E 0 B 980 e 0 B 88 Be 0 B 895

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 8

เซต

1. เซต เป็ นคำที่ใช้บ่งบอกถึงกลุ่มของสิ่ งต่าง ๆ และเมื่อกล่าวถึงกลุ่มใดแล้ว สามารถทราบ


ได้แน่นอนว่าสิ่ งใดอยูใ่ นกลุ่มและสิ่ งใดไม่อยูใ่ นกลุ่ม เช่น
เซตของสระในภาษาอังกฤษ หมายถึง กลุ่มของอักษร a, e, i, o และ u
เซตของจำนวนนับที่นอ้ ยกว่า 10 หมายถึง กลุ่มของตัวเลข 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9
สิ่ งที่อยูใ่ นเซต เรี ยกว่า สมาชิก (element หรื อ members)
2. การเขียนเซต การเขียนเซตอาจเขียนได้สองแบบ คือ
2.1 การเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก (Tabular From) โดยเขียนสมาชิกทุกตัวของเซตลง
ในเครื่ องหมายวงเล็บปี กกา และใช้เครื่ องหมายจุลภาค ( , ) คัน่ ระหว่างสมาชิกแต่ละตัว เช่น
เซตของจำนวนนับที่นอ้ ยกว่า 7 เขียนแทนด้วย {1, 2, 3, 4, 5, 6}
เซตของพยัญชนะไทย 5 ตัวแรก เขียนแทนด้วย {ก, ข, ฃ, ค, ฅ}
เซตของจำนวนคู่ต้ งั แต่ 2 ถึง 10 เขียนแทนด้วย {2, 4, 6, 8, 10}
2.2 เขียนเซตแบบบอกเงือ่ นไข (Builder Form) ใช้ตวั แปรเขียนแทนสมาชิกของเซต แล้ว
บรรยายสมบัติของสมาชิกที่อยูใ่ นรู ปของตัวแปร เช่น

{x | x เป็ นสระในภาษาอังกฤษ }
อ่านว่า เซตของ x โดยที่ x เป็ นสระในภาษาอังกฤษ
{x | x เป็ นเดือนแรกและเดือนสุ ดท้ายของปี }
อ่านว่า เซตของ x โดยที่ x เป็ นเดือนแรกและเดือนสุ ดท้ายของปี
เครื่ องหมาย “ | ” แทนคำว่า โดยที่
ในการเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิกนั้นจะใช้จุดสามจุด ( . . . ) เพื่อแสดงว่ามีสมาชิกอื่น ๆ
ซึ่ งเป็ นที่เข้าใจกันทัว่ ไปว่ามีอะไรบ้างที่อยูใ่ นเซต เช่น
{1, 2, 3, . . ., 10} สัญลักษณ์ . . . แสดงว่ามี 4, 5, 6, 7, 8 และ 9 เป็ นสมาชิกของเซต
{วันจันทร์ , อังคาร, พุธ, . . ., อาทิตย์ } สัญลักษณ์ . . . แสดงว่ามีวนั พฤหัสบดี วัน
ศุกร์ และวันเสาร์ เป็ นสมาชิกของเซต
3. สัญลักษณ์ แทนเซต
ในการเขียนเซตโดยทัว่ ไปจะแทนเซตด้วยอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ เช่น A, B, C
และแทนสมาชิกของเซตด้วยตัวพิมพ์เล็ก เช่น a, b, c เช่น
A = {1, 4, 9, 16, 25, 36} หมายถึง A เป็ นเซตของกำลังสองของจำนวนนับหกจำนวน
แรก
4. สมาชิกของเซต
จะใช้สญ ั ลักษณ์ “  ” แทนคำว่าเป็ นสมาชิกหรื ออยูใ่ น เช่น
A = {1, 2, 3, 4}
จะได้วา่ 1 เป็ นสมาชิกของ A หรื ออยูใ่ น A เขียนแทนด้วย 1  A
3 เป็ นสมาชิกของ A หรื ออยูใ่ น A เขียนแทนด้วย 3  A
คำว่า “ไม่เป็ นสมาชิกของ” หรื อ “ไม่อยูใ่ น” เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ “  ” เช่น
5 ไม่เป็ นสมาชิกของ A หรื อไม่อยูใ่ น A เขียนแทนด้วย 5  A
7 ไม่เป็ นสมาชิกของ A หรื อไม่อยูใ่ น A เขียนแทนด้วย 7  A
สำหรับเซต A ซึ่ งมีสมาชิก 4 ตัว เราจะใช้ n(A) เพื่อบอกจำนวนสมาชิกของเซต A นัน่
คือ n(A) = 4
5. สับเซต
1. เซต A เป็ นสับเซตของเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็ นสมาชิกของเซต B
เขียนแทนด้วย A  B
2. เซต A ไม่เป็ นสับเซตของเซต B ก็ต่อเมื่อ มีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัวของเซต A ที่ไม่เป็ น
สมาชิกของเซต B เขียนแทนด้วย A  B
6. เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe)
ในการเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก จะต้องกำหนดเซตขึ้นมาหนึ่งเซตเรี ยกว่า
เอกภพสั มพัทธ์ เขียนแทนด้วย U โดยมีขอ้ ตกลงว่า เมื่อกล่าวถึงสมาชิกของเซตใด ๆ จะไม่กล่าวถึง
สิ่ งอื่นที่นอกเหนือจากสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ์
ตัวอย่างที่ 1 กำหนด U = {x | x เป็ นพยัญชนะในภาษาไทย} และ
A = {x | x เป็ นพยัญชนะในภาษาไทย 3 ตัวแรก}
จงเขียนเซต A แบบแจกแจงสมาชิก
วิธีทำ U = {ก, ข, ค, . . ., ฮ}
 A = {ก, ข, ค}
ตัวอย่างที่ 2 กำหนด U = {1, 2, 3, . . . } และ B = {x | x เป็ นจำนวนนับที่นอ้ ยกว่า 5}
จงเขียนเซต B แบบแจกแจงสมาชิก
วิธีทำ U = {1, 2, 3, . . . }
 B = {1, 2, 3, 4}

