Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 186

สติ สัมปชัญญะ

สติ สัมปชัญญะ | รากฐานการศึกษาของมนุ ษยชาติ


รากฐานการศึ ก ษาของมนุ ษ ยชาติ

www.kalyanamitra.org
www.kalyanamitra.org
(พระเผด็็จ ทตฺฺตชีีโว)

ปััจจุุบัันดำำ�รงตำำ�แหน่่ ง
รองเจ้้าอาวาสวััดพระธรรมกาย
President of Dhammakaya International
Society of North America and Europe

เกิิดเมื่่�อวัันที่่�
๒๑ ธัันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๓

สำำ�เร็็จการศึึกษา
ด้้านกสิิกรรมและสััตวบาลบััณฑิิต
จากมหาวิิทยาลััยเกษตรศาสตร์์ บางเขน
และ Diploma of Dairy Technology
จาก Hawkesbury Agricultural College, Australia

อุุปสมบท
เมื่่�อวัันที่่� ๑๙ ธัันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๔
ณ พััทธสีีมา วััดปากน้ำำ�� เขตภาษีีเจริิญ
กรุุงเทพมหานคร

www.kalyanamitra.org
www.kalyanamitra.org
สติิ สัั มปชัั ญ ญะ
รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ

พระเผด็็จ ทตฺฺตชีีโว
เลขมาตรฐานสากลประจำำ�หนัั งสืือ : 978-616-588-206-4
ที่่�ปรึกึ ษา คณะบรรณาธิิการ
ผู้้�จััดทำำ� คณะศิิษยานุุ ศิิษย์์
ออกแบบปก มุุกดา สิิริวิ รจรรยาดีี
ออกแบบรููปเล่่ม นัั นทิิยา แสนจัันทร์์ งามตา ธนานัั นทสููตร
ภาพประกอบ จัันทิิรา โกมาสถิิตย์์ พรทิิพย์์ มีีดีี
พิิมพ์์ครั้้ง� แรก วัันที่่� ๒๑ ธัันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
จำำ�นวนพิิมพ์์ ๑๐,๐๐๐ เล่่ม
ลิิขสิิทธิ์์� วััดพระธรรมกาย อ.คลองหลวง จ.ปทุุมธานีี ๑๒๑๒๐
จััดพิมพ์ ิ ์โดย กองวิิชาการ อาศรมบััณฑิิต วััดพระธรรมกาย
พิิมพ์ที่่์ � บริิษััท รุ่่�งศิิลป์์การพิิมพ์์ (๑๙๗๗) จำำ�กััด
ข้้อมููลทางบรรณานุุ กรมของสำำ�นัักหอสมุุดแห่่งชาติิ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
พระเผด็็จ ทตฺฺตชีีโว.
สติิสััมปชััญญะ รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ.-- ปทุุมธานีี : กองวิิชาการ อาศรมบััณฑิิต
วััดพระธรรมกาย, 2564. 184 หน้้า.

4 1. สติิสััมปชััญญะ. l. จัันทิิรา โกมาสถิิตย์์, ผู้้�วาดภาพประกอบ. ll. ชื่่�อเรื่่อ� ง.


370.155
ISBN 978-616-588-206-4

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
คำำ�นำำ�
ตลอดเวลา ๒ ปีีที่่�ผ่่านมา ท่่ามกลางความรุุนแรงของสถานการณ์์ การระบาดของโรคโควิิ ด ๑๙ (COVID-19)
และถููกกระหน่ำำ� �ซ้ำำ�� เติิมด้้วยวิิบััติิภััยธรรมชาติินานาชนิิดอย่่างไม่่หยุุดยั้้ง� ทำำ�ให้้ผู้้�คนเจ็็บป่่วยทั้้ง� โลกมากถึึง ๒๕๐ ล้้านคน
และล้้มตายกว่่า ๕ ล้้านคน นัั บเป็็นโศกนาฏกรรมครั้้ง� ใหญ่่ของโลกในช่่วงปีีพุุทธศััก ราช ๒๕๖๓-๒๕๖๔ ซึ่่� งนำำ �ความ
เสีียหายทุุกด้้านมาสู่่�โลกมนุุ ษย์์อย่่างมากและยากต่่อการฟื้้�นฟูู
ท่่ามกลางความสููญเสีียทั้้�งโลก มีีเรื่่อ� งน่่าชื่่�นชมอยู่่�อย่่างหนึ่่� งที่่�เกิิดขึ้้�น คืือ ผู้้�นำ�ำ ประเทศ รวมถึึงองค์์กรต่่าง ๆ
ทั่่�วโลกได้้พยายามประสานความร่่วมมืือต่่อสู้้�ป้้องกัันโรคร้้ายนี้้� กัันอย่่างสุุดชีีวิิต มีีทั้้�งการแบ่่งปัันยา ให้้ยืืมยากััน
ระหว่่างประเทศ ตลอดจนความทุ่่�มเทช่่วยเหลืือกัันในด้้านอื่่น� ๆ อย่่างรีีบเร่่ง ราวกัับประชาชนทุุกคนทั่่�วโลกเป็็นญาติิสาย
โลหิิตเดีียวกััน
แม้โรคระบาดมีแนวโน้ มลดลงแต่ยังไม่หมดไปเด็ดขาด แต่ละประเทศต่างก็เตรียมฟื้นฟูประเทศของตนเต็มที่
เพื่่อ� ให้้ทันั ต่่อวิิบัติั ภัิ ยั เหนืือความคาดหมายชนิิ ดอื่่น� ที่่อ� าจมาซ้ำำ�� เติิม ซึ่่�งแต่่ละประเทศก็็เห็็นตรงกัันว่่า การพััฒนาการศึึกษา
ทุุกระดัับชั้้�นในสถานศึึกษาปกติิทั่่�วประเทศ และการให้้การศึึกษานอกสถานศึึกษาแก่่ประชาชนทุุกเพศ วััย ฐานะ อาชีพี
ให้้เข้้าใจวิิชาการยุุคใหม่่ เข้้าถึึงเทคโนโลยีีและนวััตกรรมใหม่่ ๆ ไปพร้้อมกัันทั้้ง� ประเทศของตน เป็็นสิ่่�งที่่�พึึงทำำ�อย่่างเร่่ง
ด่่วน แต่่พึึงอย่่าด่่วนทำำ�เกิินไป เพราะท่่านผู้้�รู้้�จริิงได้้เตืือนสติิไว้้ว่่า
ความรู้้�วิชิ าการไม่่ว่า่ ด้้านใด สาขาใด ทรงคุุณค่่ามากเพีียงใด หากไปเกิิดกัับคนพาล คืือ คนขาดสติิสัมั ปชััญญะ 5
เป็็นนิิ จ มีีจิิตขุ่่�นมััวเป็็นนิิ จ มีีแต่่จะนำำ�ความฉิิ บหายมาให้้ เพราะเขาย่่อมนำำ�ความรู้้�วิิชาการนั้้� นไปใช้้ในทางที่่�ผิิด ๆ

www.kalyanamitra.org
แต่ความรูว้ ิชาการไม่ว่าด้านใด หากไปเกิดกับบัณฑิตผู้มีจิตผ่องใส มีสติสัมปชัญญะมั่นคง สามารถควบคุม
ใจให้รูจ้ ักยั้งคิดเป็นนิ จได้ แม้อา่ นไม่ออกเขียนไม่ได้กม็ แี ต่น�ำความสุขความเจริญมาให้ เพราะเขาย่อมน�ำความรู ้
วิชาการนั้ นไปใช้ในทางทีถ่ ูกทีค่ วรเท่านั้ น
ด้วยเหตุดังกล่าวนี้ กองวิชาการอาศรมบัณฑิต จึงได้จัดพิมพ์หนั งสือ สติสัมปชัญญะ รากฐานการศึกษา
ของมนุุ ษยชาติิ เพื่่�อเป็็นธรรมบรรณาการแก่่ท่่านที่่�เคารพรััก เป็็นที่่�ระลึึกในวาระอายุุวััฒนมงคลของหลวงพ่่อทััตตชีีโว
ครบ ๘๑ ปีี ในวัันที่่� ๒๑ ธัันวาคม พุุทธศัักราช ๒๕๖๔ โดยคณะศิิษยานุุ ศิิษย์์ได้้พร้้อมใจกัันแสดงความกตััญญููกตเวทีี
ร่วมกันประมวลบทเทศน์ สอนและประสบการณ์ การฝึกอบรมลูกศิษย์ ทั้งคฤหัสถ์และบรรพชิตตลอด ๕๐ พรรษากาล
ของท่่าน คััดเลืือกเฉพาะส่่วนที่่�ว่า่ ด้้วยสติิสััมปชััญญะ อัันเป็็นธรรมพื้้�นฐานของการศึึกษาและการทำำ�ความดีีทุุกชนิิ ด
ของมนุุ ษย์์ มาไว้้ในเล่่มเดีียว โดยพยายามรัักษาภาษาพููดง่่าย ๆ ตามสไตล์์ของหลวงพ่่อ พร้้อมกัับแทรกบทฝึึกนิิ สััย
และภาพการ์์ตูนู ประกอบ ซึ่่�งเหล่่าศิิษย์์ช่่วยกัันเรีียบเรีียง ช่่วยกัันวาดอย่่างประณีีตเป็็นธรรมบููชา
คณะผู้้�จััดทำำ�หวัังเป็็นอย่่างยิ่่�งว่่า เมื่่�อท่่านอ่่านหนัั งสืือ สติิสััมปชััญญะ รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ เล่่มนี้้�
และประพฤติิปฏิิบััติิตามบทฝึึกนิิ สััยแล้้ว ย่่อมเกิิดประโยชน์์ ในการสร้้างบุุญบารมีีได้้ตลอดรอดฝั่่�ง เพื่่�อไปให้้ถึึงที่่�สุุด
แห่่งธรรมของท่่านเอง รวมทั้้�งญาติิสนิิ ทมิิตรสหายและสััมพัันธชนของท่่านด้้วย

คณะศิิษยานุุ ศิิษย์์
6 ๒๑ ธัันวาคม พุุทธศัักราช ๒๕๖๔

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
สารบััญ
เรื่่อ� ง
หน้้า

คำำ�นำำ � ๕
สารบััญ ๗
บทที่่� ๑ ทุุกคนอยากเป็็นคนดีี แต่่ดีีได้้ไม่่ทุุกคน ๑๕
ความหมายความดีี ๑๖
ความสำำ�คััญของความดีี ๒๐
สิ่่�งแวดล้้อม ๕ ที่่ต้� ้องคำำ�นึึงถึึงก่่อนทำำ�ความดีี ๒๒
แนวทางการฝึึกตััวของผู้้�รัักที่่�จะเป็็นคนดีี ๒๖
บทที่่� ๒ ธรรมชาติิของใจที่่�รู้้เ� ห็็นได้้ยาก ๓๓
ฐานที่่ตั้้� �งของใจ ๓๔
คุุณสมบััติิของใจ ๓๔
สติิสััมปชััญญะเครื่่อ� งมืือควบคุุมใจ ๓๖
7

www.kalyanamitra.org
เรื่่อ� ง หน้้า
บทที่่� ๓ สติิ ๓๙
ความหมายของสติิ ๔๐
ลัักษณะของสติิ ๔๐
หน้้าที่่�ของสติิ ๔๒
ศััตรููของสติิ ๔๓
สติิทำำ�ให้้มีีนิิสััยรอบคอบไม่่ประมาท ๔๓
การฝึึกสติิ ๔๕
บทที่่� ๔ สััมปชััญญะ ๔๙
ความหมายและลัักษณะของผู้้�มีีสััมปชััญญะ ๕๐
ลัักษณะความรู้้�ตััว ๔ ของผู้้�ทำำ�งานอย่่างมีีสติิสััมปชััญญะ ๕๕
หลัักการทำำ�งานอย่่างชาญฉลาดเพิ่่�มพููนสติิสััมปชััญญะ ๕๘
บทที่่� ๕ สติิสััมปชััญญะในกิิจวััตรประจำำ�วััน ๖๕
กิิจวััตรเพื่่�อฝึึกสติิสััมปชััญญะ ๖๖
ความสำำ�คััญของการฝึึกสติิสััมปชััญญะในระดัับครอบครััว ๗๓
8

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
เรื่่อ� ง หน้้า
ความจริิงน่่าตระหนกประจำำ�โลกที่่ถู� ูกมองข้้าม ประการที่่� ๑ ๗๕
ทุุกคนเกิิดมาพร้้อมกัับความไม่่รู้้�
ความจริิงน่่าตระหนกประจำำ�โลกที่่ถู� ูกมองข้้าม ประการที่่� ๒ ๗๕
ทุุกคนเกิิดมาพร้้อมกัับความทุุกข์์
ความจริิงน่่าตระหนกประจำำ�โลกที่่ถู� ูกมองข้้าม ประการที่่� ๓ ๗๙
ทุุกคนเกิิดมาพร้้อมกัับความสกปรก
ความจริิงน่่าตระหนกประจำำ�โลกที่่ถู� ูกมองข้้าม ประการที่่� ๔ ๘๒
สััตว์์โลกตกอยู่่�ใต้้กฎแห่่งกรรม
หลัักเกณฑ์์ตััดสิินกรรมดีี-ชั่่�ว ๘๕
การให้้ผลของกรรม ๘๕
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา ๘๙
กำำ�เนิิ ดผู้้�รู้้�จริิงครููดีีต้้นแบบ ๙๐
หลัักคิิดการจััดการศึึกษา ๙๓
ความจริิงที่่�ต้้องจััดการศึึกษา ๙๕

www.kalyanamitra.org
เรื่่อ� ง หน้้า
ความจริิงคืือหััวใจการศึึกษา ๙๘
ความหมายของความจริิง ๙๘
ประเภทของความจริิง ๙๙
ความจริิงที่่�ต้้องรีีบรู้้� รีีบประพฤติิ ๑๐๖
ใจเป็็นเครื่่อ� งมืือเพีียงอย่่างเดีียวเท่่านั้้� นที่่�ทำำ�ให้้รู้้�ความจริิง ๑๐๘
วิิธีีรู้้�ความจริิง ๑๐๘
เครื่่อ� งมืือรู้้�ความจริิง ๑๑๐
ความหมายการศึึกษา ๑๑๓
การศึึกษาขาดครููดีีไม่่ได้้ ๑๑๕
ความหมายของคำำ�ว่่า “ครูู” ๑๑๕
เหตุุผลที่่�การศึึกษาต้้องมีีครููดีี ๑๑๗
หน้้าที่่�ครููดีี ๑๒๐
บทฝึึกนิิ สััยตนเองให้้มีีสติิสััมปชััญญะ ๑๒๖
ความหมายนิิ สััย ๑๒๖
ความหมายบทฝึึกนิิ สััย ๑๒๘
10 ส่่วนประกอบบทฝึึกนิิ สััย ๑๒๘

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
เรื่่อ� ง หน้้า
การออกแบบบทฝึึกนิิ สััย ๑๒๙
การใช้้บทฝึึกนิิ สััย ๑๓๐
การประเมิินบทฝึึกนิิ สััย ๑๓๐
ตััวอย่่างบทฝึึกนิิ สััยตนเอง ๑๓๑
การทำำ�งานอย่่างมีีสติิสััมปชััญญะ ๑๓๒
บทฝึึกนิิ สััยตนเองให้้มีีสติิเก็็บใจไว้้ในกาย ๑๓๓
บทฝึึกนิิ สััยตนเองให้้มีีสติิสััมปชััญญะผ่่านการเดิิน ๑๓๔
บทฝึึกนิิ สััยตนเองให้้มีีสติิสััมปชััญญะผ่่านการทำำ�ความสะอาด
โต๊๊ะและเก้้าอี้้�นัักเรีียน ๑๓๕
บทฝึึกนิิ สััยตนเองให้้มีีสติิสััมปชััญญะผ่่านการใช้้ห้้องสุุขา ๑๓๖

บทสรุุปส่่งท้้าย ๑๔๗
บรรณานุุ กรม ๑๕๐
วิิธีีฝึกึ สมาธิิเบื้้�องต้้น ๑๕๒

11

www.kalyanamitra.org
12

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
13

www.kalyanamitra.org
สติิ
เป็็นธรรมกำำ�กัับใจ ไม่่ให้้แวบเที่่�ยวออกนอกตััว
ให้้คิิดแต่่ดีี ๆ เหมืือนหางเสืือเรืือ
กำำ�กัับเรืือให้้ฝ่่าคลื่่�นลมไปให้้ถึึงที่่�หมาย
สััมปชััญญะ
เป็็นธรรมให้้ช่่างสัังเกตเห็็น รู้้ � ความจริิง
ในสิ่่�งที่่�กำำ�ลัังกระทำำ� ทั้้�งด้้านร้้ายและดีี
แล้้วเว้้นสิ่่�งที่่�ร้้าย เลืือกกระทำำ�แต่่สิ่่�งที่่�ดีี

www.kalyanamitra.org

บทที่่�

ทุุกคนอยากเป็็นคนดีี
แต่่ดีีได้้ไม่่ทุุกคน
www.kalyanamitra.org
ผูค้ นทัง้ โลกไม่วา่ จะเด็กหรอื ผูใ้ หญ่ ล้วนอยากเป็นคนดดี ว้ ยกันทัง้ นั้น แต่มเี พยี งบางคนทไี่ ด้เป็นคนดสี มความตัง้ ใจ
เพราะความเป็นคนดีไม่อาจส�ำเร็จได้ เพียงด้วยความอยากเป็น แต่เป็นคนดีได้ เพราะได้ท�ำความดีมาอย่างรอบคอบ
ต่อเนื่ องและมากพอจนติดเป็นนิ สัยรักในการคิดดี พูดดี ท�ำดีฝังใจ ไม่หลงเหลือนิ สัย คิด พูด ท�ำอะไรมักง่าย โดย
ไม่ค�ำนึ งถึงผลกระทบเสียหาย ให้เป็นหอกตามทิม่ แทงตนเองและผู้อนื่ ให้ต้องเดือดร้อนภายหลัง

ความหมายความดี

ท่านผู้รจู ้ ริงเคยให้ค�ำจ�ำกัดความของกรรมดีไว้ว่า
บุคคลท�ำกรรมใดแล้ว ไม่ต้องเดือดร้อนใจในภายหลัง มีใจเบิกบานอิ่มเอมเสวยผลของกรรมอยู่ กรรมที่
ท�ำแล้วย่อมเป็นกรรมดี
จากค�ำจ�ำกัดความของกรรมดี แสดงว่า
๑. ความดีเป็นผลของการท�ำกรรมดี ความชัว่ เป็นผลของการท�ำกรรมชัว่
เหตุ ผล
ทำำ�กรรมดีี ความดีี ความสุุข ความเจริิญ
ทำำ�กรรมชั่่ว� ความชั่่ว� ความทุุกข์์ ความเสื่่�อม
16

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๑ ทุุกคนอยากเป็็นคนดีี แต่่ดีีได้้ไม่่ทุุกคน

๒. ลักษณะอาการของผู้ท�ำความดี มีลักษณะดังนี้
๒.๑ ผู้ท�ำ มีความตั้งใจดี ความดีของใครย่อมไม่เกิดขึ้นเองลอย ๆ แต่เกิดจากความตั้งใจดีของผู้นั้น
๒.๒ ผู้ท�ำ มีความพยายามท�ำกรรมดีนั้น ๆ จนกระทั่งประสบความส�ำเร็จตามทีต่ ั้งไว้
๒.๓ เกิดประโยชน์ ต่อผู้ท�ำความดีนั้นเป็นอันดับแรก คือ มีใจผ่องใสเบิกบานขึ้น อิ่มเอมใจยิ่งขึ้น และหาก
การกระท�ำนั้ นยิ่งท�ำให้ใจของผู้ท�ำและผู้อื่นเบิกบานผ่องใสมากเท่าไร ก็ยิ่งเป็นประโยชน์ เป็นความดีมากขึ้นเท่านั้ น
๒.๔ ไม่กอ่ ความเดือดร้อนใด ๆ แก่ผทู้ �ำเองและผูอ้ นื่ ตามมาในภายหลังโดยเด็ดขาด แต่ในขณะท�ำงานนั้ น
หากมีเหตุให้ต้องเหนื่ อยยากบ้าง มีอุปสรรคบ้าง ซึ่งจะเป็นเพราะตนเองบกพร่อง สิง่ แวดล้อมไม่เอื้ออ�ำนวยก็เป็นเรื่อง
ธรรมดา ซึ่งต้องอดทนและหาทางแก้ไขให้ลุล่วงจนกว่าจะส�ำเร็จก็ไม่จัดว่าเป็นความเดือดร้อน
ลักษณะอาการของผู้ท�ำความดี-ความไม่ดี ดังภาพที่ ๑
ตัวอย่างความเดอื ดร้อนหรืออุปสรรคทเี่ กิดขึ้นขณะท�ำความดี แต่ไม่ถือว่าเป็นความเสียหายของการท�ำความดีน้ัน
ชาวนาชาวไร่ ต้องกร�ำแดด ลม ฝน ขณะท�ำไร่ ไถนา ถึงกับปวดร้าวทั้งตัว ปวดหัว เป็นไข้บ้างเพียงวันสองวัน
ก็หาย กรณี นี้ไม่จัดว่าเป็นความเดือดร้อน เพราะแม้ไม่ได้ท�ำงานบางครัง้ ก็มีอาการเจ็บป่วยเหล่านี้ หรือในการบริจาค
ทานที่มีผรู้ ว่ มท�ำบุญจ�ำนวนมาก มีพระภิกษุจ�ำนวนมาก ๆ มีการจราจรคับคัง่ แม้มกี ารกระทบกระทัง่ กันบ้าง เสร็จงาน
ก็มแี ต่ความปลื้มใจตามมา เหล่านี้ ไม่ถือว่าเป็นความเดือดร้อน
17

www.kalyanamitra.org
ตั้งใจ ไม่ตั้งใจ
เพียร ไม่เพียร
ไม่เดือดร้อน เดือดร้อน
เกิดประโยชน์ ไม่เกิดประโยชน์

ความดีี ความไม่่ดีี

18 ภาพที่ ๑ ลักษณะอาการของคนที่ท�ำความดี-ความไม่ดี

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๑ ทุุกคนอยากเป็็นคนดีี แต่่ดีีได้้ไม่่ทุุกคน

ครููต้้องเหนื่่� อยพร่ำำ�� สอนศิิษย์์ ศิิษย์์ต้้องอดหลัับอดนอนเพื่่�อทำำ�การบ้้าน ต้้องขยัันทำำ�แบบฝึึกหััด อดไปเที่่�ยว


เล่่นสนุุ ก พ่่อแม่่ต้้องทำำ�งานหนัั กเพื่่�อหาเงิินค่่าเทอมให้้ลููก จััดว่่าเป็็นความดีี เพราะสุุดท้้ายทั้้�งศิิษย์์ ครูู พ่่อแม่่ ไม่่มีีใคร
เดืือดร้้อนในภายหลััง ทุุกคนมีีแต่่ได้้ประโยชน์์ ตามมา คืือ
๑) ศิิษย์์มีีความรู้้�ไปประกอบการงานเลี้้�ยงชีีพ
๒) ครูภาคภูมิใจที่ศิษย์เป็นคนดีมีความสามารถ
๓) พ่อแม่ได้ลูกเก่งและดีไว้พ่งึ พายามชรา
๔) ประเทศชาติได้คนดีไว้พัฒนาประเทศ
ในทางกลับกัน เมื่อเด็กเอาแต่เล่นสนุ กเฮฮา หนี โรงเรียน ครูก็ไม่ว่ากล่าวให้ตนเองเหนื่ อย พ่อแม่ก็ปล่อยเลย
ตามเลย ลูกอยากเรียนก็เรียน ไม่อยากเรียนตนก็ชอบ ไม่ต้องเหนื่ อยหาเงินเสียค่าเทอม แถมพ่อแม่เองก็ติดอบายมุข
คุณประโยชน์ ปัจจุบันใด ๆ ก็ไม่เกิด ประโยชน์ อนาคตก็ไม่ได้ ท�ำลายทั้งอนาคตของตน ท�ำลายทั้งอนาคตของชาติ
ให้ยับเยิน เหล่านี้ นับเป็นความชั่วความเดือดร้อนทั้งสิ้น
การวััดประเมิินตััดสิินความดีีของผู้้�ใด จึึงไม่่ได้้วััดจากความเหนื่่� อยมาก เหนื่่� อยน้้ อย สบายมาก สบายน้้ อย
ง่่าย หรืือยากขณะทำำ�งาน แต่่วัดั กัันที่่ค� วามไม่่มีเี รื่่อ� งเดืือดร้้อนตามมาถึึงตนและคนอื่่�นทั้้�งที่่�อยู่่�ใกล้้ไกล ที่่�สำ�คั
ำ ญั ตนเอง
ต้้องได้้ประโยชน์์ เต็็มที่่�จากการทำำ�ความดีีนั้้� น ส่่วนผู้้�อื่่น� ได้้ประโยชน์์ มากน้้ อยเท่่าไรถืือว่่าเป็็นผลพลอยได้้
19

www.kalyanamitra.org
ความส�ำคัญของความดี

ความดีมีความส�ำคัญต่อมนุ ษยชาติด้วยเหตุผล ๒ ประการ คือ


๑. ความดีท�ำให้จิตใจชาวโลกมีความผ่องใสยิ่ง ๆ ขึ้นไป เพราะความผ่องใสของใจเป็นต้นทางของการคิดดี
พูดดี ท�ำดีทั้งหลาย
๒. ความดีีทำำ�ให้้ไม่่มีีความเดืือดร้้อนที่่�จะเกิิดตามมาแก่่ผู้้�อื่่น� และสิ่่ง� แวดล้้อม ๕ เพราะว่่าเราไม่่ได้้อยู่่�คนเดีียว
ในโลก หากเราไม่่เกรงใจเขา เขาก็็จะไม่่เกรงใจเรา ไม่่เฉพาะคนเท่่านั้้� น ยัังมีีสััตว์์อีีกนานาชนิิ ดอยู่่�ร่่วมโลกกัับเรา
ทั้้�งสััตว์์บก สััตว์์น้ำ�ำ� เมื่่�อรวมกัันแล้้วจำำ�นวนสััตว์์ก็็มีีมากกว่่ามนุุ ษย์์ ที่่�สำำ�คััญสััตว์์แต่่ละตััวก็็รักั สุุข เกลีียดทุุกข์์ เกลีียด
ความเดืือดร้้อน รัักตััวกลััวตายไม่่น้้อยกว่่ามนุุ ษย์์ ดัังนั้้�น ก่่อนจะกระทำำ�สิ่่ง� ใด ๆ ลงไปจึึงต้้องคำำ�นึึงถึึงสิ่่�งแวดล้้อม ๕
รอบตััวด้้วย

20

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๑ ทุุกคนอยากเป็็นคนดีี แต่่ดีีได้้ไม่่ทุุกคน

ความเป็็นคนดีี
ไม่อาจส�ำเร็จได้เพราะความอยากเป็น
แต่่ความเป็็นคนดีี จะสำำ�เร็็จได้้เพราะ
ได้ท�ำความดีมาอย่างรอบคอบ
ต่่อเนื่�่ อง และมากพอจนติิดเป็็นนิิ สััย

21

www.kalyanamitra.org
สิ่งแวดล้อม ๕ ที่ต้องค�ำนึ งถึงก่อนท�ำความดี

สิ่งแวดล้อม ๕ ประเภท ที่ต้องค�ำนึ งก่อนการท�ำงานทุกครัง้ เพื่อป้องกันความเดือดร้อนเสียหายที่จะตามมาคือ


๑. สิง่ แวดล้อมทีเ่ ป็นธรรมชาติ เช่น แดด ลม ฝน ดิน ต้นไม้ ต้นหญ้า ฯลฯ
๒. สิง่ แวดล้อมทีเ่ ป็นสัตว์น้อยใหญ่ ทั้งสัตว์บก สัตว์น�้ำ สัตว์เลี้ยง สัตว์ป่า สัตว์ปีก แมลงต่าง ๆ ฯลฯ
๓. สิง่ แวดล้อมทีเ่ ป็นมนุ ษย์ ทัง้ เด็ก ผู้ใหญ่ หญิง ชาย ต่างชาติ ต่างศาสนา ต่างผิวพรรณ ฯลฯ
๔. สิง่ แวดล้อมทีเ่ ป็นวัตถุสง่ิ ของ อุปกรณ์ที่มนุ ษย์ประดิษฐ์ข้นึ มาอ�ำนวยความสะดวก ซึ่งวัตถุส่งิ ของแต่ละชนิ ด
ล้วนมีผลข้างเคียงให้ต้องระมัดระวังด้วยกันทั้งสิ้น
๕. สิ่งแวดล้อมที่เป็นแบบแผนความประพฤติ เป็นข้อปฏิบัติที่ให้ทุกคนประพฤติปฏิบัติให้ถูกต้องตรงตาม
ความเป็นจริงที่เกี่ยวกับตนเอง สิ่งแวดล้อมที่เป็นธรรมชาติ สัตว์ คน ชุมชน สังคม และวัตถุส่งิ ของ เพื่อให้ใจอยู่ในกาย
มีความผ่องใสอยู่เป็นนิ จ มีสติระลึกรูส้ ิ่งที่ควรคิด ถ้อยค�ำที่ควรพูด และกิจที่ต้องท�ำได้อย่างถูกต้อง เกิดเป็นนิ สัยดีงาม
ประจ�ำตัวแต่ละคน จะได้อยู่รว่ มกันสงบสุขร่มเย็น สิ่งแวดล้อมที่เป็นแบบแผนความประพฤตินี้มี ๒ ประเภท คือ
๕.๑ สิ่่ง� แวดล้้อมที่่�เป็็นแบบแผนความประพฤติิที่่กำ� ำ�หนดโดยมนุุ ษย์์ แบบแผนนี้้� เป็็นกฎและจริิยธรรมของ
สัังคม ที่่�สัังคมมนุุ ษย์์ เช่่น ประเทศ รััฐบาล สัังคม ชุุมชน องค์์กร หมู่่�คณะ ครอบครััว ฯลฯ ร่่วมกัันกำำ�หนดขึ้้�น กฎนี้้� มีี
22 การประกาศให้้ทราบทั่่�วหน้้า หากใครไม่่ทำำ�ตามก็็มีีบทลงโทษตามกฎหมาย หรืือตามกฎของสัังคมนั้้�น ๆ เช่่น ระเบีียบ

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๑ ทุุกคนอยากเป็็นคนดีี แต่่ดีีได้้ไม่่ทุุกคน

แบบแผน วััฒนธรรม ประเพณีี กฎระเบีียบ ข้้อบัังคัับ กฎหมาย เป็็นต้้น สิ่่�งแวดล้้อมประเภทนี้้� มีีผิิดบ้้าง ถููกบ้้างไม่่
แน่่นอน ขึ้้�นอยู่่�กัับว่่าผู้้�บััญญััติกิ ฎมีีความรอบรู้้�ในเรื่่อ� งความจริิงของโลกและชีีวิิตถููกต้้องมากน้้ อยเพีียงใด ความประพฤติิ
ของเขาถููกต้้องตรงต่่อความจริิงที่่จ� ะนำำ�ไปสู่่�ความพ้้นทุุกข์์เพีียงใด หากผู้้�บััญญััติยึิ ดึ ประโยชน์์ ตนเฉพาะหน้้า ไม่่คำำ�นึึงถึึง
ความเดืือดร้้อนที่่จ� ะตามมาแก่่ตนเอง ผู้้�อื่่น� และสิ่่ง� แวดล้้อม สัังคมที่่มีีผู้้�บั
� ญ ั ญััติกิ ฎเช่่นนี้้� ย่อ่ มก่่อความเดืือดร้้อนต่่อสัังคม
โลกอย่่างมหัันต์์
๕.๒ สิ่่ง� แวดล้้อมที่่�เป็็นแบบแผนความประพฤติิที่่ม� นุุ ษย์์ไม่่ได้้กำำ�หนด แต่่เป็็นสภาวสากลและเป็็นกฎสากล
ของโลก ได้้แก่่ กฎแห่่งกรรม กฎไตรลัักษณ์์ ซึ่่�งเป็็นธรรมชาติิความจริิงของทุุกสรรพสััตว์์และสรรพสิ่่�ง เป็็นกฎที่่�ไม่่มีี
การประกาศให้้ทราบ แต่่ปรากฏให้้เห็็นจนมนุุ ษย์์ชาชิิน จึึงมองข้้ามและคิิดว่่าเป็็นเรื่่อ� งธรรมดา ทั้้�งที่่�เป็็นกฎที่่�แน่่ นอน
และควบคุุมสรรพสััตว์์และสรรพสิ่่�ง ให้้อยู่่�ใต้้อำำ�นาจของกฎสากลนี้้� ดัังตััวอย่่าง
ใครรัักษาศีีล ๕ เป็็นการทำำ�ความดีี ได้้กายมนุุ ษย์์ ได้้ใจใสระดัับมนุุ ษย์์
เข้้าถึึงความเป็็นมนุุ ษย์์ได้้
ใครมีีหิิริโิ อตตััปปะ เป็็นการทำำ�ความดีี ได้้กายเทวดา ได้้ใจใสระดัับเทวดา
เข้้าถึึงความเป็็นเทวดาได้้
ใครมีีพรหมวิิหารธรรม เป็็นการทำำ�ความดีี ได้้กายพรหม ได้้ใจใสระดัับพรหม
เข้้าถึึงความเป็็นพรหมได้้
23

www.kalyanamitra.org
ใครไร้้ศีีล ๕ เป็็นการทำำ�ความชั่่ว� แม้้กายเป็็นคน แต่่ใจขุ่่�นมืืดระดัับสััตว์์
เข้้าถึึงความเป็็นสััตว์์ดิิรัจั ฉานหรืือสััตว์์นรกได้้
ใครซ่่องเสพอบายมุุข ๖ เป็็นการทำำ�ความชั่่�ว แม้้กายเป็็นคน แต่่ใจขุ่่�นมืืดระดัับสััตว์์
เข้าถึงความเป็นสัตว์ดิรจั ฉานหรือสัตว์นรกได้
ม.อุุ. ๑๔/๒๘๙-๒๙๗/๓๔๙-๓๕๗ (ไทย.มจร)

สิ่่ง� แวดล้้อมที่่เ� ป็็นแบบแผนความประพฤติิสากลนี้้� แม้้ยากที่่จ� ะมีีผู้้�ใดค้้นพบได้้ แต่่มีีผู้้�รู้้�จริงิ จำำ�นวนมากค้้นพบแล้้ว


นำำ�มาเปิิดเผย บััญญััติิ สั่่ง� สอน หากเราทั้้ง� หลายตั้้ง� ใจเพีียรศึึกษา รีีบรู้้� รีีบประพฤติิตามคำำ�สอนของท่่านผู้้�รู้้�จริิง ใจของเรา
ก็จะยิ่งผ่องใสขึ้น เมื่อใจใสขึ้นก็อยากท�ำความดี เว้นขาดจากความชั่วให้ยิ่ง ๆ ขึ้นไป
อย่่างไรก็็ตาม สิ่่ง� แวดล้้อม ๕ ประเภทข้้างต้้น ยัังสามารถจำำ�แนกออกเป็็น ๒ ประเภทใหญ่่ ๆ ได้้แก่่ ๑) สิ่่ง� แวดล้้อม
ที่่�มีชีี วิี ติ คืือ คนและสััตว์์ หรืือเรีียกว่่า สรรพสััตว์์ และ ๒) สิ่่ง� แวดล้้อมที่่�ไม่่มีชีี วิี ติ คืือ สรรพสิ่่ง� ทั้้ง� สรรพสััตว์์และสรรพสิ่่ง�
รวมกััน เรีียกว่่า สิ่่ง� แวดล้้อมทั้้�งปวง สิ่่�งแวดล้้อมทั้้�งปวงย่่อมตกอยู่่�ภายใต้้กฎสากล โดยเฉพาะอย่่างยิ่่ง� สิ่่ง� แวดล้้อมที่่เ� ป็็น
คน สภาพใจใสหรืือขุ่่�นของคนมีีผลอย่่างมากต่่อความเจริิญและความเสื่่�อมของสิ่่�งแวดล้้อมทั้้�งปวง คนไม่่ว่่าทราบหรืือ
ไม่่ทราบกฎสากลของโลกนี้้� ถ้้าใจขุ่่�นมััวย่่อมปฏิิบััติิตนไม่่ถููกต้้อง กลายเป็็นผู้้�ทำำ�ลายตนและสิ่่ง� แวดล้้อมรอบตน แต่่
หากใครทราบและปฏิิบััติิตนได้้ถููกต้้องจนใจใส ย่่อมเกิิดประโยชน์์ ทั้้�งแก่่ตนเองและแก่่สิ่่�งแวดล้้อมทั้้�งปวงอีีกด้้วย
24

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๑ ทุุกคนอยากเป็็นคนดีี แต่่ดีีได้้ไม่่ทุุกคน

ความรูจ้ ริงถึงลักษณะหรือคุณสมบัตพิ เิ ศษของสิง่ แวดล้อมแต่ละอย่างให้ครบทัง้ ๕ ประเภทอย่างถ้วนถี่ รอบคอบ


ก่อนลงมือท�ำความดที กุ ครัง้ จึงเป็นเรื่องส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างยิง่ เพราะสิง่ แวดล้อมแต่ละอย่างล้วนมที งั้ ส่วนทเี่ ป็นคุณ
และเป็นโทษต่อมนุ ษย์ด้วยกันทั้งสิ้น
ที่ส�ำคัญการท�ำความดีไม่ว่ามากหรอื น้ อย ย่อมไม่ต่างกันกับการเดินทวนกระแสน�้ำ ผู้เดินทวนกระแสน�้ำ
นอกจากต้องออกแรงเดินฝ่ากระแสน�้ำที่ไหลมาปะทะแล้ว ยังต้องระวังโขดหิน หลุมบ่อ หลักตอที่จมอยู่ใต้น�้ำด้วย
ยิ่งน�้ำขุ่นหรือยามค�่ำคืนยิ่งต้องระวังอันตรายให้มากฉั นใด การท�ำความดีไม่ว่ามากหรอื น้ อยก็ต้องใช้ ๑) แรงกาย
แรงสติปัญญา ความรู ้ ความสามารถที่ตนเองมีให้เต็มที่ ๒) ต้องระมัดระวังภัยอันอาจเกิดจากสิ่งแวดล้อมที่ไม่อ�ำนวย
๓) ต้องหาประโยชน์ ที่มีจากสิ่งแวดล้อมแต่ละอย่างมาช่วยสนั บสนุ นส่งเสริมให้เต็มที่ ความดีที่ต้ังใจท�ำจึงจะลุล่วง
ด้วยดีฉันนั้ น
ข้อควรระวังอย่างยิง่ คอื คนส่วนมากมักหลงทึกทักว่า ตนรูจ้ ริงในสิง่ แวดล้อม ๕ ดแี ล้ว เพราะต่างคนต่างอยูก่ บั
สิง่ แวดล้อมต่าง ๆ มาตัง้ แต่เกิด จึงขาดความระมัดระวัง ขาดการเตรียมความพร้อมก่อนลงมือท�ำความดี ด้วยเหตุนี้
แม้ตงั้ ใจและลงมือท�ำความดีอย่างเต็มที่ ก็ยังยากที่จะหลีกเลี่ยงความผิดพลาดเสียหายและความล้มเหลวที่จะเกิดขึ้น
ในแต่ละปีจงึ เกิดเหตุรา้ ยซ�้ำซาก เช่น น�้ำท่วม ไฟไหม้ ไฟฟ้าช็อต รถคว�่ำ ซึ่งหลายครัง้ หลายคราวก็เกิดเหตุตรงสถานที่
เดิม ๆ ซ�้ำ ๆ บางคราวแม้แต่ผช�ำ ู้ นาญการด้านนั้น ๆ ก็ท�ำให้เกิดความเสียหายเสียเอง เพราะประสบกับปัจจยั ทคี่ วบคุม
ไม่ได้ เช่น ดิน ฟ้า อากาศแปรปรวน เป็นต้น จึงกลายเป็นว่า คนเราท�ำดีได้ยาก ท�ำชั่วได้ง่าย แล้วพากันท้อถอย
ในการท�ำความดี ซึ่งความจริงแล้วเป็นเพราะเขาเหล่านั้ นประมาท ไม่รูจ้ ริงเกีย่ วกับสิง่ แวดล้อมนั่ นเอง 25

www.kalyanamitra.org
แนวทางการฝึกตัวของผู้รกั ที่จะเป็นคนดี

การฝึึกตนให้้รู้้�จัักตนเองอย่่างแท้้จริงิ รู้้�จริิงถึึงคุุณและโทษของสิ่่�งแวดล้้อมทั้้�ง ๕ ชนิิ ด เป็็นเรื่่อ� งที่่�จำำ�เป็็น


อย่่างยิ่่�ง ท่่านผู้้�รู้้�จริิงจึึงให้้แนวทางในการฝึึกตนไว้้เป็็นเชิิงอุุปมาเปรีียบเทีียบว่่า

เมื่่�อน้ำำ�ขุ่่�
� นมััว ไม่่ใส บุุคคลย่่อมไม่่เห็็น หอยกาบ หอยโข่่ง กรวด ทราย และฝููงปลา
ฉัั นใด เมื่่�อจิิตขุ่่�นมััว บุุคคลย่่อมไม่่เห็็นประโยชน์์ ตนและประโยชน์์ ผู้้�อื่่น� ฉัั นนั้้� น
ในทางตรงข้้าม เมื่่�อน้ำำ�� ไม่่ขุ่่�นมััว ใสบริิสุุทธิ์์� บุุคคลย่่อมแลเห็็น หอยกาบ หอยโข่่ง
กรวด ทราย และฝููงปลาฉัันใด เมื่่�อจิิตไม่่ขุ่่�นมััว บุุคคลก็็ย่อ่ มเห็็นประโยชน์์ ตนและประโยชน์์
ผู้้�อื่่น� ฉัั นนั้้� น
ขุุ.ชา. ๕๗/๒๑๙-๒๒๐/๑๙๖ (ไทย.มมร)

จากแนวทางฝึึกตััวตามที่่�อุุปมาไว้้ข้้างต้้นนี้้� แสดงว่่าผู้้�ที่่�รักั จะเป็็นคนดีีจริิงจำำ�เป็็นต้้องปฏิิบััติิตนดัังนี้้�


๑. ศึึกษาและฝึึกงานวิิชาการต่่าง ๆ ทางโลกให้้มากพอ โดยเฉพาะเรื่่อ� งที่่�เราตั้้�งใจจะทำำ�
๒. ตั้้�งความปรารถนาอย่่างแรงกล้้าว่่า ชาติินี้้� ต้อ้ งเป็็นคนดีีให้้ได้้ในระดัับใดระดัับหนึ่่� ง ไม่่ว่า่ จะระดัับครอบครััว
26 ประเทศชาติิ หรืือระดัับโลก

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๑ ทุุกคนอยากเป็็นคนดีี แต่่ดีีได้้ไม่่ทุุกคน

๓. ตั้้�งใจศึึกษาเจาะลึึก เพื่่�อหยั่่�งเห็็นสภาวธรรมตามความเป็็นจริิงของสิ่่ง� ต่่าง ๆ ที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับการทำำ�ความดีี


นั้ น ๆ ของตน สภาวธรรมดังกล่าวนั้ นมี ๒ ลักษณะ ได้แก่
๓.๑ สภาวลักษณะ เป็นลักษณะเฉพาะตัวของวัตถุ สิ่งของ รวมถึงเรื่องราวเหตุการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับวัตถุ
สิง่ ของนั้น แต่ไม่มใี นสิง่ ของอนื่ ๆ เมื่อเรารูจ้ ริงลักษณะเฉพาะของสิง่ นั้น ๆ แล้ว จะสามารถใช้ประโยชน์ ในการท�ำความดี
ได้อย่างเต็มที่และป้องกันภัยที่จะเกิดขึ้นได้ด้วย เช่น
กรด ย่อมมีลักษณะของกรดโดยเฉพาะ เป็นคุณเป็นโทษต่อร่างกาย และสิ่งของเครื่องใช้
ด่าง ย่อมมีลักษณะของด่างโดยเฉพาะ เป็นคุณเป็นโทษต่อร่างกาย และสิ่งของเครื่องใช้
ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ย่อมมีลักษณะเฉพาะ ต่างกันไป
ลม แดด ฝน ย่อมมีลักษณะเฉพาะ ต่างกันไป
ความโลภ ย่อมมีลักษณะเฉพาะ คือ ก�ำหนั ด พอใจ อยากได้ ทะยานอยาก
ความโกรธ ย่อมมีลักษณะเฉพาะ คือ ไม่พอใจ
ความฟุ้งซ่าน ย่อมมีลักษณะเฉพาะ คือ ท�ำให้ใจซัดส่ายไปมา
สมาธิ ย่อมมีลักษณะเฉพาะ คือ ท�ำให้ใจตั้งมั่นในอารมณ์
ฯลฯ
๓.๒ สามัญลักษณะ เป็นความเสมอกัน เหมือนกัน และเท่ากัน ๓ ประการ ซึ่งมีอยู่ในทุกสรรพสัตว์และ
สรรพสิ่ง มีท้งั ในตัวของเราและในสิ่งแวดล้อมทุกชนิ ด ได้แก่ 27

www.kalyanamitra.org
๑) อนิ จจัง ความไม่เที่ยงแท้แน่ นอนของสรรพสัตว์และสรรพสิ่ง คือ มีแล้วกลับไม่มี เสื่อมสิ้นไป
เปลี่ยนแปลงละสภาวะปกติของตนไปทุกอนุวินาที
๒) ทุกขัง เป็นทุกข์ มีลักษณะบีบคั้นอึดอัดขัดข้อง ล�ำบาก ทนได้ยาก เพราะทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้
๓) อนั ตตา ไม่ใช่ตวั ตน คอื ไม่มอี สิ ระ ไม่สามารถควบคุมให้อยูใ่ นอ�ำนาจของตนเอง เช่น ทุกคนต้องตาย
ใคร ๆ ก็ไม่สามารถต้านทานขัดขืนไม่ให้ตัวเองตายได้
ลัักษณะสามััญ ๓ ประการนี้้� ผู้้�ทำำ�ความดีีทุุกท่่านต้้องหมั่่�นพิิจารณาเป็็นประจำำ� เพื่่�อเตรีียมใจรัับทุุกสภาพ
- เมื่อได้สงิ่ ที่ชอบใจ ก็อย่าหลงดีใจเกินไป เพราะมันก็มีอนิ จจัง ทุกขัง อนั ตตาอยู่ในตัว ถ้ามันต้องจากเราไป
ก็อย่าเป็นทุกข์กับมัน เพราะมันเป็นธรรมดาของมันอย่างนั้ น
- เมื่อได้สิ่งที่ไม่ชอบใจ ก็อย่าหลงเสียใจเกินไป เพราะมันมีอนิ จจัง ทุกขัง อนั ตตาอยู่ในตัว ไม่ช้าความเดือด
เนื้ อร้อนใจ อุปสรรคใด ๆ ย่อมหมดไป ถ้าเรายังยืนหยัดสู้ต่อไป
๔. ตั้งใจฝึกฝนตนเองให้มีใจผ่องใส มั่นคงเป็นนิ จ เพื่อสามารถควบคุมจิตใจตนเอง ไม่ให้หวั่นไหวเมื่อเผชิญ
อุปสรรค รูจ้ กั ระแวงภัยที่นา่ ระแวง และสามารถป้องกันภัยนั้นไม่ให้เกิดขึ้นได้ โดยเริม่ ต้นจากการเรียนรูท้ ี่จะป้องกันรักษา
ชีวิตของตนเองก่อน ซึ่งชีวิตมอี งค์ประกอบ ๔ ประการ คือ ๑) กาย ๒) อายุ ๓) ไออุน่ ๔) ใจ
๔.๑ กาย หมายถึึง ร่่างกายของเรา ประกอบด้้วย ธาตุุ ๔ คืือ ดิิน น้ำำ�� ลม ไฟ ผสมกััน สััดส่่วนของแต่่ละธาตุุ
28 ที่่ผ� สมกัันเป็็นกาย ก็็มีีแตกต่่างกัันเป็็นกลุ่่�มก้้อนน้้อยใหญ่่ คืือ เกิิดเป็็นเซลล์์เล็็ก ๆ ลัักษณะต่่างกัันไป กลุ่่�มเซลล์์แต่่ละกลุ่่�ม

