Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 16

แบบทดสอบท้ายกิจกรรมที่ 10.1.

1. ผู้กำกับภาพยนตร์มีบทบาทหน้าที่อย่างไรในกระบวนการผลิตภาพยนตร์

ผู้กำกับภาพยนตร์ คือผู้ที่มีหน้าที่กำกับในขัน
้ ตอนการสร้างภาพยนตร์ โดยผู้
กำกับภาพยนตร์มีหน้าที่สร้างจินตนาการจากบทหนัง แล้วถ่ายทอดความคิด
ทางด้านศิลปะออกมาตามแบบที่ตนเองต้องการ และเป็ นคนสั่งฝ่ ายอื่น ๆ ใน
กองถ่าย อย่างเช่น ฝ่ ายผู้กำกับภาพ ผู้กำกับการแสดง ฝ่ ายเทคนิค นักแสดง
ออกมาอยู่ในองค์ประกอบทางศิลป์ ที่ตนเองต้องการบนแผ่นฟิ ล์มหรือในระบบ
ดิจิตอล

2. ผู้กำกับภาพยนตร์ที่ดีต้องคุณสมบัติอย่างไร

ชอบและมีความสนใจในศาสตร์ภาพยนตร์ คุณสมบัตินีอ
้ าจเป็ นเหตุผลให้ใคร
หลายคนตัง้ ให้ผู้กำกับภาพยนตร์เป็ นอาชีพในฝั นเลยทีเดียว แต่อีกข้อที่ไม่ควร
ขาด คือการเป็ นนักเล่าเรื่องเล่าเรื่อง โดยเฉพาะการเล่าเรื่องด้วยภาพ

ช่างสังเกต ละเอียดรอบคอบ ยิ่งช่างสังเกตและละเอียดมากเท่าไหร่ ผลงาน


ภาพยนตร์ก็จะยิ่งน่าสนใจและมีคุณภาพมากเท่านัน

ทนรับแรงกดดันได้ดี งานภาพยนตร์เป็ นงานที่ต้องเกี่ยวข้องกับผู้คนมากมาย


มีปัจจัยที่ต้องแบกรับมากมาย ทัง้ เวลา ปั จจัยเรื่องคนและทีม งบประมาณ
และสถานที่ ถ้าใจรักจริงเรื่องแรงกดดันอาจจะไม่ใช่ปัญหา

มีความคิดสร้างสรรค์ หลายครัง้ ที่บทภาพยนตร์ที่มี อาจต้องมีการตีความที่


แตกต่างออกไป เพื่อให้การเล่าเรื่องดูแปลกใหม่ ดังนัน
้ ผู้กำกับต้องชอบคิด
อะไรแปลกใหม่ รวมทัง้ ขวนขวายที่จะเพิ่มพูนความรู้หาแนวคิดที่นอกกรอบ
อยู่เสมอ
มีความรับผิดชอบสูง ผู้กำกับเปรียบเหมือนแกนหลักของภาพยนตร์เรื่องหนึ่ง
ไม่ว่าจะเกิดปั ญหาส่วนใดก็ตามจะต้องพร้อมที่จะรับผิดชอบและแก้ไขปั ญหา

แบบทดสอบท้ายกิจกรรมที่ 10.1.2

1. หัวใจสำคัญของการกำกับภาพยนตร์ประกอบด้วยปั จจัยด้านใดบ้าง
หัวใจของการกำกับภาพยนตร์ก็คือการที่ผู้กำกับภาพยนตร์ตีความจากบท
ภาพยนตร์ให้เป็ นภาพโดยมีเป้ าหมายคือต้องการสร้างความหมายสร้าง
อารมณ์ให้กับผู้ชมหรือบางครัง้ อาจะเกิดอุปสรรคในการทำงานที่ไม่เอื้อต่อ
การกำกับภาพยนตร์ ณ ขณะนัน
้ ผู้กํากับภาพยนตร์อาจจะต้องเปลี่ยนวิธีการ
สื่อสารหรือวิธีการบางอย่างเพื่อให้ได้ผลเป็ นไปตามที่ตัวเองต้องการเช่นผู้
กำกับอาจจะต้องเปลี่ยนบทหรือเปลี่ยนวิธีการเล่าแบบใหม่เพื่อให้ได้ผลซึ่ง
กรณีแบบนีผ
้ ู้อำนวยการสร้าง (Producer) จำเป็ นอย่างยิ่งที่ต้องเลือกผู้กำกับ
ให้เหมาะสมกับบทภาพยนตร์เพราะผู้กำกับภาพยนตร์แต่ละคนมีความถนัดที่
แตกต่างกันมีหลาย ๆ ครัง้ ที่หลังจากผู้กำกับภาพยนตร์อ่านบทภาพยนตร์แล้ว
ไม่เกิดแรงบันดาลใจในการที่จะถ่ายทอดออกมาเป็ นภาพยนตร์หรืออาจไม่
ตรงกับแนวทาง (Style) ของผู้กำกับภาพยนตร์คนนัน
้ ก็อาจจะปฏิเสธงานหรือ
อาจจะมีการปรับบทภาพยนตร์ครัง้ ใหญ่ซึ่งขึน
้ อยู่กับผู้ควบคุมการผลิต
(Producer) ว่าจะยอมปรับตามผู้กำกับภาพยนตร์หรืออาจจะเปลี่ยนผู้กำกับ
ภาพยนตร์เป็ นคนอื่นที่เข้ากับบทภาพยนตร์นไี ้ ปในทิศทางเดียวกันได้มากกว่า

