิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมิ ได้ 
2)  อธิบายความหมายของคาศัพท์ต่างๆ ที ปรากฏในเรื อง ไตรภูมพ ิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมิ ได้ 
3)  ถอดความคาประพันธ์เรื อง ไตรภูมพ ิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมิ ได้ 
Did you find this document useful?
3.  สาระการเรียนรู  ้ 
3.1   สาระการเรียนรู ้ แกนกลาง 
  หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื องต้น 

- การพิจารณาเนื อหาและกลวิธี ในวรรณคดีและวรรณกรรม  
3.2   สาระการเรียนรู ้ ท้องถ  ิน  
- เนื อหาและคาศัพท์จากเรื อง ไตรภูมพิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมิ 
Is this content inappropriate? Report this Document
4.  สมรรถนะสาคัญของผู  ้เรียน 
4.1  ความสามารถในการสือ สาร  
4.2   ความสามารถในการค  ิด 
1)  ทักษะการตีความ  2) ทักษะการวิเคราะห์ 
3)  ทักษะการสังเคราะห์  4) ทักษะการนาความรู ไปใช้
้  
4.3  ความสามารถในการใช้ทักษะชี ว ิ ต 

5.  คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
1.  มีวินยั   2. ใฝ ่เรียนรู ้ 
3.  มุ ่งมันในการท
 างาน  4. รักความเป็นไทย 

Improve Your Experience 


Rating will help us to suggest even better
related documents to all of our readers!

 Useful

 Not useful

6.    ิกจกรรมการเรียนรู  ้ 
     ิวธีสอนแบบกระบวนการกลุ ่มสัมพนธ์
ั  

ขัน ที  1 นาเข้าสู ่บทเรียน 


สื อการเรียนรู ้ : คลิปแอนิเมชัน  
ครู ให้นกั เรียนดูคลิปแอนิเมชันก
 าเนิดมนุษย์ ตามเนื อหาตอนมนุสสภูม ิ
แล้วให้นกั เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี ยวกับคลิปที  ได้ด ู

ขัน ที  2 จดการเรี


ั ยนรู  ้ 
สื อ/แหล่งการเรียนรู ้ : 1. หนังสือเรียน วรรณคดีฯ ม.6 2. หนังสือค้นคว้าเพิ มเติม  คาถามกระตุ ้นความค  ิด 
3. แผนภูมติ ัวอย่างบทประพันธ์ 4. ใบงานที  2.1  1.  การแปลความหมายของคาศัพท์ต ่างๆ
5. ห้องสมุด 6. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ 
ที ปรากฏในบทประพันธ์ หากไม ่มีพจนานุกรม
1.   ครูติดแผนภูมติ วั อย่างบทประพันธ์จากเรื อง ไตรภูมพิ ระร่วง ตอน เราสามารถสัน   ินษฐานความหมายของคา 
มนุสสภูม  ิ ให้นกั เรียนดูบนกระดาน ดังกล ่าวจากเนือความโดยรวมของบท-
แล้วครู ให้นกั เรียนช่วยกันถอดความบทประพันธ์ดงั กล่าว    ิ บายเหตุผล
ประพันธ์นัน ได้หรือไม ่ อธ
จากนัน ครูอธิบายเพิ มเติมเพื อให้นกั เรียน (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน
มีความรูค้ วามเข้าใจมากยิ งขึ น  โดยให้อยู ่ในดุลยพินิจของครูผสู้ อน) 
2.  ครู ให้นก ั เรียนแต่ละกลุ ่มร่วมกันอ่านเรื อง ไตรภูมพิ ระร่วง ตอน 2.  คาศัพท์ ใดบ้างในเรื อง ไตรภู ม  ิพระร ่วง
มนุสสภูม ิ จากหนังสือเรียน หนังสือค้นคว้าเพิ มเติม ห้องสมุด ที มีการเปลี ยนไปใช้คา อื นแทนในปัจจุ บนั แล
และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ะคาที ใช้แทน คือคาว ่าอะไร
3.  ครูสมุ ่ นักเรียนแต่ละกลุ ่มออกมาอธิบายความบทประพันธ์  (มีหลายคา เช่น - ไส้ดือ ป  จั จุบนั ใช้คา ว่า สะดือ 
- ทุกวาร ป  จั จุบนั ใช้คาว่า ทุกวัน
พร้อมบอกความหมายของคาศัพท์ ในตอนที กาหนด
- คารบ ป  จั จุบนั ใช้คา ว่า ครบ เป็นต้น
 โดยครูและเพื อนกลุ ่มอื นร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง  หรือนักเรียนอาจตอบเป็นอย่างอืน
4.  นักเรียนแต่ละกลุ ่มช่วยกันทา ใบงานท  2.1 ี เรื อง โดยให้อยู ่ในดุลยพินิจของครูผสู้ อน) 
เนือหาและคาศัพท์ ตอนมนุสสภู ม  ิ 
เสร็จแล้วช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง
5.  นักเรียนตอบคาถามกระตุน ้ ความคิด ข้อ 1-2