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๑ ทุุกคนอยากเป็็นคนดีี แต่่ดีีได้้ไม่่ทุุกคน

รวมกัันเป็็นอวััยวะ แบ่่งออกเป็็น
๑) อวัยวะภายนอกเห็นได้ต้งั แต่ปลายผมจรดฝ่าเท้า เช่น ผม ขน เล็บ ฟัน หนั ง ฯลฯ
๒) อวัยวะภายใน เช่น ตับ ไต ไส้ พุง หัวใจ ปอด ฯลฯ
เซลล์และอวัยวะต่าง ๆ ท�ำงานร่วมกันเป็นระบบอย่างแข็งขัน ซึ่งระบบในร่างกายของเรามีหลายส่วน ได้แก่
ระบบประสาท ระบบหายใจ ระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวยี นโลหิต ระบบขับถ่าย ระบบผิวหนั ง ระบบกล้ามเนื้อ ระบบ
ต่อม ระบบโครงกระดูก และระบบสืบพันธุ์ ทั่วทั้งกาย ทั้งหมดนี้ ย่อมมีลักษณะเป็น อนิ จจัง ทุกขัง อนั ตตา ปรากฏ
อยู่เสมอ
๔.๒ อายุ คือ ช่วงเวลาที่ด�ำรงชีวิตอยู่จนถึงก่อนตาย โดยเฉลี่ยแต่ละคนอายุประมาณ ๗๕ ปี อย่างมาก
ไม่เกินร้อยปี หรือเกินก็ไม่นานนั ก หากใครใช้ชีวิตด้วยความประมาท ก็อาจป่วย พิการ หรือเสียชีวิตก่อนวัยอันควรได้
ดัังนั้้� น ควรรีีบทำำ�ความดีีตั้้�งแต่่เดี๋๋�ยวนี้้� จะได้้มีีความดีีติิดฝัังใจไปภพหน้้าเพราะทุุกคนต้้องตาย แต่่จะตายเมื่่�อไร ที่่�ไหน
อย่่างไร ก็็ไม่่มีีใครรู้้�ล่่วงหน้้าได้้เลย
๔.๓ ไออุ่น คือ พลังงานที่รา่ งกายสร้างขึ้น เพื่อให้ชีวิตด�ำเนิ นไปได้ โดยอาศัยวัตถุดิบส�ำคัญ ๓ ประการจาก
สิง่ แวดล้อมภายนอกเข้ามาป้อน ได้แก่ อาหาร น�้ำ และอากาศทีส่ ะอาดบริสทุ ธิ์ มีคณ ุ ภาพ ได้สดั ส่วนกัน และมีปริมาณ
มากพอ โดยอาหารและน�้ำต้องได้ตรงเวลา อากาศต้องมีตลอดเวลา เพื่อประคองร่างกายให้อบอุน่ อยูเ่ สมอที่อณ ุ หภูมิ
ราว ๓๗ องศาเซลเซีียส หากอุุณหภููมิสูิ ูงหรืือต่ำำ�� กว่่านี้้� ย่่อมก่่อให้้เกิิดโรคร้้อน โรคหนาวกำำ�เริิบขึ้้�นในร่่างกาย หากป้้อน 29

www.kalyanamitra.org
� ิดเวลา ย่่อมก่่อให้้เกิิดโรคหิิว โรคกระหายกำำ�เริิบ เมื่่�อป้้อนอาหารและน้ำำ�� เข้้าสู่่�ร่่างกายแล้้ว ก็็จะมีีกาก
อาหารและน้ำำ�ผิ
� ต้่� ้องกำำ�จััดออกจากร่่างกาย ก่่อให้้เกิิดโรคปวดอุุจจาระ โรคปวดปััสสาวะกำำ�เริิบ
ของเสีียจากอาหารและน้ำำ�ที่
โรคทั้้ง� ๖ ประการนี้้� เราต้้องเผชิิญตั้้�งแต่่เกิิดจนตายอย่่างหลีีกเลี่่�ยงไม่่ได้้ เนื่่� องจากร่่างกายมีีเซลล์์ มีีอวััยวะ
มีีระบบต่่าง ๆ ทำำ�งานร่่วมกัันและมีีอายุุเป็็นองค์์ประกอบร่่วม กายจึึงสามารถ
๑) สร้างพลังงานไออุ่น หล่อเลี้ยงชีวิตได้เอง
๒) สร้างพลังงานให้รา่ งกายเคลื่อนไหวท�ำการงานได้
๓) ซ่อมแซมร่างกายตนได้
๔) ต่อสู้เชื้อโรคยามเจ็บไข้ได้
๔.๔ ใจ เป็นธรรมชาติพิเศษชนิ ดหนึ่ ง มีอ�ำนาจรู ้ คิด และสั่งการได้ เมื่อใจคิดและสั่งการให้กายท�ำงาน เช่น
สัง่ ให้ยนื เดิน นั่ ง นอน พูด อ่าน เขยี น ฯลฯ กายจึงจะเคลื่อนไหวท�ำตามค�ำสัง่ นั้น หากใจไม่สงั่ การ แม้รา่ งกายแข็งแรง
ปานใด ย่อมอยู่เฉย ๆ ไม่อาจขยับเขยื้อนท�ำงานใด ๆ ได้
กายเป็นรูปธรรมสามารถมองเห็นจับต้องได้ ขณะทใี่ จเป็นนามธรรมมองไม่เห็นแต่รไู ้ ด้วา่ มี อาการทีแ่ สดงออก
ให้้รู้้�ได้้ว่่าเรามีีใจ คืือ การมีีอารมณ์์ ความรู้้�สึึก มีีความจำำ� มีีความคิิด และมีีความรู้้� เมื่่�อใดที่่�คนมีีแต่่กายไม่่มีีใจอยู่่�ร่่วม
ด้้วย จะเรีียกกายนั้้� นว่่า ศพ
30

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๑ ทุุกคนอยากเป็็นคนดีี แต่่ดีีได้้ไม่่ทุุกคน

ใจถูกบังคับให้ตอ้ งมีกายเป็นบ้านไว้อยูอ่ าศัย ทุกคนมีกายจึงต้องมีใจ มใี จก็ตอ้ งมกี าย ความมีชีวิตจึงจะเกิดขึ้น


และด�ำรงอยู่ได้ ที่ส�ำคัญ ใจท�ำหน้าทีเ่ ป็นนาย กายเป็นบ่าว การงานทุกชนิ ดจึงส�ำเร็จได้ด้วยใจ
ถ้าใจไม่ดี ขุ่นมัว การท�ำ การพูด ก็พลอยไม่ดีไปด้วย เพราะความไม่ดีนั้นเป็นเหตุ ความทุกข์ย่อมติดตามมา
เหมือนล้อเกวียนหมุนตามรอยเท้าโค ถ้าใจดี ใจผ่องใส การท�ำ การพูดก็พลอยดีไปด้วย เพราะความดีน้ัน ความสุข
ย่อมติดตามมาเหมือนเงาตามตน เราจึงต้องศึกษาธรรมชาติของใจ เพื่อการด�ำเนิ นชีวิตของเราจะได้ถูกต้องเป็นสุข
ตลอดทาง

31

www.kalyanamitra.org
ทุุกคนมีีกายจึึงต้้องมีีใจ
มีีใจก็็ต้้องมีีกาย
ความมีีชีีวิิตจึึงจะเกิิดขึ้้�นและดำำ�รงอยู่่�ได้้
ที่่�สำำ�คััญ ใจทำำ�หน้้าที่่�เป็็นนาย กายเป็็นบ่่าว
การงานทุกชนิ ดจึงส�ำเร็จได้ด้วยใจ

www.kalyanamitra.org

บทที่่�

ธรรมชาติิของใจ
ที่่�รู้้เ� ห็็นได้้ยาก
www.kalyanamitra.org
ฐานที่ตั้งของใจ

ใจมีฐานทีต่ งั้ ถาวรอยูท่ กี่ ลางท้องหรือกลางกายของมนุ ษย์ เรยี กว่า จุดศูนย์กลางกาย เป็นจุดที่ทางวิทยาศาสตร์
เรียกว่า จุดศูนย์ถ่วงของร่างกาย ณ จุดนี้ เป็นบริเวณที่โลกส่งแรงโน้ มถ่วงมาดึงดูดร่างกายคนไว้ ท�ำให้ไม่มีใครลอย
หลุดไปจากโลก
การหาจุดศูนย์กลางกายในเชิงปฏิบตั กิ ท็ �ำได้ไม่ยาก เพียงสูดลมหายใจเข้าลึก ๆ แล้วลมหายใจไปสุดทีต่ รงไหน
ตรงนั้น คือ ศูนย์กลางกาย จากการเจริญภาวนาของพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺ ทสโร) พระผูป้ ราบมาร
ท่านยืนยันเป็นมั่นเป็นเหมาะว่า ศูนย์กลางกายของผู้ใดก็อยู่ตรงกลางท้องระดับเหนื อสะดือสองนิ้วมือของผู้นั้น
นอกจากเป็นที่อยู่ถาวรของใจแล้ว ยังเป็นที่เกิด ที่ดับ ที่หลับ ที่ตื่น ของผู้น้ั นด้วย ยิ่งกว่านั้ นพระเดชพระคุณท่าน
ยังยืนยันอีกว่า ถ้าน�ำใจมาตั้งไว้ที่ศูนย์กลางกายนี้ ได้ ใจย่อมผ่องใส เบิกบาน เกิดบุญทันทีและเกิดในปริมาณที่
มากมายมหาศาลด้วย

คุณสมบัติของใจ

ท่่านผู้้�รู้้�จริิงแนะไว้้ว่่า ใจเป็็นนามธรรม เห็็นได้้ยาก ตามนุุ ษย์์มองไม่่เห็็น แต่่เห็็นได้้ด้้วยใจที่่�ใสสะอาด กายของ


34 ผู้้�ใด ก็็ต้้องทำำ�หน้้าที่่�เป็็นบ้้านให้้ใจของผู้้�นั้้�นอยู่่�อาศััย นอกจากนี้้� ใจยัังมีีคุุณสมบััติซัิ ับซ้้อนรู้้�เห็็นได้้ยากอีีกหลายอย่่างที่่�
จำำ�เป็็นต้้องรีีบรู้้� คืือ

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๒ ธรรมชาติิของใจที่่รู้� ้เ� ห็็นได้ย้ าก

๑. ใจชอบแวบหนี ออกไปเทีย่ วภายนอกกาย คือ ไปหารูป เสียง กลิน่ รส และสัมผัสของสิง่ แวดล้อม ๕ ตัง้ แต่
ยังเป็นเด็กทารก เหมือนสุกรชอบหนี ลงไปนอนเกลือกอยู่ในโคลนตม ยิ่งทารกนั้ นเติบใหญ่มากขึ้นเท่าใด ใจยิ่งดิ้นรน
ออกไปไขว่คว้าหารูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัสมากขึ้นเท่านั้ น
๒. ใจชอบคิดกวัดแกว่ง ไม่ชอบหยุดอยู่ในอารมณ์ เดียว เหมือนลิงชอบโดดไปโดดมาจากต้นไม้กิ่งหนึ่ งไปยัง
อีกกิ่งหนึ่ งเรอื่ ยไป ไม่ชอบอยู่นิ่งในอิรยิ าบถเดียว ใจเมื่อคิดเรอื่ งแรกไม่ทันจบ ก็แกว่งไปคิดเรอื่ งต่อ ๆ ไป จึงเป็น
การคิดประเภทฉาบฉวย เข้าไม่ถึงลักษณะส�ำคัญหรือสาระแท้จริงของสิง่ ที่ก�ำลังคิดนั้ น ติดอยู่แค่ลักษณะเปลือกนอก
เพราะเหตุนี้ เมื่อถึงคราวต้องพูด ต้องท�ำเรื่องลึกซึ้งส�ำคัญ จึงเกิดความผิดพลาดเป็นประจ�ำ
๓. ใจถ้าเตลิดหนี เทีย่ วไปติดจมปลัก ในอารมณ์นา่ ใคร่ใดแล้วย่อมข่มยาก ห้ามยาก ดึงกลับยาก ไม่วา่ ไปติด
หล่่มจมปลัักในรููป เสีียง กลิ่่น� รส และสััมผััสใด ๆ ก็็ตาม จะเหมืือนผู้้�ติิดยาเสพติิดให้้โทษ ติิดอบายมุุขทั้้ง� หลาย นอกจาก
เลิิกยากยัังพร้้อมจะโหดเหี้้�ยมต่่อผู้้�หวัังดีีที่่�เข้้าไปห้้ามปรามอีีกด้้วย ทางที่่�ดีคืืี อ รีีบเข้้มงวดกวดขัันตนเองด้้วยการ ไม่่ดูู
ไม่ฟัง ไม่ดม ไม่ดื่ม ไม่แตะต้อง และไม่นึกคิดในสิ่งที่ไม่เหมาะไม่ควร เพื่อเป็นการป้องกันไว้ก่อนแล้วเลือกดู ฟัง ดม
ดื่ม แตะต้อง และนึ กคิด เฉพาะสิ่งที่เหมาะที่ควรเท่านั้ น
๔. ใจทรงพลังยิ่งนั กทั้งด้านสร้างสรรค์และท�ำลาย จึงสามารถแวบหนี เทีย่ วไปได้ไกล ๆ และไปได้เร็วมาก
แม้ข้ามน�้ำ ข้ามฟ้า ข้ามจักรวาลไปถึงดวงดาว ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ก็ไปได้ ไปได้แม้วันละหลาย ๆ เที่ยว โดยไม่ต้อง
พึ่งยานพาหนะใด ๆ
35

www.kalyanamitra.org
๕. ใจสามารถฝึกให้ดีอย่างไรก็ได้ แต่ขัน้ ต้นต้องรีบฝึกให้คุ้นกับการอยู่ในตัวได้นาน ๆ ก่อน โดยเฉพาะตรง
ศูนย์กลางกายเหนื อสะดือสองนิ้วมือ เพื่อให้ใจผ่องใสเป็นนิ จ จากนั้ นจะฝึกให้คิดสร้างสรรค์ดีงามมากเพียงใดก็ฝึก
ได้ง่ายและมีแต่จะน�ำความสุขความเจริญมาให้
๖. ใจถููกกิิเลสที่่�เป็็นโรคร้้ายครอบงำ��บั่่�นทอนทำำ�ให้้อ่อ่ นแอลงทุุกด้้าน กิิเลสฝัังตััวนอนเนื่่� องอยู่่�ในใจติิดตามมา
ตั้้�งแต่่เกิิด ยากที่่จ� ะเห็็นได้้ แต่่ถ้้าใจแวบออกนอกกายเมื่่�อใด กิิเลสเหล่่านั้้� นก็็พร้้อมจะถาโถมออกมา ทัันทีีที่่�ใจกระทบ
กัับอารมณ์์ และสิ่่ง� แวดล้้อม ๕ ภายนอก กิิเลสที่่�ซ่่อนอยู่่�ก็็ได้้โอกาสแพร่่กระจาย ทำำ�ให้้ใจขุ่่�นเมื่่�อนั้้� น และเพราะความที่่�
ใจขุ่่�นนั้้� น จึึงคิิดผลุุนผลััน หลงรััก หลงชอบ รููป เสีียง กลิ่่�น รส และสััมผััสจากสิ่่�งแวดล้้อมต่่าง ๆ ภายนอกที่่�กระทบ
จากนั้้� นการรู้้�ผิิด ๆ คิิดผิิด ๆ พููดผิิด ๆ ทำำ�ผิิด ๆ บาปและความเดืือดร้้อนก็็เกิิดประดัังตามมา ในทางตรงกัันข้้ามถ้้าเก็็บ
รัักษาใจไว้้มั่่�นคงเป็็นนิิ จที่่ศู� ูนย์์กลางกาย เมื่่�อตา หูู จมููก ลิ้้น� กาย และใจ ถููกกระทบด้้วยรููป เสีียง กลิ่่น� รส สััมผััส
และความนึึ กคิิดใด ๆ ใจย่่อมไม่่กระเทืือน ยัังผ่่องใสเป็็นปกติิ มีีอารมณ์์ ดีีอยู่่�เป็็นนิิ จ ทำำ�ให้้คิิดถููก พููดถููก ทำำ�ถููกก่่อ
ให้้เกิิดความสุุขตามมาอีีกเป็็นขบวน

สติสัมปชัญญะเครื่องมือควบคุมใจ

เนื่ องจากใจเป็นนามธรรม คือ มีชอื่ เรียกแต่ไม่สามารถเห็นรูปร่างลักษณะได้ด้วยตามนุ ษย์ แต่สามารถเห็น


36 ได้ด้วยตาทิพย์ จึงต้องมีอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เป็นนามธรรม มีความละเอียดประณี ตและทรงพลังยิ่งกว่าใจ เพื่อให้
สามารถเหนี่ ยวรัง้ ก�ำกับใจให้อยู่ในตัวเราได้เป็นนิ จ

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๒ ธรรมชาติิของใจที่่รู้� ้เ� ห็็นได้ย้ าก

ท่านผู้รูจ้ ริงได้แนะไว้ว่า อุปกรณ์ หรอื เครอื่ งมือควบคุมใจไม่ให้เลื่อนลอยหนี เที่ยวนี้ ทุกคนสามารถสร้างขึ้น


เองได้ ไม่ต้องไปซื้อหาจากใคร มีอยู่ ๒ ประการเป็นคู่กัน และบัญญัติชื่อให้เรียกด้วยว่า สติ สัมปชัญญะ ทั้งสติและ
สััมปชััญญะต่่างก็็มีีแต่่ชื่่�อ มีีคุุณสมบััติิเฉพาะ แต่่ไม่่มีีรูปู ร่่างเช่่นเดีียวกัับใจ ทว่่าละเอีียดประณีีตกว่่าใจ อย่่างไรก็็ตาม
สติิสััมปชััญญะเป็็นคุุณธรรมย่่อมไม่่เกิิดขึ้้�นเอง จำำ�เป็็นต้้องฝึึกขึ้้�นมาเพื่่�อใช้้กำ�กั
ำ ับใจโดยเฉพาะ เช่่นเดีียวกัับหางเสืือเรืือ
ที่่�มีีไว้้กำำ�กัับทิิศทางของเรืือให้้แล่่นไปถึึงที่่�หมายโดยปลอดภััยฉะนั้้� น
การฝึึกสติิสัมั ปชััญญะให้้สมบููรณ์์ จึึงเป็็นรากฐานการศึึกษาทุุกระดัับของมนุุ ษยชาติิ เพราะเป็็นเครื่่อ� งมืือกำำ�กับั
ใจให้้เข้้าถึึง และรู้้�ชััดถึึงความจริิงของทุุกสรรพสััตว์์และสรรพสิ่่ง�

37

www.kalyanamitra.org
ใจไม่่ชอบหยุุดอยู่่�ในอารมณ์์ เดีียว
เมื่่�อคิิดเรื่่อ� งแรกไม่่ทัันจบ
ก็็แกว่่งไปคิิดเรื่่อ� งต่่อ ๆ ไป
ความคิิดลัักษณะนี้้� จึึงเป็็นความคิิดที่่�ฉาบฉวย
เข้้าไม่่ถึึงสาระสำำ�คััญที่่�แท้้จริิงของเรื่่อ� งที่่�กำำ�ลัังคิิด
เพราะเหตุุนี้้� เมื่่�อถึึงคราวต้้องพููด ต้้องทำำ�
จึึงเกิิดความผิิดพลาดเป็็นประจำำ�

www.kalyanamitra.org

บทที่่�

สติิ
www.kalyanamitra.org
ความหมายของสติ

สติิ แปลว่่า ความระลึึกได้้ หมายถึึง ความที่่�จิติ มีีความตื่่�นตััว ตื่่�นรู้้� สามารถฉุุ กคิิด ฉุุ กระลึึกขึ้้�นได้้ทันั ในการงาน
ที่่�พึึงทำำ� ในคำำ�ที่่พึ� ึงพููด ในสิ่่ง� ที่่�พึึงคิิด

ลัักษณะของสติิ

สติิ เป็็นคุุณธรรมกำำ�กัับใจให้้อยู่่�ในตััวไม่่แวบหนีี เที่่�ยวออกนอกกาย ดัังภาพที่่� ๒ ทำำ�ให้้ใจผ่่องใสอยู่่�เป็็นนิิ จ


เมื่่�อใจผ่่องใสอยู่่�เป็็นนิิ จ การเห็็นรููปทางตา ได้้ยิินเสีียงทางหูู ได้้กลิ่่�นทางจมููก ได้้รสทางลิ้้�น ได้้สััมผััสทางกาย และรัับ
รู้้�สภาพที่่�เกิิดทางใจได้้ตรงตามจริิง ความรู้้�สึึกที่่�เกิิดขึ้้�นจากการได้้เห็็น ได้้ยิิน ได้้กลิ่่�น ได้้รส ได้้สััมผััส และรัับรู้้�สภาพ
ที่เกิด ทางใจขณะนั้ น ไม่ว่าจะรูส้ ึกเป็นสุข เป็นทุกข์ หรือเฉย ๆ ก็ตาม ย่อมชัดเจนตรงไปตามความเป็นจริงเช่นนั้ น และ
สามารถฝังลึกในใจ ก�ำกับใจให้พร้อมระลึกได้ทุกขณะ
สติแบ่งออกได้ ๓ ลักษณะด้วยกัน คือ
๑. สติิกำำ�กับั ใจให้้สามารถระลึึกได้้ถึงึ สิ่่ง� ที่่�กระทำำ�ในอดีีต การงานที่่ไ� ด้้ทำำ� ถ้้อยคำำ�ที่ไ่� ด้้พูดู ในอดีีตแม้้ผ่า่ นไปนาน
แล้้ว ตลอดจนระลึึกได้้ถึงึ คำำ�สอนที่่ทำ� ำ�ให้้รู้้�จักั ควบคุุมกาย วาจา ใจตนเองอย่่างถููกต้้อง สมกัับหน้้าที่่ก� ารงานที่่ต้� อ้ งทำำ�ใน
40
แต่่ละโอกาส

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๓ สติิ

มีีสติิ เก็็บใจไว้้ในกาย ไม่่มีีสติิ ใจแวบออกนอกกาย

ภาพที่ ๒ ลักษณะผู้มีสติและไม่มีสติ 41

www.kalyanamitra.org
๒. สติก�ำกับใจให้สามารถระลึกได้ถึงสิง่ ทีเ่ ป็นปัจจุบัน คือ ระลึกถึงการเก็บใจไว้กลางกายให้เคร่งครัดแต่ไม่
เคร่งเครียด เพื่อการยับยั้งชั่งใจ ไม่เผอเรอขณะก�ำลังท�ำงาน เช่น ระลึกถึงลมหายใจเข้า ลมหายใจออกของตนขณะ
เจริญภาวนาหรือระลึกถึงผักที่ตนก�ำลังหั่นอยู่ในมือ จึงไม่เผลอให้มีดบาดมือ
๓. สติิกำำ�กัับใจให้้สามารถระลึึกถึึงสิ่่�งที่่�จะเกิิดขึ้้�นในอนาคต เช่่น ผู้้�ใหญ่่ระลึึกถึึงความแก่่ความตายที่่�กำำ�ลััง
จ้้องรออยู่่� นัั กเรีียนนึึ กถึึงวัันสอบที่่จ� ะมาถึึงในสััปดาห์์หน้้า จำำ�เลยนึึ กถึึงวัันที่่�จะต้้องไปศาล จึึงเตรีียมตััวไว้้ให้้พร้้อม
ไม่่เผลอ ไม่่ลืืม
ความสามารถระลึกได้ท้งั ๓ กาลของแต่ละบุคคล คือ ก่อนจะพูด ก่อนจะคิด ก่อนจะท�ำ ขณะก�ำลังคิด ขณะ
ก�ำลังพูด ขณะก�ำลังท�ำ และหลังจากคิด หลังจากพูด หลังจากท�ำแม้ผ่านไปนานแล้วได้ มิใช่เกิดขึ้นเองลอย ๆ ล้วน
เกิดจากการที่ผู้น้ั นหมัน่ ฝึกสติ คือ หมัน่ เก็บรักษาใจไว้ในกลางกายเป็นนิ จจนกลายเป็นนิ สัย

หน้้าที่่�ของสติิ

สติเป็นคุณธรรมก�ำกับใจ ท�ำหน้าทีค่ อยระมัดระวังเหนี่ ยวรัง้ ใจไม่ให้เลือ่ นลอย ไม่แวบหนี เทีย่ ว ไม่กลับกลอก


แต่ให้ใจหยุดนิ่ งผ่องใสอยู่ในกลางกายเป็นนิ จ ส่งผลให้
๑. ตนเองไม่เผลอ ไม่เลินเล่อ มีความตื่นตัว แต่ไม่ตื่นเต้น ไม่เครียด สงบนิ่ ง สดชื่นเป็นนิ จ
42
๒. ตนเห็นคุณสมบัติ ความรู ้ ความสามารถ ศีลธรรมประจ�ำใจของตนเองว่ามีมากน้ อยระดับไหน

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๓ สติิ

๓. ตนเห็นคุณสมบัติ ลักษณะภายนอก ภายในของสิ่งแวดล้อม ๕ แต่ละชนิ ดที่ตนเองต้องเข้าไปเกี่ยวข้อง


รัับผิิดชอบได้้ชััดตรงตามจริิง จึึงระลึึกได้้ถึึงภััยที่่�น่า่ ระแวง และระวัังป้้องกัันภััยนั้้� นอยู่่�ตลอดเวลา สติิจึึงได้้ชื่่�อว่่าเป็็น
คุุณธรรมทำำ�หน้้าที่่�กำ�จั
ำ ัดความประมาททุุกชนิิ ดโดยตรง ทั้้�งด้้านการคิิด การพููด และการทำำ�การงาน

ศัตรูของสติ

สติเป็นคุณธรรมที่เหนี ยวแน่ นมั่นคงมาก เพราะไม่ว่าเราก�ำลังเหนื่อยแสนเหนื่ อย หิวแสนหิว ป่วยแสนป่วย


ขนาดไหน เราก็ยังรักที่จะท�ำความดีต่อไป แต่ถ้าดื่มสุรา เสพยาเสพติดให้โทษเมื่อไร เมื่อนั้ น สติย่อมขาดผึง พร้อมที่
จะคิด พูด ท�ำในสิง่ ทรี่ า้ ยกาจได้ทกุ อย่างแม้ฆา่ พ่อแม่ตนเอง เพราะฉะนั้น ศัตรูส�ำคัญของสติ คือ การติดใจในกามคุณ ๕
เช่น อบายมุข ๖ โดยเฉพาะสุราและยาเสพติดให้โทษทุกชนิ ด

สติท�ำให้มีนิสัยรอบคอบไม่ประมาท

การท�ำงานทุกอย่างทัง้ น้ อยและใหญ่ ยากหรอื ง่าย เมื่อท�ำงานเสร็จแล้วลูกจ้างก็ได้คา่ แรง ผูช้ ว่ ยงาน เจ้าของงาน


ก็็ได้้ผลงานเป็็นชิ้้�นเป็็นอัันตามวััตถุุประสงค์์ ถามว่่าตััวเราได้้อะไรหลัังเสร็็จงานแล้้วบ้้าง อาจได้้ความรู้้�เพิ่่�ม ได้้เพื่่�อน
เพิ่่�ม แต่่สิ่่�งที่่�เรามองข้้ามไม่่ได้้ คืือ ความเคย
43

www.kalyanamitra.org
ความเคย หมายถึง ความมโี อกาสได้ผา่ นสิง่ ใดสิง่ หนึ่ งมาแล้ว เช่น เคยท�ำ เคยพูด เคยดื่ม เคยดมสิง่ นั้นมาแล้ว
ถ้าไม่เคยท�ำงานชนิ ดนั้ นมาก่อน เมื่อได้ท�ำแล้วก็จัดเป็นความเคยงานนั้ นครัง้ แรก ถ้าได้ท�ำอีกบ่อย ๆ จากความเคย
ก็็เป็็น ความคุ้้�น ถ้้าคุ้้�นมากเข้้าก็็เป็็นความชิิน จากความชิินก็็เป็็นความชำำ�นาญ หรืือเป็็นอััตโนมััติติิ ิดตััวมา แต่่สิ่่�งที่่พึ� ึง
พิิจารณาให้้มาก คืือ ความเป็็นคุุณและโทษที่่�ซ่่อนอยู่่�ในความเคย คุ้้�น ชิิน ชำำ�นาญนั้้� น ๆ
ถ้าเราท�ำงานนั้นด้วยความระมัดระวังความเสียหายทุกขัน้ ตอน ในความเคย คุน้ ชิน ช�ำนาญเหล่านั้นได้ บ่มเพาะ
นิ สยั มีสติ รอบคอบ ประณี ต ติดฝังแน่ นลงไปในใจเป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว ในทางตรงข้ามถ้าเราท�ำงานแบบขอไปที ขาด
การเอาใจใส่ ไม่ระมัดระวังในแต่ละขัน้ ตอน ก็จะติดนิ สยั มักง่าย ประมาท ขาดวินัย เอาแต่ใจ ฯลฯ ซึ่งน่าเสียดายแทน
ทั้งนิ สัยมีสติ รอบคอบ ประณี ต และนิ สัยขาดสติ มักง่าย ประมาท เช่นนี้ หากเกิดขึ้นกับผู้ใดแล้วก็จะถูกผู้นั้น
น�ำสติชนิ ดนั้ นไปใช้ในการท�ำงานอย่างอื่น ๆ ต่อไปอีก สุดท้ายก็จะกลายเป็น นิ สัยรักบุญชังบาป หรือ นิ สัยรักบาป
ชังบุญ ฝังใจข้ามชาติของผู้นั้นไปอีกด้วย โดยเหตุนี้ ท่านผู้รูจ้ ริงจึงเตือนไว้ว่า ไม่ว่าจะประกอบภารกิจการงานใด ๆ
สติจ�ำเป็นต้องมีในทุกทีท่ ุกสถาน ใคร ๆ จะขาดไม่ได้ ถ้าขาดเมือ่ ใดก็ชอื่ ว่าประมาทเมือ่ นั้ น ทั้งประมาทระยะสั้น คือ
ประมาทขณะท�ำงาน ประมาทระยะยาว คือ ประมาทตลอดชีวิต และประมาทข้ามภพชาติอีกด้วย ท่านผู้รูจ้ ริงก็ยัง
เตือนซ�้ำอีกว่า คนประมาทคือคนทีต่ ายแล้ว คือ ตายจากความดีทันทีทีป่ ระมาท

44

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๓ สติิ

การฝึกสติ
สติิเป็็นคุุณธรรมจึึงต้้องฝึึกขึ้้�นมาไม่่สามารถรอให้้เกิิดขึ้้�นเอง เหมืือนแดด ลม ฝน ที่่�เกิิดเองตามธรรมชาติิได้้
การฝึึกสติิทำำ�ได้้หลายวิิธีี ทุุกวิิธีีต้้องปฏิิบััติิให้้ถููกและทำำ�อย่่างต่่อเนื่่� องจึึงได้้ผล ตััวอย่่างวิิธีีฝึึกสติิเบื้้�องต้้น เช่่น
๑. สวดมนต์ท�ำวัตรเช้าและท�ำวัตรเย็นเป็นประจ�ำ
๒. เจริิญสมาธิิภาวนาเป็็นประจำำ� เช้้า-เย็็น อย่่างน้้ อยครั้้ง� ละ ๑๕-๓๐ นาทีี ซึ่่�งทำำ�ได้้หลายวิิธีี เช่่น กำำ�หนดลม
หายใจเข้้าออก กำำ�หนดอาการท้้องพองท้้องยุุบ กำำ�หนดพระพุุทธรููป ดวงแก้้ว ดวงดาว ดวงจัันทร์์ ดวงอาทิิตย์์ หรืือ
แม้้แต่่ผลไม้้ที่�่ตนคุ้้�นตา เช่่น ผลส้้ม มะนาว ซึ่่�งเป็็นทรงกลมและนึึ กได้้ง่่าย ไว้้ที่�่ศููนย์์กลางกาย โดยสำำ�นึึกเสมอว่่า
การรัับประทานอาหาร การหายใจเข้้าออกเป็็นกรณีี ยกิิจเพื่่�อชีีวิิตตนฉัั นใด การประกอบอาชีีพในทางที่่�ถูกู เป็็นกิิจเพื่่�อ
ชีีวิิตของตนฉัันใด การเจริิญสมาธิิภาวนาให้้เกิิดสติิต่่อเนื่่� องสม่ำำ��เสมอเป็็นประจำำ� ก็็เป็็นกรณีี ยกิิจเพื่่�อชีีวิิตตนฉัั นนั้้� น
๓. หมั่่น� กำำ�หนดใจไว้้กลางกายขณะทำำ�กิจส่ ิ ว่ นตััว เช่่น ขณะตัักอาหาร ขณะเคี้้�ยวอาหาร ขณะล้้างหน้้า ขณะอาบน้ำำ��
ขณะถ่่ายอุุจจาระ ปััสสาวะ ตลอดจนหมั่่�นกำำ�หนดใจไว้้กลางกายตลอดวัันขณะทำำ�ความสะอาด และจััดระเบีียบสิ่่�งของ
เครื่่อ� งใช้้ส่่วนตััว เช่่น ซััก-ตาก-พัับ-เก็็บเสื้้�อผ้้า ที่่�นอน หมอนมุ้้�ง ล้้าง-เก็็บ ถ้้วย จาน ช้้อน ชาม ปััด-กวาด-เช็็ด-ถูู-ขััด
ห้้องน้ำำ�� ห้้องส้้วม ห้้องครััว ห้้องนอน ห้้องทำำ�งาน ตู้้�เสื้้�อผ้้า ตู้้�ยา เป็็นต้้น ดัังภาพที่่� ๓ และ ๔

45

www.kalyanamitra.org
46 ภาพที่ ๓ การฝึกสติด้วยการเก็บใจไว้กลางตัวขณะเรียนกับการไม่มีสติปล่อยใจให้ฟุ้งซ่าน

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๓ สติิ

ภาพที่ ๔ ผลของการเก็บใจ-ไม่เก็บใจไว้กลางกายขณะเรียน 47

www.kalyanamitra.org
ไม่่ว่่าจะประกอบภารกิิจการงานใด ๆ
สติิจำำ�เป็็นต้้องมีีในทุุกที่่�ทุุกสถาน จะขาดไม่่ได้้
ถ้้าขาดเมื่่�อใดก็็ชื่่�อว่่าประมาทเมื่่�อนั้้� น
ทั้้�งประมาทระยะสั้้�น คืือ ประมาทขณะทำำ�งาน
ประมาทระยะยาว คืือ ประมาทข้้ามภพข้้ามชาติิ

www.kalyanamitra.org

บทที่่�

สััมปชััญญะ
www.kalyanamitra.org
ความหมายและลักษณะของผู้มีสัมปชัญญะ
สัมปชัญญะ แปลว่า ความรูต้ ัว หมายถึง ความรูต้ ัวขณะที่ก�ำลังท�ำ พูด คิดการงานอย่างใดอย่างหนึ่ งอยู่ เช่น
ก�ำลังล้างหน้า ก็รตู ้ ัวว่า ก�ำลังล้างหน้า
ก�ำลังอาบน�้ำ ก็รตู ้ ัวว่า ก�ำลังอาบน�้ำ
ก�ำลังอ่านหนั งสือ ก็รตู ้ ัวว่า ก�ำลังอ่านหนั งสือ
ก�ำลังเดินข้ามถนน ก็รตู ้ ัวว่า ก�ำลังเดินข้ามถนน
ความรูต้ ัวเหล่านี้ เป็นลักษณะสัมปชัญญะที่เกิดขณะท�ำกิจส่วนตน เมื่อผู้ใดมีสัมปชัญญะเช่นนี้ ย่อมท�ำให้
ผูน้ ้ันมีอารมณ์ ดอี ยูใ่ นอารมณ์ เดียวต่อเนื่ องและช่างสังเกตโดยปริยาย ช่วยให้สงิ่ ที่ผนู้ ้ันก�ำลังท�ำลุลว่ งด้วยดี นี้จดั เป็น
สัมปชัญญะเบือ้ งต้น ซึ่งพ่อแม่ผู้ปกครองควรฝึกลูกหลานของตนท�ำให้ช�ำนาญตั้งแต่เล็ก เพราะเมื่อเขาเติบใหญ่จะต้อง
ท�ำงานเกี่ยวข้องกับผู้อื่นมากขึ้น โอกาสที่งานเหล่านั้ นจะเกิดประโยชน์ หรอื โทษต่อตัวเขาเอง ต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง ย่อมมี
ความซับซ้อนมากขึ้น เนื่ องจากงานที่เขาก�ำลังท�ำนั้ น แม้เป็นประโยชน์ ต่อธุรกิจ แต่อาจท�ำลายสุขภาพตนเอง หรือไม่
ได้ท�ำความเสียหายแก่สุขภาพตนเอง แต่รบกวนเพื่อนพ้องได้ ไม่รบกวนเพื่อนพ้องแต่อาจท�ำลายสิ่งแวดล้อมที่เป็น
ธรรมชาติ อาจท�ำลายศีลธรรม ขนบธรรมเนี ยมประเพณี ที่ดีงามได้ เช่นเหตุการณ์ ดังต่อไปนี้
โจรบางคน ก็รตู ้ วั ว่า การปล้นทรัพย์ของผูอ้ นื่ นั้ นเป็นสิง่ ไม่ดแี ต่กป็ ล้น เพอื่ หวังจะได้ทรัพย์ ขณะปล้นก็พยายาม
50 ท�ำให้แนบเนี ยนไม่ให้ถูกจับ บางพวกก็ปล้นเพื่อเผาผลาญท�ำลายทรัพย์ผู้อื่น

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๔ สััมปชััญญะ

คนสับปลับบางคน ก็รตู ้ วั ว่า การโกหกเป็นสิง่ ไม่ดี แต่กพ็ ดู โกหกและพยายามพูดให้นา่ เชื่อถือ เพอื่ หวังประโยชน์
อย่างใดอย่างหนึ่ งจากผู้อื่นหรือเพื่อท�ำลายผู้อื่น
คำำ�ถามก็็คืือ ทั้้�งโจรและคนสัับปลัับต่่างก็็รู้้�อยู่่�แล้้วว่่า การปล้้น การโกหกไม่่ดีี เป็็นความผิิด แล้้วทำำ�ไมจึึงทำำ�จึงึ
พููดอย่่างนั้้�น พยายามทำำ�อย่่างรััดกุุม จัับได้้ไล่่ทันั ก็็ยาก นั่่�นแสดงว่่าก่่อนทำำ� ก่่อนพููด พวกเขารู้้�อยู่่�แล้้วว่่า การกระทำำ�เช่่น
นี้้� เป็็นความชั่่ว� แต่่ขาดสััมปชััญญะ คืือ ขาดความรู้้�ตััวในการระวัังไม่่ให้้ตนเองทำำ�ความชั่่�ว และเผลอลงมืือทำำ�ความชั่่�ว
ไปเต็็มที่่� ดัังนั้้�น เราจึึงไม่่มีีหลัักประกัันว่่าในอนาคตเราเองหรืือลููกหลานของเราจะไม่่กลายเป็็นโจร เป็็นคนสัับปลัับเช่่น
เดีียวกัันคนเหล่่านั้้� นด้้วย เพราะโจรและคนสัับปลัับบางคนก็็มีีการศึึกษาสููง มีียศ ตำำ�แหน่่ งสููงกว่่าเรา
ค�ำตอบก็คอื ไม่วา่ โจรหรอื คนสับปลับจะมคี วามรูท้ างโลกระดับสูงเพยี งใด ความรูเ้ หล่านั้ นเป็นเพียงความรูจ้ ริง
ทางด้านวิชาการ แต่เขาขาดความรูจ้ ริงด้านการท�ำความดี อย่างมากก็มคี วามรูด้ า้ นการท�ำความดีระดับผิวเผิน จึง
ได้ท�ำเลว ๆ เช่นนั้ น หรือต่อให้รูจ้ ักความดี รูจ้ ักธรรมะจากการเรียนมาอย่างดีก็ตาม แต่หากเรียนอย่างขาดศรัทธา
ไม่่มีคี วามเชื่่�อมั่่�นในความดีี และไม่่ได้้ฝึกึ ฝนทำำ�ความดีีด้ว้ ยสติิสัมั ปชััญญะในทุุกเรื่่อ� งอย่่างต่่อเนื่่� อง พวกเขาก็็มีีโอกาส
ที่่�จะนำำ�ความรู้้�เหล่่านั้้� นไปทำำ�ความชั่่�วได้้อย่่างมากมายเลยทีีเดีียว ดัังผู้้�รู้้�จริิงกล่่าวว่่า

“ความรู้้�เกิิดแก่่คนพาลเพีียงเพื่่�อทำำ�ลายถ่่ายเดีียว ความรู้้�ของคนพาลนั้้� น
กำำ�จััดคุุณงามความดีี ทำำ�ปััญญาของเขาให้้ตกต่ำำ�� ”
ขุุ.ธ. ๒๕/๗๒/๔๙ (ไทย.มจร) 51

www.kalyanamitra.org
ไม่่ว่า่ โจรหรืือคนสัับปลัับล้้วนเป็็นคนที่่มีี� ปกติิปล่่อยใจออกนอกกายเป็็นนิิจ ทุุกครั้้ง� ที่่ใ� จแวบออกไปนอกกาย ใจ
ของเขาย่่อมพร้้อมจะคิิดชั่่�ว-พููดชั่่�ว-ทำำ�ชั่่�ว คืือ ขาดสติิสััมปชััญญะความรู้้�ตััวที่่�สมบููรณ์์ ด้้วยเหตุุ ๓ ประการ
๑. ใจของเขาย่อมคิดเคว้งคว้างสับสนทัง้ ทีอ่ ยากเป็นคนดี เพราะเขาขาดสติ ซึ่งเป็นคุณธรรมควบคุมใจให้เลือก
คิิด-พููด-ทำำ�แต่่สิ่่�งดีี ๆ เท่่านั้้� น สภาพของใจขณะนั้้� นจึึงไม่่ต่่างกัับเรืือที่่�เคว้้งคว้้าง เพราะขาดหางเสืือควบคุุมให้้พ้้นจาก
คลื่่�นลม และหิินโสโครกใต้้น้ำ�ำ�
๒. ใจของเขาอ่่อนกำำ�ลัังลงโดยฉัั บพลััน เพราะเมื่่�อใดใจแวบออกนอกกาย กามคุุณ ๕ หรืือ รููป-เสีียง-กลิ่่�น-
รส-สััมผััส ย่่อมกรููเข้้ามาฉุุ ดกระชากใจให้้เข้้าไปหา คืือ รููปแย่่งฉุุ ดตาไปดูู เสีียงฉุุ ดหููไปฟััง กลิ่่�นฉุุ ดจมููกไปดม รสฉุุ ด
ลิ้้น� ไปลิ้้ม� วััตถุุฉุุดกายไปสััมผััส สิ่่ง� ไหนมีีแรงมาก ย่่อมแย่่งฉุุ ดใจให้้เข้้าไปหาได้้ก่่อน ซึ่่�งสิ่่ง� ที่่�ดึึงดููดให้้ใจเข้้าไปหา มีีทั้้ง�
ที่่�ถููกใจและไม่่ถูกู ใจ กว่่าจะตััดสิินใจได้้ว่า่ จะหัันเข้้าไปหาสิ่่ง� ใดก่่อน ซึ่่�งสิ่่ง� นั้้�นเขาเองก็็ยังั ไม่่รู้้�จริงิ ยัังถููกโมหะย้้อมใจอยู่่�
เพีียงยัังไม่่รู้้�จริงิ ถึึงสิ่่ง� ที่่�ตนจะเข้้าไปเกี่่�ยวข้้องด้้วย เท่่านี้้� ใจก็็อ่่อนกำำ�ลัังต้้านทานความชั่่�วลงไปมากแล้้ว
๓. ทัันทีีที่่ใ� จของเขาหัันไปสนใจที่่รู� ปู -เสีียง-กลิ่่น� -รส-สััมผััสวััตถุุที่น่่� า่ พอใจนั้้� น กิิเลสประเภทโลภะ โทสะ โมหะ
ซึ่่�งยัังฝัังอยู่่�ในใจตั้้�งแต่่เกิิด ย่่อมแพร่่กระจายย้้อมใจให้้ขุ่่�นมััว คิิดแต่่ในทางที่่�จะได้้สิ่่�งนั้้� นเป็็นของตนให้้ได้้ ทั้้�งที่่�รู้้�ว่่าสิ่่�ง
นั้้� นอยู่่�ในความครอบครองของผู้้�อื่่น� โดยชอบธรรม ยิ่่�งถููกใจมาก ความโลภก็็ยิ่่�งฉุุ ดแรงมากขึ้้�น สััมปชััญญะความรู้้�ตััวว่่า
ไม่่ใช่่ของตน ก็็อ่่อนแรงจนเกิินจะต้้านทาน แล้้วก็็ปล้้น โกหก เพื่่�อให้้ได้้สิ่่�งนั้้� นมาตามต้้องการหากมีีความรู้้�ด้้าน
วิิชาการมาก ก็็ยิ่่�งนำำ�วิิชาการทางโลกที่่�ตนมีีมาประกอบการปล้้น การโกหกได้้แนบเนีี ยน ให้้น่่าเชื่่�อถืือและสำำ�เร็็จ
52 โดยง่่าย โดยไม่่คำำ�นึึงถึึงผลเสีียที่่จ� ะตามมาภายหลััง

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๔ สััมปชััญญะ

ถ้้าสิ่่�งที่่�ฉุุดใจ คืือ รููป-เสีียง-กลิ่่�น-รส-สััมผััสที่่�ไม่่น่า่ พอใจ กิิเลสประเภทโทสะซึ่่�งฝัังอยู่่�ในใจย่่อมแพร่่กระจาย