2. หากผู้กำกับภาพยนตร์ไม่เข้าใจบทบาทของตัวเองแล้วจะทำให้เกินปั ญหา
ใดบ้าง
จะทำให้เงินออกมาใช้เวลานานกว่าเดิมการที่ผู้กำกับไม่เข้าใจว่าหน้าที่ของตัว
เองคืออะไร ทำให้การทำงานไม่ได้ตามที่วางไว้ รวมไปถึงการควบคุมของ
ทำงานของกองถ่ายที่อาจจะเกิดปั ญหา
แบบทดสอบท้ายกิจกรรมที่ 10.2.1

1. ให้นักศึกษาอธิบายบทบาทหน้าที่ของผู้กำกับภาพยนตร์ในขัน
้ ตอนการเตรี
ยมงานมาโดยละเอียด
ผู้ช่วยผู้กำกับ จะมีบทบาทสำคัญช่วงผลิต บางคนอาจจะเข้ามามีส่วนร่วม
ตัง้ แต่ก่อนหน้านัน
้ แต่หน้าที่หลักๆ อยู่ที่การจัดการช่วงถ่ายทำให้สำเร็จตาม
เวลาที่กำหนดไว้ ผู้ช่วยผู้กำกับจะต้องเข้าใจที่มาที่ไปของแต่ละฉาก เข้าใจสิ่ง
ที่ผู้กำกับต้องการ สิ่งที่ผู้กำกับวางแผนไว้ คอยจัดการให้ทุกฝ่ ายในกองทำ
หน้าที่ของตัวเองได้อย่างรวดเร็ว ในบางครัง้ การถ่ายทำอาจวางอยู่ในตารางที่
แน่นมาก เนื่องด้วยงบประมาณหรือข้อจำกัดอื่นๆ ทำให้ช้าไม่ได้ ช่วงถ่ายทำ
จึงเป็ นช่วงที่มีความเครียดและกดดันสูง ผูช
้ ่วยผู้กำกับจะเป็ นคนที่จัดการช่วง
นีใ้ ห้เป็ นไปอย่างลุล่วง

2. ให้นักศึกษาอธิบายขัน
้ ตอนการทำงานของผู้กำกับภาพยนตร์ในขัน
้ ตอน
การเตรียมงานมาโดยละเอียด

ผู้กำกับจะรวบรวมทีมงานซึ่งคนแรกๆที่จะต้องมีคือผู้ประสานงานระหว่างสตู
ดิโอ/โปรดิวเซอร์ กับ ผู้จัดการกองถ่าย, นักออกแบบ, ผู้จัดการหาสถานที่,
ช่างภาพและผู้ช่วยผู้กำกับ

สร้างวิสัยทัศน์ให้กับภาพยนตร์และสื่อสารกับทีมงาน ให้ทุกคนรับรู้ถึงสิ่งที่จะ
สื่อผ่านภาพยนตร์ ซึ่งช่วยให้สามารถแยกแยะสี, สถานที่และการจัดกรอบใน
อุดมคติของคุณได้ รวมถึงอ้างอิงภาพยนตร์เรื่องอื่นๆที่สร้างแรงบันดาลใจให้
คุณ

พูดคุยเกี่ยวกับวิสัยทัศน์ของคุณกับทีมคุณแบบรายบุคคล วิสัยทัศน์ของคุณมี
ผลต่อทุกแผนกที่แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่นหากคุณพูดว่า“ ฉันอยากให้ตัว
ละครนัน
้ รู้สึกโดดเดี่ยว” มันจะส่งผลต่อการเลือกเลนส์, แสงและเลือกดนตรี
ประกอบ เรียนรู้ภาษาที่ใช้ของทุกแผนกเพื่อให้คุณสามารถสื่อสารสิ่งที่คุณ
ต้องการจากพวกเขาได้สำเร็จ

ทำการคัดเลือกนักแสดงซึ่งคุณสามารถเปลี่ยนแปลงการตัดสินใจได้หลาย
อย่างในช่วงนี ้ ก่อนที่คุณจะคัดเลือกนักแสดง สิ่งสำคัญคือพวกเขาต้องเข้าใจ
เรื่องราวที่คุณกำลังจะทำเป็ นหนัง พวกเขาควรเป็ นคนที่คุณไว้วางใจในการรับ
บทบาทจากคุณอย่างเต็มความสามารถและเต็มใจทำงานกับคุณ

แบบทดสอบท้ายกิจกรรมที่ 10.2.2

1. ให้นักศึกษาอธิบายบทบาทหน้าที่ของผู้กำกับภาพยนตร์ในขัน
้ ตอนการถ่าย
ทำภาพยนตร์มาโดยละเอียด
คอยแนะนำนักแสดงในแต่ละฉาก โดยบอกถึงวิธีที่คุณต้องการจะสื่อ รวมถึง
ชมและให้กำลังใจพวกเขาในการแสดง เพื่อให้พวกเขาแสดงออกมาได้อย่าง
เต็มที่อย่างที่คุณคาดหวังไว้
ตรวจสอบให้แน่ใจว่าทุกแผนกทำงานอย่างเต็มที่ คุณเป็ นคนที่คุ้นเคยกับทุก
ส่วนของการผลิตหนังมากที่สุด ดังนัน
้ คุณต้องแน่ใจว่าทุกแผนกกำลังทำงาน
ร่วมกันเพื่อทำให้หนังเรื่องนีอ
้ อกมายอดเยี่ยม