ขัน ที  3 สรุปและนาหลักการไปประยุกต์ ใช้ 


สื อ/แหล่งการเรียนรู ้ : —  คาถามกระตุ ้นความค  ิด 
1.   ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื อหาและคาศัพท์จากเรื อง ไตรภูม ิ   เรื อง ไตรภู ม  ิพระร ่วง ตอนมนุสสภู ม  ิ 
พระร่วง ตอนมนุสสภูมิ  มีเนือหาสาคัญเกี ยวกบอะไรั
และนาความรูท้  ได้
ี   ไปประยุกต์ ใช้ ในการศึกษาความรูเ้ รื อง (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน
 ไตรภูมพิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมิ ในด้านต่างๆ ต่อไป  โดยให้อยู ่ในดุลยพินิจของครูผสู้ อน) 
2.  นักเรียนตอบคาถามกระตุน ้ ความคิด

ขัน ที  4 วัดและประเม   ินผล


สื อการเรียนรู ้ : ใบงานที  2.1  คาถามกระตุ ้นความค  ิด 
1.  นักเรียนแต่ละกลุ ่มออกมานาเสนอผลงานในใบงานที  2.1 1.  นักเรียนประทับใจเนือหาตอนใดในเรื อ ง
 โดยครูและเพื อนกลุ ่มอื นช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง  ไตรภู ม  ิพระร ่วง ตอนมนุสสภู ม  ิ มากที สุด
และให้ข้อเสนอแนะ     ิ บายเหตุผล
อธ
2.  นักเรียนตอบคาถามกระตุน ้ ความคิด ข้อ 1-2  (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน
โดยให้อยู ่ในดุลยพินิจของครูผสู้ อน) 
2.  เรื อง ไตรภู ม  ิพระร ่วง ตอนมนุสสภู ม  ิ 
มีคณ ุ ค ่าในด้านเนือหาอย ่างไรบ้าง
(พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน
โดยให้อยู ่ในดุลยพินิจของครูผสู้ อน) 

7. การวัดและประเม   ินผล 
   ิวธีการ  เครื องมือ  เกณฑ์ 
ตรวจใบงานที  2.1   ใบงานที  2.1  ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 
ประเมินการนาเสนอผลงาน  แบบประเมินการนาเสนอผลงาน  ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ ่ม  แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ ่ม  ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 
สังเกตความมีวนิ ยั ใฝ ่เรียนรู้ มุ ่งมัน ในการทางาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์  ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 
และรักความเป็นไทย 

8.  สื อ/แหล ่งการเรียนรู  ้ 
8.1  สือ การเรียนรู ้  
1)  หนังสือเรียน ภาษาไทย : วรรณคดีและวรรณกรรม ม.6 
2) หนังสือค้นคว้าเพิ มเติม 
(1) ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณ ฑ  ิ ตยสถาน พ.ศ. 2542. 
กรุงเทพฯ : นานมีบ  ุ๊คส์ 
พับลิเคชันส์  . 
(2) สมพงษ์ เชาว์แหลม. (มปป.).  ไตรภู ม  ิ กถาฉบับค ่อยยังชัว. กรุงเทพฯ : รุ ่งเรืองสาส์น. 
(3) เสถียรโกเศศ. (2542). เล ่าเรื องในไตรภู ม  ิ . กรุงเทพฯ : 
มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมมาธิราช. 
3)  คลิปแอนิเมชันก  าเนิดมนุษย์ ตามเนื อหาตอนมน ุสสภูมิ 
4)  แผนภูมติ ัวอย่างบทประพันธ์ 
5)  ใบงานที  2.1 เรื อง เนื อหาและคาศัพท์ ตอนมนุสสภูมิ 
8.2   แหล ่งการเรียนรู ้   1)  ห้องสมุด 
2)  แหล่งข้อมูลสารสนเทศ

  - http://th.wikipedia.org/wiki/ ไตรภูมพิ ระร่วง  - 
http://www.youtube.com/watch?v=ao0d3iv1i54