7. แผนภาพเวนน์ -ออยเลอร์ (Venn-Euler Diagram)

แผนภาพของเวนน์-ออยเลอร์ เป็ นแผนภาพที่ใช้แสดงความเกี่ยวข้องของเซต เพื่อช่วยในการ


คิดคำนวณหรื อแก้ปัญหา ซึ่ งตัวชื่อแผนภาพตามชื่อของนักคณิ ตศาสตร์คือ เวนน์และออยเลอร์ การ
เขียนแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ มีวิธีการเขียนดังนี้
ให้ เอกภพสัมพทธ์ U แทนด้วยรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้าหรื อรู ปปิ ดใด ๆ
เซต A, B, C, . . . ซึ่ งเป็ นสับเซตของ U แทนด้วยวงกลม วงรี หรื อรู ปปิ ดอื่น ๆ โดย
ให้เซต A, B, C, . . . อยูใ่ น U ดังตัวอย่าง
ตัวอย่างที่ 3 กำหนด U = {1, 2, 3, . . .} , A = {1, 2, 3, 4, 5} และ B = {2, 4, 6, 8}
จงเขียนแผนภาพของเวนน์-ออยเลอร์แทนเซต
วิธีทำ เซต A และเซต B มีสมาชิกร่ วมกันคือ 2 และ 4 ซึ่ งสามารถเขียนแผนภาพ
แทนเซต A และ B ได้ดงั นี้

U
A 1 6
3 2
5 4 8 B

8. ยูเนียน
บทนิยาม ยูเนียนของเซต A และเซต B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของ
เซต A หรื อของเซต B หรื อทั้งสองเซต
ยูเนียนของเซต A และเซต B เขียนแทนด้วย A  B
และสัญลักษณ์ยเู นียนของเซต A และเซต B คือ
A  B = {x | x  A หรื อ x  B หรื อ x เป็ นสมาชิกของทั้งสองเซต}

สรุ ป ยูเนียนของเซต A และเซต B คือ เซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของเซต A


หรื อเซต B หรื อทั้งสองเซต ยูเนียนของเซต A และเซต B เขียนแทนด้วย
AB

A  B = {x | x  A หรื อ x  B หรื อ x เป็ นสมาชิกทั้งสองเซต

9. อินเตอร์ เซกชัน
บทนิยาม อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิก
ที่อยูท่ ้ งั ในเซต A และเซต B อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B
เขียนแทนด้วย A  B
สัญลักษณ์อินเตอร์เซกชันของ A และ B คือ
A  B = {x | x  A และ x  B }

สรุ ป อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B คือ เซตที่ประกอบไปด้วยสมาชิก


ที่อยูท่ ้ งั ในเซต A และเซต B อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B
เขียนแทนด้วย A  B

