Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 2

สรุปการทดสอบอนุกรมจํานวนจริง


ให ∑a
n =1
n เปนอนุกรมจํานวนจริงใดๆ


1. ถาอนุกรมอยูในรูปของ ∑ arn =1
n −1
= a + ar + ar + ar + K
2 3
แลวอนุกรมเปนอนุกรมเรขาคณิตซึ่ง
อนุกรมลูเขา ถา r <1 หรือ −1 < r < 1 และ
อนุกรมลูออก ถา r ≥1 หรือ r ≤ −1 หรือ r ≥1

∑n
1
2. ถาอนุกรมอยูในรูป p
เมื่อ p เปนจํานวนจริงบวกแลวอนุกรมเปนอนุกรมพี
n =1

อนุกรมลูออก ถา p ≤1 และ อนุกรมลูเขา ถา p >1



3. ถา อนุกรม ∑a
n =1
n มี lim a n ≠ 0
n →∞
หรือ lim a n
n →∞
หาคาไมได อนุกรมลูออก

ถา lim a n = 0
n→∞
สรุปไมไดวา ∑a
n =1
n ลูเขาหรือลูออก


4. ถาอนุกรม ∑a
n =1
n เปนอนุกรมบวกและมีรูปแบบคลายอนุกรมพีหรืออนุกรมเรขาคณิต อาจหาอนุกรมบวก

∑b
n=1
n มาทดสอบแบบเปรียบเทียบได (Comparision Test) โดย

∞ ∞

∑n =1
an ลูเขา ถา ∑b
n =1
n ลูเขา และ a n ≤ bn ทุกคาของ n

∞ ∞

∑n =1
an ลูออก ถา ∑b n =1
n ลูออก และ a n ≥ bn ทุกคาของ n

5. การทดสอบแบบเปรียบเทียบลิมิต (limit comparision)


∞ ∞

∑ ∑b
an
ให an และ n เปนอนุกรมบวกและ lim =L
n →∞ b
n =1 n =1 n

∞ ∞
อนุกรม ∑n=1
an จะลูเขาหรือลูออกตามอนุกรม ∑b n ถา L เปนจํานวนจริงใดๆ
n=1

∞ ∞

∑n =1
an ลูเขา ถา L=0 และ ∑b
n =1
n ลูเขา

∞ ∞

∑n =1
an ลูออก ถา L=∞ และ ∑b n =1
n ลูออก

เอกสารประกอบการสอนวิชา MATH0210 [Mathematics III (Plus)]


ภาควิชาคณิตศาสตร
∞ ∞
6. อนุกรมที่อยูในรูป ∑ (− 1)n bn หรือ
n =1
∑ (− 1)
n =1
n +1
bn เปนอนุกรมสลับ ซึ่งจะลูเขาเมื่อ

1. bn +1 ≤ bn ทุกคาของ n และ
2. lim bn = 0
n→∞

อนุกรมจะลูออก ถา lim bn ≠ 0


n→∞

∞ ∞ ∞
7. อนุกรม ∑a
n=1
n ลูเขาสัมบูรณ หรือ ∑a
n=1
n ลูเขา ถาอนุกรมคาสัมบูรณ ∑a
n=1
n ลูเขา

∞ ∞ ∞
8. อนุกรม ∑
n=1
an ลูเขาแบบมีเงื่อนไข ถาอนุกรมคาสัมบูรณ ∑
n=1
an ลูออก แต ∑a
n =1
n ลูเขา


9. ถาอนุกรม ∑a
n=1
n อยูในรูป ยกกําลัง ผลคูณ หรือ แฟกทอเรียล อาจใชการทดสอบการลูเขาโดยใชการ
ทดสอบแบบอัตราสวน (Ratio Test) โดย

∑a
a n +1
อนุกรม n ลูเขาสัมบูรณ ถา lim <1
n→∞ a
n=1 n

∑a
a n +1
อนุกรม n ลูออก ถา lim >1
n→∞ an
n =1

a n +1
และจะสรุปไมไดวาอนุกรมลูเขาหรือลูออก ถา lim =1
n→∞ a
n


10. ถาอนุกรม ∑a
n =1
n มี a n อยูในรูปยกกําลัง n อาจใชการทดสอบการลูเขาโดยใชการทดสอบแบบรากที่ n โดย

∑a
1
อนุกรม n ลูเขาสัมบูรณ ถา lim a n n <1
n→∞
n =1

∑a
1
อนุกรม n ลูออก ถา lim a n n >1
n→∞
n =1
1
และจะสรุปไมไดวาอนุกรมลูเขาหรือลูออก ถา lim a n n =1
n→∞

อนุกรมกําลัง

∑ c (x − a )
cn
อนุกรมกําลัง n
n
มีจุดศูนยกลางที่ a รัศมีการลูเขาคือ R = lim
n→∞ c n +1
n =0

ถา R=0 และอนุกรมลูเขาเมื่อ x=a ชวงของการลูเขาคือ {a}


ถา R=∞ ชวงของการลูเขาคือ (∞,−∞ ) หรือเซตของจํานวนจริง
ถา R เปนจํานวนจริงบวกและ R≠0 จะได x−a <R ชวงของการลูเขาเปนไปได 4 กรณีคือ
(a − R , a + R ), (a − R , a + R], [a − R , a + R ) และ [a − R , a + R]
เอกสารประกอบการสอนวิชา MATH0210 [Mathematics III (Plus)]
ภาควิชาคณิตศาสตร

You might also like