เอกสารประกอบการสอน

แผนภู ม  ิตัวอย ่างบทประพันธ์จากเรื อง ไตรภู ม  ิ พระร ่วง ตอนมนุสสภู ม  ิ  


ผิรปู อันจะเกิดเป็นชายก็ดเี ป็นหญิงก็ดี 
เกิดมีอาทิแต่เกิดเป็นกลละนัน โดยใหญ่แต่ละวันแลน้อย ครัง ถึง 7
วันเป็นดังน  าล้างเนื อนัน เรียกว่าอัมพุทะ อัมพุทะนัน โดยใหญ่ ไปทุกวารไสร้ ครัน ได้ถึง 7 วาร
ข้นเป็นดังตะกั
 วอั  นเชื อมอยู ่ ในหม้อเรียกว่าเปสิ เปสินนั ค่อยใหญ่ไปทุกวัน ครัง ถึง 7
วันแข็งเป็นก้อนดังไข่   ไก่ เรยกว่ี าฆนะ ฆนะนัน ค่อยใหญ่ไปทุกวัน ครัน ถึง 7 วันเป็นตุ ่มออกได้ 5
แห่งดังหู
 ดนัน เรียกว่าเบญจสาขาหูด เบญจสาขาหูดนัน เป็นมือ 2 อัน เป็นตีน 2 อัน
หูดเป็นหัวนัน อีกหนึ ง แลแต่นัน ค่อยไปเบื องหน้าทุกวัน ครัน 7 วันเป็นฝ ่ามอื
เป็นนิ วมือแต่นัน ไปถึง 7 วัน คารบ 42 จึงเป็นขน เป็นเล็บตีน เล็บมือ
เป็นเครื องสาหรับเป็นมนุษย์ถ้วนทุกอันแล แต่รปู อันมีกลางคนไสร้ 50 แต่รปู อันมีหวั ได้ 84
แต่รปู อันมีเบื องต าได 5้ 0 ผสมรูปทัง หลายอันเกิดเป็นสัตว์อันอยู ่ ในท้องแม่ ได้ 184
แลกุมารนัน นัง กลางท้องแม่ แลเอาหลังมาต่อหนังท้องแม่ 
อาหารอันแม่กินเข้าไปแต่ก่อนนัน อยู ่ ใต้กุมารนัน
อาหารอันแม่กินเข้าไปใหม่นนั อยู ่เหนือกุมารนัน  

 ใบงานที ่  เรื่อง เนื ้อหาและคาศพท


ั ์ตอนมนุสสภูมิ
ตอนที 1 
คาชีแจง   ให้นกั เรียนบอกความหมายของคาที ขดี เส้นใต้ ให้ถูกต้อง 

1. ผิรปู อันจะเกิดเป็นชายก็ดีเป็นหญิงก็ดี เกิดมีอาทิแต่เกิดเป็นกลละนัน โดยใหญ่แต่ละวันแลน้อย 


กลละ หมายถึง

2. เมื อกุมารอยู ่ ในท้องแม่นัน ลาบากนักหนา พึงเกลียดพึงหน่ายพ้นประมาณนัก


ก็ชนื  แลเหม็นกลิ นตืดและเอือนอันได้ 
80 ครอก 
ตืด หมายถึง

เอือน หมายถึง

3. จะงอยไส้ดือนัน กลวงขึ นไปเบื องบนติดหลังท้องแม่แลข้าวน าอาหารอันใดแม่กินไสร้ 
แลโอชารสนัน ก็เป็นน าชุ ่มเข้าไปในไส้ดือนัน  
จะงอยไส้ดือ หมายถึง

 ไส้ดือ หมายถึง

4.  ผิแลว่าเมื อแม่เดินไปก็ดี นอนก็ดี ฟื นตนก็ด ี


กุมารอยู ่ ในท้องแม่นนั ให้เจ็บเพียงจะตายแลดุจดัง ลูกทรายอันพึ งออกแล
อยู ่ธรห้อยผิบ่มดิ ุจดังคนอั
 นเมาเหล้า 
อยู ่ธรห้อย หมายถึง

5. คนผู ใดจากแต่
้ นรกมาเกิดจัน เมื อคลอดออกตนกุมารนัน ร้อน
เมื อมันอยู ในท้
 ่ องแม่นนั ย่อมเดือดเนื อร้อนใจแล 
กระหนกระหาย 

กระหนกระหาย หมายถึง

6. แลคับตัวออกยากลาบากนัน ผิบ่มดิ ังนัน ดังคนผู


 ้อยู ่ ในนรกแล
แลภูเขาอันชื อคังไคยบรรพตหีบแลเหงแลบดบี นนั แล 
บรรพต หมายถึง

หีบ หมายถึง

เหง หมายถึง

7. ฝูงอันมาเกิดเป็นพระป  ัจเจกโพธิเจ้าก็ดี แลเป็นพระอรหันตาขีณาสพเจ้าก็ด ี
แลมาเป็นพระองค์อัครสาวกเจ้าก็ดี 
พระป  ัจเจกโพธิเจ้า หมายถึง 

8. เมื อจะออกจากท้องแม่วันนัน ไสร้ 
จึงลมกรรมชวาตก็พัดให้หวั ผูน้ ้อยนัน ลงมาสู ่ที จะออกแลคับแคบแอ่นยันนักหนา 
ลมกรรมชวาต หมายถึง

แอ่นยัน หมายถึง

9. เมื อกุมารอยู ่ ในท้องแม่นัน ลาบากนักหนา พึงเกลียดพึงหน่ายพ้นประมาณนัก


ก็ชนื  แลเหม็นกลิ นตืดและเอือนอันได้ 80 ครอก ซึ งอยู ่ ในท้องแม่อันเป็นที เหม็นแลที ออกลูกออกเต้า
ที เถ้า ที ตายที เร่ว