ย้อมใจให้ขนุ่ มัวทันที พร้อมกับเกิดความคิดเห็นผิด ๆ คอื คิดเห็นในทางท�ำลาย ยิง่ ไม่พอใจมากยิง่ อยากท�ำลายรุนแรง
มาก มากจนสัมปชัญญะความรูต้ วั ว่า สิง่ นี้ ไม่ใช่ของตนและตนไม่มีสิทธิจะท�ำลายนั้น อ่อนแรงลงมากจนเกินจะต้านทาน
ไว้ได้ การปล้น การโกหกเพื่อหวังท�ำลายล้างจึงเกิดขึ้น เพราะความขาดสติสัมปชัญญะของผู้น้ั น
โจรและคนสับปลับเหล่านี้ หากท�ำความชั่วได้สมใจ โดยไม่มีใครจับได้ไล่ทัน จากเพียงแค่โลภะหรือโทสะก็จะ
ขยายความไม่รูจ้ ริงและความขุ่นมัวด�ำมืดของใจมากยิง่ ขึ้นด้วยอ�ำนาจแห่งโมหะความโง่ว่า ยิง่ โลภะยิง่ ได้ คือ ทัง้ โง่
ทั้งโลภะ หรือยิ่งโทสะยิ่งเก่ง คือ ทั้งโง่ ทั้งโทสะ หากปล่อยทิ้งไว้ไม่รบี แก้ไข จากความโง่ก็จะกลายเป็นมิจฉาทิฐิ
มีความหลงผิดว่า ท�ำดีได้ดีมีทีไ่ หน ท�ำชั่วได้ดีมีถมไป 
การท�ำงานทีป่ ระกอบด้วยสัมปชัญญะ จึงเป็นการท�ำงานทีก่ อ่ ให้เกิดประโยชน์หรือการได้มาจากความบริสทุ ธิ์
กาย วาจา ใจของผู้ท�ำเท่านั้ น ขณะท�ำงานผู้ท�ำการงานนั้ นยังต้องป้องกันไม่ให้มีการเสียหายเดือดร้อนใด ๆ เกิดขึ้น
ด้วย ถ้ามีบ้างก็ต้องให้น้อย แต่ส�ำคัญที่สุดคือเสร็จงานแล้วต้องไม่มีความเดือดร้อนตามมา มีแต่ความอิ่มเอม
เบิกบานใจของทุกฝ่าย

53

www.kalyanamitra.org
คนบางคนรู้้จั� ักความดีี
รู้้จั� ักธรรมะจากการเรีียนมาอย่่างดีี
แต่่หากเรีียนอย่่างขาดศรััทธา
ไม่่มีีความเชื่่�อมั่่�นในความดีี
และขาดการฝึึกฝนในการทำำ�ดีีด้้วยสติิสััมปชััญญะ
พวกเขาก็็มีีโอกาสที่่�จะนำำ�ความรู้้เ� หล่่านั้้� น
ไปทำำ�ความชั่่�วได้้อย่่างมากมาย

54

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๔ สััมปชััญญะ

ลักษณะความรู้ตัว ๔ ของผู้ท�ำงานอย่างมีสติสัมปชัญญะ

ผู้ท�ำงานวงกว้างจ�ำเป็นต้องตระหนั กเบื้องต้นก่อนว่า งานใดถ้าเป็นงานใหญ่เกิดผลประโยชน์ มาก ย่อมส่งผล


กระทบทั้้�งด้้านดีีและเสีียต่่อผู้้�ทำำ�การงานนั้้� นโดยตรงก่่อน แล้้วกระทบต่่อสิ่่�งแวดล้้อมโดยรอบตามมาอีีกมากมายด้้วย
เพื่่อ� ป้้องกัันความเสีียหายทำำ�ลายประโยชน์์ ทั้้�งส่่วนตนและส่่วนรวม ตลอดจนสิ่่�งแวดล้้อม ผู้้�ทำำ�งานนั้้� นจำำ�เป็็นต้้องศึึกษา
ให้รูช้ ัดถึงลักษณะความรูต้ ัว ๔ ประการ ของผู้ท�ำงานอย่างมีสัมปชัญญะที่พึงมีให้ครบ ได้แก่
๑. ผู้ท�ำงานพึงรูต้ ัวว่า การงานที่ตนก�ำลังท�ำนั้ นมีประโยชน์ หรือโทษกับตนเองหรือผู้อนื่ กันแน่
๒. ผู้ท�ำงานพึงรูต้ ัวว่า การงานที่ตนก�ำลังท�ำนั้ นเหมาะกับตนเองจริงหรือไม่
๓. ผู้ท�ำงานพึงรูต้ ัวว่า วิธีการที่ตนก�ำลังใช้ท�ำงานนั้ นมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลหรือไม่
๔. ผู้ท�ำงานพึงรูต้ ัวว่า การงานที่ตนก�ำลังท�ำนั้ นเป็นความฉลาดหรืองมงายกันแน่
ความรูต้ ัวทั้ง ๔ ลักษณะนี้ เป็นองค์ประกอบของสัมปชัญญะ ที่ถือว่ามีอุปการะมาก เพราะเป็นต้นทางแห่ง
การป้องกันแก้ไข พัฒนางานทุกด้านอย่างสมบูรณ์ ทั้งการงานทางโลกและการงานทางธรรม คือ เป็นการท�ำงาน
ด้วยความระมัดระวัง เพื่อประโยชน์ ตน ประโยชน์ ส่วนรวม ประโยชน์ ชาตินี้ และประโยชน์ ชาติหน้าไปพร้อม ๆ กัน
โดยลักษณะความรูต้ ัว ๔ ประการ ของผู้ท�ำงานอย่างมีสัมปชัญญะมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
๑. พึงรูต้ ัวว่า การงานที่ก�ำลังท�ำนั้ นมีประโยชน์ จริงหรือไม่ มีมากหรือน้ อยขนาดไหน โดยพิจารณาจาก
55
ผลกระทบ ๘ ด้าน ได้แก่ ๑) สุขภาพร่างกาย ๒) สุขภาพจิต ๓) ทรัพย์สินรายได้ ๔) นิ สัยและศีลธรรมประจ�ำใจ

www.kalyanamitra.org
ทัง้ ส่วนตน ครอบครัว ชุมชน ส่วนรวม ๕) สิง่ แวดล้อมที่เป็นธรรมชาติ ๖) สิง่ แวดล้อมทเี่ ป็นสัตว์น้อยใหญ่ ในบริเวณนั้น
๗) สิ่งแวดล้อมที่เป็นสิ่งก่อสร้างตลอดจนเครื่องมืออุปกรณ์ ต่าง ๆ ที่ใช้ ๘) สิ่งแวดล้อมที่เป็นขนบธรรมเนี ยมประเพณี
ดีงาม กฎหมายบ้านเมือง และศาสนา
ผลดีีผลได้้ ผลร้้ายผลเสีียทั้้�ง ๘ ด้้านนี้้� ต้้องพิิจารณาอย่่างรอบคอบ เพราะขณะที่่�เราทำำ�การงานอยู่่� มีีสองสิ่่ง�
ที่่�เราต้้องเสีียไปโดยไม่่อาจหลีีกเลี่่�ยง และเรีียกคืืนกลัับมาไม่่ได้้ คืือ ๑) เสีียเวลาชีีวิิต เพราะร่่างกายต้้องแก่่ลงไป
เปล่่า ๆ อย่่างไร้้แก่่นสาร ๒) เสีียโอกาสทำำ�ความดีีอย่่างอื่่�น
๒. พึงรูต้ ัวว่า การงานทีก่ �ำลังท�ำนั้ น เหมาะสมกับตนหรือไม่ โดยพิจารณาอย่างรอบคอบจาก ๑) ความเหมาะ
ต่อภาวะเพศชาย-หญิง คฤหัสถ์-บรรพชิตของตน ๒) ความเหมาะต่อยศ ต�ำแหน่ ง ฐานะ ชาติ ตระกูล อายุ ความรู ้
ความสามารถ ความถนั ดของตน ๓) ความเหมาะต่อศรัทธา ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ปฏิภาณของตน
๓. พึงรูต้ วั ว่า วิธกี ารทีต่ นก�ำลังใช้ท�ำนั้ นมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลหรือไม่ เนื่ องจากความรู ้ ความสามารถ
ความถนัั ด ศีีลธรรมประจำำ�ใจของตนที่่�ได้้พิิจารณาแล้้วเบื้้�องต้้น เป็็นเพีียงองค์์ประกอบหรืือคุุณสมบััติิภายในเท่่านั้้� น
เมื่่�อถึึงเวลาทำำ�งานจริิง จำำ�เป็็นต้้องอาศััยองค์์ประกอบภายนอกที่่�เหมาะสมอีีก คืือ วิิธีีการหรืือเทคโนโลยีีต่่าง ๆ ที่่�จะ
ต้องน�ำมาใช้ ซึ่งวิธีการหรือเทคโนโลยีที่จะน�ำมาใช้นั้น ต้องให้พอเหมาะกับสิ่งแวดล้อมขณะนั้ นด้วย จึงจะสะดวก
สบายในการท�ำงานและเพื่อป้องกันไม่ให้หลงใช้วิธีการท�ำงานที่สิ้นเปลืองเปล่า เป็นทุกข์ไม่สะดวกสบายเท่าที่ควร
จึงต้องอาศัยหลักในการพิจารณาวิธีการหรือเทคโนโลยี ให้เหมาะกับสิง่ แวดล้อม ๕ ประการ ดังต่อไปนี้
56

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๔ สััมปชััญญะ

๓.๑ พิจารณาความเหมาะกับธรรมชาติทแี่ วดล้อมตัง้ แต่ ดิน น�้ำ อากาศ ลม แดด ฝน หิมะ แร่ธาตุใต้ดิน
บนดิน ภูเขา ป่าไม้ พืชพันธุ์ในเขตนั้ น
๓.๒ พิิจารณาความเหมาะกัับสััตว์์น้้อยใหญ่่ที่่แ� วดล้้อม ทั้้ง� สััตว์์น้ำ�ำ� สััตว์์บก สััตว์์ปีกี แมลง ในเขตนั้้�น
๓.๓ พิจารณาความเหมาะกับนิ สัยใจคอของผู้คนในเขตนั้ น รวมทัง้ ความรู ้ ความสามารถ ค่าจ้าง แรงงาน
๓.๔ พิจารณาความเหมาะกับอุปกรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือ สิ่งก่อสร้าง การขนส่ง การสื่อสาร ในเขตนั้ น
รวมทัง้ เตรียมที่วา่ ง ขยายทางเพิม่ เผอื่ การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเครื่องจักร เครอื่ งมอื ให้ทนั ยุคสมัยภายหน้าพอสมควร
ด้วย เพราะเทคโนโลยีทั้งหลายแม้ทันสมัยขณะนี้ แต่ยังต้องมีการปรับปรุงแก้ไขภายหน้าอีกอย่างแน่ นอน ต่างแต่ว่า
จะช้าหรือเร็ว
๓.๕ พิจารณาความเหมาะกับขนบธรรมเนี ยม ประเพณี กฎหมายบ้านเมือง และระเบียบศีลธรรมอันดีงาม
ในเขตนั้ น ในภูมิภาคนั้ นด้วย ว่าจะต้องไม่มีความเดือดร้อนต่อเรา ต่อผู้อื่นตามมาภายหลัง และไม่มีการท�ำลาย
สิง่ แวดล้อมใด ๆ อกี ทัง้ ต้องพิจารณาว่า ถูกต้องตรงต่อกฎสากลของโลก คือ กฎแห่งกรรมหรอื ไม่ ถ้าถูกต้องเหมาะสม
ก็จะเป็นไปเพื่อประโยชน์ ตนและประโยชน์ ต่อผู้อื่นอย่างบริบูรณ์ ไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนใดแก่ใคร ๆ เลย
๔. พึึงรู้้�ตััวว่่า การทำำ�งานที่่�ตนกำำ�ลังั ทำำ�นั้้� นเป็็นความฉลาดหรืืองมงายกัันแน่่ เพราะความทุุกข์์กายทุุกข์์ใจที่่เ� กิิด
จากโรคประจำำ�กาย ๖ คืือ โรคร้้อน-หนาว โรคหิิว-กระหาย โรคปวดอึึ-ปวดฉี่่� บีีบคั้้�น ทำำ�ให้้ใจมนุุ ษย์์แต่่ละคนชอบที่่�จะ
แวบออกนอกกาย เพื่่�อแสวงหาบุุคคล สิ่่ง� ของ และวิิธีีการคลายทุุกข์์สร้้างสุุขให้้ตนเองตั้้ง� แต่่ยัังเป็็นทารก เมื่่�อเติิบโต 57

www.kalyanamitra.org
เป็นผู้ใหญ่ก็ยังต้องประสบทุกข์มากขึ้นไปอีก ใจของแต่ละคนจึงยิง่ แวบออกนอกกายถี่ขึ้น ๆ จนบางครัง้ กลับท�ำให้เกิด
ความทุกข์กายทุกข์ใจทวีความรุนแรงมากกว่าเดิม
แม้้ผู้้�ที่่�ร่า่ งกายแข็็งแรงหากไม่่ฝึึกเก็็บใจไว้้ในกายให้้มีีสติิมั่่�นคง รัักษาใจให้้ผ่่องใสได้้ดีีพอ ประกอบกัับการงาน
ที่่�กำำ�ลัังกระทำำ�อยู่่�ก็็ยาก สิ่่�งแวดล้้อม ๕ ก็็ไม่่เอื้้�ออำำ�นวย แม้้มีีความปรารถนาที่่�จะเป็็นคนดีีของโลก ความปรารถนา
แสนดีนั้นย่อมสลายไป เพราะสัมปชัญญะของเขามอดหมดไป ท�ำนองเดียวกับโจรและคนสับปลับที่ยกตัวอย่างไว้แล้ว

หลักการท�ำงานอย่างชาญฉลาดเพิ่มพูนสติสัมปชัญญะ

การที่บุคคลใดจะท�ำงานท่ามกลางความสับสนของโลกกว้าง บุคคลนั้ นพึงมีหลักการท�ำงานเพื่อด�ำรงชีวิต


อย่างชาญฉลาดไม่งมงาย ดังนี้
๑. การท�ำงานที่ฉลาดจะต้องไม่ก่อให้เกิดหนี้สินใด ๆ มีแต่ท�ำให้เกิดทรัพย์ไว้เพียงพอหล่อเลี้ยงตนเองและ
ครอบครัวให้อิม่ หน�ำมีสุขเป็นอย่างน้ อย ยิง่ มีเหลือเผื่อท�ำบุญ ช่วยเหลือผู้อื่นคราวคับขันได้ก็ยิง่ ดี
๒. การงานที่ฉลาด ไม่งมงายจะต้องเป็นการงานที่ท�ำให้ผู้ท�ำงานนั้น ได้โอกาสประคองรักษาใจไว้ในกายตลอด
เวลาที่ท�ำงานนั้ น ๆ เป็นการงานที่มีแต่จะท�ำให้ผู้ท�ำงานใจผ่องใสยิ่งขึ้น และหลีกเลี่ยงการท�ำงานที่ท�ำให้ใจขุ่นมัว
ทุกชนิ ด แม้การท�ำงานนั้ นจะท�ำให้ร �่ำรวยล้นฟ้าปานใดก็ตาม แต่การมีสติหมั่นเก็บใจไว้ในกายจะรักษาใจให้ผ่องใส
58

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๔ สััมปชััญญะ

เป็็นการป้้องกัันใจไม่่ให้้คิิดเห็็นผิิด ๆ แล้้วสั่่�งการกายให้้พููดผิิด ๆ ทำำ�ผิิด ๆ เพิ่่�มทุุกข์์เดืือดร้้อนแก่่ตนเอง ที่่�สำำ�คััญ


การงานที่่�ฉลาด ไม่่งมงาย เป็็นการงานที่่�กำำ�จััดโลภะ โทสะ โมหะ ให้้ลดลงอีีกด้้วย
๓. การงานที่ฉลาดนั้ น จะต้องเปิดโอกาสให้ได้สร้างผู้มีสติสัมปชัญญะรุน่ ใหม่และสร้างเครือข่ายคนดีมีสติ
สัมปชัญญะ ไว้พัฒนาสังคมประเทศชาติให้สะอาด มีระเบียบยิ่ง ๆ ขึ้นไป
เพราะการท�ำงานอย่างชาญฉลาด มีสติสัมปชัญญะจึงท�ำให้ ๑) รูต้ ัวว่าการงานนั้ นมีประโยชน์ จริง ๒) รูต้ ัวว่า
งานนั้ นเหมาะกับตนจริง ๓) รูต้ ัวว่างานนั้ นสะดวกสบายจริง ๔) รูต้ ัวว่างานนั้ นฉลาดจริง ย่อมเป็นการท�ำงานที่มีแต่
เพิ่มพูนความสุขก�ำจัดทุกข์ไปพร้อม ๆ กัน และเป็นงานที่ช่วยกล่อมเกลาให้ผู้คนในสังคมนั้ น ๆ มีใจผ่องใส รักการหา
เลี้ยงชีพด้วยวิธีสุจริต ไม่เดือดร้อนตนเองและผู้อื่นไปพร้อม ๆ กันด้วย จึงเป็นการสมควรอย่างยิ่งที่ผู้คนทั้งโลกพึงรีบ
ขวนขวายลุกขึ้นมาฝึกฝนตนเอง สมาชิกในครอบครัว เพื่อนบ้าน และผู้รว่ มสังคม ให้มีสติสัมปชัญญะสมบูรณ์ ตลอด
เวลาในการท�ำงานตั้งแต่บัดนี้
โดยเริม่ ต้นฝึกเก็บใจไว้กลางกายเบา ๆ ง่าย ๆ สบาย ๆ หมั่นสังเกต และท�ำอย่างสม�่ำเสมอ พร้อมกับการท�ำ
กิจวัตรส่วนตัวตัง้ แต่ตื่นเช้าจนกระทัง่ กลับเข้านอน
หลังจากท�ำใจจรดกลางกายจนช�ำนาญขณะท�ำงานเป็นประจ�ำ ค�ำถามท�ำนองเหล่านี้จะผุดขึ้นมาเอง จากนั้ น
จะช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับความหยุดนิ่ งของใจ ค�ำตอบย่อมผุดขึ้นเองจากใจใส ๆ นั้ น และค�ำตอบก็จะละเอียดไปตาม
ล�ำดับ ดังเช่น
59

www.kalyanamitra.org
ค�ำถามที่ ๑ ตัวเราเองและคนทัง้ โลก ท�ำไมจึงต้องท�ำงานประกอบอาชีพแทบไม่มีวันหยุด
ค�ำตอบที่ ๑ แม้แต่ละวันค�ำตอบจะมีหลายอย่างต่างกันไป แต่สุดท้ายเมื่อรักษาใจไว้นิ่ง ๆ ในกลางกายดีพอ
ก็จะเหลอื เพยี งค�ำตอบเดยี ว คอื เพราะเราต่างต้องมีคา่ ใช้จา่ ยประจ�ำทุกวันไม่อาจหลีกเลีย่ งได้ เพื่อเลี้ยงชีวิตให้อยูร่ อด
ปลอดภัย ถ้าใครไม่อยากเหนื่ อยมาก ก็ต้องรูป้ ระมาณให้ครบทั้ง ๓ ประการ คือ
๑) รูป้ ระมาณการท�ำงานหาทรัพย์
๒) รูป้ ระมาณการเก็บรักษาทรัพย์
๓) รูป้ ระมาณการใช้ทรัพย์อย่างเหมาะสม
ค�ำถามที่ ๒ ค่าใช้จ่ายของแต่ละคน แต่ละเพศ แต่ละวัย ซึ่งอาศัยอยู่บ้านเดียวกัน แม้ต่างคนต่างประหยัด
สุด ๆ แล้ว ก็ยังมีค่าใช้จ่ายไม่เท่ากัน แล้วเราจะทราบได้อย่างไรว่า ใช้จ่ายเท่าไร คือ การรูป้ ระมาณ
ค�ำตอบที่ ๒ ค่าใช้จ่ายของทุกคนในโลกแบ่งได้เป็น ๒ ประเภท
๑) ประเภทค่่าใช้้จ่า่ ยตามอำำ�เภอใจ ถ้้าไม่่มีีก็แ็ ล้้วไป จึึงต้้องวางไว้้ก่อ่ น เลืือกพิิจารณาประเภทค่่าใช้้จ่า่ ยจำำ�เป็็น
เท่่านั้้�น
๒) ประเภทค่าใช้จ่ายจ�ำเป็นจะขาดไม่ได้ ทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ หญิง ชาย ต่างมีค่าใช้จ่ายที่จ�ำเป็นจริงเพียง ๒ งบ
60 งบแรก คือ ค่าปัจจัย ๔ โดยเฉพาะ และงบทีส่ อง คือ สิ่งที่เนื่ องด้วยปัจจัย ๔

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๔ สััมปชััญญะ

งบแรก ค่าปัจจัย ๔ ได้แก่ ค่าใช้จ่ายส�ำหรับ


• อาหาร เครือ่ งดืม่
• เสือ้ ผ้าเครือ่ งนุ่ งห่ม
• ทีอ่ ยู่อาศัย
• ยารักษาโรค
ปัจจัยทั้ง ๔ ประการนี้ ตลอดชีวิตใคร ๆ ก็ขาดแม้เพียงวันเดียวไม่ได้
งบทีส่ อง สิง่ ทีเ่ นื่ องด้วยปัจจัย ๔ ได้แก่
• สิง่ ทีเ่ นื่ องด้วยอาหาร เครือ่ งดืม่ เช่น ถ้วย จาน ช้อน ชาม กระทะ หม้อ เป็นต้น
• สิง่ ทีเ่ นื่ องด้วยเสือ้ ผ้า เช่น สบู่ น�้ำยาท�ำความสะอาดเสื้อผ้า เครื่องซักผ้า แปรงซักผ้า เตารีด เป็นต้น
• สิง่ ทีเ่ นื่ องด้วยทีอ่ ยู่อาศัย เช่น โต๊ะ เตียง ตั่ง เก้าอี้ ไม้กวาด เครื่องดูดฝุ่น เป็นต้น
• สิง่ ทีเ่ นื่ องด้วยยารักษาโรค เช่น เข็มฉี ดยา ผ้าพันแผล ส�ำลี แปรงสีฟัน ยาสีฟัน เป็นต้น
หากควบคุุมค่่าใช้้จ่่ายปััจจััย ๔ โดยตรง และสิ่่ง� ที่่�เนื่่� องด้้วยปััจจััย ๔ ให้้พอเหมาะกัับรายได้้ของตน โดยไม่่
ทำำ�ให้้ตนต้้องตกเป็็นหนี้้� แต่่พอมีีเหลืือเผื่่�อไว้้ใช้้ยามฉุุ กเฉิิ นบ้้าง ก็็ถืือได้้ว่่าเป็็นความรู้้�ประมาณในปััจจััย ๔ ของผู้้�นั้้� น
และจััดได้้ว่่าเป็็นการยกระดัับความฉลาดไม่่งมงาย ไม่่ประมาทของผู้้�นั้้� นได้้อีีกระดัับหนึ่่� งด้้วย ซึ่่�งการดำำ�รงชีีวิิตแบบ
ฉลาดและโง่่งมงาย ดัังภาพที่่� ๕ และ ๖ 61

www.kalyanamitra.org
62
ภาพที่่� ๕ การดำำ�รงชีีวิิตแบบฉลาด

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๔ สััมปชััญญะ

63
ภาพที่่� ๖ การดำำ�รงชีีวิิตแบบโง่่งมงาย

www.kalyanamitra.org
ขณะที่่�เราทำำ�การงานเพื่่�อดำำ�รงชีีวิิตอยู่่�นั้้� น
มีีสองสิ่่�งที่่�เราต้้องเสีียไปโดยไม่่อาจหลีีกเลี่่�ยง
และเรีียกคืืนกลัับมาไม่่ได้้ คืือ
๑) เสีียเวลาชีีวิิต เพราะร่่างกาย
ต้้องแก่่ลงไปเปล่่า ๆ อย่่างไร้้แก่่นสาร
๒) เสีียโอกาสทำำ�ความดีีอย่่างอื่่�น

www.kalyanamitra.org

บทที่่�

สติิสัมปชั
ั ัญญะ
ในกิิจวััตรประจำำ�วััน
www.kalyanamitra.org
กิจวัตรเพื่อฝึกสติสัมปชัญญะ

ทุกครัง้ ที่ใจแวบออกไปนอกกาย ใจย่อมไม่อาจควบคุมตัวเองได้ เพราะตาก็จะฉุ ดให้ไปดูรูปที่น่าพอใจบ้าง


ไม่นา่ พอใจบ้าง หูก็จะฉุ ดให้ไปฟังเสียง จมูกก็จะฉุ ดให้ไปดมกลิ่น ลิ้นก็จะฉุ ดให้ไปลิ้มรส กายก็ฉุดให้ไปสัมผัสสิ่งของ
และใจก็จะฉุ ดไปคิดเรื่องที่นา่ พอใจบ้าง ไม่นา่ พอใจบ้าง จึงมีทง้ั รูป-เสียง-กลิน่ -รส-สัมผัส-เรื่องราวที่นา่ พอใจและไม่นา่
พอใจแย่งกันมากระทบกระทั่งใจ ใจจึงขุ่น มีสภาพล้มลุกคลุกคลาน คือ ยินดีเมื่อได้ ยินร้ายเมื่อเสีย ต่อสิ่งที่มากระทบ
และคร�่ำครวญเมื่อสิง่ ที่ตนพอใจต้องเปลี่ยนแปรผันเป็นอนื่ ไปตามกฎอนิจจงั คือ อะไรก็ตาม เมือ่ เกิดขึ้นแล้ว ย่อมตัง้ อยู่
ได้ชั่วระยะหนึ่ งเท่านั้ น สุดท้ายก็ต้องดับไป เพราะแม้แต่ตัวเราเองยังต้องแก่ เจ็บ ตาย
ขอเพียงไม่ดูเบา ตั้งใจเจริญสมาธิภาวนาเพิ่มพูนสติ ไม่ยอมว่างเว้น ใจที่เคยแวบหนี ออกเที่ยวก็จะกลับเชื่องลง
อยูก่ ลางกายนานขึ้น แล้วจะรูส้ กึ เองว่าใจสดชื่นขึ้น ผ่องใสขึ้นไปตามล�ำดับ ๆ ด้วยกิจวัตร เก็บใจไว้กลางกาย ๓ ประการ
๑. กิจวัตรสวดมนต์ เช้า-เย็น เป็นประจ�ำ
๒. กิิจวััตรเจริิญสมาธิิภาวนา เช้้า-เย็็น เป็็นประจำำ� ใครถนัั ดกำำ�หนดใจให้้หยุุดนิ่่� งในกายด้้วยวิิธีีไหนก็็ใช้้วิธีีนั้้
ิ �น
เช่่น กำำ�หนดลมหายใจเข้้า-ออก หรืือกำำ�หนดนิิ มิิตเป็็นดวงแก้้วใส หรืือพระพุุทธรููปใสไว้้กลางกายอย่่างน้้ อยครั้้ง� ละ
๑๕-๓๐ นาทีี ดัังภาพที่่� ๗

66

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๕ สติิสััมปชััญญะในกิิจวััตรประจำำ�วััน

ภาพที่ ๗ เจริญสมาธิภาวนาเป็นประจ�ำ

๓. กิิจวััตรเก็็บรัักษาใจไว้้กลางกายเป็็นประจำำ� ตั้้�งแต่่ตื่่�นนอนกระทั่่�งกลัับเข้้านอน คืือ ไม่่ว่่าจะอาบน้ำำ�� ล้้างหน้้า


แปรงฟััน รัับประทานอาหาร ล้้างจาน ซัักผ้้า ขััดห้้องน้ำำ�� กวาดบ้้าน ถููบ้้าน ออกกำำ�ลัังกาย ว่่ายน้ำำ�� ขัับรถ ทำำ�การงาน 67

www.kalyanamitra.org
เลี้้�ยงชีีพ ขณะทำำ�งานเหล่่านั้้� นไป ก็็ทำ�ำ ใจว่่างโปร่่งโล่่งเบาไป พร้้อมกัับประคองเก็็บรัักษาใจไว้้กลางกาย อาจประคองด้้วย
การกำำ�หนดลมหายใจเข้้า-ออก กำำ�หนดนิิ มิิตเป็็นดวงแก้้วหรืือพระพุุทธรููปใส ๆ ก็็ได้้ ดัังภาพที่่� ๘

68 ภาพที่ ๘ หมั่นเก็บรักษาใจไว้กลางกายในทุกการงาน

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๕ สติิสััมปชััญญะในกิิจวััตรประจำำ�วััน

หลัังจากปฏิิบััติิกิิจวััตรเก็็บใจไว้้กลางกาย ๓ ประการ อย่่างต่่อเนื่่� อง ๓ สััปดาห์์ ย่่อมรู้้�ตััวเองว่่าใจผ่่องใสขึ้้�นมา


ตามลำำ�ดับั แม้้มีีเรื่่อ� งวุ่่�นวายใดมากระทบระหว่่างวัันก็็สามารถปล่่อยผ่่านและแก้้ไขเหตุุการณ์์ ได้้ง่า่ ย ใจก็็กลัับผ่่องใสได้้
รวดเร็็ว สิ่่ง� ใดที่่เ� คยรู้้�สึึกว่่าเข้้าใจยากก็็กลัับเข้้าใจง่่ายเพราะความผ่่องใสของใจที่่เ� พิ่่ม� ขึ้้�น ที่่�สำำ�คัญ
ั คืือ เมื่่�อปฏิิบัติั ต่ิ อ่ เนื่่� อง
ต่่อไป ไม่่ช้้าย่่อมเข้้าใจถููกวััตถุุประสงค์์แท้้จริงิ ของการใช้้ปััจจััย ๔ แต่่ละชนิิ ด ดัังภาพที่่� ๙ ตรงตามที่่�ท่่านผู้้�รู้้�จริิงได้้
กล่่าวไว้้ อัันเป็็นต้้นทางของความมีีสติิระลึึกถึึงความจริิงสิ่่ง� ที่่�ต้อ้ งทำำ� คำำ�ที่่ต้� อ้ งพููด และมีีสัมั ปชััญญะรู้้�ตััวว่่า
๑. ก่่อนใช้้พึึงมีีสติิระลึึกได้้ว่่า เสื้้�อผ้้า เครื่่อ� งนุ่่�งห่่ม แท้้จริงิ มีีไว้้เพื่่�อ ๑) ป้้องกัันบำำ�บััดความร้้อน ความหนาว
จากภายนอกและโรคร้้อน โรคหนาวภายในกาย ๒) ป้้องกัันบำำ�บััด เหลืือบ ยุุง ริ้้น� ไร สััตว์์เลื้้�อยคลานไต่่ตอม และ
ลมกระโชกแรง แสงแดดแผดเผา ๓) ปกปิดอวัยวะกันอาย มีสัมปชัญญะรูต้ ัวว่า เสื้อผ้า เครื่องนุ่ งห่ม ไม่ได้มีไว้โชว์
ความร�่ำรวย สวย หล่อ หรือยั่วกามราคะใคร
๒. ก่่อ นใช้้ พึึ ง มีี สติิระลึึกได้้ว่่า ที่่�อยู่่�อาศััย ไม่่ว่่าจะเป็็นกระต๊๊อบเล็็กหรืือคฤหาสน์์ ใหญ่่ แท้้ จริ งิ มีีไว้้ เพื่่� อ
๑) ป้้องกัันบำำ�บััดความร้้อนความหนาวจากภายนอก และโรคร้้อนโรคหนาวจากภายในกาย ทำำ�นองเดีียวกัับเสื้้�อผ้้า
๒) ป้้องกัันบำำ�บััด เหลืื อ บ ยุุง ริ้้น� ไร สััตว์์เลื้้�อยคลานทั้้�งน้้ อยใหญ่่ และลมแดด ๓) ป้้องกัันบำำ�บััด ฝน ฟ้้า อากาศ
คะนองกระหน่ำำ�� ทำำ�อันั ตรายคนให้้ป่ว่ ยไข้้และทรััพย์์สินิ ให้้เสีียหาย ๔) เป็็นที่่�ทำำ�งาน ประกอบกิิจส่ว่ นตััว ร่่วมอยู่่�เป็็นสุุข
กัับครอบครััว พอสบาย มีีสััมปชััญญะ รู้้�ตััวว่่าที่่�อยู่่�อาศััยไม่่ได้้มีีไว้้อวดอำำ�นาจวาสนา ให้้เปลืืองค่่าใช้้จ่่าย
๓. ก่่อนกิิน ดื่่�มพึึงมีีสติิระลึึกได้้ว่า่ อาหารและเครื่่อ� งดื่่�ม แท้้จริงิ ก็็ ๑) กิินเพื่่�อแก้้โรคหิิว ดื่่�มแก้้โรคกระหาย ให้้
ร่่างกายแข็็งแรงเจริิญเติิบโตสมวััย ไม่่หาโรคมาใส่่กาย ผลิิตพลัังงานเลี้้�ยงกายให้้อบอุ่่�น มีีอายุุขััยยืืนยาว ๒) เพื่่�อให้้มีี 69

www.kalyanamitra.org
เรี่่ย� วแรงประกอบอาชีีพ และประพฤติิปฏิิบัติั ธิ รรมได้้เต็็มที่่� มีีสัมั ปชััญญะรู้้�ตััวว่่าอาหาร เครื่่�องดื่่�ม ไม่่ได้้มีีไว้้เพื่่อ� ความ
เมามัันทรงพลััง ประดัับตกแต่่งให้้สวยให้้งาม บำำ�รุงุ กาม อวดเด่่น อวดรวย อวดกล้้า ผลาญทรััพย์์ ทำำ�ลายศีีล เหยีียบ
ย่ำำ�� ธรรมให้้เสีียผู้้�เสีียคน
๔. ก่่อนใช้้พึึงมีีสติิระลึึกได้้ว่่ายารัักษาโรค แท้้จริงิ ก็็เพื่่�อ ๑) ป้้องกัันบำำ�บััดทุุกข์์จากโรคภััยไข้้เจ็็บทั้้�งหลายอััน
เกิิดจากสิ่่ง� แวดล้้อมภายนอก ๒) ป้้องกัันบำำ�บัดั โรคภััยไข้้เจ็็บทั้้�งหลายอัันเกิิดจากความประมาทในการป้้องกัันบำำ�บัดั
โรคอัันเกิิดจากภายในทั้้�งโรคร้้อน โรคหนาว โรคหิิว โรคกระหาย โรคปวดอุุจจาระ โรคปวดปััสสาวะ มีีสััมปชััญญะ
รูต้ ัวว่า ยารักษาโรคไม่ได้มีไว้บ�ำรุงกาม บ�ำเรอความสุขต่าง ๆ ให้หลงใหลมัวเมา
เมื่่�อใจผ่่องใสเพิ่่�มขึ้้�นมากเท่่าไร ยิ่่�งเห็็นชััดขึ้้�นมาในใจด้้วยตนเองว่่า ขุุมทรััพย์์ทางปััญญาของมนุุ ษย์์ ไม่่ได้้อยู่่�
ที่่�โรงเรีียนหรืือสถาบัันการศึึกษาใด ๆ แต่่เก็็บไว้้มากมายมหาศาลที่่�ศููนย์์กลางกายของตนเอง มีีปริิมาณมากยิ่่ง� กว่่า
ความรู้้�จากห้้องสมุุดทั้้�งโลกมากองรวมกััน รอเวลาให้้ผู้้�นั้้� น ตั้้�งสติิ มั่่� น เก็็ บ ใจไว้้ ในกายนิ่่� ง ๆ นาน ๆ อย่่างสบาย ๆ ได้้
ชำำ�นาญพอ แล้้วความจริิงอย่่างลึึกซึ้้�งในสรรพสิ่่�งทั้้�งหลาย ย่่อมหลั่่�งไหลออกมาให้้รู้้�แจ้้งแจ่่มชััด ตรงตามที่่ท่� ่านผู้้�รู้้�จริิง
ได้้กล่่าวไว้้อย่่างแน่่ นอน

70

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๕ สติิสััมปชััญญะในกิิจวััตรประจำำ�วััน

ภาพที่ ๙ วัตถุประสงค์แท้จริงของการใช้ปัจจัย ๔ 71

www.kalyanamitra.org
กิิจวััตรเพื่่�อฝึึกสติิสััมปชััญญะ
สวดมนต์์เช้้า-เย็็นเป็็นประจำำ�ทุุกวััน
เจริิญสมาธิิภาวนาเช้้า-เย็็นเป็็นประจำำ�ทุุกวััน
เก็็บรักั ษาใจไว้้กลางกายเป็็นประจำำ�
ตั้้�งแต่่ตื่่�นนอนจนกระทั่่�งกลัับเข้้านอน

72

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๕ สติิสััมปชััญญะในกิิจวััตรประจำำ�วััน

ความส�ำคัญของการฝึกสติสัมปชัญญะในระดับครอบครัว
พ่่อแม่่ผู้้�ปกครองที่่�ใจใส ในระดัับที่่�ตระหนัั กเห็็นคุุณประโยชน์์ ของการเจริิญสมาธิิภาวนาเพิ่่�มพููนสติิสััมปชััญญะ
ว่่า ก่่อให้้เกิิดปััญญาจากภายในมากเช่่นนี้้� ย่่อมตััดใจสละเวลาระหว่่างวััน เพื่่�อเจริิญสมาธิิภาวนาแม้้เพีียงชั่่�วโมงละ ๑
นาทีี โดยนั่่� งเจริิญสมาธิิภาวนาหรืือนำำ�ใจมาเก็็บรัักษาไว้้ที่่�กลางกายขณะที่่�ทำำ�ภารกิิจต่่าง ๆ ทั้้�งที่่�บ้้านและที่่�ทำ�ำ งาน แม้้
ขณะอยู่่�ในห้้องน้ำำ�� เป็็นประจำำ� ไม่่ช้้าพ่่อแม่่ผู้้�ปกครองท่่านนั้้� น ย่่อมเห็็นได้้ด้้วยตนเองอีีกว่่า การที่่�ตนตั้้ง� หน้้าตั้้ง� ตาอบรม
สั่่ง� สอนลููกหลานให้้รักั ความสะอาด จััดระเบีียบสิ่่ง� ของอย่่างถููกวิิธีีและทำำ�ทันั ทีีนั้้�น เป็็นสิ่่ง� ที่่ถู� กู ต้้องอย่่างยิ่่ง� เพราะเป็็นการ
ปลููกฝัังให้้ลููกหลานไม่่มัักง่่าย ซึ่่�งถืือว่่าเป็็นการละชั่่�วขั้้�นต้้น และเป็็นการทำำ�ความดีีขั้้�นพื้้�นฐานของมนุุ ษยชาติิอีีกด้้วย
ซึ่่�งการฝึึกสติิสััมปชััญญะนั้้� นทำำ�ได้้โดย
• การสอนลูกให้อาบน�้ำ ล้างหน้า แปรงฟัน ท�ำความสะอาดร่างกายทุกซอกมุมอย่างนุ่ มนวลถูกวิธี
• การสอนลููกให้้ทำำ�ความสะอาดของเล่่นและของใช้้ส่่วนตััวให้้ถููกวิิธีี
• การสอนลูกให้จัดเก็บ เรียง ซ้อน ของที่ท�ำความสะอาดแล้ว เป็นแถว เป็นแนว เป็นชั้นอย่างถูกวิธี
• การสอนลููกให้้รีีบล้้างถ้้วย จาน ช้้อน ชาม ทัันทีีที่่รั� บั ประทานอาหารเสร็็จให้้ถููกวิิธีี
• การสอนลูกให้กิน นอน ตื่น ขับถ่ายเป็นเวลาตัง้ แต่ยังเล็ก ฯลฯ
เมื่่อ� ฝึึกอย่่างนี้้�แล้้ว จึึงมั่่น� ใจได้้ว่า่ ลููกหลานจะมีีสุุขภาพดีี แข็็งแรง เจริิญเติิบโตสมวััย โดยเฉพาะอย่่างยิ่่ง� ในขณะที่่�
สอนให้ลูกท�ำกิจวัตร ท�ำความสะอาด และจัดระเบียบไป ก็ชี้เหตุแสดงผล ติชมไปแบบสบาย ๆ อารมณ์ ดี ลูกย่อมรูส้ ึก 73

www.kalyanamitra.org
อบอุ่นใจ ใจลูกจึงไม่แล่นออกไปนอกตัว ไม่ไปติดเกม ไม่ไปติดเรื่องไร้สาระต่าง ๆ และการได้ท�ำความสะอาด จัด
ระเบียบด้วยมือของตนเอง จะเป็นเครือ่ งดึงดูดใจ ให้พอใจ สบายใจ มีสติดึงใจให้หยุดมั่นอยู่กลางกายตามพ่อแม่
ไปโดยอัตโนมัติ
แน่นอนว่า หากพ่อแม่ผปู้ กครองทัง้ หลาย ตนื่ ตัวขึ้นมาปฏิบตั กิ จิ วัตรเก็บใจไว้กลางกาย ๓ ประการ คอื ๑) กิจวัตร
สวดมนต์ ๒) กิจวัตรเจริญสมาธิภาวนา ๓) กิจวัตรเก็บรักษาใจไว้กลางกายเป็นประจ�ำ อย่างทัว่ หน้า มั่นใจได้วา่ ลูกหลาน
ทุกคนเมื่อโตขึ้น ย่อมรูด้ ้วยใจว่าพ่อแม่ผู้ปกครองรักตนมากขนาดไหน พี่ก็รวู ้ ่าน้ องรักตน น้ องก็รวู ้ า่ พี่รกั ตน โดยรูจ้ าก
คำำ�ติชิ ม ความเหนื่่� อย ความสนุุ กไปด้้วยกััน ขณะทำำ�ความสะอาด จััดระเบีียบ การเอาใจเขาใส่่ใจเรา เอาใจเราใส่่ใจเขา
แล้้วกลายเป็็นความเห็็นใจ ถนอมใจกััน ที่่สำ� ำ�คัญ ั เมื่่อ� โตขึ้้�น ลููกหลานทุุกคนย่่อมรู้้�จัักถนอมใจพ่่อแม่่ผู้้�ปกครอง ไม่่ยอม
ทำำ�อะไรที่่�ไม่่เหมาะสม ไม่่ดีีงามให้้พ่่อแม่่ผู้้�ปกครองช้ำำ��ใจ เกิิดหิิริโิ อตตััปปะ มีีความละอายและเกรงกลััวต่่อบาป
กลััวพ่่อแม่่ผู้้�ปกครองจะเสีียใจเพราะความประพฤติิไม่่เหมาะสมของตน เมื่่อ� เป็็นดัังนี้้� ลูกู จะเป็็นคนช่่างสัังเกต มีีความ
เคารพต่่อพ่่อแม่่ผู้้�ปกครอง มีีระเบีียบวิินััย มีีความอดทน และมีีความเสีียสละเพิ่่ม� มากขึ้้�น
พ่อแม่ ผู้ปกครองที่ยอมสละเวลาอันมีค่าขณะประกอบอาชีพประจ�ำวันเพียง ๑ นาทีต่อชั่วโมง เจริญสมาธิ
ภาวนาเพื่อเพิ่มพูนสติสัมปชัญญะเป็นประจ�ำอย่างไม่ลดละ ต่อไปไม่นานท่านเหล่านั้ น ย่อมเห็นความจริงน่าตระหนก
ประจ�ำโลก ๔ ประการทีถ่ ูกมองข้ามมานานแสนนาน และจะท�ำให้พ่อแม่ผู้ปกครองเหล่านั้ น ยิง่ ต้องเร่งฝึกสติเก็บใจไว้
ในกายให้หยุดนิ่ งมั่นคงยิ่งขึ้น และรีบเตือนสติให้ชาวโลกตระหนั กถึงอันตรายเหล่านั้ น เร่งรีบฝึกสติตามมาด้วย
74

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๕ สติิสััมปชััญญะในกิิจวััตรประจำำ�วััน

ความจริงน่าตระหนกประจ�ำโลกที่ถูกมองข้าม ประการที่ ๑

ทุกคนเกิดมาพร้อมกับความไม่รูจ้ ริงอะไรเลย ทุกอย่างต้องเรียนรูใ้ หม่หลังจากเกิดแล้วทั้งสิ้น สิ่งที่เรียนรู ้


ภายหลังแต่ละอย่างก็อาจมีทั้งรูผ้ ิดและรูถ้ ูก แม้รถู ้ ูกก็อาจจะรูไ้ ม่ครบ รูไ้ ม่ลึก ตัวอย่างความไม่รทู ้ ี่ค้างคาใจทุกคนคือ
เราคืือใคร เกิิดมาทำำ�ไม ก่่อนเกิิดมาจากไหน จะตายเมื่่�อไหร่่ ตายแล้้วจะไปไหน ที่่�สำำ�คััญที่่�สุุด คืือ เกิิดมาทำำ�ไม
เพราะเป็็นเหตุุให้้เราขาดความมั่่�นใจตนเองแม้้ขณะทำำ�ความดีี เพราะไม่่รู้้�แน่่ ชัดั ว่่า ดีี-ไม่่ดีี ตััดสิินอย่่างไร เมื่่อ� ทำำ�ไปแล้้ว
จะเกิิดผลร้้ายตามมาอย่่างไรแน่่
นอกจากไม่รอู ้ ะไรจริง คนส่วนใหญ่ยงั ไม่พยายามหาค�ำตอบ เพราะไม่รวู ้ า่ จะต้องรูไ้ ปท�ำไม ตลอดชีวิตแต่ละคน
จึงท�ำผิดท�ำพลาดให้ตนเองและผู้อื่นต้องเดือดร้อนเสมอ เป็นเหตุให้มนุ ษย์มีความกลัวฝังลึกอยู่ในใจ แล้วกลายเป็น
โรคกลัวนานาชนิ ดตามมา ซึ่งโรคกลัวที่หนั กหนาสาหัสที่สุดของทุกคน คือ โรคกลัวตาย

ความจริงน่าตระหนกประจ�ำโลกที่ถูกมองข้าม ประการที่ ๒

ทุกคนเกิดมาพร้อมกับความทุกข์ ทราบได้จากอาการของทารกแรกเกิด ทันทีที่คลอดจากครรภ์มารดา ไม่มี