A  B = { x | x  A และ x  B

10. คอมพลีเมนต์
บทนิยาม คอมพลีเมนต์ของเซต A คือ เซตของทุกสมาชิกใน
เอกภพสัมพัทธ์ U ที่ไม่อยูใ่ น A เขียนแทน
คอมพลีเมนต์ของเซต A ด้วย A/
สัญลักษณ์คอมพลีเมนต์ของเซต A คือ
A/ = {x | x  U และ x  A}

ตัวอย่ างคอมพลีเมนต์ ของเซตต่าง ๆ ที่กำหนดให้

คอมพลีเมนต์ ของเซตที่
ข้ อที่ เซตที่กำหนดให้ เอกภพสั มพัทธ์ (U)
กำหนดให้
1 A = {1, 2, 3, 5} U = {1, 2, 3, . . . , 10} A = {4, 6, 8, 9, 10}
/

2 A = {2, 4, 6, 8, 10, 12} U = {2, 4, 6, 8, 10, 12, 14} A/ = {14}


3 B = {1, 3, 5, 7, 9, 11, 13} U = {1, 3, 5, 7, 9, 11, 13, 15, 17} B/ = {15, 17}
4 B = {6, 7} U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8} B/ = {1, 2, 3, 4, 5, 8}
5 C = {1, 2} U = {1, 2, 3, 4, 5, 6} C/ = {3, 4, 5, 6}
6 C = {0, 1, 2} U = {0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} C/ = {3, 4, 5, 6, 7}
จากตารางพบว่า คอมพลีเมนต์ของเซตใด ๆ คือ เซตที่มีสมาชิกอยูใ่ น U แต่ไม่อยูใ่ นเซตนั้น
ๆ เช่น คอมพลีเมนต์ของเซต A คือ เซตที่มีสมาชิกอยูใ่ น U แต่ไม่อยูใ่ น A คอมพลีเมนต์ของเซต
A เขียนแทนด้วย A/
A/ = {x | x  U และ x  A}

11. ผลต่ าง
บทนิยาม ผลต่างของเซต A และเซต B คือ เซตของทุกสมาชิก
ของเซต A ที่ไม่เป็ นสมาชิกของเซต B เขียนแทน
ผลต่างของเซต A และ B ด้วย A – B
สัญลักษณ์ผลต่างของเซต A และเซต B คือ
A – B = {x | x  A และ x  B}
ผลต่างของเซต A และเซต B คือเซตที่มีสมาชิกทุกตัวอยูใ่ นเซต A แต่ไม่อยูใ่ นเซต B
สาระการเรียนรู้

ตัวอย่ างผลต่างของเซตสองเซตใด ๆ ที่กำหนดให้

ผลต่ างของเซต A และเซต B


ข้ อที่ เซต A เซต B
(A – B)
1 A = {1, 2, 3, 4, 5} B = {1, 2, 3} {4, 5}
2 A = {2, 4, 6, 8, 10} B = {2, 4} {6, 8, 10}
3 A = {a, b, c, d} B = {a, b} {c, d}
4 A = {a, e, i, o, u} B = {o, u} {a, e, i}
5 A = {7, 8, 9, 10, 11} B = {8, 9, 10} {7, 11}
6 A = {20, 21, 22, 23} B = {22, 23} {20, 21}

จากตารางพบว่า ผลต่างของเซต A และเซต B คือเซตที่มีสมาชิกทุกตัวอยูใ่ นเซต A แต่ไม่


อยูใ่ นเซต B เขียนแทนด้วย A – B
A – B = { x | x  A และ x  B}

จำนวนสมาชิกของเซตจำกัด
จำนวนสมาชิกของเซตจำกัด A ใด ๆ จะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ n(A) ซึ่ งสามารถแยก
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับจำนวนสมาชิกของเซตจำกัดได้ดงั นี้
1. ถ้า A และ B เป็ นเซตจำกัด จำนวนสมาชิกของเซต A  B หรื อ n(A  B) จะหาได้จาก

n(A  B) = n(A) + n(B) – n(A  B)

ตัวอย่ างที่ 1 กำหนด A = {1, 2, 3, 4, 5} และ B = {3, 4, 6, 7, 8} จงหา n(A  B)


วิธีทำ จาก n(A  B) = n(A) + n(B) – n(A  B)
จากโจทย์ จะได้ n(A) = 5 , n(B) = 5 , n(A  B) = 2
แทนค่า n(A  B) = 5+5–2
= 8
ซึ่ งเขียนแผนภาพได้ดงั นี้
U
A B A  B = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8}
1 2 3 6
5 4 7 8  n(A  B) = 8