ที เร่ว หมายถึง 

10. ฆนะนัน ค่อยใหญ่ไปทุกวัน ครัน ถึง 7 วัน เป็นตุ ่มออกได้ 5 แห่งดังหู


 ดนัน เรียกว่าเบญจสาขาหูด 
เบญจสาขาหูด หมายถึง

ตอนที 2  
คาชีแจง   ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปนี  

1. ลาดับพัฒนาการการเกิดเป็นทารกในครรภ์มารดาสามารถเรียงลาดับได้อย่างไร 

2. จงยกตัวอย่างบทประพันธ์ที กล่าวถึง
สายสะดือของทารกในครรภ์มารดาและการรับอาหารจากมารดาผ่านทาง สายสะดือ 

3. จงยกตัวอย่างบทประพันธ์ที พรรณนาท่าทางของทารกตอนอยู ่ ในครรภ์มารดา 

4. จากเรื อง ไตรภูมพิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมิ ความตอนหนึ งกล่าวถึงในครรภ์มารดาว่ามีสภาพ


ร้อนนักหนาดุจดังเรา

  
เอาใบตองเข้าจ่อตน แลต้มในหม้อนัน ไสร้   ”

แต่เพราะเหตุใดทารกในครรภ์จงึ ไม่ตายเพราะความร้อนนัน  

5. ตามความเชื อที ปรากฏในตอน มนุสสภูมิ ทารกที มาจากนรกและสวรรค์ 


เมื ออยู ่ ในครรภ์มารดามีลักษณะแตกต่างกันอย่างไร 

6. ตามความเชื อที ปรากฏในตอน มนุสสภูมิ ทารกที มาจากนรกและสวรรค์ 


เมื อคลอดออกมาจากครรภ์มารดาแล้ว 
จะแสดงลักษณะต่างกันอย่างไร

7. ช่วงที ทารกกาลังจะคลอดออกจากครรภ์มารดา แต่ไม่สามารถคลอดออกมาได้ 
ทารกมีความรู ้สกึ อย่างไร 

8. ทารกที มาเกิดเป็นพระป  ัจเจกพุทธเจ้า พระอรหันต์หรือพระอัครสาวกของพระพุทธเจ้า
มีลักษณะพิเศษอย่างไรบ้าง 

9. ทารกที อยู ่ ในครรภ์มารดาเพียง 7 เดือน แล้วก็คลอดออกมา จะมีลักษณะอย่างไร  

10. จากเรื อง ไตรภูมพิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมิ ความตอนหนึ งว่า


 านผูจ้ ะออกมาเป็นพระป  ัจเจกโพธิเจ้าก็ดี ผู้จะมาเกิดเป็นลูกพระพุทธเจ้าก็ดี 
บ่เริ มดังท่

คานึงรู ้สกึ ตนแลบ่มหิ ลงแต่สองสิ งนี คอื เมื อจะเอาปฏิสนธิแลอยู ่ ในท้องแม่นนั ได้แล


เมื อจะออกจากท้องแม่นนั ย่อมหลงดุจคนทัง หลายนี แล ส่วนว่าคนทัง หลายนี ไสร้ยอ่ มหลง ทัง 3 เมื อ 
ควรอิ มสงสารแล ”

คาว่า ทัง 3 เมื อ ในข้อความข้างต้น หมายถึงเมื อใดบ้าง 


“ ”

 ใบงานที ่  เรื่อง เนื ้อหาและคาศพท


ั ์ตอนมนุสสภูมิ เฉลย 

ตอนที1  
คาชีแจง   ให้นกั เรียนบอกความหมายของคาที ขดี เส้นใต้ ให้ถูกต้อง 
1. ผิรปู อันจะเกิดเป็นชายก็ดีเป็นหญิงก็ดี เกิดมีอาทิแต่เกิดเป็นกลละนัน โดยใหญ่แต่ละวันแลน้อย 
 สนธิในครรภ์มารดาในช่วงสัปดาห์แรก เปรียบได้กับ 
กลละ หมายถึง รูปแรกเริม ทีปฏิ

นาผมของคนมาผ่า 8 ครัง แล้วจุ ่มลงในน ามันงาทีใสมากและสลั


 ด 7 ครัง แล้วถือไว้
น ามันทีเ หลือติดอยู ่ทีป ลายผมนันยังมี 
ขนาดใหญ่กว่ากลละ 

2. เมื อกุมารอยู ่ ในท้องแม่นัน ลาบากนักหนา พึงเกลียดพึงหน่ายพ้นประมาณนัก


ก็ชนื  แลเหม็นกลิ นตืดและเอือนอันได้ 
80 ครอก 
ตืด หมายถึง พยาธิ 

เอือน หมายถึง พยาธิในท้องชนิดหนึง (ภาษาถิน ใต้เอือน แปลว่า ตืด) 

3. จะงอยไส้ดือนัน กลวงขึ นไปเบื องบนติดหลังท้องแม่แลข้าวน าอาหารอันใดแม่กินไสร้ 
แลโอชารสนัน ก็เป็นน าชุ ่มเข้าไปในไส้ดือนัน  
จะงอยไส้ดือ หมายถึง ปลายสายสะดือ

Trusted by over 1 million members

Try Scribd FREE for 30 days to access over 125 million


titles without ads or interruptions!