ทารกคนใดหััวเราะหรืือยิ้้�ม มีีแต่่เสีียงร้้องไห้้จ้้าลั่่�นโลก ราวกัับต้้องการประกาศให้้โลกรู้้�ว่่า ข้้าพเจ้้าเกิิดมาพร้้อมกัับ
ความทุุกข์์ คืือ เริ่่ม� เป็็นทุุกข์์จากการเกิิด โดยเกิิดมาพร้้อมกัับโรคประจำำ�กาย ๖ และโรคประจำำ�ใจ ๓ โรคประจำำ�กาย ๖ นี้้� 75

www.kalyanamitra.org
แม้้หมอเทวดาก็็รักั ษาไม่่หาย ทุุกคนต้้องเกิิดและตายพร้้อมกัับมััน ซึ่่�งได้้แก่่ ๑) โรคหนาว ๒) โรคร้้อน ๓) โรคหิิว
๔) โรคกระหาย ๕) โรคปวดอุุจจาระ ๖) โรคปวดปััสสาวะ ส่่วนโรคประจำำ�ใจ ๓ นั้้�น ได้้แก่่ ๑) โรคโลภะ ๒) โรคโทสะ
๓) โรคโมหะ ซึ่่�งฝัังติิดอยู่่�ในใจเราตลอดเวลาเช่่นกััน เมื่่�อใดเราขาดสติิ โรคประจำำ�ใจ ๓ นี้้� จะคอยบีีบคั้้น� ให้้เราต้้องทำำ�
กรรมชั่่�วต่่าง ๆ หนัั กบ้้าง เบาบ้้าง ซึ่่�งหากพิิจารณาอย่่างถ่่องแท้้แล้้ว จะเห็็นได้้ว่่าโรคประจำำ�กาย ๖ และโรคประจำำ�ใจ ๓
นี้้� เอง ที่่�เป็็นต้้นเหตุุแท้้จริงิ ของปััญหาต่่าง ๆ ทั้้�งโลก ซึ่่�งโรคประจำำ�กาย ๖ และโรคประจำำ�ใจ ๓ นี้้� ดัังภาพที่่� ๑๐
ทัันทีีที่่�ทารกคลอดจากครรภ์์มารดา โรคประจำำ�กาย ๖ จะบัังคัับให้้ทารกต้้องทุุกข์์กัับโรคปวดอุุจจาระ-ปััสสาวะ
จากการขัับของเสีียออกจากร่่างกาย และยัังต้้องมีีปััจจััย ๔ มารองรัับ ได้้แก่่ ๑) อาหารและน้ำำ�� เพื่่�อป้้องกัันโรคหิิว-
กระหายกำำ�เริิบ ๒) เสื้้�อผ้้าเครื่่อ� งนุ่่�งห่่ม ๓) ที่่�อยู่่�อาศััย เพื่่�อป้้องกัันโรคหนาว-ร้้อนกำำ�เริิบ ๔) ยารัักษาโรค เพื่่�อป้้องกััน
โรคร้้ายต่่าง ๆ ที่่�พร้้อมจะกลุ้้�มรุุมเข้้ามาทำำ�ร้า้ ย ซึ่่�งทารกย่่อมหาปััจจััยเองไม่่ได้้ ต้้องอาศััยพ่่อแม่่ผู้้�ปกครองตระเตรีียม
ไว้้ให้้
หากพ่่อแม่่ผู้้�ปกครองปล่่อยปละละเลย ปฏิิบัติั ผิิ ดิ ต่่อโรคประจำำ�กาย ๖ ของลููกน้้ อยเป็็นประจำำ� กว่่าลููกจะโตย่่อม
เกิิดโรคกายอีีกนานาชนิิ ดตามมา ทั้้�งโรคใหม่่และโรคเก่่ารวมกัันเข้้า ย่่อมก่่อให้้เกิิดปััญหาสุุขภาพ ปััญหาสุุขภาพนี้้� จะ
บีบคั้นครอบครัวให้ต้องมีภาระค่าใช่จ่ายเพิ่มขึ้นจากค่าใช้จา่ ยปกติทเี่ ป็นภาระหนั กอยู่แล้ว เมื่อขาดแคลนก็ตอ้ งแย่งกัน
กินแย่งกันใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด ปัญหาความยากจนย่อมก่อเกิดในครัวเรอื นและสังคมตามมาจนกลายเป็น
ปัญหาใหญ่ของหลาย ๆ ประเทศทั่วโลก เมื่อเกิดความขาดแคลน ความเห็นแก่ตัวย่อมเกิดขึ้น แม้เป็นเด็กก็พร้อมจะ
หวง ไม่อยากแบ่งปันอะไรกับใคร ๆ แม้ขนม นม เนย ของเล่นเล็ก ๆ น้ อย ๆ กับพี่น้องของตนเอง
76

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๕ สติิสััมปชััญญะในกิิจวััตรประจำำ�วััน

เมื่อเติบใหญ่ ปัญหาสุขภาพ ปัญหาขาดแคลน รวมทัง้ ความหวงสิง่ ของเก่าอยากได้สงิ่ ของใหม่ ย่อมบีบบังคับ


ใจให้แวบออกนอกกายเพื่อไปแสวงหาปัจจัย ๔ และสิ่งของต่าง ๆ ที่ตนปรารถนาอยากได้ถี่ขึ้น ๆ เพื่อตอบสนอง
ความอยากที่ไม่รูจ้ บ แม้ในสิ่งของที่ไม่ใช่สิ่งของของตน คือ โรคโลภะก�ำเริบ ซึ่งก็ได้มาบ้าง ไม่ได้บ้าง ถ้าไม่ได้
ก็็ขััดเคืืองใจ คืือ โรคโทสะกำำ�เริิบ ถ้้าได้้สิ่่�งของที่่�ถููกใจมาแล้้ว ก็็เกิิดโรคโมหะกำำ�เริิบ คืือ หลงโง่่ว่่า สิ่่�งที่่�ได้้มาแล้้วนั้้� น
จะอยู่่�กัับตนนาน ๆ แต่่ต้้องผิิดหวััง เพราะสิ่่�งของต่่าง ๆ ที่่�ได้้มานั้้� นเป็็นธรรมชาติิว่่า ทุุกสิ่่ง� เมื่่�อเกิิดขึ้้�นแล้้วย่่อมตั้้�งอยู่่�
ได้้ชั่่�วครู่่�ยามสุุดท้้ายก็็แตกดัับไป ใจจึึงกลัับเป็็นทุุกข์์ชนิิ ดใหม่่ คืือ เกิิดทุุกข์์เพราะความพลััดพรากจากของรัักของ
ชอบใจนั้้� น ใจก็็ถููกบัังคัับเพราะความอยากได้้ใหม่่อีีก ความวนเวีียนเป็็นทุุกข์์ทั้้�งทางกายและทางใจเช่่นนี้้� จึึงเกิิดไม่่รู้้�จบ
ตลอดชีีวิิต กลายเป็็นว่่า ตลอดชีีวิิตของผู้้�คนทั้้ง� โลกมีีแต่่ความทุุกข์์ไม่่รู้้�จบ ตั้้ง� แต่่ทุกุ ข์์จากการคลอด ทุุกข์์จากโรคประจำำ�
กาย ๖ ทุุกข์์จากการแสวงหาทรััพย์์ ถ้้าไม่่ได้้ก็็ทุุกข์์เพราะเสีียใจ ได้้มาไม่่นานก็็ทุุกข์์เพราะพลััดพราก ถ้้าพบกัับสิ่่�งที่่�ไม่่
ถููกใจก็็ทุุกข์์เพราะขััดใจ แม้้ถึึงคราวต้้องตายก็็ยิ่่�งทุุกข์์ใหญ่่ คืือ ทุุกข์์เพราะไม่่รู้้�ว่่าตายแล้้วจะไปไหน เพราะคน
ทั่่�วไปหากไม่่ได้้ฟัังธรรมจากท่่านผู้้�รู้้�จริิง ย่่อมขาดสติิสััมปชััญญะ ถููกโรคโง่่โมหะท่่วมใจจนกระทั่่�งตาย โรคประจำำ�ใจ ๓
ที่่� ฝัั ง อยู่่�ในใจมาตั้้� ง แต่่ เ กิิ ด นี้้� ยัั ง ไม่่ จ บ ยัั ง หมัั ก หมมใจหนาแน่่ น ยิ่่� ง ขึ้้� น และฝัั ง ลึึ ก ในใจตามไปชาติิหน้้าอีีกด้้วย

77

www.kalyanamitra.org
78 ภาพที่ ๑๐ โรคประจ�ำกาย ๖ และโรคประจ�ำใจ ๓

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๕ สติิสััมปชััญญะในกิิจวััตรประจำำ�วััน

ความจริงน่าตระหนกประจ�ำโลกที่ถูกมองข้าม ประการที่ ๓

ทุุกคนเกิิดมาพร้้อมกัับความสกปรก ไม่่มีีทารกคนไหนที่่�พึ่่�งคลอดออกมาแล้้วเนื้้� อตััวสะอาด ไม่่เปื้้�อนเลืือด


ไม่่เปื้้อ� นน้ำำ�� เหลืือง เมืือกจากครรภ์์มารดาท่่วมตััวตั้้ง� แต่่หัวั จรดฝ่่าเท้้า และนัับแต่่วินิ าทีีที่่ค� ลอดนั้้�นเป็็นต้้นมา จนเติิบใหญ่่
กระทั่่ง� ตลอดชีีวิิต มนุุ ษย์์มีีแต่่สิ่่ง� สกปรกไหลออกจากทวารทั้้ง� ๙ ของตน ไม่่ว่า่ งเว้้นแม้้วินิ าทีีเดีียว ไม่่ว่า่ สิ่่ง� ที่่อ� อกมานั้้�น
จะเป็็นลมหายใจ เป็็นของเหลว เช่่น น้ำำ�มู � ูก น้ำำ�� ลาย เหงื่่�อ ปััสสาวะ จะเป็็นของแข็็ง เช่่น อุุจจาระ ขี้้�ไคล ขี้้�ตา ล้้วนสกปรก
ทั้้�งสิ้้�น และสุุดสกปรกส่่งท้้ายชีีวิิตของแต่่ละคน คืือ ศพของผู้้�นั้้� นเอง ที่่จ� ะส่่งกลิ่่�นเหม็็นเน่่า จึึงต้้องตกเป็็นภาระให้้คน
ข้้างหลัังต้้องจััดการให้้สะอาดเรีียบร้้อยต่่อไป
ดังทที่ า่ นผูร้ จู ้ ริงได้กล่าวไว้วา่ “กายของเราทุกคนต่างเน่าเปือ่ ยอยูเ่ ป็นนิจ เพราะฉะนั้นไม่วา่ เสือ้ ผ้า เครือ่ งนุ่ งห่ม
อาหาร ทีอ่ ยูอ่ าศัยเล็ก ๆ แค่กระต๊อบกลางนาหรือมหาราชวังใหญ่โต รวมถึงยารักษาโรคทุกชนิ ด ซึ่งเดิมนั้นแสนสะอาด
ปานใดก็ตาม ถ้ามาถูกต้องกับกายของเราเข้า ย่อมสกปรกเปื้อนเปรอะน่าเกลียดอย่างยิง่ เหมือนกันหมด ไม่มีเว้น
เลยแม้แต่คนเดียว” เพราะเหตุนี้ ถ้าใครเกิดมาแล้วแม้ไม่ท�ำความชั่วใด ๆ เลย แต่ไม่ต้งั ใจท�ำความดีให้สุดชีวิตของตน
ย่อมได้ชื่อว่า คนขยะ คนรกโลกอยู่นั่นเอง
ถ้าใครเผลอสติหงุดหงิดกับความสกปรกที่เกิดจากตนเองแล้ว แต่ไม่พยายามฝึกฝนตนให้รจู ้ กั ท�ำความสะอาด
จัดระเบียบร่างกายและสิง่ ของเครื่องใช้ ตลอดจนควบคุมก�ำจัดความสกปรกทอี่ อกมาจากร่างกายตนเองให้ถกู วิธี มนี ิ สยั
มักง่าย ชอบโยนภาระการท�ำความสะอาด การจัดระเบยี บให้ผอู้ นื่ ท�ำแทน เอาแต่หงุดหงิดขาดความรับผิดชอบ ก็จะเป็น 79

www.kalyanamitra.org
คนสกปรกทั้งกายและใจ ความชั่วอื่น ๆ จะก่อเกิดตามมา และกลายเป็นผู้เพาะปัญหาสังคมและปัญหาเศรษฐกิจให้
ระบาดอย่างไม่รจู ้ บแก่ผู้คนทั้งโลก ซึ่งความชั่วที่เกิดจากความมักง่ายนี้ ดังภาพที่ ๑๑
ตรงกันข้ามหากเราเองแม้ไม่ได้มอี �ำนาจวาสนาพิเศษใด ๆ แต่ตง้ั ใจศึกษา ฝึกฝนอบรมตนเองให้สามารถป้องกัน
ก�ำจัดความสกปรกจากกายตนให้ลดลง ท�ำความสะอาด จัดระเบียบทั้งร่างกาย สิ่งของได้ถูกต้องเหมาะสม ไม่ท�ำให้
ใครต้องเดือดร้อนเพราะความสกปรกนั้ น ๆ ก็จัดว่าเป็นความดีได้ระดับหนึ่ ง เพราะแม้ทั้งโลกยังไม่สะอาดแต่ก็ไม่ได้
สกปรกเพราะเรา หากเราตั้งใจชักชวนคนรอบข้างให้ช่วยกันท�ำความสะอาด จัดระเบียบทั้งร่างกาย สิ่งของต่าง ๆ
เช่นเดียวกัน และร่วมใจกันชักชวนต่อ ๆ กันไป วันหนึ่ งโลกทั้งโลกก็อาจสะอาดได้ด้วยหนึ่ งสมองสองมือของมนุ ษย์
โดยไม่ยากจนเกินไป

80

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๕ สติิสััมปชััญญะในกิิจวััตรประจำำ�วััน

ภาพที่ ๑๑ ความมักง่ายก�ำเนิ ดความชัว่ 81

www.kalyanamitra.org
ความจริงน่าตระหนกประจ�ำโลกที่ถูกมองข้าม ประการที่ ๔

สัตว์โลกตกอยู่ใต้กฎแห่งกรรม ทันทีท่ีเกิด ทุกชีวิตต่างตกเป็นนั กโทษรอประหารของโลก ตกอยู่ภายใต้


กฎเหล็กที่ไม่เคยติดประกาศให้ใครรู ้ คือ กฎแห่งกรรม กฎนี้ มีอ�ำนาจครอบคลุมไปทั้งโลก ใคร ๆ ก็ปฏิเสธไม่ได้ เป็น
เสมืือนกฎหมายร้้ายแรงที่่จ้� อ้ งแทงเชืือดเฉืือนผู้้�คนทั้้ง� โลกอยู่่�เบื้้�องหลััง ต้้องรอให้้ท่า่ นผู้้�รู้้�ผู้้�เห็็นความจริิงทุุกสรรพสิ่่ง� ด้้วย
ญาณทััสสนะ คืือ ความสว่่างภายในจากการเจริิญสมาธิิอย่่างยิ่่�งยวดของท่่าน ค้้นพบแล้้วนำำ�มาประกาศ ชาวโลกจึึง
ทราบได้้ ซึ่่�งตลอดยุุคสมััยของท่่านเองก็็ไม่่สามารถประกาศให้้ทราบกัันได้้ทั่่�วโลก ครั้้น� กาลเวลาผ่่านไป ชาวโลกทั้้�ง
หลายก็็หลงลืืมกฎแห่่งกรรมที่่ค้� น้ พบได้้โดยยากนี้้� อีีก ต้้องรออีีกนานนัั บอสงไขย ๆ กััป ท่่านผู้้�รู้้�จริิงองค์์ใหม่่จึงึ มาค้้นพบ
แล้้วประกาศให้้ชาวโลกทราบใหม่่อีีกครั้้ง�
สาเหตุที่เรียกทุกคนว่าเป็นนั กโทษรอประหารของโลกเพราะ
๑. ทุกคนในโลก เมอื่ เกิดแล้วย่อมออกไปจากโลกนี้ไม่ได้ ต่างต้องตายในคุกคือโลกนี้ แม้มบี างคนเคยเล็ดลอด
ออกไปถึงดวงจันทร์ได้ แต่ดวงจันทร์ก็เป็นเพียงคุกบริวารของโลก สุดท้ายคนเหล่านั้ นก็ต้องกลับมาตายในโลก
๒. เนื่ องจากทุกคนต่างรูว้ ่าตนเอง ถึงอย่างไรวันหนึ่ งก็ต้องตาย คือ ต้องถูกประหารแน่ ๆ เพียงแต่ไม่รวู ้ ันตาย
จึงกลายเป็นนั กโทษรอประหาร ตกอยู่ในความหวาดกลัวความตายตลอดชีวิต
๓. กฎแห่งกรรมตราไว้สั้น ๆ ว่า ท�ำดีได้ดี ท�ำชั่วได้ช่วั แต่ไม่มีการอธิบายขยายความใด ๆ ทั้งสิ้น ท่านผู้รจู ้ ริง
82 จึงได้เมตตาขยายความให้ฟังว่า ค�ำว่า กรรม แปลว่า การกระท�ำ มีความหมาย ๓ ประการ ได้แก่

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๕ สติิสััมปชััญญะในกิิจวััตรประจำำ�วััน

๓.๑ กรรมเป็นการกระท�ำที่เกิดจากเจตนา คือ ตัง้ ใจท�ำ


๓.๒ กรรมเป็นการกระท�ำของคนทยี่ งั มกี เิ ลส คอื ผูท้ ยี่ งั มโี รคประจ�ำใจ ๓ ได้แก่ โรคโลภะ โรคโทสะ โรคโมหะ
ถ้าหมดกิเลสแล้วเช่นเดียวกับท่านผู้รจู ้ ริง การกระท�ำของท่านก็ล้วนไม่เป็นกรรม เป็นแต่เพียงกิรยิ าอาการเท่านั้ น
๓.๓ กรรมเป็็นการกระทำำ�ที่ยั่� งั มีีการให้้ผลต่่อไปอีีก หลัังจากเสร็็จการกระทำำ�นั้้�นแล้้ว โดยคนเรากระทำำ�กรรม
ได้้ ๓ ทาง คืือ
๑) ทางกาย คืือ การใช้้มืือ เท้้า และอวััยวะอื่่�น ๆ กระทำำ� เรีียกว่่า กายกรรม
๒) ทางวาจา คือ การพูด เรียกว่า วจีกรรม
๓) ทางใจ คือ การคิด เรียกว่า มโนกรรม

83

www.kalyanamitra.org
ความไม่่รู้้ที่่� �ค้้างคาใจทุุกคนคืือ
เราคืือใคร ก่่อนเกิิดมาจากไหน
ตายแล้้วจะไปไหน ตายเมื่่�อไหร่่
ที่่�สำำ�คััญที่่�สุุดคืือ ไม่่รู้้ว่� ่าเกิิดมาทำำ�ไม
เพราะไม่่รู้้จ� ริิงในสิ่่�งเหล่่านี้้�
จึึงเป็็นเหตุุให้้ขาดความมั่่�นใจในตนเอง
แม้้ขณะทำำ�ความดีี

84

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๕ สติิสััมปชััญญะในกิิจวััตรประจำำ�วััน

หลัักเกณฑ์์ตััดสิินกรรมดีี-ชั่่�ว

กรรม เป็นค�ำกลาง ๆ ยังไม่ได้หมายความว่า ดีหรือชั่ว ต่อเมื่อใดเราได้กระท�ำอย่างใดอย่างหนึ่ ง หากเป็น


การกระท�ำที่ดี เรียกว่า กุศลกรรมบ้าง สุจริตกรรมบ้าง บุญบ้าง ภาษาไทยเรียกรวม ๆ ว่า ท�ำความดี หากเป็น
การกระท�ำที่ไม่ดีก็เรียกว่า อกุศลกรรมบ้าง ทุจริตกรรมบ้าง บาปบ้าง ภาษาไทยเรียกรวม ๆ ว่า ท�ำความชัว่
ท่านผู้รจู ้ ริงได้เมตตาให้เกณฑ์ตัดสิน กรรมดีกรรมชั่ว ไว้ว่า
๑. กรรมดี คือ การกระท�ำใด เมื่อท�ำแล้ว ท�ำให้ผู้ท�ำไม่ต้องเดือดร้อนใจภายหลัง อีกทั้งมีใจเบิกบาน เสวยผล
ของการกระท�ำอยู่ การกระท�ำนั้ นย่อมเป็นการกระท�ำดี
๒. กรรมชั่ว คือ การกระท�ำใด เมื่อกระท�ำแล้ว ท�ำให้ผู้ท�ำต้องเดือดร้อนใจภายหลัง อีกทั้งมีน�้ำตานองหน้า
เสวยผลของการกระท�ำอยู่ การกระท�ำนั้ นย่อมเป็นการกระท�ำชั่ว

การให้ผลของกรรม

กรรม คืือ การกระทำำ� ทุุกการกระทำำ�เมื่่�อทำำ�แล้้ว ย่่อมมีีผลของการกระทำำ�เกิิดขึ้้�นมา เราเรีียกผลของการกระทำำ�


นี้ว่า วิบาก มีอยู่ ๒ ชั้นด้วยกัน คือ
85

www.kalyanamitra.org
๑. ผลกรรมชั้้�นใน เป็็นผลทางใจโดยตรง คืือ ให้้ผลในทางความรู้้�สึึกนึึ กคิิด ถ้้าทำำ�กรรมดีีก็็ให้้ผลเป็็นความรู้้�สึึก
นึ กคิดที่ดี ที่เรียกว่า บุญ ถ้าท�ำกรรมชั่วก็ให้ผลเป็นความรูส้ ึกนึ กคิดที่ชั่ว ที่เรียกว่า บาป ความรูส้ ึกนึ กคิดไม่ว่าฝ่ายดี
หรือฝ่ายชั่วก็จะเป็นวิบากตกค้างในใจ ในรูปความเคยต่อความรูส้ ึกนึ กคิดท�ำนองนั้น ซึ่งเมื่อท�ำบ่อยเข้า ๆ ก็สะสมจาก
เคยเป็นคุน้ เมอื่ คุน้ บ่อยเข้าก็กลายเป็นชิน สุดท้ายก็กลายเป็นผลทางกายและใจทลี่ กึ ลงไปอกี เป็นเหมอื นพลังแม่เหล็ก
ก้อนใหญ่ คือ เป็นนิ สัย อนุ สัย อุปนิ สัย เป็นวาสนาของผู้น้ั น
ถ้้าเคยคุ้้�นชิินต่่อความดีีชนิิ ดใดมาก ก็็กลายเป็็นนิิ สััยดีีด้้านนั้้� น ๆ เช่่น บางคนก็็มีีนิิสััยรัักการตัักบาตร รัักการ
ปล่่อยสััตว์์ รัักการรัักษาศีีล รัักการฟัังเทศน์์ รัักการฝึึกสติิสััมปชััญญะ นิิ สััยเหล่่านี้้� ถ้้าสะสมเข้้มข้้นต่่อเนื่่� องยาวนาน
ก็็จะกลายเป็็นผลทางใจที่่ลึ� กึ ที่่สุ� ดุ มีีพลัังมากที่่สุ� ดุ ที่่เ� รีียกว่่า บารมีี ซึ่่�งเป็็นผลของความดีีที่่มั่่� น� คง ความชั่่ว� ใด ๆ ไปตััดรอน
ให้้สั่่�นคลอนไม่่ได้้ แต่่มีีอำำ�นาจในการตััดรอนความชั่่�วได้้เด็็ดขาด
แต่่ถ้้าเคยคุ้้�นชิินต่่อความชั่่�วชนิิ ดใดก็็กลายเป็็นคนเลวชนิิ ดนั้้� น ตั้้�งแต่่นิิสััยขี้้�ขโมย นิิ สััยเจ้้าชู้้� นิิ สััยขี้้เ� หล้้า นิิ สััย
เหล่่านี้้� จะสะสมเป็็นพลัังใจด้้านลบที่่�เข้้มข้้นยิ่่�งขึ้้�น จนกลายเป็็นสัันดาน เป็็นอนุุ สััย เป็็นวาสนาที่่�ไม่่ดีีต่่อไป
๒. ผลกรรมชั้้�นนอก เป็็นผลทางรููปธรรม คืือ ทำำ�ให้้ผู้้�ทำำ�กรรมนั้้� นได้้รับั สิ่่�งที่่�ดีีและไม่่ดีี ที่่�ดีี คืือ ได้้ลาภ ยศ
สรรเสริิญ สุุข ที่่�ไม่่ดีี คืือ ได้้รับั ความเสื่่�อมลาภ เสื่่�อมยศ ถููกนิิ นทาว่่าร้้าย ทุุกข์์ทั้้�งกายและใจ
การให้ผลของกรรมชั้นในนั้ น ย่อมได้รบั ทันทีหลังจากท�ำกรรมนั้ นสิ้นสุดลง คือ ท�ำดีก็ได้บุญทันที ท�ำชั่วก็ได้
บาปทันที ทั้งบุญและบาปที่สะสมไว้ต่างก็รอจังหวะส่งผลต่อไปจนกว่าจะสิ้นแรงบุญบาปนั้ น ๆ ส�ำหรับผลของกรรม
86

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๕ สติิสััมปชััญญะในกิิจวััตรประจำำ�วััน

ชั้้�นนอกจะส่่งผลเร็็วหรืือช้้าประการใดก็็ขึ้้�นกัับองค์์ประกอบที่่�ค่่อนข้้างสลัับซัับซ้้อนถึึง ๔ ประการ คืือ คติิ อุุปธิิ กาล


ปโยค ซึ่่�งต้้องฝึึกสติิสััมปชััญญะให้้มากจึึงจะเข้้าใจได้้ชััด
โดยเหตุที่กฎแห่งกรรมเป็นกฎธรรมชาติไม่มีการประกาศบังคับใช้ ชาวโลกส่วนใหญ่จึงไม่ทราบ แม้ทราบก็
ไม่เชื่อ โอกาสที่คนทั้งโลกจะท�ำชั่วจึงมีมาก อุปมาว่า คนถล�ำไปท�ำความชั่วมีจ�ำนวนมากเท่ากับขนโค ส่วนคนท�ำดี
มีประมาณเท่าเขาโค ก็โคแต่ละตัวมีเพียงเขาสองข้าง ส่วนจ�ำนวนเส้นขนนั้ นนั บไม่ไหว
เพราะฉะนั้้� นโลกทั้้�งโลกจึึงกลายเป็็นโลกของความทุุกข์์ จะหวัังความสุุขใด ๆ ย่่อมมีีน้้ อย แต่่ถึึงโอกาสเป็็นสุุข
จะมีน้อย หากแต่ละคนต่างร่วมใจกันชักชวน เชือ้ เชิญ ให้ก�ำลังใจกันท�ำความดีพร้อม ๆ กันไปทั่วทั้งโลก โลกของ
เราก็อาจเป็นสวรรค์บนดินได้
โดยต่างคนต่างเริม่ จากการเข้าวัดฟังธรรม และค้นคว้าความรูจ้ ากต�ำรับต�ำราทางศาสนาให้เข้าใจถูกเรือ่ ง
กฎแห่งกรรมทีท่ ่านผู้รูจ้ ริงมอบเป็นมรดกโลกไว้ ตั้งใจฝึกเพิม่ พูนสติสัมปชัญญะด้วยตนเองเป็นนิ จ ผ่านการเจริญ
สมาธิภาวนาในกิจวัตรประจ�ำวันเป็นประจ�ำจนกลายเป็นกรณี ยกิจ ให้มีสติสัมปชัญญะอย่างจริงจังตั้งแต่บัดนี้
เป็นต้นไป ย่อมสามารถพิชิตนานาวิกฤตทั้งโลกได้ไม่ยาก และมั่นใจได้ด้วยว่าพ่อแม่ผู้ปกครองผู้ต้ังใจประพฤติ
ปฏิบัติตนดีงาม ด้วยความบริสุทธิ์กาย วาจา ใจ เช่นนี้ ย่อมสามารถเห็นช่องทางในการประกอบอาชีพในชีวิต
ประจ�ำวันให้เจริญรุง่ เรือง มั่งคั่ง ยิง่ กว่าชาวโลกทั่วไปได้

87

www.kalyanamitra.org
การที่่�ผู้ปก
้� ครอง
ตั้้�งใจอบรมสั่่�งสอนลููกหลาน
ให้้ทำำ�ความสะอาด จััดระเบีียบอย่่างถููกวิิธีี และทำำ�ทัันทีี
เป็็นการปลููกฝัังให้้ลููกหลานละชั่่�วขั้้�นต้้น
ที่่�สำำ�คััญคืือ เป็็นการฝึึกให้้ลููกหลานไม่่มัักง่่าย
ซึ่่�งถืือเป็็นการทำำ�ความดีีขั้้�นพื้้�นฐานของมนุุ ษยชาติิ

www.kalyanamitra.org

บทที่่�

สติิสัมปชั
ั ัญญะ
รากฐานการศึึกษา
www.kalyanamitra.org
ก�ำเนิ ดผู้รู้จริงครูดีต้นแบบ

โลกที่เราอาศัยอยู่นี้มีการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และแตกสลายไป แล้วกลับมาเกิดเป็นโลกใบใหม่ข้ึนมาอีกวนเวียน


อยู่อย่างนี้นับครัง้ ไม่ถ้วนแล้ว ยุคใดที่สิ่งแวดล้อมทั้ง ๕ ในโลกสะอาดมาก ยุคนั้ นมนุ ษย์และสัตว์ไม่เว้นแม้ต้นไม้
ใบหญ้าย่อมอายุยืน พืชพันธุ์ธัญญาหารย่อมอุดมสมบูรณ์ ความอดอยากยากจนถึงมีก็น้อยมาก
ในยุุคเช่่นว่่านี้้� ย่่อมมีีครอบครััวที่่พ่� อ่ แม่่มีีจิติ ใจดีีงาม รัักการทำำ�ความสะอาด จััดระเบีียบทั้้ง� ร่่างกายตนเองตลอดจน
ปััจจััย ๔ และสิ่่�งที่่�เนื่่� องด้้วยปััจจััย ๔ ด้้วยตนเองอย่่างพิิถีีพิิถัันถููกต้้องเหมาะสมตามวิิธีีการของสิ่่�งนั้้� น ๆ ด้้วยอารมณ์์ ดีี
มีีจิิตผ่่องใสเป็็นนิิ จ เมื่่�อบุุตรถืือกำำ�เนิิ ดมา ก็็ตั้้ง� ใจอบรมให้้บุุตรคุ้้�นกัับความสะอาด และความเป็็นระเบีียบตั้้�งแต่่ยัังเป็็น
ทารกนอนแบเบาะ โตขึ้้�นก็็อบรมให้้บุุตรรัักการทำำ�ความสะอาด จััดระเบีียบอย่่างถููกวิิธีี และพิิถีีพิิถัันเช่่นเดีียวกัับตน
สมกัับอายุุ เพศ และวััย อย่่างใกล้้ชิิด ชี้้แ� จงเหตุุผลให้้บุุตรเข้้าใจตรงตามความเป็็นจริิงว่่า ทำำ�ไมจึึงต้้องปฏิิบัติั ิต่่อสิ่่�งของ
นั้้� น ๆ อย่่างนี้้� อย่่างนั้้� น ด้้วยอารมณ์์ แจ่่มใสและไม่่เบื่่�อต่่อการตอบข้้อซัักถามและข้้อข้้องใจของบุุตร
บุตรที่เกิดในครอบครัวเช่นนี้ ทั้งหญิงและชายย่อมสามารถควบคุมโรคประจ�ำกาย ๖ ของตนได้ดีมาแต่เล็ก
สุขภาพร่างกายย่อมแข็งแรง ใจย่อมเชื่องอยูใ่ นกายไม่กระสับกระส่ายง่าย เกิดความรักสงบเป็นชีวิตจิตใจโดยธรรมชาติ
เพราะถูกฝึกให้มีสติสัมปชัญญะโดยไม่รูต้ ัว ขณะที่ใจจดจ่อกับการท�ำความสะอาด จัดระเบียบทั้งร่างกาย ตุ๊กตาที่
อุ้มเล่นและสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ ของตน
90

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

บุตรเช่นว่านี้ เมื่อเติบโตขึ้นหากได้พบครูดีแนะน�ำสั่งสอนให้ท�ำสมาธิถูกวิธีท่านแล้วท่านเล่า ย่อมสามารถ


เก็บใจไว้กลางกายได้เป็นนิ จ สติสัมปชัญญะย่อมสมบูรณ์ ใจย่อมผ่องใส ทรงพลังมหาศาลเกินคาด เพราะตั้งแต่
เล็กจนโต การกระท�ำใด ๆ ทางกายก็ตรงไปตรงมา เพื่อให้สิ่งที่ท�ำนั้ นสะอาด และเป็นระเบียบจริงสมกับคุณสมบัติ
หรืือคุุณภาพของสิ่่�งนั้้� น ไม่่มีีการกระทำำ�ใด ๆ ทางกายที่่�น่า่ อัับอายต้้องปิิดบัังใคร คำำ�พููดก็็ตรงไปตรงมาตามคุุณภาพ
งานที่่ต� นทำำ� ไม่่มีีความจำำ�เป็็นต้้องกล่่าวเท็็จใด ๆ ความคิิดก็็ตรงไปตรงมาตามความจริิง เพื่่อ� ให้้ทุกุ สิ่่ง� ที่่ต� นต้้องเกี่่ย� วข้้อง
ดำำ�เนิิ นไปด้้วยดีี ไม่่มีีใครต้้องเดืือดร้้อน เพราะคำำ�พููดและการงานที่่�ตนทำำ� มีีแต่่เกิิดประโยชน์์ ต่่อทุุกคน
บุุคคลที่่�ใจสงบเป็็นสมาธิิตั้้�งมั่่�น มีีสติิควบคุุมเก็็บรัักษาใจไว้้ในศููนย์์กลางกายได้้เป็็นนิิ จ มีีสััมปชััญญะคิิดรู้้�ตััว
อยู่่�เสมอ ตั้้�งแต่่วััยทารกเช่่นนี้้� เมื่่�อเห็็นชาวโลกในยุุคของตน ยอมแพ้้อย่่างราบคาบต่่อความจริิงที่่�น่่าตระหนกประจำำ�
โลก ๔ ประการ คืือ ๑) ตั้้�งแต่่เกิิดมาต่่างต้้องตกอยู่่�ใต้้ความไม่่รู้้�อะไรเลย โดยเฉพาะอย่่างยิ่่�งไม่่รู้้�ว่่าตนเกิิดมาทำำ�ไม
ก็็ยอมคิิดมัักง่่ายว่่าช่่างมััน ๒) ตั้้�งแต่่เกิิดมาต่่างต้้องอยู่่�กัับความทุุกข์์เดืือดร้้อนทั้้�งกายใจจนกระทั่่�งตาย ก็็ยอมคิิด
มัักง่่ายว่่าช่่างมััน ๓) ตั้้�งแต่่เกิิดมาต่่างต้้องอยู่่�กัับความสกปรก และผลิิตขยะสร้้างความสกปรกให้้แก่่โลกจน
กระทั่่�งตายแม้้ตายแล้้วก็็ยัังทิ้้�งศพให้้สกปรกต่่อโลกอีีก ก็็ยอมคิิดมัักง่่ายว่่าช่่างมััน ๔) ตั้้�งแต่่เกิิดมาต่่างต้้องตกอยู่่�
ใต้้กฎแห่่งกรรมซึ่่�งไม่่มีีการประกาศให้้รู้้� แต่่บีีบคั้้�นให้้ต้้องเป็็นนัั กโทษรอประหารของโลกอย่่างไม่่มีีวัันจบ ก็็ยัังยอม
คิิดมัักง่่ายว่่าช่่างมัันอยู่่�นั่่� นเอง แต่่ท่่านผู้้�มีีใจสงบนี้้� กลัับฮึึดสู้้� ไม่่ยอมถอยแม้้ครึ่่ง� ก้้าว เพราะสติิเตืือนให้้ท่่านระลึึกถึึง
ความจริิงที่่�เห็็นประจัักษ์์ตามธรรมชาติิว่่า
91

www.kalyanamitra.org
เมื่อมีรอ้ น ก็มี เย็น
เมื่อมีมืด ก็มี สว่าง
เมื่อมีขุ่น ก็มี ใส
เพราะฉะนั้ น เมื่อมีความไม่ร ู ้ ก็ย่อมมี ความรูแ้ จ้งมาแก้ไขได้
เมื่อมีความทุกข์ ก็ย่อมมี ความสุขมาแก้ไขได้
เมื่อมีความสกปรก ก็ย่อมมี ความสะอาดมาแก้ไขได้
เมื่อมีการตกอยู่ภายใต้กฎแห่งกรรม ก็ย่อมมี การอยู่เหนื อกฎแห่งกรรมมาแก้ไขได้
สัมปชัญญะของท่านก็คอยกระตุ้นเตือนให้รูต้ ัวว่า บัดนี้ถึงเวลาแล้ว ที่ท่านต้องยอมสละชีวิตบ�ำเพ็ญเพียร
ทัง้ ด้านกายภาพ และจิตภาพควบคูก่ นั ไป เพอื่ ค้นหาความจริงของสรรพสัตว์และสรรพสิง่ เพื่อน�ำความรูจ้ ริงเรอื่ งนั้น ๆ
มาเป็นอุปกรณ์ ก�ำจัดความจริงที่นา่ ตระหนกประจ�ำโลกทัง้ ๔ ประการ ให้หมดสิน้ ให้จงได้
ในที่สุด หลังจากท่านค้นคว้าและประพฤติปฏิบัติตนอย่างเคร่งครัดยิ่งยวดพอเหมาะพอดีมายาวนาน สุขภาพ
ร่างกายของท่านก็แข็งแกร่งเต็มที่ สมาธิและสติสัมปชัญญะของท่านก็สมบูรณ์ ถึงที่สุด สามารถประคองรักษาใจ
ให้หยุดนิ่ ง ตั้งมั่น ณ ศูนย์กลางกายได้อย่างถาวร ใจของท่านก็ใสสะอาดบริสุทธิถ์ ึงทีส่ ุด บังเกิดความสว่างโพลงขึ้น
ภายในอย่างไม่มีประมาณ ราวกับกลืนดวงอาทิตย์ยามเที่ยงไว้กลางท้อง แต่มีความชุ่มเย็นเหมือนดวงจันทร์เพ็ญ
สามารถเห็นสรรพสิ่งและสรรพสัตว์ต่าง ๆ ตรงตามความเป็นจริง และรูแ้ จ้งความจริงจากการเห็นนั้ นพร้อม ๆ กันไป
ท�ำให้ท่านสามารถประพฤติปฏิบัติกาย-วาจา-ใจของตนให้สะอาดบริสุทธิ์อย่างยิ่ง ตั้งแต่นั้นมาทุกการกระท�ำของท่าน
92

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

ย่อมไม่ท�ำความเดือดร้อนใด ๆ ทั้งต่อตัวท่านเองและผู้อน่ื มีแต่จะท�ำให้เกิดประโยชน์ กบั สรรพสัตว์ทว่ั หน้า กิเลส คือ


โรคประจ�ำใจ ๓ ก็ถกู ก�ำจัดออกจากใจ เพราะการเห็นและรูค้ วามจริงจากความสว่างภายในนั้น
สิ่งที่ส�ำคัญและเป็นพระคุณอย่างหาที่สุดมิได้ต่อสรรพสัตว์ทั้งหลาย คือ ท่านไม่หวงแหนความรูแ้ จ้งเห็นจริง
ที่่�ท่่านค้้นคว้้าศึึกษาวิิจััยมาด้้วยชีีวิิตของท่่านเอง ท่่านยัังมีีมหากรุุณาสั่่�งสอนชาวโลกให้้รู้้�ความจริิงของสรรพสััตว์์และ
สรรพสิ่่�งตามท่่าน ติิดตามให้้กำ�ลั ำ ังใจผู้้�ที่่�สามารถตรึึกตรองจนรู้้�ความจริิงให้้กล้้าสละชีีวิิต ฝึึกตนจนสามารถเก็็บใจไว้้
ในกายได้้อย่่างถาวร ใจจึึงสะอาด บริิสุุทธิ์์� ได้้รู้้�แจ้้งเห็็นจริิงในทุุกระดัับทั้้�งจากภายนอกและภายในกาย กำำ�จััดกิิเลสได้้
อย่่างเด็็ดขาด และพ้้นทุุกข์์อย่่างแท้้จริงิ ตามท่่าน ท่่านจึึงได้้ชื่่�อว่่า ท่่านผู้้�รู้้�แจ้้งเห็็นจริิง คืือ ทั้้�งรู้้�และทั้้�งเห็็นจริิงใน
สรรพสััตว์์และสรรพสิ่่ง� ด้้วยตนเองโดยชอบ เราเรีียกนามของท่่านสั้้น� ๆ ว่่า ท่่านผู้้�รู้้�จริิง

หลักคิดการจัดการศึกษา

ท่านผู้รจู ้ ริงได้กรุณาให้หลักคิดในการจัดการการศึกษาไว้อย่างลึกซึ้งแต่เรียบง่ายว่า
๑. ความรูว้ ิชาการทางโลก ซึ่งรวมถึงเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ หากเกิดกับคนพาล คือ คนที่สติยังอบรมมา
ไม่เข้มแข็งพอ ยังควบคุมใจให้อยู่ในกายเป็นนิ จสมแก่เพศวัยของตนไม่ได้ ย่อมมีแต่จะน�ำความพินาศฉิ บหายมาให้
เพราะใจของเขาชอบแวบออกไปนอกตัวและขุ่นมัวอยู่เป็นนิ จ จึงเห็นถูกเป็นผิด เห็นผิดเป็นถูกได้ง่าย ใช้วิชาการ
93

www.kalyanamitra.org
ทางโลกเข้้ามาเป็็นอุุปกรณ์์ เสริิมให้้คิดิ ร้้าย พููดร้้าย และทำำ�สิ่่ง� ร้้าย ๆ ย่่อมก่่อความเดืือดร้้อนอย่่างมหัันต์์ทั้้�งต่่อตััวเขา
เองและคนรอบข้้าง ตรงกัับที่่�ท่า่ นผู้้�รู้้�จริิงเตืือนว่่า การจััดการศึึกษาที่่�ถูกู จำำ�เป็็นต้้องปลููกฝัังสติิสัมั ปชััญญะให้้มั่่�นคงไว้้
เป็็นภููมิคุ้้�ิ มกัันความชั่่�วให้้แก่่ผู้้�เรีียนก่่อนแล้้วถ่่ายทอดวิิชาการตามหลััง หรืืออย่่างน้้ อยต้้องปลููกฝัังสติิสัมั ปชััญญะและ
ถ่่ายทอดวิิชาการไปพร้้อม ๆ กััน แต่่ห้้ามถ่่ายทอดวิิชาการโดยไม่่ปลููกฝัังสติิสััมปชััญญะเด็็ดขาด
๒. ท่่านผู้้�รู้้�จริิงยัังได้้เมตตาแสดงถึึงความร้้ายกาจของโรคประจำำ�ใจ ๓ ว่่า เคยทำำ�ลายชีีวิิตผู้้�คนไปครึ่่ง� ค่่อนโลก
มาแล้วด้วยอาการ ๓ เพื่อเป็นเครื่องเตือนใจให้รอบคอบในการจัดการศึกษาในยุคปัจจุบัน
ในอดีตก่อนยุคของท่านผู้รูจ้ ริง ชาวโลกในยุคนั้ นส่วนมากเชื่อว่าสมองควบคุมกายโดยไม่เชื่อว่าคนมีใจ จึงไม่
สนใจที่่จ� ะฝึึกสติิสัมั ปชััญญะไว้้ควบคุุมใจ เมื่่อ� เป็็นเช่่นนั้้� น ผู้้�คนทุุกระดัับชั้้น� จึึงยิินดีีกับั ความไม่่ชอบธรรม ถููกความโลภ
บีีบคั้้�นหนัั ก ให้้คิิดเพ่่งเล็็งอยากได้้ทรััพย์์สมบััติิของผู้้�อื่่น� ในทางไม่่ชอบ ผิิดศีีล ผิิดธรรม ผิิดกฎหมาย มั่่�วสุุมเสพคุ้้�น
อบายมุุขทุุกชนิิ ด มีีความเห็็นผิิดเป็็นชอบ ต่่างจัับอาวุุธเพื่่�อก่่อสงครามเข่่นฆ่่าล้้างผลาญกััน ส่่งผลให้้ผู้้�คนในยุุคนั้้� น
ล้้มตายไปเป็็นจำำ�นวนมาก (องฺฺ.ติิก. ๒๐/๕๗/๒๒๐-๒๒๑ (ไทย.มจร)) นี้้� เป็็นผลร้้ายแห่่งความโลภประการที่่� ๑
เพราะขาดสติสมั ปชัญญะควบคุมใจ ผูค้ นต่างโลภหนั ก นอกจากเพ่งเล็งอยากได้ทรัพย์สมบัตผิ อู้ นื่ ในทางไม่ชอบ
แล้้ว ต่่างคนต่่างทำำ�ลายสิ่่�งแวดล้้อมเพราะความโลภเห็็นแก่่ตััวนั้้� น ทำำ�ให้้ฝนไม่่ตกตามฤดููกาล ข้้าวกล้้าเสีียหายเป็็น
เพลี้้�ยหนอนเหลืือแต่่ต้้น อาหารก็็ขาดแคลนไปทั่่�วโลก มนุุ ษย์์จึึงล้้มตายไปอีีกมากมายด้้วยทุุพภิิกขภััย นี้้� เป็็นผลร้้าย
แห่งความโลภประการที่ ๒
94

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

เมื่่�อผู้้�คนขาดสติิสััมปชััญญะควบคุุมใจ ต่่างคนต่่างถููกความโลภบีีบคั้้น� ใจอย่่างหนัั ก ตััวเป็็นคนแต่่ใจกลายเป็็น


ยัักษ์์ ขาดความเมตตาสงสารเพื่่อ� นมนุุ ษย์์ด้ว้ ยกััน ได้้ปล่่อยอมนุุ ษย์์ คืือ โรคระบาดร้้ายแรงให้้แพร่่กระจายไปทั่่ว� ภููมิภิ าค
เพื่่�อหวัังทรััพย์์สมบััติิของผู้้�อื่่�น เมืืองอื่่�น ประเทศอื่่�นในทางไม่่ชอบ ผู้้�คนจึึงล้้มตายเหมืือนใบไม้้ร่ว่ ง นี้้� เป็็นผลร้้ายแห่่ง
ความโลภประการที่ ๓
ความล้มตายของผู้คนครึง่ ค่อนโลกในอดีตที่ท่านผู้รจู ้ ริงแสดงไว้ย่อมชี้ชัดว่า สาเหตุที่ความโลภท่วมทับใจของ
ผู้คนทั้งโลก ล้วนเกิดจากการจัดการศึกษาผิด ๆ ของแต่ละยุคสมัย แต่ละประเทศในภูมิภาคทั่วโลก เริม่ จากตั้งเป้า
หมายการศึึกษาผิิด แทนที่่จ� ะมุ่่�งเพื่่อ� ค้้นหาความรู้้�จริิงไว้้ใช้้กำ�จั
ำ ดั ทุุกข์์ กำำ�จัดั กิิเลส คืือ โรคประจำำ�ใจ ๓ เพื่่อ� ความบริิสุทุ ธิ์์�
กาย วาจา ใจของทุุกคน จะได้้อยู่่�เหนืือกฎแห่่งกรรม กลัับมุ่่�งไปส่่งเสริิมให้้แข่่งกัันรวย แข่่งกัันเป็็นมหาอำำ�นาจทางด้้าน
ต่าง ๆ ซึ่งทั้งหมดล้วนส่งเสริมให้กิเลส คือ โรคประจ�ำใจ ๓ แพร่ระบาดเร็วขึ้นทั้งสิ้น