2. ถ้า A และ B เป็ นเซตจำกัดที่ไม่มีสมาชิกร่ วมกัน (A  B = )

n(A  B) = n(A) + n(B)

ตัวอย่ างที่ 2 กำหนด A = {1, 2, 3, 4} และ B = {5, 6 ,7} จงหา n(A  B)


วิธีทำ จาก n(A  B) = n(A) + n(B)
จากโจทย์ จะได้ n(A) = 4 , n(B) = 3
แทนค่า n(A  B) = 4 + 3
= 7
เขียนแผนภาพได้ดงั นี้

A B A  B = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7}
1 2 5 7 n(A  B) = 7
3 4 6

3. ถ้า A, B และ C เป็ นเซตจำกัด จำนวนสมาชิกของเซต A  B  C หรื อ n(A  B  C)


จะหาได้จาก

n(A  B  C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A  B) – n(A  C) – n(B  C) + n(A  B  C)

ตัวอย่ างที่ 3 กำหนด A = {1, 2, 3, 4, 5}, B = {3, 5, 6, 7} และ C = {3, 6, 4, 8}


จงหา n(A  B  C)
วิธีทำ จาก n(A  B  C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A  B) – n(A  C) – n(B  C)
+ n(A  B  C)
จากโจทย์ จะได้ n(A) = 5 , n(B) = 4 , n(C) = 4
A  B = {3, 5} , n(A  B) = 2
A  C = {3, 4} , n(A  C) = 2
B  C = {3, 6} , n(B  C) = 2
A  B  C = {3} , n(A  B  C) = 1
แทนค่า n(A  B  C) = 3 + 4 + 4 – 2 – 2 – 2 + 1 = 8
เขียนแผนภาพได้ดงั นี้
U
A B
1 5 7
2 3
4 6
8
C

จากแผนภาพ A  B  C = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8}
 n(A  B  C) = 8
ตัวอย่ างที่ 4 นักเรี ยนชั้น ม. 5 โรงเรี ยนแห่งหนึ่ง จำนวน 100 คน ได้รับรางวัลเรี ยนดี 20 คน
ได้รับรางวัลมารยาทดี 30 คน ในจำนวนนี้ได้รับรางวัลทั้งสองประเภท 10 คน
จงหา
1. จำนวนนักเรี ยนทั้งหมดที่ได้รับรางวัล
2. จำนวนนักเรี ยนที่ไม่ได้รับรางวัล
วิธีทำ ให้ A แทน เซตของนักเรี ยนที่ได้รับรางวัลเรี ยนดี
B แทน เซตของนักเรี ยนที่ได้รับรางวัลมารยาทดี
จากโจทย์จะได้ n(A) = 20 , n(B) = 30 , n(A  B) = 10
จาก n(A  B) = n(A) + n(B) + n(A  B)
แทนค่า n(A  B) = 20 + 30 – 10
= 40
จำนวนนักเรี ยนที่ไม่ได้รับรางวัล = 100 – 40 = 60
จำนวนนักเรี ยนทั้งหมดที่ได้รับรางวัล = 40
แบบฝึ กทักษะ
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนเติมคำตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. กำหนดแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ และจำนวนสมาชิก
U ในเซตให้ จงหา
A B 1.1 n(A) = ……………………………………..
21 5 31 1.2 n(B) = ……………………………………..
1.3 n(A  B) = ………………………………
1.4 n(A  B) = ………………………………
2. กำหนดแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ และจำนวนสมาชิก
U ในเซตให้ จงหา
A B 2.1 n(A) = …………… 2.2 n(B) = ……….….
13 6 12 2.3 n(C) = …………... 2.4 n(A  B) = ……
5 2 3 2.5 n(A  C) = …….. 2.6 n(B  C) = ……
2.7 n(A  B  C) = ………………………..
10 C 2.8 n(A  B  C) = ………………………..

3. นักเรี ยนชั้น ม. 4 โรงเรี ยนแห่งหนึ่งมี 300 คน ชอบเรี ยนฟิ สิ กส์ 150 คน ชอบเรี ยนเคมี
200 คน และชอบเรี ยนทั้งฟิ สิ กส์และเคมี 110 คน จงหา
3.1 นักเรี ยนที่เรี ยนฟิ สิ กส์วิชาเดียว มี …………… คน
3.2 นักเรี ยนที่เรี ยนเคมีวิชาเดียว มี ………………. คน
3.3 นักเรี ยนที่ไม่เลือกเรี ยนทั้งสองวิชา มี ………………… คน

You might also like