Start Free Trial


Cancel Anytime.

 ไส้ดือ หมายถึง สะดือ 

4.  ผิแลว่าเมื อแม่เดินไปก็ดี นอนก็ดี ฟื นตนก็ด ี


กุมารอยู ่ ในท้องแม่นนั ให้เจ็บเพียงจะตายแลดุจดัง ลูกทรายอันพึ งออกแล
อยู ่ธรห้อยผิบ่มดิ ุจดังคนอั
 นเมาเหล้า 
อยู ่ธรห้อย หมายถึง โคลงเคลงไปมา ทรงตัวไม่ได้ 

5. คนผู ใดจากแต่
้ นรกมาเกิดจัน เมื อคลอดออกตนกุมารนัน ร้อน
เมื อมันอยู ในท้
 ่ องแม่นนั ย่อมเดือดเนื อร้อนใจแล 
กระหนกระหาย 
กระหนกระหาย หมายถึง ทุรนทุราย กระสับกระส่าย 

6. แลคับตัวออกยากลาบากนัน ผิบ่มดิ ังนัน ดังคนผู


 อ้ ยู ่ ในนรกแล
แลภูเขาอันชื อคังไคยบรรพตหีบแลเหงแลบดบี นนั แล 
บรรพต หมายถึง  ภูเขา

หีบ หมายถึง  หนีบ 


เหง หมายถึง บด บี ทับ 

7. ฝูงอันมาเกิดเป็นพระป  ัจเจกโพธิเจ้าก็ดี แลเป็นพระอรหันตาขีณาสพเจ้าก็ด ี
แลมาเป็นพระองค์อัครสาวกเจ้าก็ดี 
พระป  ัจเจกโพธิเจ้า หมายถึง พระพุทธเจ้าทีต รัสรูแ้ ล้วมิได้สังสอนเวไนยสัตว์  

8. เมื อจะออกจากท้องแม่วันนัน ไสร้ 
จึงลมกรรมชวาตก็พัดให้หวั ผูน้ ้อยนัน ลงมาสู ่ที จะออกแลคับแคบแอ่นยันนักหนา 
ลมกรรมชวาต หมายถึง ลมเกิดแต่กรรม หมายถึง ลมทีเ กิดในเวลาทีมารดาจะคลอดบุ
 ตร  

แอ่นยัน หมายถึง คดเพราะตัวถูกกดดันด้วยลมกรรมชวาต 

9. เมื อกุมารอยู ่ ในท้องแม่นัน ลาบากนักหนา พึงเกลียดพึงหน่ายพ้นประมาณนัก


ก็ชนื  แลเหม็นกลิ นตืดและเอือนอันได้ 80 ครอก ซึ งอยู ่ ในท้องแม่อันเป็นที เหม็นแลที ออกลูกออกเต้า
ที เถ้า ที ตายที เร่ว
ที เร่ว หมายถึง ป  ่าช้า ทีฝ  งั ศพ ทีเ ผาศพ 

10. ฆนะนัน ค่อยใหญ่ไปทุกวัน ครัน ถึง 7 วัน เป็นตุ ่มออกได้ 5 แห่งดังหู  ดนัน เรียกว่าเบญจสาขาหูด 
เบญจสาขาหูด หมายถึง ปุ ่มทีเ ป็น 5 กิง ในทีน  หี มายถึงก้อนเนื อทีม ีป ่มุ เกิด 5 ปุ ่ม คือ หัว 1 ปุ ่ม แขน 2 ปุ ่ม
และขา 2 ปุ ่ม 

ตอนที 2  
คาชีแจง   ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปนี  

1. ลาดับพัฒนาการการเกิดเป็นทารกในครรภ์มารดาสามารถเรียงลาดับได้อย่างไร 

กลละ อัมพุทะ เปสิ  ฆนะ เบญจสาขาหูด เกิดเป็นร่างกายมนุษย์  


– – – – –

2. จงยกตัวอย่างบทประพันธ์ที กล่าวถึง
สายสะดือของทารกในครรภ์มารดาและการรับอาหารจากมารดาผ่านทาง สายสะดือ 
อันว่าสายสะดือแห่งกุมารนันกลวงดังสายก้านบัวอันมีชอื  ว่าอุบล
จะงอยไส้ดือนันกลวงขึ นไปเบื องบนติดหลังท้องแม่แลข้าวน าอาหารอันใดแม่กนิ ไสร้
แลโอชารสนันก็เป็นน าชุ ่มเข้าไปในไส้ดอื นัน แลเข้าไปในท้องกุมารนันแล สะหน่อยๆ แลผูน้ ้อยนันก็ได้ 
กินทุกคา เช้าทุกวัน 