ความจริงที่ต้องจัดการศึกษา
การศึึกษามีีความสำำ�คััญต่่อมนุุ ษยชาติิ เพราะเป็็นวิิธีีการเดีียวเท่่านั้้�น ที่่ส� ามารถนำำ�พาชาวโลกให้้เข้้าถึึงความจริิง
อัันประเสริิฐสามารถเอาชนะความจริิงน่่าตระหนกประจำำ�โลก ๔ ประการได้้อย่่างเด็็ดขาด ด้้วยการฝึึกสติิสััมปชััญญะ
เป็็นอัันดัับแรก แล้้วตามด้้วยความรู้้�วิิชาการและเทคโนโลยีีด้้านต่่าง ๆ การจััดการศึึกษาควรมุ่่�งให้้ผู้้�เรีียนรอบรู้้�ความจริิง
ที่่�ต้้องรีีบรู้้�รีีบประพฤติิปฏิิบััติิ แล้้วฝึึกฝนแก้้ไขดััดนิิ สััยตนให้้เป็็นผู้้�มีีนิิสััยดีี ดัังภาพที่่� ๑๒
95

www.kalyanamitra.org
96 ภาพที่ ๑๒ ความจริงที่ต้องจัดการศึกษา

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

ความรู้้วิ� ชิ าการทางโลก
หากเกิิดกัับคนพาล
ย่่อมมีีแต่่จะนำำ�ความพิินาศฉิิ บหายมาให้้
เพราะใจของเขาชอบออกไปนอกตััว
และขุ่่�นมััวอยู่่�เป็็นนิิ จ
จึึงเห็็นถููกเป็็นผิิด เห็็นผิิดเป็็นถููกได้้ง่่าย

97

www.kalyanamitra.org
ความจริงคือหัวใจการศึกษา

เมื่อถึงตรงนี้ คงมองออกแล้วว่า การศึกษาที่ถูกต้องจะต้องมุง่ ให้ผเู้ รียน เป็นผูร้ ูค้ วามจริง ทัง้ ความจริงทีเ่ กีย่ วกับ
ตนเองและความจริงทีเ่ กีย่ วกับสิง่ แวดล้อม ๕ พร้อมกับรีบประพฤติปฏิบตั ติ นให้ถกู ต้องเหมาะสมกับความจริงทีต่ น
ได้เรียนรูแ้ ล้วนั้ น เพื่อแก้ไขปรับปรุงนิ สัยตนให้ดียง่ิ ขึ้นไปตามล�ำดับ จนมีชัยเหนื อความจริงน่าตระหนกประจ�ำโลก ๔
ได้ในที่สดุ เมอื่ เป็นเช่นนี้การศึกษาจึงเป็นเรื่องการฝึกฝนตนเองและผูอ้ นื่ ให้ ๑) พากเพยี รไม่ทอ้ ถอยศึกษาหาความจริง
ที่ต้องรีบรู ้ ที่ต้องรีบประพฤติ ๒) พากเพียรประพฤติปฏิบัติตนอย่างถูกต้องเหมาะสมตรงตามความจริงให้เคย คุ้น ชิน
เป็นนิ สัยดีประจ�ำตน ดังนั้ นความจริงจึงเป็นหัวใจส�ำคัญการศึกษา เราจึงควรมาท�ำความเข้าใจกันก่อนว่า ความจริง
คืออะไร

ความหมายของความจริง
ความจริง มีความหมาย ๒ ประการ ดังนี้
๑. สิง่ ทีเ่ กิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ เช่น ฝนตก ฟ้าผ่า น�้ำท่วม ลมพัด เซลล์ อวัยวะ ระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย
คน สัตว์ พืชต่าง ๆ ระบบต่าง ๆ ภายในพืชแต่ละชนิ ด ฤดูกาล เวลา ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ เป็นต้น เพราะสิง่ เหล่านี้
เป็นสิง่ ทีเ่ กิดขึ้นแล้วเป็นอย่างนั้ นเองโดยธรรมชาติ เปลีย่ นแปลงไม่ได้
98

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

๒. สิง่ ทีก่ ระท�ำโดยมนุ ษย์ แล้วเป็นอย่างนั้ น เปลีย่ นแปลงไม่ได้


ตัวอย่าง ความจริง
นาย ก เดินข้ามทุ่ง ขณะพายุฝนฟ้าคะนองอย่างหนั ก ฟ้าผ่านาย ก เสียชีวิตที่ทุ่งนา ต�ำบล... อ�ำเภอ... จังหวัด...
เมื่อเวลา....
๑) นาย ก เดิินข้้ามทุ่่�ง เป็็นความจริิง ที่่�เกิิดจากการกระทำำ�ของนาย ก
๒) มีพายุฝนฟ้าคะนองอย่างหนั ก เป็นความจริง ที่เกิดจากธรรมชาติ
๓) ฟ้าผ่า นาย ก เป็นความจริง ที่เกิดจากธรรมชาติกระท�ำต่อนาย ก
๔) นาย ก เสียชีวิต เป็นความจริง ที่เกิดกับนาย ก เพราะไม่อาจทนต่อ
ความรุนแรงของกระแสฟ้าผ่าได้
๕) เหตุุเกิิดตำำ�บล... อำำ�เภอ... จัังหวััด... เวลา... เป็็นความจริิง เป็็นอย่่างนั้้� นแล้้ว เปลี่่�ยนแปลงไม่่ได้้
ทั้ง ๕ เหตุการณ์ เป็นความจริง เพราะเป็นอย่างนั้ นแล้ว เปลี่ยนแปลงไม่ได้

ประเภทของความจริง
ความจริงแบ่งตามความเป็น-ไม่เป็นประโยชน์ ได้ ๒ ประเภท คือ ๑) ความจริงทีเ่ ป็นคุณ ๒) ความจริงทีเ่ ป็น
โทษ เช่่น ฝนตก เป็็นความจริิงที่่�เกิิดตามธรรมชาติิเป็็นคุุณต่่อคน สััตว์์ พืืช สิ่่�งแวดล้้อมต่่าง ๆ เพราะให้้น้ำ�ำ� ฝน น้ำำ�� ใช้้ 99

www.kalyanamitra.org
� ม�่ ลดมลภาวะ เป็็นต้้น แต่่เป็็นโทษถ้้าฝนตกยกระดัับความรุุนแรงเป็็นพายุุฝนฟ้้าคะนอง ทำำ�ให้้น้ำ�ท่
น้ำำ�ดื่ ำ� ว่ ม พััดบ้้านเรืือน
เสียหาย เกิดอุบัติเหตุ มีผู้เสียชีวิต พายุฝนจึงจัดเป็นความจริงที่ให้โทษด้วย
ความจริิงแบ่่งตามการรู้้�ออกเป็็น ๒ ประเภท คืือ
๑. ความจริงกายภาพ เป็นความจริงทีร่ ูไ้ ด้ดว้ ยประสาทสัมผัสทัง้ ๕ ทีม่ ใี จก�ำกับสัง่ การ และรูด้ ว้ ยเครือ่ งมือ
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีต่าง ๆ
ความจริงประเภทนี้ รูไ้ ด้เกือบทุกคนแต่ความลุ่มลึกแตกต่างกัน ผู้ใดที่มีใจจดจ่อกับความจริงนี้ก็จะใช้ ตา หู
จมูก ลิ้น กาย สังเกต เห็นรับรูข้ ้อมูลความจริงได้มาก ได้ถูกต้อง ได้ครบถ้วน ท�ำให้ใจสามารถน�ำข้อมูลความจริง
เหล่านี้ มาคิดเชื่อมโยง เห็นเป็นเรื่องราวความเป็นเหตุเป็นผลน�ำไปสูก่ ารทดลอง พิสจู น์ จนได้ขอ้ สรุปเป็นความจริง เช่น
ลููกแอปเปิิลตกจากต้้น ใคร ๆ ก็็เห็็น แต่่ก็็ไม่่มีีใครสนใจว่่าทำำ�ไมจึึงตกจากต้้น จนกระทั่่�งเซอร์์ไอแซก นิิ วตััน
(Sir Isaac Newton) สัังเกตเห็็นความจริิงกายภาพที่่�รู้้�ได้้จากการขบคิิด ซึ่่�งเป็็นการเห็็นในความคิิด เพราะใจท่่าน
จดจ่่ออยู่่�ในอารมณ์์ เดีียวของความอยากรู้้�เหตุุผลว่่า ทำำ�ไมลููกแอปเปิิลจึึงตกจากต้้น ใจลัักษณะนี้้� เป็็นใจที่่�ไม่่แวบคิิด
โน่่ นคิิดนี่่� ให้้ฟุ้้�งซ่่านเหมืือนคนทั่่�วไป แล้้วก็็ได้้คำำ�ตอบจากการทดลอง พิิสููจน์์ จนเกิิดเป็็นทฤษฎีีแรงโน้้ มถ่่วง คืือ โลกส่่ง
แรงดึึงดููดสรรพสััตว์์และสรรพสิ่่ง� มาที่่�ศููนย์์กลางกายของสรรพสััตว์์และจุุดศููนย์์ถ่่วงของสรรพสิ่่ง� ทำำ�ให้้สรรพสััตว์์และ
สรรพสิ่่�งไม่่หลุุดลอยเคว้้งคว้้างออกไปจากโลก
การแสวงหาความจริงกายภาพ เกิดจากการน�ำข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การเห็น การฟัง การดม การลิ้มรส
100
การสัมผัส มาขบคิด วิเคราะห์ วิจัย วิจารณ์ จนกระทั่งเกิดความรูค้ วามเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ซึ่งกระบวนการนี้ เรยี กว่า

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

วิทยาศาสตร์ ยกตัวอย่างเช่น ระบบย่อยอาหารของคน-สัตว์ แต่เดิมเราไม่ทราบหรือไม่อาจเห็นได้ดว้ ยเครอื่ งมือทางการ


แพทย์ที่ทันสมัยเหมือนปัจจุบัน แต่ก็รวู ้ ่ามี เพราะเกิดจากการเรียนรูแ้ ละสังเกต ความรูส้ ึกอิ่ม หิว กระหาย จากระยะ
เวลาที่กินจนกระทั่งเวลาที่ของเสียขับถ่ายออกมาจากร่างกาย
กล่่าวได้้ว่่า กฎ ทฤษฎีี ความรู้้�ด้้านวิิชาการ วิิทยาศาสตร์์ คณิิ ตศาสตร์์ สัังคมศาสตร์์ ฯลฯ ส่่วนใหญ่่ล้้วนเป็็น
ความจริิงกายภาพที่่�พิสูิ จน์ ู ์ ทดลองให้้เห็็นได้้ด้ว้ ยประสาทสััมผััสทั้้�ง ๕ นัั กวิิทยาศาสตร์์ นัั กวิิชาการ แสวงหาความจริิง
กายภาพด้้วยจุุดมุ่่�งหมาย ๑) เพื่่�อทำำ�ความเข้้าใจปรากฏการณ์์ เหตุุการณ์์ ต่่าง ๆ ว่่า สิ่่ง� นั้้� น เรื่่อ� งนั้้� น คืืออะไร เกิิดได้้
อย่่างไร มีีกระบวนการอย่่างไร ทำำ�ไมจึึงเกิิด มีีเหตุุปััจจััยอะไรที่่�ส่ง่ เสริิมหรืือยัับยั้้ง� เหตุุการณ์์นั้้�นได้้บ้า้ ง ๒) เพื่่อ� นำำ�ความรู้้�
ความจริิงที่่�ค้้นพบนี้้� มาใช้้ประโยชน์์ ๓) เพื่่�ออำำ�นวยความสะดวกในการดำำ�รงชีีวิิต
๒. ความจริงจิตภาพ เป็นความจริงที่รไู ้ ด้ดว้ ยใจทมี่ คี วามบริสทุ ธิ์ เป็นความจริงที่เป็นนามธรรม ผูม้ สี ติหมัน่ เก็บ
ใจไว้กลางกายเป็นนิ จ ใจย่อมผ่องใส ย่อมเห็นความจริงประเภทนามธรรมนี้ ได้ง่ายและชัดเจน เพราะเป็นธรรมชาติว่า
ความสว่างท�ำให้เห็นความจริง หากผู้ใดรักษาใจให้หยุด นิ่ ง นุ่ ม นาน แนบแน่ นที่กลางกายอย่างเบา ๆ สบาย ๆ ใจก็
ยิ่งเห็นความจริงจิตภาพได้ลุ่มลึกไปตามล�ำดับ
ธรรมชาติิความจริิงที่่�เป็็นนามธรรม เช่่น ใจ ศีีลธรรม กฎสากลประจำำ�จัักรวาล กิิเลส ทางพ้้นทุุกข์์ สิ่่�งเหล่่านี้้�
ย่่อมรู้้�ได้้ด้้วยใจที่่�ผ่่องใส ใจที่่�สว่่างเท่่านั้้� น ยิ่่�งใจสว่่าง ใจบริิสุุทธิ์์�มากเท่่าไร ก็็ยิ่่�งเห็็นความจริิงของสรรพสััตว์์และ
สรรพสิ่่�ง ทั้้�งที่่�เป็็นรููปธรรมและนามธรรม หรืือกายภาพและจิิตภาพได้้หมดจดมากเท่่านั้้� น เพราะความสว่่างทำำ�ให้้เห็็น
ความจริิง จึึงไม่่ต้้องใช้้ความคิิดคาดการณ์์หรืือจิินตนาการไปต่่าง ๆ นานา เหมืือนเข้้าไปในห้้องมืืดหรืือสลััว ๆ เราย่่อม 101

www.kalyanamitra.org
เห็็นอะไร ๆ ได้้ไม่่ชััดเจนว่่ามีีอะไรอยู่่�ในห้้องหรืือเห็็นเพีียงตะคุ่่�ม ๆ ต้้องอาศััยการคาดคะเนไปต่่าง ๆ ต่่อเมื่่�อเปิิดไฟ
เกิิดความสว่่างแล้้ว ก็็เห็็นทัันทีีว่่ามีีอะไรในห้้องบ้้าง
แต่ถ้าใครใจขุ่นมัว ไม่ผ่องใส ใจมืด ก็ย่งิ เห็นไม่ถูกต้องตรงความจริง เห็นความเท็จเป็นความจริง เห็นความดี
เป็นความชั่ว เห็นความชั่วเป็นความดี ดังตัวอย่าง
ความจริงจิตภาพ คนใจใส คนใจขุ่น
ศีล ๕ ท�ำให้เห็นใจกันและกัน เห็นว่าจริง ต้องรักษา เห็นว่าไม่จริง ต้องละเมิดฝ่าฝืน
สติ ท�ำให้ใจผ่องใส เห็นว่าจริง ต้องฝึกฝน เห็นว่าไม่จริง ไม่ต้องฝึกฝน
อบายมุุข มีีโทษร้้ายแรงดิ่่�งไปที่่�ชั่่�ว เห็็นว่่าจริิง ต้้องเว้้นห่่าง เห็็นว่่าไม่่จริงิ ต้้องซ่่องเสพ
ดังนั้ น ผู้แสวงหาความจริงจิตภาพย่อมได้ชื่อว่าแสวงหาปัญญาทั้งภายนอกและภายใน โดยเริม่ จากฝึกสติ
สัมปชัญญะ คือ ให้มีความรูต้ ัวทั่วพร้อม เก็บใจไว้กลางกาย จนใจหยุดนิ่ ง ใส สะอาด กระทั่งสว่างไม่มีประมาณ
ตั้งมั่นอยู่ภายใน แล้วเกิดความรูแ้ จ้งจากการเห็นภายในนั้ น จัดเป็นปัญญาด้านจิตภาพเมื่อรวมกับการเห็นการรู ้
ภายนอกจากประสาทสัมผัส ๕ ย่อมท�ำให้สามารถเอาชนะความจริงน่าตระหนกประจ�ำโลก ๔ ประการ ได้อย่างเด็ดขาด
นี้ เป็นเส้นทางศีลธรรม
จากประเภทความจริงทกี่ ล่าวมาทัง้ หมด การศึกษาจึงต้องท�ำให้ผเู้ รยี นได้รอบรูช้ ดั ความจริง ทัง้ ความจริงกายภาพ
และความจริงจิตภาพ ทั้งความจริงที่เป็นคุณและโทษ แล้วเลือกประพฤติปฏิบัติเฉพาะความจริงกายภาพ-จิตภาพ
102 ที่่�เป็็นคุุณ เว้้นห่่างจากการประพฤติิปฏิิบัติั ิตามความจริิงกายภาพ-จิิตภาพที่่�เป็็นโทษ จึึงจะบัังเกิิดเป็็นความดีี ห่่างไกล

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

จากความชั่่ว� คืือ ไม่่มีีความเดืือดร้้อนใด ๆ ตามมาในภายหลัังจากการกระทำำ�ทางกาย วาจา ใจของตนที่่�มีีต่่อทั้้ง� ตนเอง


และผู้อื่น มีแต่เกิดประโยชน์ สุข มีแต่ใจผ่องใสโดยทั่วหน้ากันทุกคน ดังภาพที่ ๑๓
ใจผ่่องใสเท่่านั้้� น ที่่ทำ� ำ�ให้้มนุุ ษย์์รู้้�-เห็็นความจริิงกายภาพ-จิิตภาพได้้ลุ่่�มลึึกสมตามที่่ท่� ่านผู้้�รู้้�จริิงกล่่าวไว้้ว่่า
สิ่่ง� ทั้้�งหลายทั้้�งปวงที่่�เราเกี่่�ยวข้้อง สำำ�คััญที่่�การรู้้�การเห็็นของใจ มีีใจเป็็นใหญ่่ในการตััดสิิน มีีความสำำ�เร็็จกิิจ
จากการสั่งของใจ
๑. ถ้้าใจขุ่่�นมััว มืืดบอด การพููดการทำำ�เกี่่�ยวกัับสิ่่ง� นั้้�นก็็พลอยไม่่ดีไี ปด้้วย เพราะความไม่่ดีนั้้ี �นเป็็นเหตุุแห่่งความทุุกข์์
ความเดืือดร้้อนย่่อมติิดตามตััวเขา เหมืือนล้้อเกวีียนหมุุนบดขยี้้�ตามรอยเท้้าโค
๒. ตรงกันข้าม ถ้าใจผ่องใส ใจสว่าง การพูดการท�ำก็พลอยดีไปด้วย เพราะความดีทเี่ ป็นเหตุแห่งความสุข
ความเจริญย่อมติดตามตัวเขาเหมือนเงาตามตน

103

www.kalyanamitra.org
104 ภาพที่ ๑๓ ความจริง-ความดี

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

ยิ่่�งใจผ่่องใส
ยิ่่�งใจสว่่างบริิสุุทธิ์์�มากเท่่าไร
ก็จะยิ่งท�ำให้เห็นความจริง
ของสรรพสัตว์และสรรพสิ่ง
ได้ลุ่มลึกและถูกต้องตรงความจริง
มากเท่านั้ น

105

www.kalyanamitra.org
ความจริงที่ต้องรีบรู้ รีบประพฤติ

ความจริงเรือ่ งอะไรทีต่ อ้ งรีบรู ้ รีบประพฤติ หากเราตอบค�ำถามนี้ได้ เท่ากับเราก�ำชัยชนะความส�ำเร็จในการจัด


การศึกษาได้แน่ นอน ค�ำตอบง่าย ๆ ก็คือ ความจริงกายภาพกับความจริงจิตภาพทีเ่ กีย่ วกับตัวเราและสิง่ แวดล้อม ๕
ที่เราต้องเกี่ยวข้องด้วยเมื่อท�ำกิจต่าง ๆ ในชีวิตประจ�ำวัน เป็นเรื่องที่ต้องรบี รู ้ รบี ประพฤติ เหตุผลที่ต้องรบี รู ้ รบี
ประพฤติ ท่านผู้รจู ้ ริงได้บอกไว้แล้วว่านี้ เป็นประตูแห่งประโยชน์ สุข ๖ ประการคือ
๑. เป็นเหตุแห่งความไม่มีโรค
๒. เป็นเหตุแห่งความเป็นผู้มีศีล
๓. เป็นเหตุแห่งความคล้อยตามผู้รู ้ เชื่อฟังผู้รจู ้ ริง
๔. เป็นเหตุแห่งการสดับเล่าเรียน
๕. เป็นเหตุแห่งการประพฤติตามธรรม คือ ประพฤติให้เป็นสุจริต
๖. เป็นเหตุแห่งความไม่ท้อถอยต่ออุปสรรคใด ๆ
คุุณธรรม ๖ ประการนี้้� บุุคคลควรปรารถนา ควรประพฤติิอย่่างยิ่่�ง เพราะเป็็นประตูู เป็็นอุุบายด่่านแรก นำำ�ไปสู่่�
ประโยชน์ สูงสุด ความสุขความเจริญสูงสุดทางโลก คือ ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข และความสุขทางธรรม คือ พ้นทุกข์จริง
106 อยู่เหนื อกฎแห่งกรรมจริง ดังภาพที่ ๑๔

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

ภาพที่ ๑๔ คุณธรรม ๖ ประการ เป็นทางด่านแรกสู่การบรรลุถึงความเจริญสูงสุด 107

www.kalyanamitra.org
ใจเป็นเครื่องมือเพียงอย่างเดียวเท่านั้ นที่ท�ำให้รู้ความจริง

วิธีรู้ความจริง
ท่านผู้รจู ้ ริงได้สรุปวิธีแสวงหาความรูจ้ ริงหรือวิธีรคู ้ วามจริงทั้งสรรพสัตว์และสรรพสิ่งไว้ ๓ วิธีด้วยกัน คือ
๑. รูค้ วามจริงจากการสดับตรับฟัง เป็นการรูค้ วามจริงระดับต้น ซึ่งเกิดจากการตามหาท่านผู้รจู ้ ริงให้พบและ
ได้ฟังค�ำสอนจากท่านโดยตรง หากท่านผู้รูจ้ ริงได้ลาโลกไปแล้ว ก็ต้องพยายามหาศิษย์ของท่านผู้รูจ้ ริงด้านจิตภาพ
ให้พบ เพื่อรับฟังความรูจ้ ริงที่ลึกซึ้งโดยตรงจากศิษย์ของท่านหรือจากศิษย์ของศิษย์ของท่านก็ยังดี ถ้าหาแม้ศิษย์
ของศิษย์ท่านไม่พบ อย่างน้ อยต้องหาอ่านความรูจ้ ริงจิตภาพจากต�ำราที่จดบันทึกของท่าน หรือหาฟังจากผู้ใดก็ตาม
ที่ท่องจ�ำค�ำสอนของท่านผู้รจู ้ ริงได้ก็ยิ่งดี ส่วนความรูจ้ ริงทางด้านกายภาพสามารถหารับฟังจากผู้รจู ้ ริงด้านนั้ น ๆ ได้
ไม่ยากในปัจจุบัน
ความรู้้�จริิงที่่�ได้้ฟััง ได้้อ่่านแล้้วเหล่่านั้้� นแม้้เราจะเข้้าใจตามทัันบ้้างไม่่ทัันบ้้างก็็ตาม ย่่อมเป็็นประโยชน์์ มาก
เพราะได้พัฒนาจากความรูจ้ ริงระดับการฟัง การอ่าน เป็นความรูจ้ ริงระดับความจ�ำเก็บไว้ในใจแล้ว นี้เป็นการรู ้
ความจริงด้วยวิธีสดับตรับฟัง
๒. รู้้�ความจริิงจากการขบคิิด เนื่่� องจากความจริิงด้้วยวิิธีสี ดัับตรัับฟัังหรืือระดัับจำำ�เก็็บไว้้ในใจแล้้ว มีี ๒ ประเภท
คืือ ประเภทที่่� ๑ ความรู้้�จริิงระดัับฟัังหรืือจำำ�จากท่่านผู้้�รู้้�ดัังกล่่าวแล้้วในข้้อแรก ประเภทที่่� ๒ ความรู้้�จริิงระดัับจำำ�
108
ที่่�เกิิดจากการได้้เห็็น ได้้ยิิน ได้้ดม ได้้ลิ้้�มรส ได้้สััมผััสแล้้ว เคยคิิดอย่่างฉาบฉวยด้้วยตนเองจนรู้้� หากเรา

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

ไม่ปล่อยผ่านความรูจ้ ริงระดับฟังหรือจ�ำทัง้ ๒ ประเภทนี้ แต่น�ำไปขบคิด ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง ซ�้ำแล้วซ�้ำอีก กระทัง่


เห็นความเชื่อมโยง ความเป็นเหตุเป็นผลของปรากฏการณ์ เหตุการณ์ ที่เราสนใจนั้ น จนกระทั่งรูค้ วามจริงที่สลับซับ
ซ้อนอยู่เบื้องหลังนั้ น ย่อมจัดเป็นวิธีรูค้ วามจริงจากการขบคิดหรือคิดจนรู ้ ยิ่งเมื่อน�ำความรูจ้ ริงจากการขบคิดแล้ว
ไปทดลองพิสูจน์ หรอื ใช้งานจริง ปรากฏผลว่าจริงตรงตามที่คิดไว้ก็ย่ิงเชื่อมั่นในความจริงที่มาจากการขบคิดกระทั่งรู ้
ยิ่งขึ้น ความจริงต่าง ๆ ด้านวิชาการ วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ฯลฯ ตลอดทั้งโลกได้มาจากวิธีที่ ๑
และ ๒ ซึ่งเป็นความจริงกายภาพเท่านั้ น
๓. รูค้ วามจริงจากการเห็นภายในด้วยใจที่ผ่องใสทีส่ ว่าง ผู้ต้องการรูค้ วามจริงด้วยวิธีนี้ ต้องฝึกใจไม่ให้แวบ
หนีีเที่่ย� วออกนอกกาย เพราะเป็็นเหตุุให้้ใจขุ่่�นมััว สลััวลง ยิ่่ง� ใจไปหลงยึึดติิด รููป เสีียง กลิ่่น� รส สััมผััสนอกกาย หนาแน่่น
มากเท่่าใด ความขุ่่�นมััวยิ่่�งมากขึ้้�นเท่่านั้้� น จากมืืดสลััวก็็กลายเป็็นมืืดมิิด คืือ ไม่่เห็็นความจริิงจิิตภาพใด ๆ เลย บุุคคล
ประเภทปล่อยใจแวบออกนอกตัวเป็นนิ จเช่นนี้ ย่อมปฏิเสธความมีอยู่จริงของใจ และความจริงด้านจิตภาพโดยสิ้นเชิง
ส�ำหรับผู้ฝึกใจให้หยุดนิ่ ง อยู่ที่ศูนย์กลางกายได้เป็นนิ จ แม้ใจจะแวบออกนอกกายบ้างก็เพียงบางครัง้ และ
แวบไปไม่นานก็กลับมาหยุดนิ่ งที่ศูนย์กลางกายตามเดิม ใจของบุคคลเช่นนี้ย่อมสว่างโพลงอยู่ภายในอย่างต่อเนื่ อง
เป็นเหตุให้เห็นความจริงกายภาพและจิตภาพของสรรพสัตว์และสรรพสิง่ ได้ชดั ทัง้ ลืมตาและหลับตา ไม่มอี ะไรหลงเหลือ
ให้เคลือบแคลงสงสัย จึงรูค้ วามจริงกายภาพจากการเห็นด้วยตาเนื้อ และรูค้ วามจริงจากภายในหรอื ความจริงจิตภาพ
จากตาธรรมโดยไม่ต้องคิด การรูค้ วามจริงจิตภาพด้วยวิธีการนี้ เป็นวิธีการรูท้ ี่มีชื่อเฉพาะว่า รูด้ ้วยญาณทัสสนะ เป็น
ความรูเ้ ฉพาะตัวของท่านผู้น้ั น แม้ยากต่อการอธิบายให้ผู้ที่ยังไม่สามารถท�ำใจให้หยุดนิ่ งที่ศูนย์กลางกายเข้าใจได้ 109

www.kalyanamitra.org
แต่สามารถพิสูจน์ ได้ ถ้าผู้ต้องการพิสูจน์ นั้นฝึกใจของตนให้หยุดนิ่ งภายในได้ตามท่าน และท่านเหล่านั้ นแม้มีอยู่
ในปัจจุบันไม่มากแต่ก็ยังมี ซึ่งส่วนมากก็เป็นนั กบวช เช่น พระภิกษุในพระพุทธศาสนา หากผู้ใดสนใจใคร่รเู ้ ห็นจริง
ท่านก็ยินดีจะสอนสั่งความรูใ้ นการเก็บใจไว้ในกายให้ได้เป็นนิ จตามท่าน

เครื่องมือรู้ความจริง
วิิธีีรู้้�ความจริิงทั้้�ง ๓ ประการที่่�กล่่าวมานั้้� น ต่่างต้้องใช้้ใจเป็็นเครื่่อ� งมืือรู้้�ทั้้�งสิ้้�น เพราะใจเป็็นธาตุุรู้้� หมายถึึง
การที่่�จะรู้้�ความจริิงทั้้�งหลายได้้นั้้�น ไม่่ใช้้กาย ไม่่ใช้้สมอง แต่่ต้อ้ งใช้้ใจที่่�อยู่่�ในกาย เมื่่�อใจและกายอยู่่�ด้้วยกััน โดยเฉพาะ
เมื่่�อใจอยู่่�ที่่�กลางกาย ตรงบริิเวณที่่�โลกส่่งแรงโน้้ มถ่่วงมาดึึงดููดสรรพสััตว์์ไม่่ให้้หลุุดลอยเคว้้งคว้้างออกไปนอกโลก ซึ่่�ง
เป็็นตำำ�แหน่่ งที่่�ตั้้�ง ที่่�อยู่่� เป็็นบ้้านของใจ ทำำ�ให้้ใจและกายเป็็นหนึ่่� งเดีียวกััน ใจไร้้แรงต้้านบีีบคั้้�น ไร้้แรงดึึงให้้กระเจิิงแวบ
ออกนอกกาย กายก็็จะสงบ ผ่่อนคลาย ความปวดเมื่่�อยล้้าใด ๆ ของกายก็็มลายหายสููญไปสิ้้น� ส่่วนใจก็็จะผ่่อนคลาย
ว่่าง โปร่่ง โล่่ง เบา กระชุ่่�มกระชวย ทรงพลัังไม่่จำำ�กััด ความผ่่องใสของใจก็็จะฉายแสง ทำำ�ให้้เห็็นข้้อมููลความจริิงของ
ปรากฏการณ์์ เหตุุการณ์์ ต่่าง ๆ ได้้เป็็นลำำ�ดัับ ๆ ตั้้�งแต่่ต้้นจนจบ จึึงรู้้�ความจริิงไม่่ผิิดเพี้้�ยนจากการเห็็น ซึ่่�งเป็็นการเห็็น
ด้้วยตนเองจากใจที่่�ผ่่องใสนั่่� นเอง สำำ�หรัับสมองเป็็นสำำ�นัักงานให้้ใจใช้้สั่่�งงาน
ใจจึงเป็นเครอื่ งมือรูค้ วามจริงเพียงหนึ่ งเดียวเท่านั้ น ไม่มีเครื่องมืออื่นใด การรูค้ วามจริงด้วยวิธีการฟังก็ดี
ด้วยการคิดก็ดี ด้วยการเห็นจากใจก็ดี ความจริงทั้งหมดเหล่านี้ ต้องใช้ใจที่ฝึกมาดี คือ มีสติสัมปชัญญะก�ำกับเป็นนิ จ
110 เท่านั้น ใจจึงจะจดจ่อ เกิดความตัง้ ใจฟัง สังเกตเห็น รับรู ้ จ�ำได้หมายรู ้ คิดไตร่ตรอง กระทัง่ รูค้ วามจริงกายภาพ-จิตภาพ

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

ของสรรพสัตว์และสรรพสิง่ ได้หมดจด
จากความจริงทวี่ า่ ใจเท่านั้ นทีเ่ ป็นเครือ่ งมือรูค้ วามจริง โดยต้องเป็นใจทีม่ สี ติสมั ปชัญญะก�ำกับอย่างรอบคอบ
มั่นคงด้วย การศึกษาทีแ่ ท้จริงจึงอยู่ทกี่ ารฝึกฝน พัฒนาใจให้มีสติสัมปชัญญะเป็นอันดับแรกก่อน ก็เพราะมองข้าม
ความจริงประการส�ำคัญที่สุดนี้ การศึกษาเกือบทั้งโลก จึงเน้ นทุ่มเทสรรพความรู ้ และงบประมาณ ไปทีก่ ารพัฒนา
วิธีการได้ความรู ้ มากกว่ามุ่งพัฒนาใจทีเ่ ป็นเครือ่ งมือให้เข้าถึงสรรพความจริง ทั้งวิธีรูค้ วามจริงก็มุ่งเน้ นเฉพาะจาก
การฟัง การคิดค้นคว้าทดลองจากแหล่งความรูต้ า่ ง ๆ ด้วยเทคโนโลยีและเครือ่ งมือทันสมัยล�้ำยุค ยิง่ ได้ขอ้ มูลความรู ้
กว้างไกล ก็ยิ่งภูมิใจว่าตนมีความรูเ้ หนื อกว่าผู้ใด อันเป็นทางมาแห่งความร�่ำรวย ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
แต่หารูไ้ ม่ว่า ยิง่ เน้ นแต่วิธีการรูค้ วามจริง แต่ไม่เน้ นการพัฒนาใจ ให้มีสติสัมปชัญญะ มีความผ่องใสเป็นนิ จ
เพื่อเป็นกุญแจไขประตูแห่งความจริง ผูเ้ รยี นจะยิง่ ห่างไกลจากความจริง สับสนระหว่างข้อมูลจริง-เท็จจ�ำนวนมากมายที่
ไหลบ่าท่วมท้นจนแยกไม่ออก ไม่ต้องกล่าวถึงว่าอะไรคือความดี-ความชั่ว ซึ่งไม่ว่าจะใช้วิธีการใดมารูก้ ็ยิ่งแยกไม่ออก
สรุปได้ว่า สติสัมปชัญญะเป็นรากฐานการศึกษาที่แท้จริงแต่จะเกิดขึ้นได้ต้องมีครูดีมาสั่งสอนฝึกฝนอบรม
อย่างใกล้ชิดให้ จึงจะสามารถเข้าถึงแก่นของการศึกษาที่แท้จริงได้

111

www.kalyanamitra.org
ใจเท่่านั้้� น
ที่่�เป็็นเครื่่อ� งมืือรู้้ค� วามจริิง
โดยต้้องเป็็นใจที่่�มีีสติิสััมปชััญญะ
กำำ�กัับอย่่างรอบคอบมั่่�นคงด้้วย
การศึึกษาที่่�แท้้จริิงจึึงอยู่่�ที่่�การฝึึกฝน
พััฒนาใจให้้มีีสติิสัมปชั
ั ัญญะเป็็นอัันดัับแรก

112

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

ความหมายการศึกษา

ตลอดมานัั บพััน ๆ ปีี ผู้้�ใฝ่่การศึึกษาแต่่ละยุุคได้้มองเห็็นตรงกัันว่่า แท้้ที่่�จริงิ แล้้วความสงบสุุขของผู้้�คนทั้้�งโลก


ต้้องเกิิดจากความสงบสุุขของโลกใบเล็็ก คืือ กายและใจของตนเองก่่อน เพราะฉะนั้้� นถ้้าทำำ�ให้้แต่่ละคนรู้้�จัักตนเอง
และควบคุุมตนเองได้้ คืือ ไม่่ก่่อความเดืือดร้้อนให้้แก่่ตนเองและผู้้�อื่่�น โลกทั้้�งโลกย่่อมร่่มเย็็นเป็็นสุุขได้้เอง โดย
ไม่่ต้้องรอให้้มีีผู้้�วิิเศษหรืือเทวดาองค์์ใดจุุติิลงมาจััดการปกครองโลกให้้มนุุ ษย์์
ถ้าเช่นนั้ น อะไรคือกลไกหรอื อุปกรณ์ ที่จะท�ำให้คนทั้งโลกรูจ้ ักปกครองตนเองให้ได้ดังกล่าว ค�ำตอบคือ
การศึกษา แล้วการศึกษาที่สมบูรณ์ แท้จริงคืออะไร
การศึึกษา คืือ การพััฒนาให้้ผู้้�คนแต่่ละคน ๑) สามารถควบคุุมปกครองตนเองได้้ ไม่่ก่่อความทุุกข์์ความ
เดืือดร้้อนใด ๆ ทั้้�งแก่่ตนเองและผู้้�อื่่�น ๒) สามารถใช้้กาย วาจา ใจของตน ตลอดจนความรู้้�ความสามารถศิิลปวิิทยา
ทั้้ง� หลายที่่ต� นมีี ไปสร้้างประโยชน์์ สุุขให้้แก่่ตนและโลกนี้้� ได้้เต็็มที่่�สมกัับเพศวััย ๓) สามารถฝึึกฝนอบรมใจตนเองให้้
ผ่่องใสยิ่่�ง ๆ ขึ้้�นไปจนถึึงที่่สุ� ุด
การจะพััฒนาตนให้้ได้้เช่่นนั้้� น ผู้้�ศึึกษาจำำ�เป็็นต้้อง ๑) หมั่่�นมองเข้้าไปในตนให้้รู้้�จริงิ เรื่่อ� งร่่างกาย กลไกการ
ทำำ�งานในร่่างกาย และความเชื่่อ� มโยงระหว่่างกายกัับใจ ๒) หมั่่�นพิิจารณาแก้้ไขความประพฤติิของตน ทั้้ง� ด้้านส่่วนตน
และส่่วนรวม ๓) หมั่่�นเจริิญสมาธิิภาวนาให้้ใจผ่่องใสจนเกิิดเป็็นปััญญาจากการรู้้�เห็็นภายในให้้มาก ทั้้ง� นี้้� เพื่่อ� ประโยชน์์
คืือ 113

www.kalyanamitra.org
๑. เพื่อแสวงหาความรูช้ ัดความจริงกายภาพ-จิตภาพที่ต้องรีบรูเ้ กี่ยวกับตนเอง และสิง่ แวดล้อม ๕
๒. เพื่อแสวงหาความรูช้ ัดความจริงที่ต้องรีบประพฤติปฏิบัติ
๓. เพื่อรบี ประพฤติปฏิบัติตนให้ถูกต้องเหมาะสมตรงตามความจริงที่ต้องรีบรู ้ ที่ต้องรีบประพฤติ ให้เคย คุ้น
ชิน ติดแน่ นฝังใจ กลายเป็นนิ สัยดีประจ�ำตน
๔. เพอื่ ตัง้ ใจฝึกสติเก็บใจไว้กลางกายให้ได้เป็นนิ จ มีสัมปชัญญะ รูต้ วั ทัว่ พร้อมขณะคิด-พูด-ท�ำ จึงเป็นผูส้ ามารถ
ดับความเดือดร้อนที่อาจจะเกิดตามมาทั้งแก่ตนเองและผู้อื่น
๕. เพื่อเพียรอบรม สัง่ สอน ฝึกฝน บุตรหลาน ลูกศิษย์ ผู้อื่น ให้รชู ้ ัดความจริงที่ต้องรีบรู ้ และรีบประพฤติปฏิบัติ
ให้ตรงตามความจริงนั้ นเป็นนิ สัย
สรุุปได้้ว่่า การศึึกษาเป็็นการแสวงหา ค้้นคว้้าทดลอง ฝึึกฝนตนเองให้้รู้้�ชััดความจริิงที่่�ต้้องรีีบรู้้� แล้้วรีีบนำำ�ไป
ประพฤติปฏิบัติให้เกิดเป็นความดีให้ยิ่ง ๆ ขึ้นไป เพื่อดับทุกข์เพิ่มสุขให้แก่ตนเองและเพื่อนร่วมโลกอย่างเต็มที่
เต็มก�ำลังตลอดไป โดยเริม่ ต้นจากการฝึกสติสัมปชัญญะให้เกิดเป็นคุณธรรมที่หนั กแน่ นมั่นคงก่อน เพื่อใช้ควบคุมใจ
ให้ผอ่ งใส สว่างไสวตรงศูนย์กลางกายเป็นนิจ ให้ใจเกิดความรักดี รังเกียจความชัว่ ยิง่ ชีวิต แล้วน�ำความรู ้ ความสามารถ
ที่เกิดจากการศึกษาไปใช้ท�ำความดีให้เกิดความสุขความเจริญแก่ตนเองและสรรพสัตว์ต่อไป

114

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

การศึกษาขาดครูดีไม่ได้

ความหมายของค�ำว่า “ครู”
ความจริงกายภาพ-จิตภาพที่ต้องรีบรู ้ รีบประพฤติ มีความส�ำคัญต่อการศึกษามากฉันใด ครูดีก็มีความส�ำคัญ
ไม่ยิ่งหย่อนกว่าความจริงฉันนั้ น
ครูคืออะไร ค�ำว่า ครู มีรากศัพท์จากค�ำว่า ครุ และ คารวะ ซึ่งเป็นค�ำเดียวกันในภาษาบาลี
ครุ แผลงเป็น ครู
ครุุ แปลว่่า หนัั ก หมายถึึง หนัั กแน่่ น
ครูต้องหนั กแน่ นในเรื่องอะไร
๑. ครูต้องหนั กแน่ นเพื่อค้นคว้าหาความจริงกายภาพ-จิตภาพที่ต้องรบี รู ้ รบี ประพฤติ ให้เข้าใจถูกต้องและ
ครบถ้วนชัดเจนทัง้ เหตุทงั้ ผลและพร้อมอธิบายขยายความ
๒. ครูต้องหนั กแน่ นประพฤติตนให้เหมาะสมถูกต้องตรงต่อความจริง เพื่อให้เกิดเป็นความดี มีใจผ่องใส มีใจ
เก็บไว้กลางกายเป็นนิ จ มีอารมณ์ ดี อารมณ์ เดียว เมื่อท�ำอะไรแล้วต้องไม่มีความเดือดร้อนใด ๆ ตามมาภายหลัง
ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น รวมทั้งไม่ท�ำลายสิ่งแวดล้อมด้วย
115

www.kalyanamitra.org
๓. ครููต้้องหนัั กแน่่ น ยอมหนัั กแรงถ่่ายทอด สั่่ง� สอน ฝึึกหััด ดััดนิิ สััย อบรมศิิษย์์ให้้เข้้าถึึงความจริิงกายภาพ-
จิตภาพที่ต้องรีบรู ้ รีบประพฤติ และประพฤติปฏิบัติตนเหมาะสมตรงตามความจริงตามครู
ส่วนศัพท์ค�ำว่า คารวะ แผลงเป็น เคารพ แปลว่า ตระหนั ก ครูต้องตระหนั กในเรื่องอะไร
๑. ตระหนัั กในความสำำ�คััญของการรู้้�ความจริิงทั้้ง� กายภาพและจิิตภาพ
๒. ตระหนั กในความดีที่ได้รู ้ ได้เห็นจากบุคคล สิ่งของ เหตุการณ์ ต่าง ๆ จนกระทั่งตรึงติดฝังใจ
๓. นำำ�ความดีีที่่�ติิดตรึึงใจนั้้� นมาประพฤติิตนให้้ดีี ตามที่่�ได้้รู้้�ได้้เห็็นนั้้� น เพื่่�อจะได้้ทำำ�ความดีี มีีสิ่่�งของดีี ประสบ
แต่เหตุการณ์ ดีตามนั้ น และพัฒนาให้ดียงิ่ ๆ ขึ้นไป
ความเคารพจึงเป็นคุณธรรมที่ส�ำคัญยิง่ ส�ำหรับศิษย์ทีต่ ้องมีต่อครู
ด้วยเหตุที่ครูเป็นผู้มีความหนั กแน่ น มีความตระหนั กติดใจในความดี ครูจึงมีความน่าเคารพน่ากราบไหว้
บูชาเพราะ
๑. ครูรอบรูค้ วามจริงที่ต้องรีบรู ้ และรูว้ ิธีประพฤติปฏิบัติตนให้ถูกต้องเหมาะสมตรงกับความจริงนั้ น
๑.๑ เพื่อไม่ให้เกิดความเดือดร้อนทั้งต่อตนเอง ศิษย์ และผู้อื่นตามมาภายหลัง
๑.๒ มแี ต่ความสุขความเจริญเท่านั้ นตามมา นี้เป็นความจริงทผี่ เู้ ป็นครูตอ้ งรบี รูแ้ ละต้องรบี ประพฤติถกู ต้อง
116 ตรงไปตรงมา

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

๒. ครููประพฤติิตนเหมาะสมถููกต้้องตรงตามความจริิงที่่�ต้้องรีีบรู้้� รีีบประพฤติิ เพื่่�อให้้ตนเป็็นต้้นแบบความดีีแก่่


ชาวโลก
๓. ครููเพีียรถ่่ายทอด อบรม สั่่�งสอนศิิษย์์ด้้วยความเมตตา กรุุณา และอดทน
๓.๑ เพื่อให้ศิษย์รชู ้ ัดความจริงที่ต้องรีบรู ้ รีบประพฤติปฏิบัติ
๓.๒ เพื่อให้ศิษย์ประพฤติปฏิบัติตนเหมาะสมถูกต้องตรงตามความจริงที่ต้องรบี รู ้ รบี ประพฤติให้เคย คุ้น
ชิน ติดแน่ นฝังใจ เป็นนิ สัยดีประจ�ำตนเช่นครูดี

เหตุผลที่การศึกษาต้องมีครูดี
กระบี่ที่ไร้ฝัก ระเบิดที่ไร้สลักนิรภัย อาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตของผู้ครอบครองและผู้เกี่ยวข้องได้ฉันใด
ความรูจ้ ริงในสิง่ ทัง้ หลายแม้มปี ระโยชน์มาก แต่แฝงภัยอันตรายแก่ผไู้ ม่มวี นิ ั ยควบคุมกาย วาจา และใจตนเองได้ฉันนั้น
วิินััยที่่�ใช้้ควบคุุมกายและวาจาไม่่ให้้ไปทำำ�ความเดืือดร้้อนตนเองและผู้้�อื่่�นสำำ�หรัับบุุคคลทั่่�วไปคืือ ศีีล ๕ ใน
วัันธรรมดาและศีีล ๘ ในวัันอุุโบสถหรืือวัันพระ สำำ�หรัับสามเณร คืือศีีล ๑๐ และพระภิิกษุุ คืือศีีล ๒๒๗ ส่่วนวิินััยสำำ�หรัับ
ควบคุุมจิิตใจไม่่ให้้ไปคิิดร้้าย ๆ ไม่่ให้้นำ�ำ ความรู้้�ไปใช้้ในทางร้้าย ๆ แต่่ส่่งเสริิมให้้นำ�ำ ไปใช้้ในทางดีีหรืือทำำ�ความดีี คืือ
สติิสััมปชััญญะ
117

www.kalyanamitra.org
ด้วยเหตุดงั กล่าว ผูม้ คี วามรูค้ วามเชี่ยวชาญศาสตร์ตา่ ง ๆ นับแต่โบราณกาล จึงระมัดระวังมาก นอกจากตนไม่ใช้
ความรู้้�ความสามารถในศาสตร์์นั้้� น ๆ ไปทำำ�ความเดืือดร้้อนแก่่ตนเองและใคร ๆ แล้้ว ยัังระมััดระวัังในเรื่่อ� งการถ่่ายทอด
ความรู้้�ให้้แก่่ศิิษย์์หรืือคนอื่่�นต่่อไปด้้วยว่่า ต้้องเป็็นผู้้�ได้้รับั การฝึึกให้้มีีสติิสััมปชััญญะมั่่�นคงมากพอเพื่่�อกำำ�กัับการใช้้
ความรู้้�ของท่่านก่่อน จึึงถ่่ายทอดประสิิทธิ์์�ประสาทความรู้้�ให้้แก่่ผู้้�นั้้�น โดยถืือว่่าเป็็นการปิิดนรก เปิิดสวรรค์์ เบิิกทางแห่่ง
ความสุุขความเจริิญให้้แก่่ศิิษย์์นั้้� นด้้วย
หัวใจส�ำคัญของการศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิง่ การศึกษาของชาติ จึงอยูท่ กี่ ารพัฒนาผูเ้ รยี น หรอื ประชาชนทุกคน
ในชาติให้สามารถประคับประคองใจ ควบคุมใจตนเอง และใจลูกหลานตัวน้ อย ๆ ของตน ไม่ให้ใจแวบหนี เที่ยวออกไป
นอกกายตั้งแต่เล็กด้วยวิธีการอันเหมาะสม โดยการฝึกให้
๑. หมั่่�นมองเข้้ามาในตน เพื่่�อความรอบรู้้�ความจริิงกายภาพ-จิิตภาพที่่�ต้้องรีีบรู้้�และรีีบประพฤติิให้้ครบถ้้วน
ชัดเจน ถูกต้องพอเหมาะแก่เพศและวัยนั้ น ๆ
๒. หมั่นพิจารณาการประพฤติปฏิบัติตน ว่าตนได้น�ำความจริงที่ต้องรบี รูแ้ ละที่ต้องรบี ประพฤติที่เรยี นจาก
โรงเรียน มาปฏิบัติให้เกิดเป็นนิ สัยดี ๆ ซึ่งเป็นการแก้ไขนิ สัยไม่ดีเดิม ๆ และเพิ่มพูนนิ สัยดี ๆ ให้เกิดขึ้นได้มากน้ อย
เพียงใด
๓. หมั่นเจริญสมาธิภาวนาให้ใจหยุดนิ่ งในตัวได้ครัง้ ละนาน ๆ เพื่อเห็นและรูต้ นเองว่า ใจผ่องใสและหยุดนิ่ ง
อยูใ่ นกลางกายได้ดเี พยี งใด จึงเป็นการหลอมละลายความรูว้ ชิ าการด้านต่าง ๆ จากในห้องเรียน มาใช้ให้เกิดประโยชน์
118 ต่อตนเองในชีวิตจริง ทัง้ ที่บ้านและที่โรงเรียน อย่างเหมาะสมแก่เพศและวัย