2. ให้นักศึกษาอธิบายขัน
้ ตอนการทำงานของผู้กำกับภาพยนตร์ในขัน
้ ตอน
การถ่ายทำภาพยนตร์มาโดยละเอียด

สื่อสารกับทุกคนให้มากที่สุด การกำกับเป็ นกระบวนการทำงานร่วมกัน การ


สื่อสารอย่างเปิ ดเผยกับทีมงานทุกคนมีความสำคัญต่อการสร้างภาพยนตร์ที่ดี
ที่สุดเพื่อให้ทุกคนรู้สึกสบายใจที่จะพูดและรู้ว่าพวกเขาต้องทำอะไร

รักษาวิสัยทัศน์ของคุณให้มั่นคงไม่โลเลและตรวจสอบกับทุกแผนกอย่างต่อ
เนื่องตัง้ แต่ฝ่ายผลิตไปจนถึงนักแสดงเกี่ยวกับสิ่งที่คุณต้องการจากพวกเขา
เพื่อเปลี่ยนวิสัยทัศน์ที่สร้างสรรค์ของคุณออกมาโลดเล่นผ่านหน้าจอ
3. ให้นักศึกษายกตัวอย่างปั ญหาที่จนเกิดขึน
้ ในขัน
้ ตอนการถ่ายทำภาพยนตร์
พร้อมวิธีแก้ปัญหามาโดย

ละเลียด

ไทยมุง การถ่ายทำที่มีคนดู การแก้ปัญหาโดยการที่คนมามุงดูก็เป็ นปั ญหาที่


มีมาช้านานมีมาตลอดเวลาซึ่งผู้กำกับและทีมงานจะต้องมีการวางแผนอย่างรัดกุม
และมีการจัดการกับคนดูเหล่านัน
้ ไม่ให้มีการมารบกวนทีมงานถ่ายทำ

แบบทดสอบท้ายกิจกรรมที่ 10.2.3

1. ให้นักศึกษาอธิบายบทบาทหน้าที่ของผู้กำกับภาพยนตร์ในการทำงานกับ
นักแสดงมาโดยละเอียด
หน้าที่ของผู้กำกับภาพยนตร์ในการทำงานกับนักแสดงการทำงานของผู้กำกับ
ภาพยนตร์ร่วมกับนักแสดงนัน
้ เป็ นขัน
้ ตอนที่จะต้องวิเคราะห์สังเคราะห์และมี
ความจากบทภาพยนตร์แล้วลงรายละเอียดในส่วนของตัวละครในบท
ภาพยนตร์ซึ่งตัวละครเหล่านีจ
้ ะโลดแล่นในภาพยนตร์ผ่านนักแสดงที่มี
คุณสมบัติ (Character) หลายประการเหมือนหรือคล้ายคลึงตัวละครที่อยู่ใน
บทภาพยนตร์เช่นรูปร่างหน้าตาน้ำเสียงบุคลิกการแต่งกายเป็ นต้นผู้กำกับ
ภาพยนตร์จะต้องเป็ นผู้คัดเลือกนักแสดงด้วยตัวเองตลอดจนพูดคุยแลก
เปลี่ยนทัศนะมุมมองของนักแสดงผ่านตัวละครนัน
้ ๆ จนเข้าสู่กระบวนการ
ถ่ายทำภาพยนตร์ผู้กำกับก็มีบทบาทเป็ นอย่างมากในการกำกับการเล่นของ
นักแสดงซึ่งต้องอาศัยความเข้าใจกันทัง้ ผู้กำกับและนักแสดงด้วยดังนัน
้ ผู้กำกับ
จึงมีบทบาทเป็ นอย่างมากในกระบวนการผลิต

2. นักแสดงในภาพยนตร์สามารถจําแนกได้กี่ประเภทอะไรบ้าง
ภาพยนตร์จนสมารถจำแนกการทำงานร่วมกับนักแสดงออกเป็ น 3 รูปแบบ
คือการทำงานร่วมกับนักแสดงหลักและการทำงานร่วมกับนักแสดงสมทบ
และนักแสดงแทน
3. จงอธิบายความหมายของคำว่า“ Stand in” และ“ Double” ในขัน
้ ตอน
การกำกับนักแสดงมาโดยละเอียดกษายกตัวอย่างปั ญหาที่จะเกิดขึน
้ ในขัน