3. จงยกตัวอย่างบทประพันธ์ที พรรณนาท่าทางของทารกตอนอยู ่ ในครรภ์มารดา 
บทประพันธ์ทีพ รรณนาท่าทางของทารกตอนอยู ่ในครรภ์มารดาปรากฏตัวอย่างหลายตอน เช่น 

-  แลกุมารนันนังกลางท้องแม่ แลเอาหลังมาต่อหนังท้องแม่  
“  ” 

-  เบื องหลังกุมารนันต่อหลังท้องแม่ แลนังยองอยู ่ในท้องแม่ แลกามือทังสองคูค้ อต่อหัวเข่าทังสอง


“ 

เอาหัวไว้เหนือหัวเข่า 
เมือ นังอยู ่นนั   ” 

-  บ่ห่อนได้เหยียดตีนมือออกดังเราท่านทังหลายนี สกั คาบหนึง เลย  


“  ” 

4. จากเรื อง ไตรภูมพิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมิ ความตอนหนึ งกล่าวถึงในครรภ์มารดาว่ามีสภาพ


ร้อนนักหนาดุจดังเรา

  
เอาใบตองเข้าจ่อตน แลต้มในหม้อนัน ไสร้   ”

แต่เพราะเหตุใดทารกในครรภ์จงึ ไม่ตายเพราะความร้อนนัน  
ทารกไม่ตายจากความร้อนในท้องมารดา เพราะว่าทารกนันมีบญุ ทีจ ะได้เกิดเป็นมนุษย์
ดังทีบ ทประพันธ์กล่าวว่า ด้วยอานาจแห่งไฟธาตุอนั ร้อนนัน ส่วนตัวกุมารนันบ่มิไหม้
“ 

เพราะว่าเป็นธรรมดาด้วยบุญกุมารนันจะเป็นคนแล จึงให้บมิไหม้บมิตายเพือ
ดังนันแลแต่กมุ ารนันอยู ่ในท้องแม่   ” 

5. ตามความเชื อที ปรากฏในตอน มนุสสภูมิ ทารกที มาจากนรกและสวรรค์ 


เมื ออยู ่ ในครรภ์มารดามีลักษณะแตกต่างกันอย่างไร 
ทารกทีม าจากนรก ตอนทีอ ยู ่ในครรภ์มารดา จะรู้สกึ ทุรนทุรายเดือดเนื อร้อนใจ
และตัวของมารดาก็รสู้ กึ ร้อนตามไปด้วย 

ดังทีบ ทประพันธ์กล่าวว่า เมือ มันอยู ่ในท้องแม่นนั ย่อมเดือดเนื อร้อนใจแลกระหนกระหาย


“ 

อีกเนื อแม่นนั ก็พลอยร้อนด้วยโสด   ส่วนทารกทีม าจากสวรรค์ตอนทีอยู ่


”   ในครรภ์มารดา
จะอยู ่เย็นเป็นสุข และตัวของมารดาก็เย็นไปด้วย ดังทีบ ทประพันธ ์ กล่าวว่า เมือ ยังอยู ่ในท้องแม่นนั “ 

อยู ่เย็นเป็นสุขสาราญบานใจ แลเนื อแม่นนั ก็เย็นด้วยโสด   ” 

6. ตามความเชื อที ปรากฏในตอน มนุสสภูมิ ทารกที มาจากนรกและสวรรค์ 


เมื อคลอดออกมาจากครรภ์มารดาแล้ว 
จะแสดงลักษณะต่างกันอย่างไร
ทารกทีม าจากนรก เมือ คลอดออกมา ตัวของทารกจะร้อน ดังทีบ ทประพันธ์กล่าวว่า
“  คนผูใ้ ดจากแต่นรกมาเกิดจัน เมือ คลอด ออกตนกุมารนันร้อน   ” 

ทารกทีม าจากสวรรค์เมือ คลอดออกมา ตัวของทารกจะเย็น ดังทีบ ทประพันธ์กล่าวว่า


“  คนผูจ้ ากแต่สวรรค์ลงมาเกิดนัน เมือ จะคลอดออก ตนกุมารนันเย็น เย็นเนื อเย็นใจ   ” 

7. ช่วงที ทารกกาลังจะคลอดออกจากครรภ์มารดา แต่ไม่สามารถคลอดออกมาได้ 
ทารกมีความรู ้สกึ อย่างไร 
เจ็บปวดทรมาน ดังทีบ ทประพันธ์กล่าวว่า เมือ กุมารนันคลอดออกจากท้องแม่ ออกแลไปบ่มิพน้ ตน
“ 