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

ความรูว้ ิชาการ ความประพฤติปฏิบัติทางกาย วาจา และสติสัมปชัญญะทีม่ ั่นคงส�ำหรับควบคุมใจ จึงได้รบั


การหล่อหลอมให้เกิดขึ้นในเยาวชนและประชาชนทุกคน เพื่อให้เป็นทั้งลูกที่ดีของพ่อแม่ ศิษย์ที่ดีของครู พ่อแม่
ผู้ปกครองทีป่ ระเสริฐของลูก และเป็นพลเมืองทีด่ ีส�ำหรับพัฒนาประเทศชาติสืบไป

วิินััยสำำ�หรัับควบคุุมจิิตใจ
ไม่่ให้้ไปคิิดร้้าย ๆ
ไม่่ให้้นำำ�ความรู้้ไ� ปใช้้ในทางร้้าย ๆ
แต่่ส่่งเสริิมให้้นำำ�ไปใช้้ในทางดีี
หรืือทำำ�ความดีี คืือ สติิสัมปชั
ั ัญญะ

119

www.kalyanamitra.org
หน้าที่ครูดี
ครููดีีจึงึ ต้้องเข้้ามามีีบทบาทหน้้าที่่ใ� นการจััดการศึึกษาให้้ถูกู ต้้องแท้้จริงิ ให้้สมกัับความเป็็นครูู ผู้้�ควรแก่่การเคารพ
กราบไหว้้บููชาของศิิษย์์ ไม่่ว่่าจะเป็็นครููดีีโดยธรรมชาติิ คืือ พ่่อแม่่ ผู้้�ปกครอง หรืือครููดีีโดยอาชีพี คืือ ครููที่่�โรงเรีียน
และสถานศึึกษา หรืือว่่าครููดีีโดยขนบธรรมเนีียมประเพณีี คืือ ครููที่วั่� ดั ซึ่่�งได้้แก่่พระภิิกษุุและนัั กบวชในศาสนาต่่างต้้อง
เข้้ามาทำำ�หน้้าที่่�ครููดีีให้้ถููกต้้องตรงตามความจริิง ดัังที่่�ท่่านผู้้�รู้้�จริิงได้้สรุุปและให้้หลัักการสำำ�หรัับถืือปฏิิบัติั ใิ ห้้เชี่่ย� วชาญ
๓ ประการ คืือ
๑. ละเว้นความประพฤติชว่ั ทัง้ ปวง คือ ไม่ท�ำความชัว่ ทุกชนิ ดทัง้ ทางกาย วาจา ใจ ให้เต็มความรูค้ วามสามารถ
๒. ประพฤติความดีทั้งทางกาย วาจา ใจ ให้เต็มความรูค้ วามสามารถ
๓. ท�ำใจของตนให้ผ่องใส คือ มุ่งก�ำจัดท�ำลายโรคประจ�ำใจ ๓ ประการ ได้แก่ โลภะ โทสะ โมหะ ให้หมดสิ้น
เด็ดขาดอย่างเต็มความรูค้ วามสามารถ ด้วยการภาวนาเก็บใจไว้ที่ศูนย์กลางกายเป็นนิ จให้ได้
การประพฤติิปฏิิบััติิตามหลัักการ ๓ ประการนี้้� แม้้ครููต้้องผจญกัับอุุปสรรคมากน้้ อยเพีียงใด แต่่เพื่่�อประโยชน์์
สุุขอย่่างถาวร คืือ การกำำ�ราบปราบปรามความจริิงน่่าตระหนกประจำำ�โลกที่่ถู� ูกมองข้้าม ๔ ประการ และเป็็นต้้นแบบแก่่
เหล่่าศิิษย์์ผู้้�น่า่ รัักของท่่าน ท่่านก็็ยอมกััดฟัันทน

120

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

ความเป็็นครููดีี จึึงมิิได้้อยู่่�ที่่�มีีตำำ�แหน่่ งวิิชาการ มิิใช่่อยู่่�ที่่�ตำำ�แหน่่ งบริิหาร มิิใช่่อยู่่�ที่่�ความมีีชื่่�อเสีียงของ


สถาบัันการศึึกษาที่่�ครููทำำ�งาน มิิใช่่อยู่่�ที่่เ� งิินเดืือนสููง ๆ มิิใช่่อยู่่�ที่่ค� วามร่ำำ�� รวย ตลอดจนมิิใช่่มีีความก้้าวหน้้าทัันสมััย
ทางเทคโนโลยี แต่ความเป็นครูดีกลับอยู่ท่ีความมีวิญญาณแห่งความเป็นครูต่อลูกศิษย์ของท่านและคนทั่วไป
กล่าวคือ
๑. ครูดยี อ่ มไม่ยอมให้ลกู ศิษย์ท�ำชัว่ ทุกชนิ ดทัง้ ต่อหน้าและลับหลัง จึงทัง้ พร�่ำสอน พร�่ำท�ำให้ดเู ป็นแบบอย่าง
ว่า ถูก-ผิด ด-ี ชัว่ บุญ-บาป ควร-ไม่ควร คุณ-โทษ ประโยชน์ -มิใช่ประโยชน์ เหมาะสม-ไม่เหมาะสม สะดวกสบาย-ล�ำบาก
โง่-ฉลาด เป็นอย่างไร เหมือนหรอื แตกต่างกันอย่างไร มผี ลต่อตนเอง-ส่วนรวมอย่างไร ทัง้ ปัจจบุ นั -อนาคต ศิษย์แต่ละวัย
แต่ละชัน้ เรียนมีความชัว่ อะไร ที่ต้องขนาบแล้วขนาบอีก ให้ห่างไกลเว้นขาด แม้ความชัว่ ในเรื่องเล็ก ๆ น้ อย ๆ
๒. ครููดีีย่่อมแนะนำำ�ส่่งเสริิมให้้ลููกศิิษย์์ตั้้�งอยู่่�ในความดีี ความดีีที่่ลู� ูกศิิษย์์แต่่ละเพศวััยชั้้�นเรีียน จะต้้องรีีบรู้้� รีีบ
ประพฤติิมีีอะไรบ้้าง ครููดีีต้อ้ งวิิเคราะห์์นำ�ำ มาจำำ�แนกสั่่ง� สอน ฝึึกฝนลููกศิิษย์์ประพฤติิปฏิิบัติั ใิ ห้้ถูกู ต้้อง ครบถ้้วนกระบวนการ
ของการทำำ�ความดีีนั้้� น ๆ พร้้อมทั้้�งอธิิบายขยายความให้้เหตุุให้้ผลตามหลัักความจริิงกายภาพและจิิตภาพ อีีกทั้้�งให้้
โอกาสลููกศิิษย์์ซัักถามได้้อย่่างเต็็มที่่� เพราะครููดีีย่่อมประพฤติิปฏิิบััติิตั้้�งตนอยู่่�ในความดีีเป็็นนิิ จ กระทั่่�งเป็็นนิิ สััยดีี
ประจำำ�ตัวั ครููดีีอยู่่�แล้้ว จึึงไม่่มีีอะไรจะต้้องปิิดบัังให้้ลููกศิิษย์์เคลืือบแคลงสงสััย แต่่พร้้อมเป็็นต้้นแบบที่่�ดีีให้้ดููอยู่่�แล้้ว
ทุุกเวลา
121

www.kalyanamitra.org
๓. ครูดีย่อมแนะน�ำส่งเสริมลูกศิษย์ให้หมั่นท�ำใจให้ผ่องใสเป็นนิ จ การฝึกฝนให้ลูกศิษย์มีสติมน่ั หมั่นเก็บใจ
ไว้กลางกายเป็นนิ จ เป็นกิจเป็นหน้าที่ส�ำคัญอย่างยิ่งของครูดี ที่จะต้องท�ำอย่างเคร่งครัดและเร่งด่วน เพราะใจที่
ประคองเก็บรักษาไว้มั่นเป็นนิ จตรงกลางกายเท่านั้ น จึงผ่องใสเต็มที่และมีก�ำลังใจสูงสุด เหมาะที่จะใช้หักห้ามใจให้
ละเว้นการกระท�ำชั่วทุกชนิ ด ไม่ว่าจะเป็นการท�ำชั่วทางกาย วาจา หรือใจ ในทางตรงข้ามก็มีก�ำลังใจสูงสุดเหมาะ
ในการท�ำความดีท้ังทางกาย วาจา และใจอีกด้วย ยิ่งกว่านั้ น ใจที่ผ่องใสอยู่กลางกายเป็นนิจนี้ ยังเป็นเหตุให้ใจสว่าง
สามารถเห็นและรูค้ วามจริงของสิง่ ต่าง ๆ ที่ผ่านมาทางประสาทสัมผัสทัง้ ๕ คือ ตา หู จมูก ลิน้ และกาย ได้ชัดเจน
ถูกต้องมากที่สุด อันเป็นที่มาของการจ�ำ การคิด การรูท้ ่วั อย่างถูกต้อง คือก่อให้เกิดปัญญาแก่ผู้นั้นได้ง่าย ทั้งปัญญา
ระดัับรู้้�จำำ� ระดัับรู้้�ขบคิิด และหากฝึึกใจให้้หยุุดนิ่่� งไว้้กลางกายกระทั่่�งชำำ�นาญ ย่่อมเกิิดการรู้้�เห็็นจากความสว่่างภายใน
เรีียกว่่า ญาณทััสสนะ ในระดัับใดระดัับหนึ่่� งได้้ด้้วย
ผลจากการทุ่มเทพัฒนาแก้ไขตนเองเพื่อเป็นต้นแบบท�ำความดีให้แก่ศิษย์ และการขนาบศิษย์แล้วขนาบอีก
ชนิ ดไม่ย้ังมือ ไม่ยอมเลิก สิ่งที่ครูจะได้รบั ทันทีโดยอัตโนมัติแก่ตนเอง ก็คือ เป็นผู้มีปัญญา มีความบริสุทธิ์ และมี
ความกรุณาตามท่านผู้รจู ้ ริงทั้งหลายในอดีตอย่างแน่ นอน
เพราะหาครูดีมีความรูค้ วามสามารถในการเก็บใจไว้กลางกายได้ยาก เยาวชนของแต่ละชาติจ�ำนวนมากจึง
ไม่ได้รบั การถ่ายทอดความรูท้ ี่ส�ำคัญ ส่งผลให้ขาดสติสัมปชัญญะปล่อยใจตนเองออกนอกกายเป็นนิ จ ใจของเขา
เหล่านั้ นจึงขุ่นมัวเป็นปกติ เห็นผิดเป็นถูก เห็นถูกเป็นผิดเป็นปกติ ใจหมดภูมิต้านทานความชั่วเป็นปกติ มีก�ำลัง
122 ในการท�ำความดีอ่อนล้าเป็นปกติ จึงมีปัญหาเยาวชนวัยรุน่ จมอยู่กับอบายมุขชนิ ดต่าง ๆ ทั้งติดยาเสพติดให้โทษ
ยกพวกท�ำร้ายกันเป็นเรื่องปกติทุกประเทศทั่วโลก ด้วยเหตุนี้จึงกล่าวว่า โลกก�ำลังโหยหาครูดี

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

วัั นนี้้� ห ากศิิ ษ ย์์ ค นใดมีีวาสนาดีี ได้้ พ บครููดีี ประเภททุ่่�มเทชีีวิิ ต จิิ ต ใจขนาบแล้้ ว ขนาบอีีกให้้ ลูู ก ศิิ ษ ย์์ เว้้ นชั่่� ว
พร่ำำ�� สอน ฝึึกฝน อบรม ให้้ลููกศิิษย์์เคย คุ้้�น ชิิน ต่่อการทำำ�ความดีี จ้ำำ�จี้้
� �จ้ำ�ำ� ไชให้้ลููกศิิษย์์หมั่่�นเก็็บใจไว้้ในกายให้้ใจผ่่องใส
เป็็นนิิจก่อ่ น แล้้วจึึงถ่่ายทอดวิิชาการทั้้ง� กายภาพและจิิตภาพให้้ แม้้เป็็นศิิษย์์ของท่่านเพีียงวัันเดีียวก็็พึงึ เคารพกราบไหว้้
บููชาท่่านจนตลอดชีีวิิตเถิิด เพราะเพีียงได้้เห็็นได้้ยินิ คำำ�สอนของท่่าน แม้้ไม่่มีีโอกาสซัักถามท่่านอย่่างจริิงจัังก็็สามารถ
ยึึดถืือท่่านเป็็นต้้นแบบความประพฤติิดีี เพื่่�อปิิดนรกเปิิดสวรรค์์ เบิิกทางแห่่งความสุุขความเจริิญให้้แก่่ตนได้้แล้้ว
พระคุณของท่านแม้เพียงเท่านี้ เราก็ไม่อาจจะหาสิง่ ใดมาตอบแทนบุญคุณท่านได้แล้ว ศิษย์ทงั้ หลายจึงพึงเคารพ
นอบน้ อมบูชาคุณท่านตลอดกาลนาน
ครูดีท่านจึงจัดการศึกษาให้แก่ศิษย์โดยยึดสติสัมปชัญญะเป็นแกนกลาง ดังภาพที่ ๑๕

123

www.kalyanamitra.org
124 ภาพที่ ๑๕ สติสัมปชัญญะรากฐานการศึกษาที่แท้จริง

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

จากภาพที่่� ๑๕ สติิสัมั ปชััญญะเป็็นคุุณธรรมกำำ�กับั ใจของครููดีีและศิิษย์์ให้้อยู่่�ภายในกาย ใจจึึงผ่่องใส มีีพลััง ที่่จ� ะ


ขบคิิดกระทั่่�งรู้้�ชััดความจริิงกายภาพ-จิิตภาพที่่�ต้้องรีีบรู้้� รีีบประพฤติิ เมื่่�อต้้องประพฤติิปฏิิบััติิก็็มีีสััมปชััญญะรู้้�ตััว ทำำ�
อย่่างเหมาะสมรอบคอบ ถููกต้้องตรงตามความจริิง ทำำ�ด้้วยใจที่่�เบิิกบาน แช่่มชื่่�น อารมณ์์ ดีีอารมณ์์ เดีียว การรู้้�ความ
จริิงก็็ยิ่่�งชััดเจน แจ่่มแจ้้ง เพราะได้้รู้้� ได้้ปฏิิบัติั ิ ได้้เห็็นด้้วยตนเอง ความมั่่�นใจในความจริิงกายภาพ-จิิตภาพที่่�ต้้องรีีบรู้้�
รีีบประพฤติิก็ยิ่่็ ง� มั่่น� คง เห็็นด้้วยใจตนเองที่่ผ่� อ่ งใสอีีกว่่า สติิสัมั ปชััญญะเป็็นคุุณธรรมเบื้้�องต้้นด่่านแรกที่่จ� ะนำำ�ไปสู่่�ความ
จริิงทางโลกและความจริิงเหนืือโลก
การศึกษาที่แท้จริงเกิดขึ้นเมื่อมีครูดีและศิษย์ดี เพราะต่างเป็นผู้รกั การฝึกฝนตนเองให้มีสติสัมปชัญญะนั่ นเอง
อีกทั้งอยู่ในสิ่งแวดล้อม ๕ ที่สะอาด เป็นระเบียบ คือ
๑. สิง่ แวดล้อมที่เป็นธรรมชาติ เวลา ฤดูกาล อากาศปกติ ไม่แปรปรวน
๒. สิ่งแวดล้อมที่เป็นสัตว์ ไม่มีสัตว์รา้ ย สัตว์มีพิษ สัตว์ตัวเล็กตัวน้ อยรบกวน
๓. สิง่ แวดล้อมที่เป็นคน คือมีครูดี มีเพื่อนนั กเรียนดี
๔. สิ่่�งแวดล้้อมที่่�เป็็นห้้องเรีียน สะอาด เป็็นระเบีียบ แสงสว่่างพอ อากาศถ่่ายเทสะดวก
อุุปกรณ์์ การเรีียนการสอนครบ
๕. สิ่งแวดล้อมที่เป็นแบบแผนความประพฤติ มีบทฝึกนิ สัย มีล�ำดับการฝึกสติสัมปชัญญะ
125

www.kalyanamitra.org
บทฝึกนิ สัยตนเองให้มีสติสัมปชัญญะ

ความหมายนิ สัย
นิ สัย คือ ความประพฤติที่เคยชินจนติด หมายความว่า เป็นการกระท�ำที่ท�ำบ่อย ๆ ซ�้ำ ๆ จนเคย คุ้น ชิน แล้ว
ติด ฝังใจว่าจะต้องท�ำเช่นนั้ นอีก
เคย เป็นการได้เห็น ได้ฟัง ได้ดม ได้ลิ้มรส ได้จับต้องสัมผัส ได้ท�ำ ได้ลอง เป็นครัง้ แรก เรียกว่า เคย การท�ำ
อะไรครัง้ แรก คือ สร้างความเคย
คุ้น เป็นการสร้างความเคยหลาย ๆ ครัง้ เช่น เคยตื่นนอน ๐๔.๓๐ น. แม้วันต่อ ๆ มาก็ตื่นเวลานี้ จึงคุ้นกับ
การตื่นนอน ๐๔.๓๐ น.
ชิน เป็นความคุ้นที่ท�ำหลาย ๆ ครัง้ กระทั่งกลายเป็นความชิน
ติด เป็นความชินที่ท�ำเป็นประจ�ำจนติดแน่ นฝังเข้าไปในใจว่าจะต้องท�ำเช่นนั้ นอีก
การกระท�ำที่ท�ำบ่อย ๆ ซ�้ำ ๆ แม้เคย คุน้ ชิน หากยังไม่ตดิ ฝังใจก็ยงั ไม่เป็นนิ สยั ต่อเมอื่ ติดแน่นฝังใจว่าจะต้องท�ำ
เช่นนั้ นอีกให้ได้ หากไม่ได้ท�ำอีกจะรูส้ ึกหงุดหงิด เช่น ผู้มีนิสัยสวดมนต์ท�ำวัตรเช้าก็จะต้องท�ำทุกเช้า ไม่ต้องมีใคร
มาเตือน หากวันใดไม่ได้ท�ำจะรูส้ ึกหงุดหงิด ไม่สบายใจ เหมือนชีวิตขาดอะไรบางอย่าง แต่ละวันจึงต้องหาโอกาส
126 ท�ำให้ได้ นิ สัยต่าง ๆ ของเราก็เกิดจากการประพฤติของตัวเรามาเป็นล�ำดับ ดังภาพที่ ๑๖

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

ภาพที่ ๑๖ ก�ำเนิ ดนิ สัย 127

www.kalyanamitra.org
ความหมายบทฝึกนิ สัย
บทฝึึกนิิ สััย คืือ ข้้อกำำ�หนดให้้ปฏิิบััติิกิิจนั้้� นเป็็นประจำำ� จะละเว้้นมิิได้้ เพราะถููกต้้องตามคำำ�สอนของผู้้�รู้้�จริิง
จนผู้้�ปฏิิบััติิด้้วยตนเองเกิิดความเคย คุ้้�น ชิิน ติิด เป็็นนิิ สััยประจำำ�ตน

ส่วนประกอบบทฝึกนิ สัย
บทฝึกนิ สัยมีส่วนประกอบส�ำคัญ ดังนี้
๑. วััตถุุประสงค์์ เป็็นการระบุุว่่าจะต้้องประพฤติิปฏิิบััติิอะไรเพื่่�อให้้เกิิดคุุณธรรม นิิ สััย หรืือรู้้�ชััดความจริิงอะไร
การเขีียนวััตถุุประสงค์์จะเขีียนที่่�ชื่่�อบทฝึึกนิิ สััยก็็ได้้หรืือเขีียนแยกเป็็นหััวข้้อก็็ได้้
๒. ความจริงกายภาพที่ต้องรีบรู ้ เป็นการสรุปสาระส�ำคัญความจริงกายภาพที่ต้องรบี รู ้ เขียนในรูปของสูตร
สมการ ข้อความส�ำคัญ เพื่อผู้เรียนสามารถจับสาระส�ำคัญได้ถูกต้อง จดจ�ำได้ง่าย คิดใคร่ครวญความเป็นเหตุเป็นผล
ก็จะรูเ้ ข้าใจว่าท�ำไมจึงต้องเรียน และจะน�ำไปใช้ในชีวิตจริงได้อย่างไร
๓. ความจริงจิตภาพที่ต้องรีบรู ้ เป็นการสรุปสาระส�ำคัญความจริงจิตภาพที่ต้องรบี รู ้ เขียนในรูปของค�ำ วลี
ประโยค ข้อความส�ำคัญที่จัดเรียงล�ำดับตามความลุ่มลึก เพื่อผู้เรยี นสามารถสังเกตเห็น จดจ�ำ คิด รูไ้ ด้เข้าใจง่าย
มีความเชื่อมโยงกับความจริงกายภาพที่ต้องรบี รู ้ ความจริงที่ต้องรบี ประพฤติอย่างไร จึงรูช้ ัดเหตุผลว่าท�ำไมจึงต้อง
128 ประพฤติปฏิบัติ

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

๔. ความจริงทีต่ ้องรีบประพฤติปฏิบัติ ประกอบด้วย ๔ ส่วนส�ำคัญ คือ


๔.๑ มีสติเก็บใจไว้ในกาย
๔.๒ มีสัมปชัญญะ สังเกต เห็น จ�ำ คิด รู ้ เกี่ยวกับตนเอง
๔.๓ มีสัมปชัญญะ สังเกต เห็น จ�ำ คิด รู ้ เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ๕
๔.๔ ประพฤติปฏิบัติอย่างมีสติสัมปชัญญะ
๕. ผลการประพฤติิปฏิิบััติิ ระบุุความจริิงที่่�เกิิดขึ้้�นจากการประพฤติิปฏิิบััติิเมื่่�อทำำ�ถููกต้้องเป็็นประจำำ�แล้้วว่่า
เป็็นอย่่างไร หากผู้้�เรีียนยัังทำำ�ไม่่ได้้ ต้้องติิดตามช่่ ว ยชี้้� แนะแก้้ไขข้้อบกพร่่องค่่อย ๆ ให้้กำำ�ลัังใจ และพััฒนาจนกว่่าจะ
ทำำ�ได้้เองเป็็นนิิ สััยติิดตััวไป

การออกแบบบทฝึกนิ สัย
คุณครู หรอื คุณพ่อคุณแม่ผู้ปกครอง หรือครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน สามารถออกแบบบทฝึกนิ สัยได้
หลากหลายรูปแบบตามความถนั ดของผู้ออกแบบและลักษณะผู้เรียน ดังนี้
๑. มีีหััวข้้อครบตามส่่วนประกอบบทฝึึก ดัังตััวอย่่างบทฝึึกนิิ สััยตนเองผ่่านการเจริิญสติิเก็็บใจไว้้กลางกาย
บทฝึึกนิิ สััยตนเองให้้มีีสติิสััมปชััญญะผ่่านการเดิิน บทฝึึกนิิ สััยตนเองให้้มีีสติิสััมปชััญญะผ่่านการทำำ�ความสะอาดโต๊๊ะ
และเก้้าอี้้�นัักเรีียน 129

www.kalyanamitra.org
๒. ยึดความจริงที่ต้องรีบประพฤติปฏิบัติเป็นหลัก แล้วระบุความจริงกายภาพ-จิตภาพที่ต้องรบี รู ้ เพื่อแสดง
ความเป็นเหตุเป็นผล ในแต่ละขั้นตอนที่ต้องประพฤติปฏิบัติ ดังตัวอย่างบทฝึกนิ สัยตนเองให้มีสติสัมปชัญญะผ่าน
กิจวัตรประจ�ำวันจากการใช้ห้องสุขาด้านท้าย

การใช้บทฝึกนิ สัย
บทฝึกนิ สัยสามารถใช้ได้ท้ังในและนอกห้องเรียน ใช้ได้ในกิจวัตรประจ�ำวันทั้งที่บ้าน โรงเรยี น สถานที่ต่าง ๆ
การน�ำไปใช้ พ่อแม่ผู้ปกครอง คุณครู ครูพระ ควรฝึกผู้เรียนให้ประพฤติปฏิบัติภายใต้ค�ำแนะน�ำ ให้ก�ำลังใจ พูดคุย
ปรึกษากันอย่างสร้างสรรค์ หากจะใช้วิธีลองผิดลองถูก ต้องให้เหตุผลว่าถูก-ผิดเพราะอะไร ควรมีครูก�ำกับเพื่อ
ป้องกันศิษย์เข้าใจผิด คิดผิด พูดผิด และท�ำผิด ๆ

การประเมินบทฝึกนิ สัย
บทฝึกนิ สัยที่ดีต้องท�ำให้ผู้เรียน ๑) รูช้ ัดความจริงกายภาพ-จิตภาพที่ต้องรีบรู ้ รีบประพฤติ ๒) ประพฤติปฏิบัติ
ถูกต้องตรงความจริงนั้ นให้เป็นนิ สัย พ่อแม่ ครู ครูพระ จึงควรให้ผู้เรยี น คือ ลูกหลานเรา ศิษย์ได้ประพฤติปฏิบัติ
ให้ถูกต้องเป็นประจ�ำ ภายใต้การเอาใจใส่ แนะน�ำ โดยมีพ่อแม่ ครู ครูพระ ประพฤติปฏิบัติเป็นนิ สัยดีให้เห็นเป็น
แบบอย่าง
130

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

131

www.kalyanamitra.org
132

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

133

www.kalyanamitra.org
134

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

135

www.kalyanamitra.org
136

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

137

www.kalyanamitra.org
138

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

139

www.kalyanamitra.org
140

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

141

www.kalyanamitra.org
142

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

143

www.kalyanamitra.org
144

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทที่่� ๖ สติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษา

145

www.kalyanamitra.org
146

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
บทสรุปส่งท้าย

ที่่�ผ่่านมาเราอยู่่�ในยุุคแห่่งความศรััทธา คืือ ผู้้�ใหญ่่ บอกให้้จำำ� นำำ�ไปท่่อง พููดให้้คล่่อง ตอบให้้ถููก ไม่่ต้้องสงสััย


ว่่าทำำ�ไม ไม่่ต้้องถามหาเหตุุผล ไม่่ชัักช้้าแค่่ให้้รีีบทำำ�ตามที่่�สั่่�ง ทุุกคนต่่างขมีีขมััน ทำำ�ตามด้้วยความเชื่่�อมั่่�นฝัังใจว่่า
คำำ�สั่่�งคำำ�สอนของผู้้�ใหญ่่เป็็นสิ่่�งถููกต้้อง ใครทำำ�ตามย่่อมได้้ดีี มีีแต่่ความสุุขความเจริิญ เราได้้รับั การปลููกฝัังให้้เคารพ
เชื่่อ� ฟััง มีีศรััทธาต่่อผู้้�ใหญ่่ ซึ่่�งประกอบด้้วยพ่่อแม่่ ผู้้�ปกครอง ครููอาจารย์์ พระภิิกษุุ ผู้้�หลัักผู้้�ใหญ่่ในสัังคม ในบ้้าน ในเมืือง
อย่่างไม่่มีีข้้อแม้้เงื่่�อนไขใด ๆ เช่่นนี้้� มานานแสนนาน
ปัจจุบันเมื่อความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และระบบสารสนเทศเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทุกคน
สามารถเข้าถึงความรูว้ ิชาการและข้อมูลต่าง ๆ ได้ง่าย ไม่ยุ่งยากและไม่ต้องลงทุนมากเหมือนสมัยก่อน เพราะความรู ้
ไม่ได้มีแต่ที่ผู้ใหญ่ ไม่ได้มีแต่ในห้องเรียน แต่อยู่ในเครื่องมือสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ใคร ๆ สามารถพกพาติดตัวไปได้สะดวก
ทุกที่ ซึ่งเราเรียกว่า โทรศัพท์มือถือ
คนรุน่ ใหม่ทเี่ ติบโตมาในสภาวการณ์เช่นนี้ ย่อมต้องการเหตุผลมากกว่าค�ำสัง่ ซึ่งผูใ้ หญ่สว่ นมากก็มกั ตอบเหตุผล
ไม่ได้ เพราะตนเองก็เติบโตและเจริญก้าวหน้ามาได้จากการท�ำตามค�ำสัง่ ของผูใ้ หญ่ทมี่ อี �ำนาจ หาได้รงุ ่ เรอื งจากอ�ำนาจ
การคิดรูข้ องตนเองไม่ ช่องว่างระหว่างวัย ช่องว่างทางความคิดก็เกิดขึ้นทันที ซึ่งน�ำไปสู่ความร้าวฉานในสังคม แล้ว
เราจะปล่อยให้วัฏจักรนี้ หมุนวนซ�้ำรอยเดิมต่อไปอีกหรือ
147

www.kalyanamitra.org
ผูร้ จู ้ ริงทัง้ ทมี่ มี าในอดตี ปัจจบุ นั และจะมใี นอนาคต ท่านได้ให้หลักคิดไว้วา่ อย่ามัวมาเสียเวลาหาเหตุผลในเรอื่ ง
ต่าง ๆ เยอะแยะมากมายเลย แต่ให้รบี มาหาความจริงทีส่ ามารถเอาชนะความจริงน่าตระหนกประจ�ำโลก ๔ กันก่อน
เพราะนั่ นคือที่มาของเหตุผลแท้จริงทัง้ ปวง การศึกษาที่ถูกต้องแท้จริงจึงต้องเกิด เพื่อให้ผเู้ รียนได้เรียนรู ้ ฝึกหัด ฝึกฝน
พัฒนาตนเองให้มองตน พิจารณาตน เห็นตนเองให้ชัดว่า บัดนี้ตนเองรอบรูช้ ัดความจริงที่ต้องรบี รู ้ รบี ประพฤติได้
ถูกต้อง ครบถ้วนมากน้ อยเพียงใด แล้วรีบน�ำความจริงนั้ นมาประพฤติปฏิบัติแก้ไขนิ สัยตน ให้ตนเป็นผู้มีนิสัยเว้นขาด
จากความชัว่ ทัง้ ปวง ฝึกให้มีนิสัยรักท�ำแต่ความดีไม่ท�ำความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่น มีแต่สร้างประโยชน์ สุข และ
สุดท้ายให้ตนมีนิสัยรักท�ำใจให้ผ่องใสเป็นนิ จ มีสติสัมปชัญญะในทุกภารกิจการงาน เพื่อควบคุมเหนี่ ยวรัง้ ใจไม่ให้แวบ
ออกนอกกาย ไม่คดิ ร้าย ไม่พดู ร้าย และไม่ท�ำร้ายตนเองและใคร ๆ นั่นคอื เราก�ำลังเข้าสูย่ คุ พุทธิจริต คอื ยึดความจริง
และความดีเป็นทีต่ ั้ง
ท่่านผู้้�รู้้�จริิงคืือใคร ท่่านก็็คือื พระอรหัันตสััมมาสััมพุุทธเจ้้า ผู้้�เป็็นที่่�เคารพ กราบไหว้้บูชู าของทั้้�งมนุุ ษย์์ เทวดา
และพรหม เหตุุที่ไ�่ ม่่ประสงค์์ระบุุพระนามท่่านตั้้ง� แต่่ต้น้ เพื่่อ� ให้้คนยุุคปััจจุบัุ นั ซึ่่�งไม่่ค่อ่ ยได้้ร่ำ�ำ� เรีียนพระพุุทธศาสนา ไม่่ค่อ่ ย
ได้้เข้้าวััด ฟัังธรรม สวดมนต์์ เจริิญสมาธิิ แผ่่เมตตา เมื่่�ออ่่านหนัั งสืือสติิสััมปชััญญะรากฐานการศึึกษาของมนุุษยชาติิ
จะได้้คิดิ ใคร่่ครวญไตร่่ตรองความเป็็นเหตุุเป็็นผลอย่่างอิิสระเต็็มที่่� ว่่าจริิงดัังที่่ผู้้�รู้้�จริ � งิ ทั้้ง� หลาย ท่่านได้้ค้น้ พบ และวาง
รากฐานการประพฤติิปฏิิบัติั ไิ ว้้แล้้วหรืือไม่่ เพราะผู้้�รู้้�จริิงก็็เคยบอกไว้้เองว่่า จงอย่่าเชื่่อ� เพราะผู้้�นั้้� นผู้้�นี้้� บอก แต่่เชื่่อ� เพราะ
ได้้ขบคิิด ได้้คิิดตรองแล้้วตรองอีีกจนรู้้� และได้้ฝึึกหััด ฝึึกฝน เพีียรประพฤติิปฏิิบัติั ิด้้วยตนเองจนรู้้�ความจริิงด้้วยตััวเอง
แล้้วเหตุุผลถููกต้้องตรงตามความเป็็นจริิงอื่่น� ๆ ก็็จะพรั่่ง� พรููให้้รู้้�ว่า่ ทำำ�ไม ต้้องคิิด ต้้องพููด ต้้องทำำ�อย่่างนี้้� อย่่างนั้้�น ความ
148 ไม่่รู้้�ว่า่ เรามีีใจหรืือไม่่ ความไม่่เชื่่อ� ว่่าใจมีีจริิงไหม สมองเท่่านั้้�นที่่เ� ป็็นใหญ่่คอยควบคุุมสั่่ง� กายจริิงหรืือไม่่ ความจริิงจิิตภาพ

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
ที่่�ต้้องรีีบรู้้� รีีบประพฤติิ อัันดัับแรกก็็คืือ การฝึึกสติิเก็็บใจไว้้ในกายเป็็นนิิ จ ความจริิงดัังกล่่าวเหล่่านี้้� จริงิ หรืือไม่่
ความเคลืือบแคลงสงสััยเหล่่านี้้� จะได้้หมดไปจากใจ คำำ�ถามที่่ว่� า่ ทำำ�ไม ทำำ�ไม ๆ จะได้้มอดมลายหายสููญไป แล้้วชาวโลก
ทุุกคนจะได้้เอาเวลาชีีวิิตอัันแสนสั้้�นของตนมาฝึึกฝน อบรมใจให้้มีีสติิสััมปชััญญะ มีีใจตั้้�งมั่่�นอยู่่�กลางกายกระทั่่�งรู้้�เห็็น
ความจริิงตามอย่่างท่่านผู้้�รู้้�จริิงทั้้�งหลายที่่�มีีมาแล้้วในอดีีต ปััจจุุบััน และที่่�จะมีีมาอีีกในอนาคต

149

www.kalyanamitra.org
บรรณานุ กรม
มหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย. ๒๕๓๙. พระไตรปิิฎกภาษาไทย ฉบัับมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย. กรุุงเทพมหานคร:
โรงพิิมพ์์มหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย.
มหามกุุฏราชวิิทยาลััย. ๒๕๔๓. พระไตรปิิฎกภาษาไทยและอรรถกถาแปล. กรุุงเทพมหานคร: โรงพิิมพ์์มหามกุุฏ
ราชวิทยาลัย.
พระครููโกศลธรรมสาคร (กุุน เมตฺฺติิโก), และปััญญา ใช้้บางยาง. ๒๕๔๕. สามเณรที่่�สมบููรณ์์ . นครปฐม: สำำ�นัักพิิมพ์์
รติธรรม.
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตโฺ ต). ๒๕๓๑. พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพ์ครัง้ ที่ ๔. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมกิิตติิวงศ์์ (ทองดีี สุุรเตโช ป.ธ. ๙ ราชบััณฑิิต) และคณะ. ๒๕๕๑. พจนานุุ กรมเพื่่�อการศึึกษาพุุทธศาสน์์
“คำำ�วััด”. กรุุงเทพมหานคร: ธรรมสภาและสถาบัันบัันลืือธรรม.
. ๒๕๔๖. คลังธรรม เล่ม ๑. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง.
พระธรรมเจดีีย์์ (ประกอบ ธมฺฺมเสฏฺฺโฐ ป.ธ. ๙). ๒๕๕๒. ธรรมวิิภาคบรรยาย สำำ�หรัับนัั กธรรมและธรรมศึึกษา ชั้้�น
ตรีี-โท-เอก ฉบัับกรมการศาสนา. กรุุงเทพมหานคร: หจก.ประยููรสาส์์นไทย การพิิมพ์์.
พระธรรมวราจารย์ (แบน กิตฺติสาโร). ๒๕๕๗. ธรรมาวลีหมวดธรรมในพระไตรปิฎก เล่ม ๑. พิมพ์ครัง้ ที่ ๓.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
150
นายแพทย์เกิด ธนชาต. ๒๕๓๐. คู่มือคลังปริยัติธรรม. กรุงเทพมหานคร: มูลนิ ธิอภิธรรมมหาธาตุวิทยาลัย.

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตโฺ ต). ๒๕๒๘. พจนานุ กรมเพือ่ การศึกษาพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. มหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ จ�ำกัด.
. ๒๕๒๘. พจนานุ กรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
กรุงเทพมหานคร: บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ จ�ำกัด.
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีีสยาดอ). ๒๕๕๔. ธััมมจัักกััปวััตนสููตร. พระคัันธสาราภิิวงศ์์ แปลและเรีียบเรีียง.
กรุุงเทพมหานคร: หจก.ประยููรสาส์์นไทย การพิิมพ์์.
. ๒๕๔๙. มหาสติปัฏฐานสูตร. พระคันธสาราภิวงศ์ แปลและเรียบเรียง. กรุงเทพมหานคร: หจก.ไทยรายวัน
การพิมพ์.
พ.อ. ปิ่น มุทุกันต์. ๒๕๐๔. ประมวลศัพท์ศาสนา. กรุงเทพมหานคร: ส�ำนั กพิมพ์คลังวิทยา.
. ๒๕๓๙. แนวการสอนธรรมะตามหลักสูตรนั กธรรมตรี. พิมพ์ครัง้ ที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏ
ราชวิทยาลัย.
สุทธิพงศ์ ตันตยาพิศาลสุทธิ์. ๒๕๓๐. ประมวลธรรมในพระไตรปิฎก. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา.
แสง จันทร์งาม. ๒๕๕๐. นั กโทษประหาร. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ผลึกไท จ�ำกัด.
. ๒๕๔๔. ประทีปธรรม. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สร้างสรรค์บุ๊คส์ จ�ำกัด.
. ๒๕๔๐. วิธีสอนของพระพุทธเจ้า. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
. ๒๕๓๕. พุทธศาสนวิทยา. พิมพ์ครัง้ ที่ ๓. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สร้างสรรค์บุ๊คส์ จ�ำกัด.
วศิน อินทสระ. ๒๕๕๐. ความดีและอานุ ภาพของความดี. อุดรธานี : บริษัท ศรีไทยใหม่ จ�ำกัด.
151

www.kalyanamitra.org
วิิธีีฝึกึ สมาธิิเบื้้�องต้้น

สมาธิิ คืือ ความสงบ สบาย และความรู้้�สึึกเป็็นสุุขอย่่างยิ่่ง� ที่่�มนุุ ษย์์สามารถสร้้างขึ้้�นได้้ด้้วยตนเอง เป็็นสิ่่�งที่่�


พระพุุทธศาสนากำำ�หนดเอาไว้้เป็็นข้้อควรปฏิิบัติั ิ เพื่่อ� การดำำ�รงชีีวิิตทุุกวัันอย่่างเป็็นสุุข ไม่่ประมาท เต็็มไปด้้วยสติิสัมั ปชััญญะ
และปััญญา อัันเป็็นเรื่่อ� งไม่่เหลืือวิิสััย ทุุกคนสามารถปฏิิบัติั ิได้้ง่่าย ๆ ดัังวิิธีีปฏิิบััติิที่่� พระเดชพระคุุณพระมงคลเทพมุุนีี
(สด จนฺฺ ทสโร) หลวงปู่่�วััดปากน้ำำ�� ภาษีีเจริิญ ได้้เมตตาสั่่�งสอนไว้้ ดัังนี้้�
๑. กราบบููชาพระรััตนตรััย เป็็นการเตรีียมตััวเตรีียมใจให้้นุ่่� มนวลไว้้เป็็นเบื้้�องต้้น แล้้วสมาทานศีีล ๕ หรืือศีีล ๘
เพื่่�อย้ำำ�� ความมั่่�นคงในคุุณธรรมของตนเอง
๒. คุุกเข่่าหรืือนั่่� งพัับเพีียบสบาย ๆ ระลึึกถึึงความดีี ที่่�ได้้กระทำำ�แล้้วในวัันนี้้� ในอดีีต และที่่�ตั้้�งใจจะทำำ�ต่่อไปใน
อนาคต จนราวกัับว่่าร่่างกายทั้้ง� หมด ประกอบขึ้้�นด้้วยธาตุุแห่่งคุุณงามความดีีล้้วน ๆ
๓. นั่่� งขััดสมาธิิ ขาขวาทัับขาซ้้าย มืือขวาทัับมืือซ้้าย นิ้้�วชี้้�ของมืือข้้างขวาจรดนิ้้�วหััวแม่่มืือข้้างซ้้าย นั่่� งให้้อยู่่�ใน
ท่่าที่่�พอดีี ไม่่ฝืืนร่่างกายมากจนเกิินไป ไม่่ถึึงกัับเกร็็ง แต่่อย่่าให้้หลัังโค้้งงอ หลัับตาพอสบายคล้้ายกัับกำำ�ลัังพัักผ่่อน
ไม่่บีีบกล้้ามเนื้้� อตาหรืือขมวดคิ้้�ว แล้้วตั้้�งใจมั่่�น วางอารมณ์์ สบาย สร้้างความรู้้�สึึกให้้พร้้อมทั้้�งกายและใจ ว่่ากำำ�ลัังจะ
เข้้าไปสู่่�ภาวะแห่่งความสงบสบายอย่่างยิ่่�ง
152

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
๔. นึึ กกำำ�หนดนิิ มิิตเป็็น “ดวงแก้้วกลมใส”
ขนาดเท่่าแก้้วตาดำำ� ใสบริิสุุทธิ์์� ปราศจากรอย
ตำำ�หนิิ ใด ๆ ขาวใส เย็็นตาเย็็นใจ ดัังประกายของ
ดวงดาว ดวงแก้้วกลมใสนี้้� เรีียกว่่า บริิกรรมนิิ มิิต
นึึ กสบาย ๆ นึึ กเหมืือนดวงแก้้วนั้้� นมานิ่่� งสนิิ ทอยู่่�
ณ ศููนย์์กลางกายฐานที่่� ๗ นึึ กไปภาวนาไปอย่่าง
นุ่่�มนวลเป็็นพุุทธานุุ สติิว่่า “สััมมา อะระหััง” หรืือ
ค่่อย ๆ น้้ อมนึึ กถึึงดวงแก้้วกลมใสให้้ค่่อย ๆ เคลื่่อ� น
เข้้าสู่่�ศููนย์์กลางกายตามแนวฐาน โดยเริ่่ม� ต้้นตั้้�งแต่่
ฐานที่่� ๑ เป็็นต้้นไป น้้อมนึึกอย่่างสบาย ๆ ใจเย็็น ๆ
ไปพร้้อม ๆ กัับคำำ�ภาวนา
อนึ่่� ง เมื่่�อนิิ มิิตดวงแก้้วกลมใสปรากฏแล้้ว
ณ กลางกาย ให้้วางอารมณ์์ สบาย ๆ กัับนิิ มิิตนั้้� น
จนเหมืือนกัับว่่าดวงนิิมิติ เป็็นส่่วนหนึ่่� งของอารมณ์์
หากดวงนิิ มิิตนั้้� นอัันตรธานหายไป ก็็ไม่่ต้้องนึึ ก
เสีียดาย ให้้วางอารมณ์์ สบาย แล้้วนึึ กนิิ มิิตนั้้� นขึ้้�น
มาใหม่่แทนดวงเก่่า หรืือเมื่่อ� นิิ มิติ นั้้� นไปปรากฏที่่� อื่�่ น 153

www.kalyanamitra.org
ที่่�มิิใช่่ศููนย์์กลางกาย ให้้ค่อ่ ย ๆ น้้ อ มนิิ มิิ ต เข้้ า มาอย่่ า งค่่ อ ยเป็็ น ค่่ อ ยไป ไม่่มีีการบัังคัับ และเมื่่�อนิิ มิิตมาหยุุดสนิิ ท
ณ ศููนย์์กลางกาย ให้้วางสติิลงไปยัังจุุดศููนย์์กลางของดวงนิิ มิิต ด้้วยความรู้้�สึึกคล้้ายมีีดวงดาวดวงเล็็ก ๆ อีีกดวงหนึ่่� ง
ซ้้อนอยู่่�ตรงกลางดวงนิิ มิิตดวงเดิิม แล้้วสนใจเอาใจใส่่แต่่ดวงเล็็ก ๆ ตรงกลางนั้้� นไปเรื่่อ� ย ๆ ใจจะปรัับจนหยุุดได้้ถูกู ส่่วน
เกิิดการตกศููนย์์และเกิิดดวงสว่่างขึ้้�นมาแทนที่่� ดวงนี้้�เรีียกว่่า “ดวงธรรม” หรืือ “ดวงปฐมมรรค” อัันเป็็นประตููเบื้้�องต้้น
ที่่�จะเปิิดไปสู่่�หนทางแห่่งมรรคผลนิิ พพาน
การระลึึกนึึกถึึงนิิ มิิตสามารถทำำ�ได้้ในทุุกแห่่งทุุกที่่� ทุุกอิิริยิ าบถ ไม่่ว่า่ จะนั่่�ง นอน ยืืน เดิิน หรืือขณะทำำ�ภารกิิจใด ๆ
ข้้อแนะนำำ� คืือ ต้้องทำำ�ให้้สม่ำำ��เสมอเป็็นประจำำ� ทำำ�เรื่่อ� ย ๆ ทำำ�อย่่างสบาย ๆ ไม่่เร่่ง ไม่่บัังคัับ ทำำ�ได้้แค่่ไหน
ให้้พอใจแค่่นั้้� น ซึ่่�งจะเป็็นการป้้องกัันมิิให้้เกิิดความอยากจนเกิินไป จนถึึงกัับทำำ�ให้้ใจต้้องสููญเสีียความเป็็นกลาง และ
เมื่่อ� การฝึึกสมาธิิบังั เกิิดผลจนได้้ “ดวงปฐมมรรค” ที่่�ใสเกิินใส สวยเกิินสวย ติิดสนิิ ทมั่่�นคงอยู่่�ที่่�ศููนย์์กลางกายแล้้ว
ให้้หมั่่�นตรึึกระลึึกนึึ กถึึงอยู่่�เสมอ
อย่่างนี้้� แล้้ว ผลแห่่ งสมาธิิ จะทำำ �ให้้ ชีีวิิ ตดำำ�รงอยู่่�บนเส้้ นทางแห่่งความสุุข ความสำำ�เร็็จ และความไม่่ประมาท
ได้้ตลอดไป ทั้้ง� ยัังจะทำำ�ให้้สมาธิิละเอีียดลุ่่�มลึึกไปตามลำำ�ดัับอีีกด้้วย