ตอนการถ่ายทำภาพยนตร์พร้อมวิธีแก้ปัญหามาโดยละเอียด

นักแสดงแทน (Stand มาเป็ นแบบในการจัดแสงแทนคือใช้นักแสดงที่รูปร่าง


ผิวเสื้อผ้าหน้าผมเหมือนกับนักแสดงหลักเมื่อผู้กำกับแสง (Gaffer) จัดแสง
เสร็จสมบูรณ์และมีการซ้อมทุกอย่างให้เรียบร้อยแล้วจึงให้นักแสดงหลักเข้า
ฉากจริงและถ่ายทำจริงในโอกาสต่อไปในบางครัง้ โดยเฉพาะกองถ่าย
ภาพยนตร์ที่มีจำนวนบุคลากรภาพยนตร์ไม่มากนักจะให้ทีมงานมาเป็ น
Stand in แทนหรือฉากที่สุ่มเสี่ยงต่อการอุบัติเหตุหรืออันตรายที่จะเกิดกับนัก
แสดงหลักหรือนักแสดงหลักไม่มีความพร้อมในการเล่นฉากอันตรายนัน
้ เช่น
ฉากหกล้มหรือฉากขับรถนักแสดงบางครัง้ อาจจะขับรถไม่เป็ นหรือรถ
มอเตอร์ไซค์หรือขับเรือไม่ได้ก็ถือว่าเป็ นอันตรายทัง้ นักแสดงอันตรายทัง้ ทีม
งานหรือฉากต่อสู้ซึ่งการต่อสู้นต
ี ้ ้องมีการออกแบบหรือฝึ กซ้อมมาเป็ นอย่างดี
ถึงแม้จะเป็ นฉากต่อสู้ที่ดูง่ายๆก็อาจจะเป็ นอันตรายเหมือนกันถ้าหากผิด
พลาดขึน
้ มาจะต้องมีการเตรียมความพร้อมฝึ กซ้อมนักแสดงหรืออาจจะใช้ตัว
แสดงแทนหรืออาจใช้อาวุธต่างๆอาจจะเป็ นปื นหรืออาวุธของมีคมต่างๆผู้
กำกับภาพยนตร์ก็สามารถใช้นักแสดงแทน (Stand in) แสดงแทนได้เช่นกัน
กรณีที่จะต้องถ่ายทำร่วมกับสัตว์ที่อันตรายเช่นจระเข้งูพิษช้างม้า ฯลฯ หรือ
ต้องใช้อุปกรณ์ประกอบฉากที่ไม่คุ้นเคยหรือสุ่มเสี่ยงต่อความผิดพลาดผิดคิว
เช่นปื นอาจจะต้องใช้ปืนปลอมหรือปื นจริงที่ไม่มีกระสุนและให้นักแสดงฝึ กใช้
ปื นมีการใช้ปืนที่ถูกต้องหรือกรณีของมีคมอาจใช้ของปลอมที่สร้างขึน
้ มาเลียน
แบบของจริงหรือใช้ของจริงที่มีการนำไปลบคมหรือเป็ นของปลอมที่สร้างขึน

มาให้เหมือนของจริงเพื่อให้นักแสดงใช้กรณีมีความผิดพลาดขณะถ่ายทำจะได้
ไม่เกิดอันตรายกรณีที่ต้องใช้นักแสดงแทนจะเรียกกันว่า (Double)

แบบทดสอบท้ายกิจกรรมที่ 10.2.4

1. ผู้กำกับภาพยนตร์จะต้องทำหน้าที่กับบุคลากรภาพยนตร์ตำแหน่งใดบ้าง
ในการทำงานขัน
้ ตอนหลังการผลิตจงอธิบายมาโดยละเอียด

ส่งตัวหนังให้คนตัดต่อ และตรวจสอบการตัดต่อ แยกฟุตเทจและค้นหามุม


และภาพที่เหมาะสมและน่าสนใจมากที่สุด
ตรวจสอบกับทีมหลังการถ่ายทำ รวมถึงทำงานร่วมกับทีมดูแลด้านเสียง,
หัวหน้างานเพลงและทีมวิชวลเอฟเฟกต์เพื่อให้แน่ใจว่าทุกการตัดสินใจหลัง
การผลิตเป็ นไปตามวิสัยทัศน์โดยรวมของคุณ
ตรวจสอบภาพรวมทัง้ หมดอีกครัง้ ว่าเรียบร้อยหรือไม่ และทำการปิ ดกองถ่าย
พร้อมส่งต่อให้กับโรงหนังฉายในโรง

2. เสียงที่จะนำมาตัดต่อในกระบวนการหลังผลิตประกอบไปด้วยอะไรบ้าง
จงอธิบาย

ในส่วนของแผนกเสียงนัน
้ จะประสานงานจากงานตัดต่อหลังจากที่ตัดต่อเสร็จ
แล้วแผนกเสียงก็จะมีการตรวจสอบเสียงสนทนา (Dialogue) ส่วนไหนที่มี
ปั ญหาอาจจะมีการซ่อมพากย์ใหม่อาจจะนัดนักแสดงมาทำการลงเสียงใหม่
ตามเสียงที่มีปัญหานอกจากนัน
้ จะมีการนำเสียงบรรยากาศ (Ambien) ที่
บันทึกมาจากกระบวนการถ่ายทำมาตัดต่อให้สอดคล้องกับภาพหากไม่
สมบูรณ์ก็จะมีการตัดต่อเสียงเอฟเฟค (Effect) ที่มาจากไฟล์เสียงที่เก็บไว้ใน
ฐานข้อมูล (Audio Library) เช่นเสียงบรรยากาศเสียงในป่ าเสียงในเมืองเสียง
สัตว์ร้องเสียงนกร้องหรือเสียงฝนตกเสียงแก้วแตกเสียงปื น ฯลฯ นอกเหนือ
จากนัน
้ อาจจะต้องมีการบันทึกเสียงใหม่ที่ตรงตามความต้องการมากกว่าทีมี
อยู่ในฐานข้อมูลเช่นต้องการเสียงแก้วแตกแบบใหม่เสียงเดินแบบใหม่หรือ
เสียงเครื่องไม้เครื่องมือปะทะกันเรียกการบันทึกสดของเสียงเหล่านีว้ ่า Foley
ซึ่งแผนกเสียงจะใส่เสียงหลายแบบหลายครัง้ เพื่อให้ผู้กำกับภาพยนตร์ไปเลือก
ใช้ในขัน
้ ตอนหลังจากนัน
้ ได้