ตนเย็นนันแลเจ็บเนื อ 
เจ็บตนนักหนา   ” 

8. ทารกที มาเกิดเป็นพระป  ัจเจกพุทธเจ้า พระอรหันต์หรือพระอัครสาวกของพระพุทธเจ้า
มีลักษณะพิเศษอย่างไรบ้าง 
มีลกั ษณะพิเศษคือ ขณะทีป ฏิสนธิและอยู ่ในครรภ์มารดา จะมีสติรู ้ตวั อยู ่ตลอดและไม่เกิดความหลง
ดังทีบ ทประพันธ์กล่าวว่า
เมือ ธ แรกมาเอาปฏิสนธินนั ก็ดี เมือ ธ อยู ่ในท้องแม่นนั ก็ดี 
“ 

แลสองสิงนี   เมือ อยู ่ในท้องแม่นนั บ่หอ่ นจะรูห้ ลงแลยังคานึงรู ้อยู ่ทุกอัน   ” 

9. ทารกที อยู ่ ในครรภ์มารดาเพียง 7 เดือน แล้วก็คลอดออกมา จะมีลักษณะอย่างไร  


อ่อนแอ ไม่แข็งแรง ดังทีบ ทประพันธ์กล่าวว่า คนผูใ้ ดอยู ่ในท้องแม่ 7 เดือนแลคลอดนัน แม้เลี ยงเป็นคนก็ดี 
“ 

บ่มิได้กล้าแข็ง

บ่มิทนแดดทนฝนได้แล   ” 

10. จากเรื อง ไตรภูมพิ ระร่วง ตอนมนุสสภูมิ ความตอนหนึ งว่า


 านผูจ้ ะออกมาเป็นพระป  ัจเจกโพธิเจ้าก็ดี ผู้จะมาเกิดเป็นลูกพระพุทธเจ้าก็ดี 
บ่เริ มดังท่

คานึงรู ้สกึ ตนแลบ่มหิ ลงแต่สองสิ งนี คอื เมื อจะเอาปฏิสนธิแลอยู ่ ในท้องแม่นนั ได้แล


เมื อจะออกจากท้องแม่นนั ย่อมหลงดุจคนทัง หลายนี แล ส่วนว่าคนทัง หลายนี ไสร้ยอ่ มหลงทัง 3 เมื อ
ควรอิ มสงสารแล ”

คาว่า ทัง 3 เมื อ ในข้อความข้างต้น หมายถึงเมื อใดบ้าง 


“ ”

คาว่า ทัง 3 เมือ หมายถึง เมือ ปฏิสนธิ เมือ อยู ่ในท้องแม่ และเมือ คลอดออกจากท้องแม่ 
“  ” 

   ิน 
แบบประเม การนาเสนอผลงาน  

คาชีแจง : ให้ ผู  ้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  


ลงในช่องที ตรงกับระดับคะแนน 
ระดับคะแนน 
ลาดับที       ิ น 
รายการประเม
4  3  2  1 
1  นาเสนอเนื อหาในผลงานได้ถกู ต้อง 
2  การลาดับขัน ตอนของเนื อเรื อง 
3  การนาเสนอมีความน่าสนใจ 
4  การมีสว่ นร่วมของสมาชิกในกลุ ่ม 
5  การตรงต่อเวลา 
รวม 

ลงชื อ...................................................ผูป้ ระเมิน 
............../.................../................ 

เกณฑ์การให้คะแนน 
ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชดั เจน   ให้  4  คะแนน 
ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอ้ บกพร่องบางส่วน   ให้ 3  คะแนน 
ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอ้ บกพร่องเป็นส่วนใหญ่   ให้  2  คะแนน 
ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอ้ บกพร่องมาก   ให้  1  คะแนน 

เกณฑ์การตัด   ิสนคุณภาพ 
ช ่วงคะแนน  ระดับคุณภาพ 
18 - 20  ดีมาก 
14 - 17  ดี 
10 - 13  พอใช้ 
ต ากว่า 10  ปรับปรุง 

   ิ กรรม
แบบสังเกตพฤต การทางานกลุ ่ม  

คาชีแจง :   ให้ ผู  ้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  


ลงในช่องที ตรงกับ 
ระดับคะแนน 
ชื อ-สกุล  ความร ่วมมือกันทา   ิกจกรรม  การแสดงความค   ิดเห็น  การรับฟังความค   ิดเห็น  การตัง ใจทางาน 
ลาดับที   ของผู  ้รบั การ  4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1

ประเม    ิน 

 ลงชื อ...................................................ผูป้ ระเมิน 

............../.................../................ 
เกณฑ์การให้คะแนน 
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม าเสมอ   ให้  4  คะแนน 
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง    ให้ 3  คะแนน 
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครัง    ให้  2  คะแนน 
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้อยครัง    ให้  1  คะแนน 
เกณฑ์การตัด   ิสนคุณภาพ 
ช ่วงคะแนน  ระดับคุณภาพ 
18 - 20  ดีมาก 
14 - 17  ดี 
10 - 13  พอใช้ 
ต ากว่า 10  ปรับปรุง 