154

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
ข้้อควรระวััง
๑. อย่่าใช้้กำำ�ลััง คืือ ไม่่ใช้้กำำ�ลัังใด ๆ ทั้้�งสิ้้�น เช่่น ไม่่บีีบกล้้ามเนื้้� อตาเพื่่�อจะให้้เห็็นนิิ มิิตเร็็ว ๆ ไม่่เกร็็งแขน
ไม่่เกร็็งกล้้ามเนื้้� อหน้้าท้้อง ไม่่เกร็็งลำำ�ตัวั ฯลฯ เพราะการใช้้กำำ�ลังั ตรงส่่วนไหนของร่่างกายก็็ตาม จะทำำ�ให้้จิติ เคลื่่อ� นจาก
ศููนย์์กลางกายไปสู่่�จุุดนั้้� น
๒. อย่่าอยากเห็็น คืือ ทำำ�ให้้ใจเป็็นกลาง ประคองสติิมิใิ ห้้เผลอจากบริิกรรมภาวนาและบริิกรรมนิิ มิติ ส่่วนจะเห็็น
นิิ มิิตเมื่่�อใดนั้้� น อย่่ากัังวลถ้้าถึึงเวลาแล้้วย่่อมเห็็นเอง การบัังเกิิดของดวงนิิ มิิตนั้้� น อุุปมาเสมืือนการขึ้้�นและตกของ
ดวงอาทิิตย์์ เราไม่่อาจเร่่งเวลาได้้
๓. อย่่ากัังวลถึึงการกำำ�หนดลมหายใจเข้้าออก เพราะการฝึึกสมาธิิเพื่่�อให้้เข้้าถึึงพระธรรมกายภายใน อาศััย
การนึึ กถึึง “อาโลกกสิิณ” คืือ กสิิณแสงสว่่างเป็็นบาทเบื้้�องต้้น เมื่่�อฝึึกสมาธิิจนเข้้าถึึงดวงปฐมมรรคแล้้ว ฝึึกสมาธิิ
ต่่อไป ผ่่านกายมนุุ ษย์์ละเอีียด กายทิิพย์์ กายรููปพรหม กายอรููปพรหม จนกระทั่่�งเข้้าถึึงพระธรรมกายแล้้ว จึึงเจริิญ
วิิปัสั สนาในภายหลััง ดัังนั้้� น จึึงไม่่มีีความจำำ�เป็็นต้้องกำำ�หนดลมหายใจเข้้าออกแต่่ประการใด
๔. เมื่่�อเลิิกจากนั่่� งสมาธิิแล้้ว ให้้ตั้้�งใจไว้้ที่่ศู� ูนย์์กลางกายที่่�เดีียว ไม่่ว่่าจะอยู่่�ในอิิริยิ าบถใดก็็ตาม เช่่น ยืืนก็็ดีี
เดิินก็็ดีี นอนก็็ดีี หรืือนั่่� งก็็ดีี อย่่าย้้ายฐานที่่ตั้้� ง� จิิตไปไว้้ที่อื่�่ น่� เป็็นอัันขาด ให้้ตั้้ง� ใจบริิกรรมภาวนา พร้้อมกัับนึึ กถึึงบริิกรรม
นิิ มิิตเป็็นดวงแก้้วใสควบคู่่�กัันตลอดไป
155

www.kalyanamitra.org
๕. นิิมิติ ต่่าง ๆ ที่่�เกิิดขึ้้�น จะต้้องน้้ อมไปตั้้�งไว้้ ที่่� ศูู น ย์์ กลางกายทั้้�งหมด ถ้้านิิ มิิตที่่�เกิิดขึ้้�นแล้้วหายไปก็็ไม่่ต้้อง
ตามหา ให้้ภาวนาประคองใจต่่อไปตามปกติิ ในที่่�สุุดเมื่่�อจิิตสงบ นิิ มิิตย่่อมปรากฏขึ้้�นใหม่่อีีก
การฝึึกสมาธิิเบื้้�องต้้นเท่่าที่่ก� ล่่าวมาทั้้�งหมดนี้้� ย่่อมเป็็นปััจจัยั ให้้เกิิดความสุุขได้้พอสมควร เมื่่อ� ซัักซ้้อมปฏิิบััติอิ ยู่่�
เสมอ ๆ ไม่่ทอดทิ้้�ง จนได้้ดวงปฐมมรรคแล้้ว ก็็ให้้หมั่่�นประคองรัักษาดวงปฐมมรรคนั้้� นไว้้ตลอดชีีวิิต ดำำ�รงตนอยู่่�ใน
ศีีลธรรมอัันดีี ย่่อมเป็็นหลัักประกัันได้้ว่่า ได้้ที่่�พึ่่�งของชีีวิิตที่่�ถููกต้้องดีีงาม ที่่�จะส่่งผลให้้เป็็นผู้้�มีีความสุุขความเจริิญ
ทั้้� ง ในภพชาติินี้้� และภพชาติิหน้้า
หากสามารถแนะนำำ�ต่อ่ ๆ กัันไป ขยายไปยัังเหล่่ามนุุ ษยชาติิอย่่างไม่่จำำ�กัดั เชื้้อ� ชาติิ ศาสนา และเผ่่าพัันธุ์์� สัันติิสุขุ
อัันไพบููลย์์ที่่�ทุุกคนใฝ่่ฝัันก็็ย่่อมบัังเกิิดขึ้้�นอย่่างแน่่ นอน

156

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
ประโยชน์์ ของการฝึึกสมาธิิ
๑. ผลต่่อตนเอง
๑.๑ ด้้านสุุขภาพจิิต
ส่่งเสริิมให้้คุุณภาพของใจดีีขึ้้�น คืือ ทำำ�ให้้จิิตใจผ่่องใส สะอาด บริิสุุทธิ์์� สงบ เยืือกเย็็น ปลอดโปร่่ง โล่่ง
เบาสบาย มีีความจำำ� และสติิปัญ ั ญาดีีขึ้้�น
ส่่งเสริิมสมรรถภาพทางใจ ทำำ�ให้้คิิดอะไรได้้รวดเร็็วถููกต้้อง และเลืือกคิิดแต่่ในสิ่่�งที่่�ดีีเท่่านั้้� น
๑.๒ ด้้านพััฒนาบุุคลิิกภาพ
จะเป็็นผู้้�มีีบุุคลิิกภาพดีี กระฉัับกระเฉง กระปรี้้ก� ระเปร่่า มีีความองอาจสง่่าผ่่าเผย มีีผิิวพรรณผ่่องใส
มีีความมั่่�นคงทางอารมณ์์ หนัั กแน่่ น เยืือกเย็็น และเชื่่�อมั่่�นในตนเอง
มีีมนุุ ษยสััมพัันธ์์ดีี วางตััวได้้เหมาะสมกัับกาลเทศะ เป็็นผู้้�มีีเสน่่ ห์์ เพราะไม่่มัักโกรธ มีีความเมตตากรุุณา
ต่่อบุุคคลทั่่�วไป
๑.๓ ด้้านชีีวิิตประจำำ�วััน
ช่่วยให้้คลายเครีียด เป็็นเครื่่อ� งเสริิมประสิิทธิิภาพในการทำำ�งาน และการศึึกษาเล่่าเรีียน
157

www.kalyanamitra.org
ช่่วยเสริิมให้้มีีสุุขภาพร่่างกายแข็็งแรง เพราะร่่างกายกัับจิิตใจย่่อมมีีอิิทธิิพลต่่อกััน ถ้้าจิิตใจเข้้มแข็็ง ย่่อม
เป็็นภููมิต้ิ ้านทานโรคไปในตััว
๑.๔ ด้้านศีีลธรรมจรรยา
ย่่อมเป็็นผู้้�มีีสััมมาทิิฏฐิิ เชื่่� อ กฎแห่่ ง กรรม สามารถคุ้้�มครองตนให้้พ้้นจากความชั่่ว� ทั้้ง� หลายได้้ เป็็นผู้้�มีี
ความประพฤติิดีี เนื่่� องจากจิิตใจดีี ทำำ�ให้้ความประพฤติิทางกายและวาจาดีี ตามไปด้้วย
ย่่อมเป็็นผู้้�มีีความมัักน้้ อย สัันโดษ รัักสงบ และมีีขัันติิเป็็นเลิิศ
ย่่อมเป็็นผู้้�มีีความเอื้้อ� เฟื้้อ� เผื่่�อแผ่่ เห็็นประโยชน์์ ส่่วนรวมมากกว่่าประโยชน์์ส่ว่ นตััว ย่่อมเป็็นผู้้�มีีสััมมาคารวะ
และมีีความอ่่อนน้้ อมถ่่อมตน

๒. ผลต่่อครอบครััว
๒.๑ ทำำ�ให้้ครอบครััวมีีความสงบสุุข เพราะสมาชิิกในครอบครััว เห็็นประโยชน์์ของการประพฤติิธรรม ทุุกคน
ตั้้�งมั่่�นอยู่่�ในศีีล ปกครองกัันด้้วยธรรม เด็็กเคารพผู้้�ใหญ่่ ผู้้�ใหญ่่เมตตาเด็็ก ทุุกคนมีีความรัักใคร่่สามััคคีีเป็็นน้ำำ��หนึ่่� ง
ใจเดีียวกััน
๒.๒ ทำำ�ให้้ครอบครััวมีีความเจริิญก้้าวหน้้า เพราะสมาชิิกต่่างก็็ทำำ�หน้้าที่่�ของตนโดยไม่่บกพร่่อง เป็็นผู้้�มีีใจคอ
158 หนัั กแน่่น เมื่่�อมีีปััญหาครอบครััวหรืือมีีอุุปสรรคอัันใด ย่่อมร่่วมใจกัันแก้้ไขปััญหาให้้ลุุล่่วงไปได้้ด้้วยดีี

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
๓. ผลต่่อสัังคมและประเทศชาติิ
๓.๑ ทำำ�ให้้สัังคมสงบสุุข ปราศจากปััญหาอาชญากรรม และปััญหาสัังคมอื่่�น ๆ เพราะปััญหาทั้้�งหลายที่่�เกิิดขึ้้�น
ในสัังคม ไม่่ว่่าจะเป็็นปััญหาการฆ่่า การข่่มขืืน โจรผู้้�ร้้าย การทุุจริติ คอร์์รัปั ชััน ล้้วนเกิิดขึ้้�นมาจากคนที่่�ขาดคุุณธรรม
เป็็นผู้้�ที่่�มีีจิิตใจอ่่อนแอ หวั่่�นไหวต่่ออำำ�นาจสิ่่�งยั่่�วยวนหรืือกิิเลสได้้ง่่าย ผู้้�ที่่�ฝึึกสมาธิิย่่อมมีีจิิตใจเข้้มแข็็ง มีีคุุณธรรม
ในใจสููง ถ้้าแต่่ละคนในสัังคมต่่างฝึึกฝนอบรมใจของตนให้้หนัั กแน่่ น มั่่น� คง ปััญหาเหล่่านี้้� ก็จ็ ะไม่่เกิิดขึ้้�น ส่่งผลให้้สังั คม
สงบสุุขได้้
๓.๒ ทำำ�ให้้เกิิดความมีีระเบีียบวิินััย และเกิิดความประหยััด ผู้้�ที่่ฝึ� กึ ใจให้้ดีีงามด้้วยการทำำ�สมาธิิอยู่่�เสมอ ย่่อมเป็็น
ผู้้�รัักความมีีระเบีียบวิินััย รัักความสะอาด มีีความเคารพกฎหมายบ้้านเมืือง ดัังนั้้� น บ้้านเมืืองเราก็็จะสะอาดน่่าอยู่่� ไม่่มีี
คนมัักง่่ายทิ้้ง� ขยะลงบนพื้้�นถนน จะข้้ามถนนก็็เฉพาะตรงทางข้้าม เป็็นต้้น เป็็นเหตุุให้้ประเทศชาติิไม่่ต้้องสิ้้น� เปลืืองงบ
ประมาณ เวลา และกำำ�ลัังเจ้้าหน้้าที่่� ที่่จ� ะไปใช้้สำ�ำ หรัับแก้้ปัญ
ั หาที่่�เกิิดขึ้้�นจากความไม่่มีีระเบีียบวิินััยของประชาชน
๓.๓ ทำำ�ให้้สัังคมเจริิญก้้าวหน้้า เมื่่�อสมาชิิกในสัังคมมีีสุุขภาพจิิตดีีรัักความเจริิญก้้าวหน้้า มีีประสิิทธิิภาพใน
การทำำ�งานสููง ย่่อมส่่งผลให้้สัังคมเจริิญก้้าวหน้้าตามไปด้้วย และจะสละความสุุขส่่วนตนให้้ความร่่วมมืือกัับส่่วนรวม
อย่่างเต็็มที่่� และถ้้ามีีผู้้�ไม่่ประสงค์์ดีีต่่อสัังคม จะมายุุแหย่่ให้้เกิิดความแตกแยก ก็็จะไม่่เป็็นผลสำำ�เร็็จ เพราะสมาชิิกใน
สัังคมเป็็นผู้้�มีีจิิตใจหนัั กแน่่ นมีีเหตุุผล และเป็็นผู้้�รัักสงบ

159

www.kalyanamitra.org
๔. ผลต่่อศาสนา
๔.๑ ทำำ�ให้้เข้้าใจพระพุุทธศาสนาได้้อย่่างถููกต้้อง และรู้้�ซึ้้�งถึึงคุุณค่่าของพระพุุทธศาสนา รวมทั้้�งรู้้�เห็็นด้้วยตััว
เองว่่า การฝึึกสมาธิิไม่่ใช่่เรื่่อ� งเหลวไหล หากแต่่เป็็นวิิธีีเดีียวที่่จ� ะทำำ�ให้้พ้้นทุุกข์์เข้้าสู่่�นิิพพานได้้
๔.๒ ทำำ�ให้้เกิิดศรััทธาตั้้�งมั่่�นในพระรััตนตรััย พร้้อมที่่จ� ะเป็็นทนายแก้้ต่า่ งให้้กับั พระศาสนาอัันจะเป็็นกำำ�ลังั สำำ�คัญ

ในการเผยแผ่่ การปฏิิบััติิธรรมที่่ถู� ูกต้้อง ให้้แพร่่หลายไปอย่่างกว้้างขวาง
๔.๓ เป็็นการสืืบอายุุพระพุุทธศาสนาให้้เจริิญรุ่่�งเรืืองตลอดไป เพราะตราบใดที่่พุ� ทุ ธศาสนิิ กชนยัังสนใจปฏิิบัติั ิ
ธรรม เจริิญภาวนาอยู่่� พระพุุทธศาสนาก็็จะเจริิญรุ่่�งเรืืองอยู่่�ตราบนั้้� น
๔.๔ จะเป็็นกำำ�ลัังส่่งเสริิมทะนุุ บำำ�รุุงศาสนา โดยเมื่่�อเข้้าใจซาบซึ้้�งถึึงประโยชน์์ ของการปฏิิบััติิธรรมด้้วยตนเอง
แล้้ว ย่่อมจะชัักชวนผู้้�อื่่�นให้้ทำำ�ทาน รัักษาศีีล เจริิญภาวนาตามไปด้้วย และเมื่่�อใดที่่�ทุุกคนในสัังคมตั้้�งใจปฏิิบััติิธรรม
ทำำ�ทาน รัักษาศีีล และเจริิญภาวนา เมื่่�อนั้้� นย่่อมเป็็นที่่�หวัังได้้ว่่า สัันติิสุุขที่่�แท้้จริงิ ก็็จะบัังเกิิดขึ้้�นอย่่างแน่่ นอน

160

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
161

www.kalyanamitra.org
เจ้าภาพร่วมอนุ โมทนาบุญ
สพฺฺพทานํํ ธมฺฺมทานํํ ชิินาติิ
การให้้ธรรมทาน ชนะการให้้ทั้้�งปวง

น้้ อมกตััญญููบููชาธรรม

พระมงคลเทพมุุนีี (สด จนฺฺ ทสโร)


หลวงพ่่อธััมมชโย (ไชยบููลย์์ ธมฺฺมชโย)
หลวงพ่่อทััตตชีโี ว (เผด็็จ ทตฺฺตชีีโว)
คุุณยายอาจารย์์มหารััตนอุุบาสิิกาทองสุุข สำำ�แดงปั้้�น
162 คุุณยายอาจารย์์มหารััตนอุุบาสิิกาจัันทร์์ ขนนกยููง

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
ิ ักดิ์์�
เจ้้าภาพกิิตติมศั

• วััดพระธรรมกายกััวลาลััมเปอร์์ • คุุณณัั ฐพล โยธิินพนาเวศ และครอบครััว


• วััดพระธรรมกายแคลิิฟอร์์เนีีย • คุุณธีีรวััฒน์์ -คุุณคำำ�นวณ ฐานะโชติิพัันธ์์ และครอบครััว
• พระสุุธรรมญาณวิิเทศ วิิ., คุุณแม่่ธรรมนูู ญ กองสุุข พร้้อมลููกหลาน • คุุณนภา วรรณพิิรุณ ุ
• คณะสงฆ์์ และลููกพระธััมฯ วััดพระธรรมกายสตอกโฮล์์ม • คุุณปกาศิิต-คุุณอััมรา-คุุณปภััสรา นาเมืืองรัักษ์์
• พระกองร้้อยเนื้้� อนาบุุญ-พระศรััณย์์ ภาวนาภิิรโต และคณะญาติิมิิตร • คุุณมนูู -คุุณวรรณพร-คุุณวรรณนรีี-คุุณพิิมพรรณ ไตรเนตร
• พระถาวร ถาวโร และคณะญาติิมิิตร • คุุณวรรณา จิิรกิิติิ
• พระพลศัักดิ์์� ฐฃานสกฺฺโก, กลุ่่�มสืืบสานตะวัันธรรม และคณะญาติิมิิตร • คุุณวาสนา เรืืองรัักษ์์ลิิขิิต
• พระภิิกษุุ รุ่่�น ๓๕ กองพัันอััศจรรย์์ • คุุณวิิชญา ไตรวิิเชีียร และคณะญาติิมิิตร
• คุุณณัั ฐวััฒน์์ -คุุณพิิมพ์์นิิภา-คุุณดุุุ�ลยทรรศน์์ -คุุณพิิมพ์์นารา กวีีธีีรรััตน์์ • คุุณวิิไลวััลย์์ วััชสิิริเิ สรีี และบริิษััท บางกอกคริิสมััส จำำ�กััด
• คุุณสุุวรรณีี-คุุณศิิริวัิ ัฒน์์ -คุุณศิิริสิ รรพ เหล่่าหะเกีียรติิ • คุุณสัันติิ-คุุณพิิมพ์์ใจ-คุุณศีีล-คุุณบุุญรัักษา ทิิสยากร และครอบครััว
• คุุณภััค บุุญสููง และครอบครััว • คุุณสุุนทริินทร์์ จัันทนา
• สถาบัันวิิจััยนานาชาติิธรรมชััย (DIRI) • คุุณสุุภศิิษฏ์์-คุุณมโนทิิพย์์-คุุณนัั ฐธารพััชร จัักรวาลธรรม
• ครอบครััวเนื่่� องนิิ ยม • คุุณสุุริยิ ะ-คุุณสุุริสิ า-คุุณศาตนัั นท์์ จึึงรุ่่�งเรืืองกิิจ
• ครอบครััวประเสริิฐธรรม • Crystal Software Group, คุุณสมควร วานิิ ชสััมพัันธ์์,
• คุุณจิิตร์์ลดา เกษทอง คุณขวัญฤดี อ�ำนวยเวโรจน์ , คุณพัชรินทร์ บุญธรรมจิต
• คุุณจิินตนา, ธีีโอดอร์์, ดร.พญ.คริิสติิน่า่ , ชเตฟาน, • Sophia Ng
คุณคริสโตเฟ่อร์ เธียร์ไมเยอร์, คุณมาลาดี ศิรโพธิ์งาม • TAN TIAN LIAN 163

www.kalyanamitra.org
เจ้้าภาพกิิตติิมสุุข

• วััดพระธรรมกายคอร์์ซััวร์์ ลุุสท์์สโกว • คุุณธงชััย-คุุณนัั นทพร แต่่งเจริิญพาณิิชย์์ และครอบครััว


• วััดพระธรรมกายโซโลมอน • คุุณธััญญะรััตน์์ ชำำ�นาญ, คุุณวรวิิทย์์ ธััญญธารา
• วััดพระธรรมกายดัันนีีดิิน • คุุณธีีระวััฒน์์ -คุุณวรรณา อรุุณธััญญะ และครอบครััว
• วััดพระธรรมกายนครซิิดนีีย์์ • คุุณปิิยนัั นท์์ บุุญสููง
• วััดพระธรรมกายนครโอ๊๊คแลนด์์ • คุุณพงษ์์เดช-คุุณกาญจนา ประชาธำำ�รง
• วััดพระธรรมกายนิิวคาสเซิิล • คุุณพ่่ออำำ�พร ลิ้้�มธนานุุรักั ษ์์ และครอบครััว
• วััดพระธรรมกายบริิสเบน • คุุณพััททชิิตา บููรณ์์ เจริิญโชติิกุุล และครอบครััว
• วััดพระธรรมกายเวลลิิงตััน • คุุณพิิมพ์์ประพรรณ พิิมพ์์ภััทรยศ
• วััดพระธรรมกายเวสเทิิร์น์ ออสเตรเลีีย • คุุณรััฐวิิชญ์์-คุุณปุุญญานิิ ศา รุ่่�งเรืืองนพรััตน์์ , คุุณรภััทร สุุวรรณนทีี
• วััดพระธรรมกายอััลบููรี่ �่ • คุุณละออง-คุุณอมร-คุุณอมรา บรรจงศิิริ,ิ Witt Mcdee
• พระครููสัังฆรัักษ์์ปรเมษฐ์์ ปรมสจฺฺโจ • คุุณลาวััลย์์ เบเคอร์์ และครอบครััว
• พระมหาวิิทััสน์์ สทฺฺธาพหุุโล, ครอบครััวรััตนเลิิศนาวีี • คุุณศุุภาภรณ์์ ศรีีภาพงษ์์ และคณะญาติิมิิตร
• พระมหาอภิิรักั ษ์์ ยโสธโร, กลุ่่�มอจิินไตย USA • คุุณสมพร เกาเล็็ก และครอบครััว
• พระภิิกษุุ รุ่่�น ๒๘ สถาปนาเนื้้� อนาบุุญ • คุุณสานิิ ตย์์ เสวกคเชนทร์์
• พระอาจารย์์-เจ้้าหน้้าที่่�-อาสาสมััครกองต้้อนรัับสาธุุชน • คุุณสำำ�ราญ-คุุณสุุระ-คุุณสุุธน พรธิิสาร
• ครอบครััวสมคิิดเลิิศ และทิิศ ๖ • คุุณสุุจรรยา เครืือคล้้าย
164 • คุุณณรีีพััฒน์์ -คุุณชััชวีีร์์ สวััสดิ์์�เสวีี และคณะญาติิมิิตร • คุุณสุุนีีย์์-คุุณนิิ มมานวดีี เวชศรีี และครอบครััว

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
• คุุณอดิิศัักดิ์์�-คุุณวัันเพ็็ญ-คุุณวรพจน์์ วรรณสิิน • กองติิดต่่อสอบถาม-Youth for Next Step-YNS
• ดร.กฤษฎา จ่่างใจมนต์์ • กองนฤมิิตศิิลป์์
• ดร.สุุนีีย์์ สััจจาไชยนนท์์ • ชมรมบััวขาว มีีนบุุรีี
• ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.วีีระ สุุภะ • บริิษััท ดรีีมบิิซ จำำ�กััด
• พ.ต.ท.วิิจัักษณ์์ หงส์์เจริิญ, คุุณจารีีพร ชููโต และครอบครััว • บุุคลากร รุ่่�น ๒๔ ทองล้้นองค์์
• พญ.สุุวรรณีี วีีระเศรษฐกุุล • บุุคลากร รุ่่�น ๒๗ ธาตุุสำำ�เร็็จ เพชรอััศจรรย์์
• สพญ.ดรุุณีี -ดร.โรลฟ์์ ดีีทเตอร์์, คุุณลาลิิน เนเกเล่่, คุุณสิิรินิ , • สมาชิิกอาศรมอุุบาสิิกา
คุุณมีีน่่า โซเฟีียร์์ ไว้้สฮาร์์ • สำำ�นัักพิิมพ์์ เอ็็มไอเอส จำำ�กััด
• อาม่่าจึึงสีี-คุุณสุุปรีียา-คุุณเซงเจง-คุุณเซีียวฮึึง- • อาสาสมััครแผนกรัักษาระเบีียบ
คุุณพััชริินทร์์ แซ่่เตีีย และคณะญาติิมิิตร • CALVIN, KAISI, SKYE ALLEN

165

www.kalyanamitra.org
เจ้้าภาพอุุปถััมภ์์

• พระวิิเทศภาวนาจารย์์ (สมบุุญ สมฺฺมาปุุญฺฺโญฃ) • พระมหาธานิิ นทร์์ ญฃาณิินฺฺโท • พระมหาสุุขสัันติิ สุุปภาโส


• พระครููสัังวรสิิทธิิโชติิ • พระมหาโนบุุ จกฺฺกชโย • พระมหาสุุทธิิชััย สุุทฺฺธิิชโย
• พระครููภาวนาวิิเทศ (พระมหาวิิรัตั น์์ มณิิ กนฺฺ โต) • พระมหาบุุญชูู อริิยธมฺฺโม • พระมหาสุุรพงศ์์ วรสุุโร
• พระครููภาวนาสุุธรรมวิิเทศ • พระมหาประจัักร ปุุญฺฺญิิทฺฺธิิชโย • พระมหาสุุรัตั น์์ อคฺฺครตโน
• พระครููภาวนาวิิริยิ เทศ • พระมหาประสาร วชิิรชโย • พระมหาสุุวิิทย์์ ธมฺฺมิิกมุุนิิ
• พระครููโสตถิิธรรมวิิเทศ • พระมหาประเสริิฐกิิจ สุุเมโธ • พระมหาโสพล สุุพโล
• พระครููภาวนาชาครวิิเทศ วิิ. (ชาติิชาย ชาคโร) • พระมหาปริิยััติิ ฐฃิิตมโน • พระมหาอนัั นตพงศ์์ ธมฺฺมสุุนฺฺทโร
• พระครููปลััดพัันธุ์์�นิิติิ นิิ ติิพนฺฺ โธ • พระมหาปิิยณัั ฐ ปิิยชโย (ป.ธ. ๙) • พระมหาอภิิรักั ษ์์ ยโสธโร
• พระครููปลััดธวััฒชััย ธชุุตฺฺตโม • พระมหาพุุทธิิวััฒน์์ วฑฺฺฒนชโย • พระมหาอััสกรณ์์ อคฺฺคญฺฺญฃชโย (ป.ธ. ๙)
• พระปลััดฐาปกรณ์์ สุุฐฃาปโก • พระมหาพููลศัักดิ์์� ปุุณฺฺณสกฺฺโก และญาติิมิิตร • พระมหาเอกมล ปญฺฺญฃาชโย
• พระปลััดณัั ฐยุุทธ์์ โฆสิิตวํํโส • พระมหาไพโรจน์์ ปุุญฺฺญฃภาโส • พระกรุุชา ปภากโร และทิิศ ๖
• พระครููสมุุห์์ณรงค์์ ทนฺฺ ตจิิตฺฺโต • พระมหาภาณุุ โอภาสโก • พระกฤตยะ สิิทฺฺธมโน
• พระครููสมุุห์์พรเทพ ญฃาณคุุโณ • พระมหาภาสกร ธมฺฺมวทญฺฺญูู • พระกฤตวิิทย์์ ฐฃิิตสุุโข
• พระสมุุห์์พิิชิิต ฐฃิิตชโย • พระมหาภููริเิ ดช ธมฺฺมิิกเตโช พร้้อมญาติิมิิตร • พระกฤษณ์์ กาญฺฺจนชโย
• พระใบฎีีกาเต๋๋อเหอ ปภากโร • พระมหาภููริวัิ ัฒน์์ ฌานวิิชฺฺโช • พระกฤษณะ วรญฃาโณ
• พระมหาชััชวาลย์์ โอภาโส (ป.ธ. ๙), ดร. • พระมหามงคล คุุณมงฺฺคโล และญาติิมิิตร • พระกล้้าณรงค์์ ญฃาณวีีโร
• พระมหาชััยฟ้้า ธญฺฺญฃกุุโล, ดร. • พระมหารณภพ โชติิลาโภ • พระก้้องภพ ปุุณฺฺณชโย
• พระมหาบุุญเทีียม ปุุญฺฺญฃปุณฺ ุ ฺ โณ, ดร. • พระมหาเรืืองฤทธิ์์� ธมฺฺมิิทฺฺธิิโย และคณะญาติิมิิตร • พระกิิตติิพงศ์์ เหมวํํโส และครอบครััว
• พระมหากมล ฐิตญฃาโณ, พระมหาภาณุุรักั ษ์์ คุุตฺฺตสีีโล • พระมหาวัันเฉลิิม เกวลชโย • พระกิิตติิศัักดิ์์� สกฺฺกวโร และญาติิมิิตร
• พระมหากฤตนัั ย รตนปญฺฺโญฃ • พระมหาวิิชา อธิิวิิชฺฺโช • พระเกรีียงไกร กิิตฺฺติิสุุโภ
• พระมหากััณฐ์์ ธมฺฺมสาโร และญาติิมิิตร • พระมหาวิินิิจ วรทชโย และครอบครััว • พระโกสิิยพงศ์์ จนฺฺ ทโสภโณ
• พระมหาคำำ�สาย อิินฺฺทปญฺฺโญฃ • พระมหาวีีระพงษ์์ นิิ มฺฺมโล • พระไกรพิิชญ์์ สจฺฺจาธิิโก และครอบครััว
• พระมหาเควิิน ธมฺฺมนิิ สฺฺสโย • พระมหาวุุฑฒ์์ สุุวุุฑฺฺฒิิโก, ดร. • พระจารุุวััฒน์์ อตฺฺถรตโน
• พระมหาจัันทร์์ดีี ธมฺฺมสิิทฺธิฺ ิ • พระมหาศุุภณัั ฐ ธมฺฺมสุุโภ • พระจิิรภััทร วิินยธโร
• พระมหาเฉลิิม ปญฺฺญฃาภรโณ • พระมหาเศรษฐวิิชญ์์ เสฏฺฺฐฃวิิชฺฺโช • พระจิิรวััฒน์์ สนฺฺ ติิวฑฺฺฒโน
• พระมหาชููชาติิ ขนฺฺ ติิวณฺฺ โณ • พระมหาสมเกีียรติิ วรยโส • พระเจริิญชััย นวคุุโณ และครอบครััว
• พระมหาดุุสิิต ธมฺฺมเตโช • พระมหาสมบััติิ อิินฺฺทปญฺฺโญฃ • พระฉงหลง สติินฺฺธโร
• พระมหาทศพร ทสวโร • พระมหาสรพงษ์์ ธมฺฺมวชิิโร • พระชนิิ นทร์์ จารุุเตโช
166 •

พระมหาธณััช เชฏฺฺฐฃธมฺฺโม
พระมหาธวััชชััย คุุณากโร


พระมหาสรพงษ์์ สมวํํโส
พระมหาสัันติิ เนปกฺฺโก


พระชวลิิต จนฺฺ ทโชโต
พระชวิิน อภิิชฺฺชโว

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
• พระชััชวาลย์์ จารุุธมฺฺโม • พระประพจน์์ โชติิโก • พระศัักดิ์์�ชััย อภิิปุปุ สนฺฺ โน
• พระชััยณรงค์์ ภทฺฺทชโย • พระประมวล กุุลเมโธ • พระศิิริวัิ ัฒน์์ สิิริวุิ ุฑฺฺโฒ
• พระชััยยุุทธ์์ ชยวํํโส • พระประสิิทธิ์์� เวปุุลฺฺโล และคณะญาติิ • พระศิิเวษฐ์์ จารุุธมฺฺโม
• พระชััยวััฒน์์ คุุณวฑฺฺฒโน • พระประเสริิฐ จนฺฺ ทโชติิโก • พระศุุภชล ฐฃานสุุโภ
• พระชััยวิิชิิต โชติิวโร และญาติิมิิตร • พระปรััชญา ปญฺฺญฃาธิิโก • พระษมานัั นท์์ จิิรานนฺฺ โท
• พระชาญจิิตร์์ ญฃาณยุุตฺฺโต • พระปรีีชา ปุุณฺฺณพโล • พระสกล นนฺฺ ทรตโน
• พระชาญชััย ปิิยธมฺฺโม และคณะญาติิมิิตร • พระปานชนก สุุทนฺฺ โต และทิิศ ๖ • พระสมนึึ ก นนฺฺ ทสิิทฺฺโธ
• พระชาติิ ปุุณฺฺณสิิริโิ ก • พระปารณ ชยานนฺฺ โท • พระสมโภชน์์ อตฺฺตชิิโน และครอบครััว
• พระเชษฐพล คุุณชโว และญาติิมิิตร • พระผจญ เถรธมโม • พระสมศรีี ปริิญฺฺญฃาตธมฺฺโม
• พระไชยยศ ยสวํํโส • พระพงษ์์พัันธ์์ สุุรจิิตฺฺโต • พระสัันติิราษฎร์์ อุุปสนฺฺ โต และคณะญาติิมิิตร
• พระฐานพััฒน์์ ฐฃานภทฺฺโท • พระพรชลิิต อาสโภ • พระสัันทััด สนฺฺ ตจิิตฺฺโต
• พระณภััทร กิิตฺฺติปุิ ณฺุ ฺ โณ • พระพฤกษ์์ ทานธโร • พระสิิขริินทร์์ ปิิยวิิชฺฺโช
• พระณัั ฏฐกิิตติ์์� รวิิวํํโส, พระแจ๊๊คกี้้� สีีลสํํวโร • พระพิิเชษฐ ภทฺฺทธมฺฺโม • พระสิิชล สุุทฺธิฺ ิพโล และครอบครััว
• พระณัั ฐพงษ์์ สุุทฺฺธญฃาโณ และคณะญาติิมิิตร • พระพิิษณุุ เขมจาโร • พระสิิปปภาส พฺฺรหฺฺมสโร
• พระณัั ฐพล เขมนนฺฺ โท • พระไพรััช อนาวิิโล • พระสุุชาติิ อตฺฺถชาโต
• พระณัั ฐวีีถ์์ อธิิวฑฺฺฒโน • พระไพศาล โชติิญฃาโณ และญาติิมิิตร • พระสุุชิิน สุุชิิโน
• พระณัั ฐวุุฒิิ วุุฑฺฺฒิินนฺฺ โท • พระไพศาล ธมฺฺมานนฺฺ โท • พระสุุธีี โกวิิโท และคณะญาติิมิิตร
• พระต่่อชััย ชยธโร • พระภาณุุพงศ์์ สุุรพนฺฺ โธ และญาติิมิิตร • พระสุุธีีร์ ์ อภิิธีีโร
• พระต่่อพงษ์์ ญฃาณยุุตฺฺโต • พระภููมิิวรััชญ์์ พลทตฺฺโต • พระสุุนทร ทนฺฺ ตมโน
• พระถวััลย์์ จตฺฺตมโล • พระมงคล ชาติิสกฺฺโก • พระสุุนัันท์์ นนฺฺ ทพโล
• พระถิิรพงษ์์ ญฃาณธโร พร้้อมคณะญาติิ • พระมงคล มงฺฺคโล • พระสุุรัตั น์์ สุุรตโน
• พระทรรศไนย กนฺฺ ตสีีโล • พระยงยุุทธ อภิิวฑฺฺโฒ • พระเสกสัันติิ ธิิติิธโน
• พระธนพล กิิตฺฺติิวีีโร • พระรัักษ์์แดน รตนโชโต • พระเหมราช มณิิ โชติิโก
• พระธนภััทร นีีติิวํํโส และทิิศ ๖ • พระรััฏฐาธิิป ชยารกฺฺโข • พระอนุุ ชิิต ธมฺฺมาสโย
• พระธยา เขมธมฺฺโม • พระรััฐศาสตร์์ ชยนนฺฺ โท และทิิศ ๖ • พระอโนทััย สุุทฺฺธิิพโล
• พระธรรมนูู ญ, ครอบครััวแววสกุุล • พระเรืืองศัักดิ์์� เตชวโร • พระอภิิวััฒน์์ อภิิชฺฺชโว และคณะญาติิมิิตร
• พระธีีร์์ จิิรญฺฺชโย และคณะญาติิมิิตร • พระลัักษ์์ดีี ธมฺฺโมทิิโต และคณะญาติิมิิตร • พระอรรจ เขมาภิิรโต พร้้อมทิิศ ๖
• พระธีีรยุุทธ์์ คุุณธีีโร, วรรณกููล • พระวชร อคฺฺควฑฺฺฒโน • พระอาคม ชยาคโม
• พระธีีรวััฒน์์ สุุรธีีโร • พระวชิิรศัักดิ์์� วุุฑฺฺฒิิชโย • พระอาทิิตย์์ ธนีีเพีียร
• พระนวปฎล กิิตฺติฺ ิปญฺฺโญฃ • พระวรพงศ์์ จนฺฺ ทวโร, พระภาสุุระ ทนฺฺ ตมโน • พระอำำ�นาจ เหมวํํโส
• พระนิิ พนธ์์ วรวํํโส • พระวรพล วรพโล • พระอุุดม ยติิสฺฺสโร
• พระบรรชา ชานพโล และคณะญาติิมิิตร • พระวรวุุธ สุุทฺฺธปญฺฺโญฃ,ดร. • พระเอกชััย ชยวณฺฺ โณ
• พระบุุญเธีียร พุุทธิิธีีโร • พระวัันชััย สาทโร • พระโอภาส ปภากโร และญาติิมิิตร
• พระบุุญเยี่่�ยม ปาสาทิิโก • พระวััยวุุฒิิ ปิิยวาทโก • พระภิิกษุุ รุ่่�น ๗ ปีี ๒๕๓๔
• พระบููลย์์สุุข ปุุณฺฺณสุุโข • พระวิิศัักดิ์์� ธมฺฺมสิิริโิ ก • พระภิิกษุุ รุ่่�น ๙ ปีี ๒๕๓๖


พระปรมััย ธนิิ สฺฺสโร
พระประกฤติิ ปญฺฺญฃาธโร


พระวีีระ วีีรธมฺฺโม (ชิินทะวััน)
พระวุุฒิิพงศ์์ พลวฑฺฺโฒ (อุุดรสถิิตย์์)
• พระภิิกษุุ รุ่่�น ๑๔ ลููกพระธััมฯ
มหาเศรษฐีคู่บุญวิชชาธรรมกาย
167

www.kalyanamitra.org
• พระภิิกษุุ รุ่่�น ๒๐ • ครอบครััวชััยวััฒน์์ • ครอบครััวเหลืืองธาดา-เจ้้าหน้้าที่่�กองAEC และญาติิโยม
• พระภิิกษุุ รุ่่�น ๒๑ สำำ�เร็็จทุุกอย่่าง • ครอบครััวชาญชนะโยธิิน • ครอบครััวอุุดมสิิน
• พระภิิกษุุ รุ่่�น ๒๔ WE ARE ONE • ครอบครััวชื้้�อสกุุลศัักดิ์์� • ครอบครััวเอกรัักษาศิิลป์์ชััย
• พระภิิกษุุ รุ่่�น ๒๖ ทเวนตี้้�ซิิกซ์์พลิิกโลก • ครอบครััวโชคดีีศรีีสวััสดิ์์� • คุุณพ่่อกรณ์์พงษ์์-คุุณแม่่บััวทิิพย์์ กีีรติินรเศรษฐ์์
• พระภิิกษุุ รุ่่�น ๓๕ กองพัันอััศจรรย์์ปีี ๒๕๖๒ • ครอบครััวแซ่่แต้้ • คุุณพ่่อก่่อเกีียรติิ-คุุณแม่่นริินทร์์ ภููเขีียว
• พระภิิกษุุ รุ่่�น ๓๗ • ครอบครััวตั้้�งลิิตานนท์์ • คุุณพ่่อแกร่่งกล้้า-คุุณแม่่กุุหลาบ กาญจนกุุล
• พระกองร้้อยเนื้้� อนาบุุญ • ครอบครััวถาวรบรรจบ • คุุณพ่่อแกร-คุุณแม่่เยื้้�อน-อุุดมศัักดิ์์�-รััฐพร แตงมณีี
• พระอาจารย์์ และทีีมงานดอกไม้้บาน • ครอบครััวทรงกำำ�พล • คุุณพ่่อโกสิินทร์์-จัันทิิรา โกมาสถิิตย์์, คุุณแม่่ปรีียา สัังขวนิิ ช
• พระอาจารย์์-ผู้้�ประสานงาน กองแก้้วภููธร ๔ • ครอบครััวทวีีสุุข • คุุณพ่่อจัันทา-คุุณแม่่สุริุ มิ า ฮาดดา
• สามเณรคมกฤต-คุุณภารดีี-ธนิิ สร-ภาณิิชา- • ครอบครััวเทีียบสุุวรรณ • คุุณพ่่อจำำ�รัสั สว่่างเถื่่�อน
ชมกนก เจริญธนมิตร, คุณภิญญา ภูมิประวัติ • ครอบครััวธนภััทร-เปี่่�ยมปิิติิ • คุุณพ่่อเจ็็งหยุ่่�น แซ่่เจี่่�ย
• สามเณรชััยโรจน์์ , คุุณพิิมพ์์พิชิ ชา จัันทร์์เจ้้าฉาย และครอบครััว • ครอบครััวธนัั ชเมทิินีี • คุุณพ่่อฉุุ ย-คุุณแม่่ทองอยู่่� แซ่่หั่่�ม,คุุณธััชชััย-คุุณราวรรณแก่่นมณีี
• สามเณรอภิิชา-สามเณรปิิติิพััฒน์์ , ครอบครััวแจ่่มจัันทร์์ชนก • ครอบครััวบุุญโต • คุุณพ่่อช่่วง-คุุณแม่่แสง คงปาน พร้้อมครอบครััว และญาติิมิิตร
• สามเณรเตรีียมบาลีีนาคหลวงประโยค ๙ • ครอบครััวปิิตุุวงศ์์ • คุุณพ่่อชอบ-คุุณแม่่ประยงค์์-ชลลดา แสงประพาฬ
• สามเณรพนาวััฒน์์ จัันทร์์เผืือก และครอบครััว • ครอบครััวพงษ์์กิ่่�ง • คุุณพ่่อเซีียะกิ้้�ม-คุุณแม่่เชียี ง แซ่่ตั้้�ง, ครอบครััวธนะสมานโชค
• สามเณรวงศธร สระทองแช่่ม, สามเณรธเนษฐ- • ครอบครััวพัันธเสน-อิินทรสมพงค์์ • คุุณพ่่อด้้วง วีีระศร
กฤษกร อ่อนสุวรรณ • ครอบครััวพิิทัักษ์์จิินดา-ติิยะวััฒน์์ -พรหมสููงวงษ์์ • คุุณพ่่อดีี-คุุณแม่่เมี้้�ยน-ลำำ�ไย, ลููกหลาน “แก้้วอิินชััย”
• ธุุดงคสถานชลบุุรีี • ครอบครััวพิิพััฒน์์ ธนวงศ์์ • คุุณพ่่อตะวััน-คุุณแม่่บุุญถิิน-กาญจนา บางโม
• ศููนย์์ปฏิิบััติิธรรมจุุฑาธรรม • ครอบครััวพููลพิิพััฒน์์ • คุุณพ่่อติ่่�ง-คุุณแม่่ทอง-สุุภาพ ศรีีนอก, วีีรยุุทธ แสงหล้้า
• ศููนย์์ปฏิิบััติิธรรมชลบุุรีี (เนิิ นตอง) • ครอบครััวมาลิินีี พรมมาแบน • คุุณพ่่อทรวง-คุุณแม่่สุุนีีย์์ วัันชััยชนะ และคณะญาติิมิิตร
• ศููนย์์ปฏิิบััติิธรรมภาษีีเจริิญ • ครอบครััวฤทธิิชััยพงศ์์ และคณะญาติิมิิตร • คุุณพ่่อนิิ ด แคพัันดุุง
• ศููนย์์ปฏิิบััติิธรรมลำำ�ปาง • ครอบครััววงษ์์จิิตร • คุุณพ่่อนิิ พนธ์์ แก่่นกำำ�จร, คุุณแม่่นิิลุุบล ตัันติิศัักดิ์์�
• ศููนย์์ปฏิิบััติิธรรมสุุราษฎร์์ธานีี • ครอบครััววงษ์์เสงี่่�ยม • คุุณพ่่อบุุญ-คุุณแม่่กาญจนา ธนะกิิจรุ่่�งเรืือง
• ศููนย์์ปฏิิบััติิธรรมโอมาน • ครอบครััววงษาเกษ-สิิงห์์ดง • คุุณพ่่อบุุญธรรม ปััญญานะ
• ศููนย์์ส่่งเสริิมเครืือข่่ายเยาวชนอาสาสมััคร PEACEGEN • ครอบครััววรรธนรีียชาติิ • คุุณพ่่อประกอบ ใต้้ธงชััย-คุุณแม่่ศรีีจัันทรา-กััญญา-
• ครอบครััวกิิจจาวรากร • ครอบครััวว่่องวิิสุุทธิิเกษม กมลรัตน์ ใต้ธงชัย และครอบครัว
• ครอบครััวคณะฤกษ์์ • ครอบครััววิิริยิ า • คุุณพ่่อลี้้�หย่่วยเอี่่�ยม-คุุณแม่่โต๋๋วซิิวฮก-อรุุณรััตน์์ ลีีวิิริยิ ะเลิิศ
• ครอบครััวคาร์์ราเคอร์์ • ครอบครััวศรีีนะรััตน์์ • คุุณพ่่อลุ้้�ย-คุุณแม่่วรรณ-เอนก ศรีีสุุข
• ครอบครััวคำำ�ภานุุ ช • ครอบครััวศิิริมิ าตย์์ • คุุณพ่่อเล่่าเชงสีี-คุุณแม่่เล่่าลิ้้�มสีี แซ่่เล้้า และลููกหลานเหลน
• ครอบครััวคููวััธนไพศาล • ครอบครััวสวััสดิ์์�วิิโรจวงศ์์ • คุุณพ่่อสนอง-คุุณแม่่มููล เบญจวรรณ และครอบครััวม้้าทอง
• ครอบครััวงามเกีียรติิทรััพย์์ • ครอบครััวสายสืืบญาติิ และถารีีพัันธ์์ • คุุณพ่่อสมนึึ ก-คุุณแม่่บุุญช่่วย-อ.พััชนีี อิินทรโฆษิิต
• ครอบครััวเงิินยอดรััก, ครอบครััวจัันทร์์วงศ์์ • ครอบครััวสิิริกิ าญจน • คุุณพ่่อสมุุทร-คุุณแม่่นวลศรีี ตั้้�งคุุปตานนท์์ และลููกหลาน
• ครอบครััวจารุุทรรศนา • ครอบครััวสีีนาคสุุก • คุุณพ่่อสีีมา-คุุณแม่่หลง-อ.กััณหา อรรณพเพ็็ชร, สมััชญ์์ อุุโบสถ
• ครอบครััวจิิรศุุภกร และคลููเวอร์์ • ครอบครััวแสงอารุุม นวนทะลาสีี • คุุณพ่่อสุุรัตั น์์ -คุุณแม่่ศิิริวิิ ิมล-กรรณฤพร-
• ครอบครััวเจนอารีีวงศ์์ • ครอบครััวหว่่อง, วณิิชชากรวรากุุล, Deak, เยาวพฤกษ์์ ด.ช.ต้นข้าว เปรมประภา
168 •