แบบทดสอบท้ายกิจกรรมที่ 10.3.1

1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างว่าผู้กำกับภาพยนตร์จะต้องทำงานร่วมกับบุคลากร
ภาพยนตร์ในหน่วยเทคนิคพิเศษฝ่ ายหรือแผนกงานใดบ้างพร้อมอธิบาย
การทำงานของแต่ละฝ่ าย

แผนกเมคอัพเอฟเฟค (Makeup Effects) จะมีการประชุมทำความเข้าให้ตรง


ตัง้ แต่ขน
ั ้ ตอนการเตรียมการถ่ายทําจะต้องเลือกหรือออกแบบหรือหาตัวอย่าง
เพื่อที่จะทําการแต่งหน้านักแสดงให้เป็ นไปตามความต้องการของผู้กำกับ
ภาพยนตร์ไม่ว่าจะเป็ นการสร้างสีผิวที่เปลี่ยนไปหรือการสร้างตกแต่งใบหน้า
ผิวหนังให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของอายุหรืออาจจะหรืออาจจะมีความพิเศษไป
มากกว่านัน
้ เช่นตกแต่งร่างกายหรือมีใบหน้าที่เป็ นบาดแผลรอยแผลเป็ นลักษณะ
ที่บ่งชีถ
้ ึงบุคลิกของตัวละครตกแต่งใบหน้าให้เป็ นภูตผีปีศาจร้ายหรือการที่ต้องใช้
เลือดก็จะมีการทำเลือดปลอมขึน
้ มาซึ่งมีผู้ผลิตเลือดปลอมในการถ่ายทำสามารถ
ซื้อมาใช้หรืออาจจะมีการผลิตขึน
้ มา

เทคนิคพิเศษ (Special Effects) หรืออุปกรณ์เครื่องมือที่เฉพาะเจาะจงในอาชีพ


ของตัวละครเช่นปื นที่ใช้ในระหว่างการถ่ายทำการหยิบจับถือพกการยิงปื นหรือ
ส่วนของร่างกายที่ถูกยิงวัสดุหรือพื้นผิวที่ถูกปื นยิงต้องทำให้เหมือนจริงมากที่สุด
กล่าวคือเทคนิคการถูกยิงนัน
้ มีวิธีการถ่ายทำหลายวิธีเช่นใช้วัสดุจุดระเบิดขนาด
เล็กซ่อนในเสื้อผ้าหรือตามร่างกายเมื่อมีการกดปุ ่มจุดระเบิดวัสดุจุดระเบิดก็จะ
ปะทุขน
ึ ้ มาแล้วทำให้เกิดการระเบิดตามร่างกายซึ่งจะต้องสมจริงมากที่สุดทัง้
เลือดทะลักออกมาผิวหนังที่แตกเป็ นรูเกิดแผลเหอะหวะหรือถ้าเกิดกระสุนยิ่งไป
โดนวัสดุพ้ืนผิวอื่น ๆ

2. นักศึกษาคิดว่านอกเหนือจากเทคโนโลยีภาพยนตร์ในบทเรียนแล้ว
เทคโนโลยีใดที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการทำงานของผู้กำกับในหน่วยเทคนิค
พิเศษยกตัวอย่างพร้อมอธิบายมาโดยละเอียด

ในปั จจุบันด้วยความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีทำให้ทุกอย่างมีความง่าย
และสะดวกขึน
้ ในขัน
้ ตอนในการถ่ายทําเทคนิคพิเศษ (Special Effects) สามารถ
ลดขัน
้ ตอนในการทำงานบางอย่างได้ทำให้ประหยัดเวลาและงบประมาณที่สำคัญ
คือได้คุณภาพที่ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าเดิมเช่นขัน
้ ตอนที่เรียกว่าฟเฟค (Deep fake)
ซึ่งเป็ นการน่าเอาใบหน้าของนักแสดงไปใส่แทนใบหน้าของนักแสดงอีกคนซึ่ง
ทำได้เหมือนจริงมากรวมไปถึงการประมวลผลการเคลอนไหวเสียงก็สามารถ
ทำได้อย่างเหมือนจริงและแม่นยำเช่นการเอานักแสดงที่เสียชีวิตไปแล้วมาสร้าง
ใบหน้าเขาขึน
้ มาโดยใส่ข้อมูลให้คอมพิวเตอร์ได้ร้จ
ู ักใบหน้านักแสดงได้ครบทุกมุม
มองแล้วสามารถใช้ระบบอัจฉริยะ (Artificial Intelligence) หรือ Ai ในการ
ประมวลผลให้ใบหน้าเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระและเหมือนจริงซึ่งหากเทคโนโลยี
การถ่ายทำยังการพัฒนาที่ไม่หยุดยัง้ เพื่อนำมาสนับสนุนการทำงานให้สะดวก
สบายด้วยเงื่อนไขของเวลางบประมารและคุณภาพอันจะสร้างภาพได้ตาม
จินตนาการที่ไม่ปิดกัน
้ ของผู้กำกับภาพยนตร์

แบบทดสอบท้ายกิจกรรมที่ 10.3.2
1. ให้นักศึกษาอธิบายเหตุผลว่าเพราะเหตุใดผู้กำกับภาพยนตร์ถึงจำเป็ นต้อง
ทำงานร่วมกับกับหน่วยอุปกรณ์พิเศษ (Special Equipment Unit)

หากผู้กำกับภาพยนตร์และผู้กำกับภาพต้องการมุมภาพที่แปลกออกไปอาจะต้อง
ใช้อุปกรณ์ในการควบคุมกล้องเพื่อความสะดวกในการทำงานเช่นไม้กันสัน