   ิ น
แบบประเม คุณลกษณะอั
ั นพึงประสงค์ 
คาชีแจง :   ให้ ผู  ้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  
ลงในช่องที ตรงกับ 
ระดับคะแนน 
คุณลักษณะ  ระดับคะแนน 
รายการประเม    ิน 
อันพึงประสงค์ดา้ น  4  3  2  1 
1. รักชาต   ิ ศาสน์  1.1  ยืนตรงเมื อได้ยนิ เพลงชาติ ร้องเพลงชาติ ได้ และอธิบายความหมาย 
กษัต   ิรย ์ ของเพลงชาติ 
1.2  ปฏิบตั ติ นและชักชวนผูอ้  นื ปฏิบตั ติ ามสิทธิและหน้าที ของพลเมือง 
1.3   ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการทากิจกรรมกับสมาชิกในโรงเรียน
ชุมชน 
และสังคม 
1.4  เป็นผู ้นาหรือเป็นแบบอย่างในการจัดกิจกรรมที สร้างความสามัคคี 
ปรองดอง และเป็นประโยชน์ตอ่ โรงเรียน ชุมชน และสังคม ชื นชม
ปกป ้อง 
ความเป็นชาติ ไทย 
1.5  เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที ตนนับถือ
ปฏิบัตติ นตามหลักของศาสนา 
และเป็นตัวอย่างที ดขี องศาสนิ กชน 
1.6  

  เข้าร่วมกิจกรรมและมีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมที เกี ยวข้องกับสถา
บัน 
พระมหากษัตริยต์ ามที โรงเรี  ยนและชุมชนจัดขึ น
ชื นชมในพระราชกรณียกิจ 
พระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริยแ์ ละพระราชวงศ์ 
2. ซื อสัตย์ สุจ   ิรต  2.1   ให้ขอ้ มูลที ถกู ต้อง และเป็นจริง 
2.2  ปฏิบตั  ในสิ 
ิ งที ถกู ต้อง ละอาย และเกรงกลัวที จะกระทาความผิด
ทาตาม 
สัญญาที ตนให้ ไว้กับเพื อน พ่อแม่ หรือผูป้ กครอง และครู 
เป็นแบบอย่าง 
ที ดดี า้ นความซื อสัตย์ 
2.3  ปฏิบตั ติ นต่อผูอ้  นื ด้วยความซื อตรง
 ไม่หาประโยชน์ ในทางที  ไม่ถกู ต้อง 
และเป็นแบบอย่างที ดแี ก่เพื อนด้านความซื อสัตย์ 
3. มี   ิวนยั 3.1  ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว 
รับ ผ  ิดชอบ   โรงเรียน และสังคม ไม่ละเมิดสิทธิของผูอ้  นื
ตรงต่อเวลาในการปฏิบตั ิ 
กิจกรรมต่างๆ ในชีวติ ประจาวัน และรับผิดชอบในการทางาน
ปฏิบัต ิ
เป็นปกติวสิ ยั และเป็นแบบอย่างที ด ี
4. ใฝ่ เรียนรู  ้  4.1  แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรูต้ ่างๆ 
4.2  มีการจดบันทึกความรูอ้ ย่างเป็นระบบ 
4.3  สรุปความรู ้ ได้อย่างมีเหตุผล 
5. อยู ่อย ่างพอเพียง  5.1   ใช้ทรัพย์สนิ ของตนเอง เช่น สิ งของ เครื องใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด 
คุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่างเหมาะสม 
5.2   ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุม้ ค่า
และเก็บรักษาดูแลอย่างดี 
5.3  ปฏิบตั ติ นและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล 
5.4   ไม่เอาเปรียบผูอ้  นื และไม่ทา ให้ผู้อ นื เดือดร้อน
พร้อมให้อภัยเมื อผูอ้  นื  
กระทาผิดพลาด 
   ิน
แบบประเม
คุณลกษณะอั
ั นพึงประสงค์ (ต ่อ)  

คาชีแจง :   ให้ ผู  ้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  


ลงในช่องที ตรงกับ 
ระดับคะแนน 
คุณลักษณะ  ระดับคะแนน 
   ิน 
รายการประเม
อันพึงประสงค์ดา้ น  4  3  2  1 

Improve Your Experience 


Rating will help us to suggest even better
related documents to all of our readers!

 Useful

 Not useful

Share this document


    

You might also like

!อสอบปลายภาค การเ.ยน ม.
๕.2
jintana

What is Scribd? 

Millions ofบท31
titlesการ4เคราะ6!อ7ล
at your fingertips
Home Gi' Adcharawan
Only $9.99/month.
Books Cancel anytime.
Audiobooks Documents

You might also like