(Steady Cam) กล้องจะยึดติดกับช่างภาพให้คนช่างภาพเคลื่อนกล้องได้อย่าง
อิสระไม่มีการสั่นสะเทือนซึ่งปั จจุบันนีม
้ ีการผลิตออกมาได้สะดวกสบายและมีน้ำ
หนักที่เบามากยิ่งขึน
้ และสามารถทำให้ผู้ถา่ ยภาพมีความสะดวกสบายและไม่
แบกน้ำหนักจนมากเกินไป ก็ต้องมาติดต่อกับหน่วยอุปกรณ์พิเศษ เพื่อจะใช้
อุปกรณ์

2. นักศึกษายกตัวอย่างอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องยนต์กลไกของหน่วยอุปกรณ์
พิเศษ (Special Equipment Unit) พร้อมอธิบายการทำงานมาโดยละเอียด

โมชั่นคอนโทรล (Motion Control) เป็ นอุปกรณ์ติดตัง้ กล้องที่ควบคุมด้วย


คอมพิวเตอร์สามารถให้การถ่ายทำนัน
้ การควบคุมกล้องที่มนุษย์ทำไม่ได้เช่น
การถ่ายทำในทิศทางได้แม่นยำเหมือนเต็ม 100% หรือการถ่ายทำในลักษณะ
มุมกล้องที่ขยับกล้องได้รวดเร็วหรือใช้ความเร็วได้รวดเร็วเกินกว่ามนุษย์จะ
จัดการได้หรือนำเอาการถ่ายทำซ้ำ ๆ เหล่านัน
้ เพื่อไปประกอบการสร้างงาน
เป็ นเทคนิคพิเศษด้านภาพ (Visual Effects) ด้วยคอมพิวเตอร์ซึ่งจะช่วย
อำนวยความสะดวกในการถ่ายทําได้อย่างดีกล้องที่ถูกติดตัง้ บนลวดสลิง
(Cable Cam) ใช้ในกรณีที่ต้องการฉากที่ให้มีการเคลื่อนไหวกลางอากาศได้
อย่างอิสระและสวยงามก็อาจจะเป็ นอุปกรณ์สายเคเบิล
้ ที่มีอุปกรณ์จับยึดกับ
สายเคเบิล
้ และเคลื่อนไหลไปตามเคเบิล
้ โดยการควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์การ
ใช้อากาศยานไร้คนขับ (Drone) ให้ดูและสามารถทํางานได้สะดวกสบาย
เคลื่อนกล้องได้อย่างสวยงามอิสระเป็ นการถ่ายภาพทางอากาศที่มีการ
ควบคุมผ่านอยู่ที่พ้น
ื และมีมอนิเตอร์
แบบทดสอบท้ายกิจกรรมที่ 10.3.3

1. ให้นักศึกษาอธิบายว่าเหตุผลใดบ้างที่ผู้กำกับภาพยนตร์จะต้องใช้นักแสดง
แทน (Double)?
นั่นเป็ นเพราะว่า การทำงานกับผู้ที่มีความสามารถเฉพาะตัวเช่นการขับรถ
ผาดโผนหรือนักดิ่งภูเขา (Wing suit Flying) เป็ นความสามารถเฉพาะตัวของ
ผู้ที่แสดงซึ่งกรณีนักแสดงหลักไม่สามารถทำแบบนัน
้ ได้ก็จำเป็ นต้องอาศัยผู้
แสดงแทนที่มีความสามารถและเชี่ยวชาญจริงส่วใหญ่ฉากเหล่านีจ
้ ะเป็ นการ
ถ่ายทำที่เป็ นภาพไกลหรือภาพกว้าง (Long Shot) ที่ไม่ต้องการให้เห็นใบหน้า
นักแสดงชัดเจนหรือกรณีที่เห็นใบหน้านักแสดงชัดเจนอาจต้องนำภาพนักแส
ดงจริงๆไปแทนที่ภาพนักแสดงผาดโผนเหล่านัน
้ ได้ประเภทศิลปะการต่อสู้ซึ่ง
เป็ นทักษะความสามารถพิเศษที่นักแสดงจริงหลายครัง้ ไม่สามารถทำได้และ
ไม่มีเวลาที่จะซ้อมให้ได้ขนาดนัน

2. ให้นักศึกษาอธิบายว่าการทำงานร่วมกับนักแสดงแทน (Double) ประเภทสตั๊


นท์ (Stuntman) ผู้กำกับภาพยนตร์มีหลักการใดบ้างที่ทำให้ได้ภาพที่ต้องการ
และให้เกิดความปลอดภัยสูงสุด

ฉากกระแทกไม่ว่าจะเป็ นกระแทกผนังกระแทกทะลุกระจกหลายครัง้ จะเป็ นก


ระจกปลอมบางครัง้ ก็เป็ นกระจกจริงที่ผ่านการบีบอัดทำให้เกิดการแตกที่ไม่
เกิดอันตรายหรือเกิดอันตรายน้อยที่สุดกับนักแสดง แต่ก็ถือว่าอันตรายแม้
กระทั่งนักแสดงผาดโผนที่ฝึกมาเป็ นอย่างดีก็อาจจะได้รับอันตรายในการเล่น
ฉากกระจกได้ฉากเผาไฟเผาไฟที่ร่างกายหรือเผาส่วนต่างๆของร่างกายหรือ
เผาทัง้ ตัววิ่งไปวิ่งมาก็ไม่ควรเอานักแสดงจริงไปเล่นต้องมีผู้เชี่ยวชาญเท่านัน

แบบทดสอบท้ายกิจกรรมที่ 10.3.4

1. การกำกับภาพยนตร์กับหน่วยที่สอง (Second Unit) มีกี่ประเภทอะไร


บ้าง?
ลักษณะการทำงานกับหน่วยที่สอง (Second Unit) นัน
้ แบ่งเป็ น 2 ปรทเภท
คือ
- ฉากพิเศษที่ซับซ้อน
- ฉากพิเศษที่ไม่ซับซ้อน

2. ให้นักศึกษาอธิบายความสําคัญของหน่วยทีสอง (Second Unit) ของการ


ผลิตภาพยนตร์มาโดยละเอียด ?

หน่วยที่สองคือทีมผู้สร้างภาพยนตร์ที่แยกกันซึ่งได้รับมอบหมายให้ถา่ ยทำ
ช็อตหรือซีเควนซ์ของการผลิต แยกจากหน่วยหลักหรือหน่วย "แรก" ยูนิตที่สองมัก
จะถ่ายพร้อมกันกับยูนิตอื่นหรือยูนิตอื่น ทำให้ขน
ั ้ ตอนการถ่ายทำของการผลิตเสร็จ
สิน
้ เร็วขึน

หน้าที่ของหน่วยที่สองแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปแล้วภาพยนตร์หน่วยแรก
คีย์ละครใบหน้าเพื่อใบหน้าระหว่างหลักนักแสดง มีการใช้หน่วยที่สองบ่อยครัง้ สอง
วิธีคือ:

ลำดับการกระทำ ซีเควนซ์แอ็กชันมักถ่ายทำในสถานที่ที่ไม่ต่อเนื่อง โดยใช้นัก


แสดงสตั๊นท์ แทนที่จะเป็ นนักแสดงหลัก และต้องมีการจัดเตรียมการถ่ายทำที่แตก
ต่างจากฉากทั่วไปอย่างเห็นได้ชัด ดังนัน
้ จึงเป็ นโอกาสในการยิงยูนิตที่สอง
"ปิ๊ กอัพ" . หลังจากที่ยูนิตหลักเสร็จสิน
้ ในฉากหรือสถานที่แล้ว อาจมีช็อตที่
ต้องใช้การตัง้ ค่าบางส่วนหรือทัง้ หมดนีเ้ ป็ นแบ็คกราวด์แต่ไม่ต้องการนักแสดงหลัก
ภาพเหล่านีอ
้ าจรวมถึงสิ่งต่างๆเช่นการโคลสอัพ , แทรก , cutaways และสร้างภาพ

แบบทดสอบท้ายกิจกรรมที่ 10.4.1

1. จากเนื้อหาในหัวข้อ 10.4.1 ให้นักศึกษาวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึน


้ กับผู้
กำกับภาพยนตร์ว่าเกิดปั ญหาใดขึน
้ บ้างผู้กำกับภาพยนตร์แก้ปัญหา
อย่างไรและเหตุใดถึงแก้ปัญหาด้วยวิธีนน
ั้ ?
ยกตัวอย่างกรณีภาพยนตร์เรื่องต้มยำกุ้งมีฉากหลายฉากถ่ายทำที่ซิดนีย์ประ
เทศออสเตเลียมีอยู่ฉากหนึ่งคือทีมงานต้องนำลูกช้างไปถ่ายทำที่ซิดนีย์มีการ
ประสานงานกับที่นั่นซึ่งฝ่ ายอนุญาตการถ่ายทำที่ซิดนีย์ตงั ้ กฎกติกาว่าการนำ
สัตว์ภายนอกประเทศมาถ่ายทำในประเทศนัน
้ จะต้องผ่านการตรวจเช็คความ
สะอาดของสัตว์ให้เรียบร้อยก่อนที่ประเทศสิงคโปร์เป็ นเวลา 6 เดือนเมื่อผ่าน
ขัน
้ ตอนนัน
้ แล้วจึงจะนลูกช้างไปถ่ายทำที่ซิดนีย์ได้ซึ่งในระยะเวลา 6 เดือนนัน

ทีมงานไม่สามารถรอได้ ท้ายที่สุดทีมงานแก้ปัญหาโดยการจำลองข้างขึน
้ มา
ให้เหมือนข้างจริงโดยการใช้ยางพาราแล้วทำให้ข้างในกลวงเพื่อให้มีคนสอง
คนเข้าไปอยู่ในตัวข้างเป็ นเจ้าหน้าและเท้าหลังฝึ กเดินจนมีลักษณะท่าทาง
เหมือนจะลูกช้างตัวจริงแล้วก็สามารถนำไปถ่ายทำได้อย่างสะดวกสบาย

2. จากข้อความ“ การแก้ปัญหาโดยการปรับเปลี่ยนบทนัน
้ ควรเป็ นทางเลือก
สุดท้ายหลังจากที่พยายามแก้ปัญหาทางอื่นจนหมดหนทางเท่านัน
้ ” เหตุใด
ถึงกล่าวเช่นนัน
้ ให้นักศึกษาอธิบายถึงเหตุผลดังกล่าว?

นั่นเป็ นเพราะว่าเราต้องลองหลายๆแบบ หลายๆหนทางก่อนที่จะตัดสินใจ


เปลี่ยนบทมัน แต่ถ้าหากว่ามันแก้ไม่ได้จริงๆ ก็ควรที่จะยอมเปลี่ยนบทไปเพื่อ
ไม่ให้เสียเวลา
แบบทดสอบท้ายกิจกรรมที่ 10.4.2

1. ให้นักศึกษาบอกคุณสมบัติของผู้กำกับภาพยนตร์ที่พึงประสงค์วา่ จะต้องมี
คุณสมบัติอย่างไร?

มีความรู้รอบด้าน
ผู้กำกับที่ดีย่อมต้องรู้ “วิธี” การกำกับให้ออกมาดี ถึงแม้ผู้กำกับอาจจะไม่ต้อง
ทำทุกอย่างด้วยตัวเองแต่การมีความรู้ทางเทคนิคในด้านต่างๆ เช่น การจัดไฟ
หรือการเฟรมกล้องรวมถึงรู้วิธีการใช้เครื่องไม้เครื่องมือในการทำ ก็จะทำให้
คนในทีมทำงานได้ง่ายขึน

มีทักษะการสื่อสารที่ดี
ผู้กำกับเป็ นอาชีพที่ต้องสื่อสารกับคนจำนวนมาก ไม่ว่าจะกับนักแสดง ทีมงาน
ในกองถ่าย รวมถึงนักลงทุนที่อยู่เบื้องหลัง ทักษะการสื่อสารให้ความเข้าใจ
ทุกคนตรงกันจึงเป็ นอีกทักษะที่สำคัญไม่แพ้กัน

มีความคิดสร้างสรรค์
การจะเป็ นผู้กำกับโดยปราศจากความคิดสร้างสรรค์นน
ั ้ เป็ นไปไม่ได้ ผู้กำกับ
ต้องมีทงั ้ จินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ และความสามารถในการเปลี่ยน
เรื่องราวบนหน้ากระดาษให้กลายเป็ นภาพเคลื่อนไหวชวนให้คนดูร้ส
ู ึกอยาก
ติดตาม

กล้าตัดสินใจ
การสร้างภาพยนตร์ขน
ึ ้ มาเรื่องหนึ่งไม่ได้ทำกันง่ายๆ บางครัง้ เราอาจจะเจอ
อุปสรรคระหว่างทางที่ไม่ร้ว
ู ิธีแก้ หรือเจอทางเลือกที่ไม่สามารถชีข
้ าดได้ว่า
ทางเลือกไหนเป็ นทางเลือกที่ดีกว่า เมื่อเจอเหตุการณ์แบบนี ้ ทักษะการตัดสิน
ใจด้วยความรวดเร็วและแน่วแน่จะเข้ามามีบทบาทสำคัญ เพราะความลังเล
อาจส่งผลให้ไม่สามารถทำตามเดดไลน์ได้ทันจนส่งผลกระทบเป็ นโดมิโน่

มีความเป็ นผู้นำ
ทุกคนในกองถ่ายจะมองผู้กำกับในฐานะผู้นำทีม ผู้กำกับจึงควรคุ้นเคยกับ
การกระจายงานและออกคำสั่งให้ใครทำอะไร ไม่ว่าจะกับนักแสดงเพื่อให้พวก
เขาสามารถแสดงได้ออกมาสมจริง และกับทัง้ ทีมงานในกองถ่ายเพื่อให้งาน
ออกมาดีที่สุด

2. จากข้อความที่วา่ “กระบวนผลิตภาพยนตร์ถึงมีการเตรียมการรัดกุมมา
อย่างดีก็ยังมีโอกาสเกิดปั ญหาต่าง

ได้อยู่ตลอดเวลา” เหตุใดจึงเป็ นเช่นนัน


้ ?

นั่นเป็ นเพราะว่าเราไม่อาจรู้ได้เลยว่า อนาคตข้างจะมีอะไรเกิดขึน


้ ถึงมีการเต
รียมการรัดกุมมาอย่างดี บ้างที่ก็อาจมีเหตุเกิด ไม่ว่าจะเป็ น ฝนตก ควัน หรือแม้แต่
เสียงรอบข้างที่ต้องเจอเป็ นเรื่องปกติ

3. หากนักศึกษาเป็ นผู้กำกับภาพยนตร์ จะแก้ปัญหาการมาไม่ตรงเวลาของ


ทีมงานและนักแสดงอย่างไร?

กำหนดเวลาเข้าออกงานและประกาศให้แน่ชัด
หลายต่อหลายครัง้ อาจจะไม่ได้มีการกำหนดให้แน่ชัด

พูดคุยทันที
อย่ารอจนคุณรู้สึกโกรธและรำคาญใจจากปั ญหานีจ
้ นรู้สึกปล่อยไว้ไม่ได้แล้ว
เพราะนั่นหมายความว่าคนอื่นๆในทีมอาจจะทนไม่ได้แล้วก็เป็ นได้ พูดคุยเพื่อ
รับรู้ถึงปั ญหาที่มาสายทันทีเพื่อไม่ให้ปัญหาลุกลามบานปลาย ทำให้เข้าใจว่า
เวลาที่ควรพร้อมสำหรับทำงานคือเวลาเข้างาน และหาทางออกของปั ญหา
ร่วมกันหากมีเหตุผลที่ดีเพียงพอ นอกจากนีก
้ ารเรียกคุยยังทำให้ทีมงานที่มา
สายรู้ด้วยว่าผู้กำกับอย่างคุณไม่ได้ปล่อยปละละเลย

You might also like