ครอบครััวช่่วยกอบกิิจ
ครอบครััวชอบสะอาด


ครอบครััวหอแก้้ว-พรหมมหาชััย
ครอบครััวเหมวิิเชีียร


คุุณพ่่อสุุรัตั น์์ -คุุณแม่่ศิิริวิิ ิมล-ชััยณรงค์์ เปรมประภา
คุุณพ่่ออู่่�เอี่่�ยม-คุุณแม่่ลีีเทีียมอิิม พร้้อมญาติิมิิตร

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
• คุุณพ่่อฮงโป้้ แซ่่ลิ้้�ม • คุุณกงใจ โสแสนน้้ อย และครอบครััว • คุุณกาญจนา-สุุรินิ ทร์์ จงจีีรัังทรััพย์์, ครอบครััวทองรััตน์์ ,
• คุุณพ่่อฮุ้้�น-คุุณแม่่ถม มนต์์ปริิชาติิ • คุุณกชกร มณีีกุุล และครอบครััว ครอบครัวพรหมมินทร์
• คุุณแม่่ขาล้้วน แซ่่ตั้้�ง • คุุณกชวรรณ-สุุชญา สุุดชาญชััยกุุล, ชลิิตา ศิิริรัิ กั ษ์์ • คุุณกานดา-สุุนีีย์์ แสงทองพิินิิจ
• คุุณแม่่จัันดา วิิธััญญโคตร และครอบครััว • คุุณกนกทิิพย์์-สุุวรรณา เลิิศประเสริิฐรััตน์์ • คุุณกานต์์มณีี ปาดสีี และครอบครััว
• คุุณแม่่จัันทรจรััส ธรรมวััฒนวะสุุ • คุุณกนกรัักษ์์ เอื้้�ออนัั นตชััย และครอบครััว • คุุณกานต์์รวีี กระแจ่่ม
• คุุณแม่่จาก แคพัันดุุง • คุุณกนกวรรณ บุุญเนีียม และครอบครััว • คุุณกำำ�พล-พรทิิพย์์ ธััญญธารา และครอบครััว
• คุุณแม่่จำำ�รุญ ุ -คุุณพ่่อสง่่า วรยศ • คุุณกนกวรรณ หนูู แดง และครอบครััว • คุุณกิ่่�งกมล-Teruaki Akagishi และครอบครััว
• คุุณแม่่เฉลีียว-คุุณพ่่อก้้อง แก้้วไซเทีียน • คุุณกนกศร เขื่่�อนเพชร และครอบครััว • คุุณกิิตติิ-มาลีี-ต่่อศัักดิ์์�-สมโภชน์์ -พนมชััย-นิิ ตยา-
• คุุณแม่่ซอน-อรนุุ ช สุุภาพรรณวดีี • คุุณกนกอร จงสถาพรพงษ์์ มณี กาญจน์ กาญจนสุภัคร์
• คุุณแม่่ซิ้้�วอิิม แซ่่ตั้้�ง • คุุณกมล เถลิิงนวชาติิ • คุุณกิิตติิ-รศ.สำำ�รวย-นัั ฎสวััญจ์์-ปุุณยกร กิิตติิลาภานนท์์
• คุุณแม่่ทองพาน, ครอบครััวสุุทธาดล • คุุณกมลพร โต๊๊ะทอง และครอบครััว • คุุณกิิรติิกา-กัันตพััฒน์์ นิิ ยมพงศ์์
• คุุณแม่่นารีี ศรีีวิิชััย • คุุณกมล-มุุกดา-เพีียงใจ-พรรณีี-คงเดช-เด่่นภููมิิ ลิ่่�มไพบููลย์์ • คุุณกุุณฑลีี สิิงหเสนีี
• คุุณแม่่นุ้้�ย-คุุณพ่่อมนต์์ศัักดิ์์�-สุุจิิต พัันธุ์์�วิิริยิ รััตน์์ , • คุุณกมลรััตน์์ สุุขคง • คุุณกุุลยา พึ่่�งพุ่่�ม
หัวหน้าชั้นวินิช -นร.อนุ บาลฝันในฝันวิทยาทัว่ โลก • คุุณกมลวรรณ-พงษ์์วิิทย์์-พิิสิิทธิ์์�พล ทองหนัั ก • คุุณเกชรััชต์์ หาญเหลี่่�ยมเพชร
• คุุณแม่่บุุญค้ำำ�� -ลำำ�เพลิิง วรโคตร • คุุณกมล-สมรััก-นุุ ชนภางค์์-โสฬส-จตุุเทพ อนุุ ชปรีีดา • คุุณเกรีียงไกร โล้้วิิชากรติิกุุล
• คุุณแม่่ประทุุม กายนาคา และครอบครััว • คุุณกรณ์์ -ไกร ชำำ�นิิวิิกรััยพงศ์์ • คุุณเกรีียงชััย-อุุบลรััตน์์ รััตนาสิิน, โบเนีีย-สาลีีงาม รััตนาสิิน
• คุุณแม่่ประทุุม แต่่งเจริิญสุุข และครอบครััว • คุุณกรณิิ ภา หาญวงศ์์ และครอบครััว • คุุณเกรีียงศัักดิ์์� พุ่่�มจำำ�ปา
• คุุณแม่่ประภาศ-คุุณพ่่อสมภพ-ด.ญ.มิิรา, ครอบครััวยอดดีี • คุุณกรรณิิ กา จิินารัักษ์์พงศ์์ • คุุณเกล็็ดชััย เบญจอาธรศิิริกุิ ุล, นพรััตน์์ พั่่�วสุุ,
• คุุณแม่่เปีียง กาญจนสุุวรรณ • คุุณกรรณิิ กา-กนกกร บุุญจรััสวงศ์์ สุธาทิพย์ นิ สิตสุขเจริญ
• คุุณแม่่พรรณีี แซ่่ตั้้�ง, วรวีีร์์-อิิซามุุ อามาโนะ และครอบครััว • คุุณกรองจิิตร ชมสมุุท • คุุณเกศณิิชย์์ ศิิริมิ าตย์์-ชลนาถ-นิิ ลนาถ นิิ ลพัันธ์์
• คุุณแม่่ยืืน-คุุณพ่่อจููม-จรรยา หน่่ อแก้้ว • คุุณกฤตพััฒน์์ ฐิิติิโชติิพณิิชย์์ อนุวัฒน์ เฮงตระกูล
• คุุณแม่่ลีีเทีียมอิิม-กฤศวััชร์์-เสาวลัักษณ์์ -ดวงแก้้ว- • คุุณกฤต-วาสิินีี อายุุสุุข • คุุณเกศิิณีี -บรรเจิิด-พััชรมณีี-พิิชญานิิ น-เมธััส-
ดวงพร กรวิจิตต์ศิลป์ • คุุณกฤติิกา บุุญศรีี เมธาวี หวังชาลาบวร
• คุุณแม่่สุุดใจ ศิิริลัิ ัทธยากร • คุุณกฤษ ศรีีอนัั นตนนท์์ • คุุณเกษร โพธิิบาย พร้้อมครอบครััว
• คุุณแม่่สุุนาทร-พ่่อสมรรถชััย นุุ ตผลิิน และครอบครััว • คุุณกฤษณะ-ปวีีร์์นุุช-ธนกร ไตรรััตน์์ • คุุณเกีียรติิชััย-ดร.เพ็็ญจัันทร์์ ชวิิน ล้้อจัักรชััย
• คุุณแม่่อ้้อย ตู้้�นิ่่� ม • คุุณกลอยใจ ชมสมุุท และครอบครััว ทิิศ ๖ • คุุณขณิิ ดา-มนูู -ธนัั ฏฐา อิินทะกนก
• คุุณยายยุุพิิน อ่่อนสุุวรรณ • คุุณกวง-คุุณบุุญมาก แซ่่ตั้้�ง • คุุณขนิิ ษฐา สนธิิโพธิ์์�, Beniamino-ด.ญ.Alessia-ด.ช.Massi-
• คุุณยายสมควร วิิเชีียรชััย • คุุณกวิินนา หลุุยส์์, Didrik ออพพีีโกร์์ด และครอบครััว miliano Francesshi
• เตี่่�ยอำำ�นวย-คุุณแม่่บุุญลืือ-ไกรสร-จิิดาภา- • คุุณกองแก้้ว สุุวรรณกาญจน์์ • คุุณขวััญชััย-สุุดา-กฤติิญา โฉมงาม
วงศกานต์-วีรกร อินทพิบูลย์ • คุุณกััญญา-เกลื่่�อน-เตีียง สุุวรรณเสม • คุุณขวััญรพีี สิิทตรีีสอาด
• เตี่่�ยฮั้้�ง-คุุณแม่่เฮีียะ พร้้อมลููกหลาน และทีีมงาน • คุุณกััญญาวีีร์์ เสีียงเลิิศ • คุุณขวััญฤดีี ศรีีอนัั นตนนท์์
• แม่่ชีีณฐกาญจน์์ ทองไพลิิน • คุุณกััณฑิิมา จัันทรประภา • คุุณเขมชาติิ-มณฑาทิิพย์์ ชำำ�นาญรบ
• แม่่ชีีมาลีีวรรณ เลี้้�ยงสกุุล และครอบครััว • คุุณกัันทนพรศิิอร แก้้วกายสิิทธิ์์� • คุุณเขมิิกา-แน๊๊ ตที่่�-น้้ องบารมีี แสงชา ฟอร์์ด และครอบครััว
• พระยาผุุย-นางพระยาแพงดีี-KINDALA-IT- • คุุณกัันธิิชา-คาซููโอะ-โยเนโกะ อุุดากาว่่า • คุุณคนิิ กา อิ่่�มอ่่อง
มะยงสิด-ดาราสิด-นามิด BILAVARN AND FAMILY • คุุณกััลยา ขจรกลิ่่�น และครอบครััว • คุุณคนึึ งบุุญ วััติิรางกููล


อาม่่ากุุลพรรณีี สิินพนมรััตน์์ และครอบครััว
อาม่่าพิิณรััตน์์ ศิิริสิ าลิิโภชน์์ , ครอบบครััวอนุุรักั ษ์์ธนนนท์์


คุุณกััลยาณีีย์์ บุุญอาจ
คุุณกาญจนา ศรีีสวััสดิ์์�


คุุณโค้้วโม้้วเจ็็ง, สมบุุญ ส่่งตระกููลศัักดิ์์� และลููกหลาน
คุุณคำำ�เขืือง-จิิตราภรณ์์ ราชมา, เตืือนใจ ประทุุมไทย,
169
ชัชนั นต์, จันทร์ธราพร เวฬุวนารักษ์

www.kalyanamitra.org
• คุุณคำำ�จัันทร์์-สุุจิิตตรา เวีียนวััน • คุุณจิินดารััตน์์ -TAKAAKI SASAGAWA, • คุุณชนากาญจน์์ ยิ้้�มเสมีียน หมู่่�ญาติิ และทิิศ ๖
• คุุณคิินโซ-ณัั ทชุุติิภา ซาโตะ บริษัท Tokyo Business Forum • คุุณชนิิ ดา พงศ์์สงวนสิิน
• คุุณคููหน่ำำ�� เตีียง, แม่่เฮีียง แซ่่ตั้้�ง, พ่่อชััยยศ-สุุเกีียรติิ-
• คุุณจิินตนา ประพัันธ์์ พนิิ ดา ธนาวุุฒิิ วััจฉลพงษ์์ • คุุณชนิิ ดา ยุุติิธรรม และครอบครััว
นุ ชกูล สรวยจิรวัฒน์ • คุุณจิินตนา โรบิินสััน และครอบครััว • คุุณชนิิ ดา-เจมส์์ มิิลลิิแกน
• คุุณเครืือวััลย์์ แสวกเกอร์์, ครอบครััวไชยเสนา, • คุุณจิินตนา วิิลเลีียมส์์ • คุุณชไมพร รััตนจงเกีียรติิ
วราภรณ์ เค บุตรขุนทอง • คุุณจิิรภรณ์์ ใจเที่่�ยง • คุุณชไม-ภููริษิ า-ทศพร-พิิชชาอร-วิิวิิธวิินท์์ รอดไสว
• คุุณโคตรดีีศรีีไสว การะเกตุุ • คุุณจิิรวรรณ กาญจนมณฑล พร้้อมบุุตร-ธิิดา และหลาน ๆ • คุุณชยุุดา พวงศรีี และครอบครััว
• คุุณง่่วยกีี แซ่่กััง • คุุณจิิรวรรณ จีีนาพัันธ์์ • คุุณชยุุตม์์-สมยศ-ปราณีี พัันทรััพย์์
• คุุณจงกชกร-จููนอิิจิิ-ด.ญ.ณัั ฐสึึมิิ ทสึึโนกาเกะ และครอบครััว • คุุณจิิระพร นิ่่� มอุุดมสุุข • คุุณชลาลััย ธาตรีีธร
• คุุณจงกลณีี เขจรานนท์์ • คุุณจิิระภา ช่่วยบััว • คุุณชลิิตา โยอิิชิิโร่่ ทาเคดะ
• คุุณจรรยา คุุวาบาร่่า-ธนิิ ดา นานารััตนกุุล • คุุณจิิราพร ต้้นนาค • คุุณชลิิตา สิิตานนท์์
• คุุณจรััญวิิทย์์-รชยา-คณิิ ศา สิิทธิิวงศ์์ • คุุณจิิราพร-จุุมพล โสตรโยม • คุุณชลิิตา-ณััฑศิิษฐ์์-ปกิิจ-อััญชลิินทร์์ วงศ์์ศิิริกุิ ุล
• คุุณจริิยา-ปิิยรััตน์์ ตรีีกิิตติิวงศ์์ • คุุณจิิราภรณ์์ ตัันคุุณากร, นาธาน อรรถวิิมล • คุุณชวนจิิตร-นราศัักดิ์์� บุุญนรากร
• คุุณจวง แซ่่กิิม และครอบครััว • คุุณจุุฑาทิิพ พนาวััฒนกุุล, ปณิิ ธ ศรีีเพ็็ญ • คุุณช่่วย-เพีียร-นพ.วัันชััย รบชนะ พร้้อมครอบครััว
• คุุณจอมจิิต-สุุทิิน-สุุธรรม-สุุทิินา อััศวเดชมงคล • คุุณจุุฑารััตน์์ ฉัั นทาดิิศััย • คุุณช่่วยวงศ์์ ศรีีสงคราม
• คุุณจะเด็็ด-หนูู จีีน-จัักรวาล-จัักรพงษ์์-จัักรพรรดิิ- • คุุณจุุฑาวรรณ แพร์์สััน และครอบครััว • คุุณชวลิิต ภู่่�พวง
วรธรรม สุวรรณธรรมา • คุุณจุุฬาทิิพย์์-เพเอริิก-นี่่� นา เฮ่่ยดาเลน • คุุณช้้องมาส พิิมหนองโพน
• คุุณจัักรกฤษณ์์ สถิิรเสถีียร • คุุณจุุฬาลัักษณ์์ ชุุมภููยศ, ร.ต.อ.ฐากร อิินทฤทธิ์์�, • คุุณชััชชญา-ภิิญญา เถลิิงนวชาติิ
• คุุณจัักรพงษ์์ ลิ่่�มพงศ์์พัันธุ์์� ศุภกร อินทฤทธิ์ และครอบครัว • คุุณชััชฎา-Ryo-Kenji Yoshimoto, ครอบครััวเนีียลเซ็็น
• คุุณจัักรวุุธ-ยุุพดีี หรั่่ง� ทอง • คุุณเจติิยา-ศัักดิิพงศ์์ ศรีีมงคล • คุุณชััชวาลย์์ คำำ�นำ�ำ ลาภ
• คุุณจัันทนา ตรีีรััตน์์ ตระกููล และครอบครััว • คุุณเจริิญ-อรพิินท์์ เถลิิงนวชาติิ • คุุณชััญญา อิินทรตุุล และครอบครััว
• คุุณจัันทนา ศรีีสมบููรณ์์ และครอบครััว • คุุณเจีียมเฮีียง แซ่่โง้้ว และครอบครััว • คุุณชััยประสิิทธิ์์�-วรลัักษณ์์ เสนีีวงศ์์ ณ อยุุธยา
• คุุณจัันทนา-คุุณจวบจิิตร บุุญประเสริิฐ • คุุณเจีียะจิิบ แซ่่บุ๋๋�น, ฉวีี-ระวีีวรรณ แมนประสาทกุุล • คุุณชััยพร ลีีวิิริยิ ะเลิิศ
• คุุณจัันทร์์ฉาย ไทยานนท์์ • คุุณใจสมาน อััมรีี และครอบครััว • คุุณชััยยภััทท์์(มหาจำำ�เริิญ) กัันชััย และหมู่่�ญาติิ
• คุุณจัันทร์์ฉาย บััวแช่่ม • คุุณฉกรรจ์์-ภคนางค์์ ชีีรจิินตน์์ และลููกหลาน • คุุณชััยยศ-พรรษพร อยู่่�ทรััพย์์
• คุุณจัันทร์์ทิิพย์์-โจนาธาน เวฬุุริยิ • คุุณฉวีีวรรณ ไชยเสนา • คุุณชััยยุุทธ-บุุญปลููก-โสภิิต คููสุุวรรณ
• คุุณจัันทร์์เพ็็ญ จงประเสริิฐพร • คุุณฉายา จิิตติิพัันธ์์, สมศุุข เทีียมปฐม • คุุณชััยวััฒน์์ -อารีี คำำ�สวััสดิ์์�, ยููอิิม-สามารถ จิิราวััฒนพงษ์์
• คุุณจัันทรา โกมลสุุรเดช และครอบครััว • คุุณเฉลิิม-พนิิ ดา รััตนสิิน, ชุุนฮวด แซ่่ลิ้้�ม, สมใจ แซ่่ซิ้้�ม, • คุุณชาญวิิทย์์-อรสุุดา-ภคิิน ตั้้�งแต่่งกิิจ
• คุุณจัันทิิมา นามิิกุุจิิ, ครอบครััววรณะภมร ประทีป-ปิยนุ ช-ณั ฏฐนิ ช-ธนภัทร ชุนอนั นท์ • คุุณชาริินญา แสนมงคล พร้้อมครอบครััว และญาติิมิิตร
• คุุณจาณีีณ จิิรสกุุลเดช • คุุณเฉลิิมพล ประมวลวงศ์์ • คุุณชำำ�มะนาด เตชะวณิิชย์์
• คุุณจาริิณีี -จตุุรภุุช โสตรโยม • คุุณเฉลิิมพล สงวนพงษ์์ และคณะญาติิมิิตร • คุุณชิิษณุุชา-ปราณีี สิิทธิิธรรม, มนัั ส หวัังใจสุุข
• คุุณจารุุวรรณ สัังฆมานนท์์ • คุุณเฉลิิม-สล้้าง-อรวรรณ-พงศ์์ลััดดา เนื้้� อนุ่่�ม และครอบครััว • คุุณชุุติิกานต์์ เพีียรอรรถสาร
• คุุณจำำ�เนีียน ศรีีสวััสดิ์์� • คุุณชนกนาถ คำำ�มะสอน • คุุณชุุติิมา บุุญศิิริวัิ ัฒนกุุล
• คุุณจิิณััฐติิกานต์์ ว่่องไววิิริยิ ะ และครอบครััว • คุุณชนกานต์์-พงศ์์สงวน บุุญญฤทธิ์์� และครอบครััว • คุุณชุุนจิ่่�ง-เง่่งสีี แซ่่โง้้ว
• คุุณจิิตต์์จำำ�นงค์์ อมรศัักดิ์์� • คุุณชนะชััย วลิิตวรางค์์กููร • คุุณชุุลีีพร รายะนาค
170 •

คุุณจิิตรลดา ปรีีชาหาญ
คุุณจิิตราภรณ์์ ราชมา
• คุุณชนะ-วาทิินีี -ณัั ฐวรรธน์์ -ณัั ฏนรา จุุลเวช
• คุุณชนัั ญญา ธีีรวััฒนเศรษฐ์์
• คุุณชููเกีียรติิ-จัันทร์์เพ็็ญ-กรกมล ลิิขิิตวรรณวุุฒิิ,
อัญชลี-ชวกร-เกรียงศักดิ์ ศรีเงินยวง

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
• คุุณชููเกีียรติิ-วรรณพร โฆษิิตวััฒนาพานิิ ชย์์ และครอบครััว • คุุณณัั ฐสุุดา-สิิริภัิ ัทรสร คููหาสรรพสิิน • คุุณทััศนา-Nils Anders Jacobsson และครอบครััว
• คุุณชููจิิตร์์ น้้ อยแก้้ว และครอบครััว • คุุณณิิชาภััทร วงศ์์ศิิริ ิ และครอบครััว • คุุณทััศนีีย์์ ธรรมา, ภููวณัั ฐ สุุปราณีี,
• คุุณชููชาติิ-เพ็็ญทิิพย์์ ศรีีปราโมทย์์ • คุุณณิิ ศารััสมิ์์� ยิ้้�มละม้้าย และครอบครััว ภูมิภรตวรรษ ยุคุณธร
• คุุณชููศรีี ยััญทิิพย์์ • คุุณดนิิ ตา-พรหมสุุรินิ ทร์์ พุุทธรรมวงศ์์ • คุุณทิิพรััตน์์ จัันทนา
• คุุณโชควิิวััฒน์์ -รัังสีี เหมืือนเงิิน และคณะญาติิมิิตร • คุุณดวงพร สััจจามรรค • คุุณทิิพรััตน์์ พงศ์์ธนาพาณิิช
• คุุณโชติิมา พููนสวััสดิ์์�พงศ์์ • คุุณดวงฤดีี-Chris Cheatham และครอบครััว • คุุณทิิพวรรณ วงศ์์ศิิริธิ ร
• คุุณโชติิวิิทย์์ ศรสุุวรรณ • คุุณดารารััตน์์ -สุุขชััย-กชพร อุุษาอำำ�ไพ • คุุณทิิพวรรณ สุุขาทิิพย์์
• คุุณไชยยัันตร์์ พััฒนพงศ์์ • คุุณดาราวรรณ ห่่านศรีีสุุข • คุุณทิิวาพร-พ่่ออุุดม-แม่่สกุุล สมภิิพงษ์์,
• คุุณไชยยุุทธ-รศ.สุุรทิิน-ผศ.กุุลภา-กุุลทรััพย์์ เปรื่่อ� งเวทย์์ • คุุณดำำ�รง ปานน้้ อย กิจภูสุข โกสุมศุภพล
• คุุณไชยากร-อิินทิิรา-ภััทร ศิิริกุิ ุล • คุุณดีีวััน สุุประดิิษฐอาภรณ์์ • คุุณทีีฆทััศน์์ สุุวรรณเครืือ และครอบครััว
• คุุณไช่่หมง แซ่่พััว • คุุณเดชา-กิิรณา แจ้้งเจริิญ • คุุณเทพีีพรรณ-ประเสริิฐ-เพ็็ญศิิริ-ิ ภััสสร ฉวีีวงษ์์
• คุุณซุ่่�งเอง แซ่่เล้้า, คุุณเหล็็กฮี้้� แซ่่เฮ้้ง • คุุณเด่่นพงษ์์-สุุนิิดา ชาวงษ์์ • คุุณเทอม-สิิริรัิ ตั น์์ -กนิิ ษฐา-จิิราวรรณ มาดไทย
• คุุณเซนจิิ-จัันทนีี-ซึึมิิกะ-ชีีวานัั นทน์์ คอนโด • คุุณเดืือนเพ็็ญ เอี่่�ยมสุุพรรณ • คุุณโทนี่่� วรรณะ
• คุุณเซี้้�ยมเล้้ง-เฮง แซ่่โง้้ว, บัักลั้้�ง แซ่่ตั้้�ง, สมร ลำำ�มููล, • คุุณแดงตราด รวยตลอด • คุุณโทโมมิิ โมริิกาว่่า-โกเมทร์์ เตีียงเกตุุ และครอบครััว
ครอบครัวรัตนพงศ์พาณิชย์ • คุุณตฤณพรรษ-ทิิพยรััตน์์ ตำำ�นานวััน • คุุณไทย-จิิตรลดา ทะประดิิษฐ์์
• คุุณโซอิิชิิโร่่-ณสพร-ภููมิิพััฒน์์ -ปุุญญิิศา ฮาชิิซููเม • คุุณเต็็มใจ สุุทธิิประภา, สุุวรรณา สว่่างจัันทร์์ • คุุณธงชััย-บุุศนีี นพฤทธิ์์� และทิิศ ๖
• คุุณญาณิิ ศา ศิิริกุิ ุล • คุุณเตืือนใจ ซึ่่�งโชติิกุุล • คุุณธงชััย-วิิลาวััลย์์ วิิเศษพัันธุุรังั ษีี
• คุุณฐกลพััศ-สรััลพร เจนจิิวััฒนกุุล และครอบครััว • คุุณเตืือนใจ-ปััณฑิิตา สุุวดิิษฐ • คุุณธนกร หลิิน
• คุุณฐาน์์ ณิิชา แซ่่ลิ้้�ม และลููก • คุุณถนอมรััตน์์ หััสชััย • คุุณธนกร-ภััสสร์์อร-กานดา นิิ ยมศิิลป์์
• คุุณฐิิติทิิ ิพย์์ ปิิยะวััฒน์์ • คุุณถนอมศรีี-วทัันยา ใจวงศ์์ • คุุณธนญา ขวััญจิิโรช
• คุุณฐิิตินัิ ั นท์์ สุุทธวาทิิน • คุุณถนอมสิิน พิิศสุุวรรณ, ครอบครััวมััสซึึโมโต้้ • คุุณธนธััช ร่่วมสุุข
• คุุณฐิิติิพร คิิดสวย • คุุณถิิรพุุทธิิ-พรธิิรัตั น์์ -ดุุจตะวััน-กัันตพััฒน์์ เขีียวไสว • คุุณธนพร แซ่่เช็็ง และครอบครััวญาติิมิิตร
• คุุณฐิิติิมา-โทชิิโอะ ยููฮารากิิ • คุุณทรงชััย-เรณููทมนธ์์ ศิิริวัิ ัฒพงศ์์ พร้้อมบุุตรธิิดา • คุุณธนพร-บุุญชูู-ศิิริวัิ ัฒนา-ศิิริถิ าวร-ศิิริมิ งคล-สุุวรรณ-
• คุุณฐิินิิตา ยามไชย • คุุณทรงศรีี ทรงมณีี จตุพร-อุเทน-อุทัย-บุญญฤทธิ์ แป้งหอม
• คุุณณฐา ศรีีหิินกอง • คุุณทวีีชััย-สิิริมิ น-สิิริมิ า-สรวิิศ-สุุบุุษบา ชััยสุุวรรณ • คุุณธนพล-ลำำ�ใย-ชุุติิมณฑน์์ -ศัันสนีีย์์-ชโยดม สีีน้ำำ�� เงิิน
• คุุณณภััทร พุุทธางกููรานนท์์ • คุุณทวีีป-ปราณีี-นิิ ธิิภา-ศิิวพร สุุขวารีี • คุุณธนรรภรณ์์ เศรษฐ์์จิินดา, ณรััชศรััณย์์-ปรััชญ์์ธรณ์์ -
• คุุณณััชชา เปลี่่�ยนโมฬีี-วีีรชััย สงครามรอด • คุุณทวีี-ปััญญารััตน์์ เต็็มฤกษ์์ขจร, ศลิิษา มธุุรพจนางกููร อรสรัช-ณภัทรธรณ์ ธนฤทธิพร
• คุุณณัั ฏฐ์์ภาพร อิินทรสิิทธิ์์� • คุุณทวีีลาภ ศรีีโกมล • คุุณธนวััชร์์ พัันธศุุภร และครอบครััว
• คุุณณัั ฐกมล โกเมนท์์จำำ�รัสั และครอบครััว • คุุณทวีี-วรรณา ปััตทวีีคงคา และครอบครััวญาติิมิิตร • คุุณธนัั ชพร อััศวยืืนยง
• คุุณณัั ฐชยา ดำำ�รงรััตน์์ • คุุณทวีี-อััมพร คชวงศ์์ และครอบครััว • คุุณธนัั ญชััย ศิิริกุิ ุลไพบููลย์์, วุุฒินัิ ั นท์์-ชนกัันต์์ ปัันติิ
• คุุณณัั ฐนัั นท์์ จึึงจตุุพร และครอบครััว • คุุณทศพร แจ่่มผล • คุุณธนัั ญชััย สมุุหวิิญญูู
• คุุณณัั ฐนัั นท์์-ธะนูู -อาทิิตย์์วงศ์์ บุุญเรืือง • คุุณทศพร เฮด และครอบครััว • คุุณธนาวิิทย์์-แก้้วอััปสร ภััทราดููลย์์, ธิิดาเทพ สิิงหะพัันธุุ
• คุุณณัั ฐนัั นท์์ วิิธััญญโคตร และครอบครััว • คุุณทองคำำ� สิิงหนาม และครอบครััว • คุุณธมนพััชร์์-เพ็็ญพิิชญา-วรางค์์รัตั น์์ โชติิเสถีียรธรรม
• คุุณณัั ฐพร ขััติิบุุญ • คุุณทองสาย รััชพงษ์์ และครอบครััว, ร้้าน Yummy Thai • คุุณธรรศวััจน์์-กิิตติ์์�ชญา-ด.ช.ชนาวรรธน์์ ลืือสุุขประเสริิฐ
• คุุณณัั ฐมนต์์ รััตนประชา • คุุณทััน เลถิิ • คุุณธวััชชััย-จิินดามณีี-กััญจนพร-จิิตติิภััทท์์ ทองประเสริิฐ


คุุณณัั ฐวุุฒิิ กาญจนสิิทธิ์์� และญาติิมิิตร
คุุณณัั ฐสิินีี -อรุุณีี -แสงจัันทร์์-ประหยััด-ธััญญลัักษณ์์ -


คุุณทัันจิิตร สีีหา
คุุณทัับทิิม สืืบไทย และครอบครััว


คุุณธวััลหทััย เรืือนสอน
คุุณธััญกร เกิิดโภคา, NOUR อธิิปัญ ั ญา,
171
สราญรัตน์ -ราชาวดี ALIEL-MOHAMAD, แม่กิม-พ่อฉั ตรชัย เกิดโภคา

www.kalyanamitra.org
• คุุณธััญญสิินท์์-วััฒนีีย์์ พลอิินทร์์ และครอบครััว • คุุณนฤมล คำำ�มา • คุุณนิิ ภา นิิ ธิรัิ ตั นสุุวรรณ และบุุตรหลาน
• คุุณธััญนัั นท์์ จารุุจิินดา • คุุณนฤมล จรััญวาศน์์ • คุุณนิิ ภาธร โรว์์
• คุุณธััญนุุ ช-สุุชญา-ชััญญา-ทััยธวััช อิินทรตุุล • คุุณนลิินีี ศรีีอนัั นตนนท์์ • คุุณนิิ มิิตร-วิิไล อุ่่�นจิิตติิกุุล
• คุุณธาดา วงศ์์คุุณานนท์์, อััมพร ปัักกาวะโร • คุุณนวพััณณ์์ กััญจนสิิริเิ พ็็ชร, ครอบครััวธนวััตอััศว • คุุณนิิรมนต์์-วรสุุธีี มณีีฤทธา และครอบครััว
• คุุณธารทิิพย์์-สุุกานดา มุุณีี เพชร์์รัตั น์์ • คุุณนวรััตน์์ จิิระดารากุุล, จิิวตึึงเงี้้�ยง เตี๋๋�ยวเอ็็งเจ็็ง • คุุณนิิรมล แสงวรรณ์์
• คุุณธารารััตน์์ อิินทรเสนา และครอบครััว • คุุณนวลจัันทร์์ รัักตประจิิต • คุุณนิิรัตั น์์ -ณรงค์์ศัักดิ์์� หริ่่ง� แก้้ว
• คุุณธิิติิพัันธุ์์� ศรีีอนัั นตนนท์์ • คุุณนวลนิิ จ หงษ์์วิิวััฒน์์ • คุุณนิิรันั ดร์์-ประทุุม ปาละกููล
• คุุณธีีรดาภรณ์์ ภููวนา • คุุณนวลนิิ ตย์์ แต่่งเจริิญสุุข • คุุณนิิรุตุ ติิ คงเจริิญพร และครอบครััว
• คุุณธีีรพััฒน์์ สิิทธิิบวรสกุุล และคณะญาติิมิิตร • คุุณนวลปรางค์์ จัันทนา • คุุณนุุ ช นาคะเวช
• คุุณธีีรยากร-ศิิริจัิ ันทร์์ เรืืองเล็็ก • คุุณน้้ อย-ขนิิ ษฐา-นัั นทวััน-ธนดล กัันวงค์์ และครอบครััว • คุุณนุุ ชจรีี อมรรััตน์์ ธำำ�รงค์์ และครอบครััว
• คุุณธีีระชััย กาญจนเนตร และครอบครััว • คุุณนัั ฐพล แคพัันดุุง • คุุณนุุ ชนัั ดดา-ด.ช.ธีีระเดช-ด.ช.ธีีราทร อยู่่�สุุขีี
• คุุณธีีราพร บุุญเนาว์์ • คุุณนัั ฐพล พลวััฒน์์ , คุุณสุุกััญญา สุุทธิิพัันธ์์ • คุุณนุุ ชริินทร์์ ศรีีคำำ�, ศิิรินิ ภา-ศุุภกฤต เสวิิสิิทธิ์์�
• คุุณธีีรีียา มงคลกวิิน และญาติิมิิตร • คุุณนัั นท์์ฐิิตา นิ่่� มอุุดมสุุข • คุุณนุุ ชรีีย์์ อัังประภาพรชััย, อััครกิิตติ์์�-ชนิิ นทร์์-
• คุุณนคร-พรพิิมล วานิิ ชจำำ�เริิญกุุล, พรทิิพย์์ ศิิวบุุณยวงค์์, • คุุณนัั นทพร ดีีดอม ชนิ ดา ซิม้ เจริญ และทิศ ๖
ร.ต.ท.ประเสริฐ-ทองหยด-เดชา รักษาสุข • คุุณนัั นทภััค เมธมนัั ส • คุุณนุุ สรา กิิจหนองสรวง และครอบครััว
• คุุณนงนุุ ช ตั้้�งโชคสิิริกุิ ุล • คุุณนัั นทา-อดิิศร-นฤมล-ดวงฤดีี บุุญมีีวิิริยิ ะ • คุุณเนตรนภา ทรััพย์์ประโคน
• คุุณนงลัักษณ์์ วงศ์์รัตั นานุุ กููล และครอบครััว • คุุณนาฏอนงค์์ ศิิริพัิ ันธ์์ • คุุณบรรจบ-ลััดดา เตชาพิิสุุทธิ์์� และครอบครััว
• คุุณนงลัักษณ์์ สาโรชสุุวรรณ และครอบครััว • คุุณนาตยา สุุทธิิบููรณ์์ , รััตนา กลิ่่�นประทุุม • คุุณบรรณกร ทรายคำำ�
• คุุณนงลัักษณ์์ อิินทรโยธา • คุุณนาถฤดีี บุุณยรััตพัันธุ์์� • คุุณบรรณารััตน์์ พลัับสุุขขีี
• คุุณนงลัักษณ์์ -จำำ�นงค์์-ศุุภกร พััดเอี่่�ยม • คุุณนานา ลิ่่�ว และครอบครััว • คุุณบัังอร บุุญลาภ
• คุุณนทพงศ์์ จัันทนา, ณััชฐานัั นดร์์ เกตุุวิิเชีียรไชย์์ • คุุณนำำ�ชััย รุ่่�งรััตนพััฒนา, ศิิริพิ ร เจตน์์ มงคลรััตน์์ • คุุณบัังอร-Michio-Taisuke-Yasuko Yanagawa
• คุุณนพดล-พลเทพ-ดร.สุุรวีีร์์ ช่่วยพิิชััย • คุุณน้ำำ�ทิ
� ิพย์์ นาคแสนนัั นท์์ และครอบครััว • คุุณบััณฑิิตา พึ่่�งพุ่่�ม
• คุุณนพภรณ์์ จุุลเวช • คุุณนิิ คม โคสุุวรรณ และบุุตรหลาน • คุุณบััวหลวง คชศิิลา
• คุุณนพภรณ์์ วงษ์์จริติ • คุุณนิิ ด-ลััดดา อััศดาสุุข, ครอบครััวอััศดาสุุข • คุุณบำำ�รุงุ -อรุุณรััตน์์ -น้ำำ�� เพชร-วรพล สารีีกิิจ,
• คุุณนพรััตน์์ จอห์์สััน • คุุณนิิ ตติิญา ดวงคำำ� จักราช โชติด�ำรงค์, พ่อวิเชียร-แม่สนม ไตรยราช
• คุุณนพรััตน์์ -พ.ต.ชููเกีียรติิ-ร.อ.ชััชริินทร์์ สิินค้้าเจริิญ • คุุณนิิ ตยา ทองแพง • คุุณบุุญช่่วย Lars เนีียมวััน Andersson และครอบครััว
• คุุณนพรััตน์์ -ฤดีีวััลย์์-จุุฑามาศ จีีนบุุญ • คุุณนิิ ตยา-คุุณรษา ประเสริิฐศรีี • คุุณบุุญชััย-ปานทิิพย์์-กมลลัักษณ์์ -ชนิิ ภา-สรวิิศ จัันทโรกร
• คุุณนพวิินท์์ ประเสริิฐภัักดีีกุุล-ณัั ฐิิดา พุุทธพรม • คุุณนิิ ตยาภรณ์์ ธนภููษิิตวณิิชย์์ และครอบครััว • คุุณบุุญชื่่�น-หทััยรััตน์์ -ไพโรจน์์ วิิทยเบญจางค์์
• คุุณนภาพร วลิิตวรางค์์กููร • คุุณนิิ ธิิภา สุุขวารีี • คุุณบุุญญาณีี บููรณบุุรุษุ ธรรม,พรพิิชชา วััณนะวััฒนะ
• คุุณนภาพร ศรีีสมบััติิ • คุุณนิิ ธิิมา บุุญนำำ�สุุข • คุุณบุุญญารััศมิ์์� ภััทราเรืืองริิน
• คุุณนภาพร-ตะวััน โฉมปรางค์์ • คุุณนิิ ธิิศ-พรพิิมล-เกสรา เรืืองศรีี • คุุณบุุญมีี-ทองคำำ� ดวงสวััสดิ์์�
• คุุณนราวุุธ-ศิิริเิ ดืือน พลัับประสิิทธิ์์� และครอบครััว • คุุณนิิ นนาท-อมรา บุุณยรััตพัันธุ์์� • คุุณบุุญเยื่่�อ-แพนศรีี สุุขสาคร
• คุุณนริินทร์์-เสมอ สุุเจตนัั นท์์ • คุุณนิิ นัันทน์์ ตา ชยัันต์์วริิทธิ์์�, เอกชััย-เอกวิิทย์์-ชุุติิพนธ์์- • คุุณบุุญเรืือน ตุ้้�มทอง
• คุุณนริิศ เกรีียงเจริิญศิิริ ิ รุจาภา ศิรสิ ุนทร • คุุณบุุญศรีี สมานไทย
• คุุณนริิศร นาคะนคร, สุุรีีรัตั น์์ ทองประเสริิฐ • คุุณนิิ พนธ์์ นิ่่� มอุุดมสุุข • คุุณบุุญเสริิม-อรุุณีี ชิินพิิพััฒน์์ และครอบครััว
172 •
พร้อมครอบครัว
คุุณนฤพนธ์์ เตชะวััฒนวรรณา, เมย์์-คชา-ชฎา-
• คุุณนิิ พนธ์์-กิิมเสีียง-สุุวรรณพร แสงกุุศล, ดุุลยวััต-
ชนิ กานต์ เรืองแสง, ชุมชน สุ เศรษฐีแก้ว


คุุณบุ้้�นเจีียว แซ่่ตั้้�ง-ลััดดา ศรีีวะโลสกุุล
คุุณบุุศราคััม โคตะมา
ชนา มหาด�ำรงค์กุล

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
• คุุณบุุศริินทร์์ เตชะจำำ�เริิญสุุข และทิิศ ๖ • คุุณปราณีี กิิตติิเวช • คุุณพณสร ธรรมพ้้นภััย-ริิญญภััสร์์ ชััยหิิรัณ ั ย์์เวช
• คุุณบุุษบง-พิิชััย-ปิ่่�นหทััย-ชิิดชนก-ณัั ฐพร • คุุณปราณีี ภาคอรรถ • คุุณพนมพร ช่่างผาสุุข
• คุุณบุุษบา พุ่่�มจำำ�ปา และครอบครััว • คุุณปราณีี สุุวััธนเมธากุุล และครอบครััว • คุุณพนอ ธารากรสัันติิ และครอบครััว
• คุุณบููรณ์์ เลิิศ-สิิริมิ ณต์์ อำำ�นาจฐิิตนัั นท์์ และครอบครััว • คุุณปราณีี-คนึึ ง พะลััง • คุุณพนัั ชกรณ์์ ลุุนลา
• คุุณเบญจพร-ไพฑููรย์์-พรทิิพย์์-พ.ต.ท.พงศ์์พิทัิ ักษ์์- • คุุณปรานีี ดาโลดม • คุุณพนิิ ดา ตั้้�งศิิริคิ มขำำ�
ณั ฐพล บุญบ�ำรุง • คุุณปรีีชา ชััยธนสกุุล • คุุณพนิิ ดา สุุวรรณดีี
• คุุณปกรณ์์ชััย-สิิริวัิ ัลย์์ มะโนสมุุทร และบุุตรหลาน • คุุณปรีีชา ทรััพย์์รุ่่�งเรืือง และครอบครััว • คุุณพรจัันทร์์ ลููกอิินทร์์
• คุุณปฐมใจ-สิิริพิิ ิณ คุุณานุุรักั ษพงศ์์ • คุุณปรีียา สาคริิกานนท์์, ซ่่งแช (เฮง) แซ่่โง้้ว • คุุณพรชนก บุุญพิิน
• คุุณปฐมา กุุลเสนา และครอบครััว • คุุณปรีียาภรณ์์ ขััตติิยาภิิรักั ษ์์ • คุุณพรณีีย์์ กัันทรากร
• คุุณปทุุมมา บััวก้้านทอง • คุุณปรีียาภรณ์์ สุุปัญ ั ญา • คุุณพรทรนา โคบายาชิิ และครอบครััว
• คุุณปรภพ-พััชริินทร์์-ปุุณนภา-ธนชััย-พญ.ณัั ฎฐ์์ชญาธิิปก์์- • คุุณปลิิว-รััชนีี-ทวีีวุุฒิิ สุุริยิ ะมงคล และครอบครััว • คุุณพรทิิพย์์ เจีียมบุุญศรีี พร้้อมครอบครััว
ธัญลักษณ์ กิตติจ�ำเริญ • คุุณปวัันรััตน์์ -สุุนัันทา-สุุชาติิ-ลััดดาวััลย์์-ธนกร-กิิตติ์์�ดนัั ย- • คุุณพรทิิพย์์ สวามิิวััสดุ์์� และครอบครััว
• คุุณปรมา ศ.จ.มิิลาลิิ รพี-ศิรพิ ร-พรทิพย์ จันทรกานต์โกศล • คุุณพรทิิมา นวเจริิญชััย
• คุุณประกอบ-หััสดีี วสัันตชาติิ และครอบครััว • คุุณปวีีณา แซ่่ลิ้้�ม • คุุณพรเทพ-ทััศนา-จิิรพร-ฐิิติิวุุฒิิ เจริิญสุุทธิิโยธิิน
• คุุณประกอบ-ฮุุยเกีียง เหมพรหมราช และครอบครััว • คุุณปองรััตน์์ จิิรสกุุลเดช • คุุณพรนิิ ภา บุุตรเอก
• คุุณประดา สุุขโรคกิิจ • คุุณปััทมา รััตนคช และครอบครััว • คุุณพรพรรณ สุุพรรณวรรษา และครอบครััว
• คุุณประทิิน เลิิศลััทธภรณ์์ • คุุณปาณทิิพย์์ เปลี่่�ยนโมฬีี • คุุณพรพรรณ เสีียงชื่่�นจิิตร
• คุุณประทุุม เล็็กมณีี • คุุณปาน ทิิมเที่่�ยง • คุุณพรพิิณ เหลืืองไชยรััตน์์
• คุุณประนอม พรสวรรค์์ รััตนเสนา • คุุณปิ่่�นประภา วิิญญรััตน์์ • คุุณพรพิิมล คงเกีียรติิยศ และทิิศ ๖
• คุุณประนอม เอมพิิน และครอบครััว • คุุณปิิยนุุ ช อัังศุุภััทร์์ • คุุณพรพิิมล สุุเมธาวััฒนะ, เสริิมทรััพย์์ มโนภิิญโญภิิญญะ
• คุุณประนอม-วริิษฐา ใจน่่าน และครอบครััว • คุุณปิิยะ ปิิตุุเตชะ มณฑา รอดอำำ�พัันธุ์์� • คุุณพรเพ็็ญ สิิมะไพศาล และครอบครััว
• คุุณประภััสสร คำำ�ภิิโร, ใจทิิพย์์ ภััทรวิิเชีียร • คุุณปีีเตอร์์-ปาริิชาต แอนเดรส • คุุณพรรณงาม จาตุุรงค์์สาโรช
• คุุณประภััสสร โตเจริิญ • คุุณเปรมใจ ลิ้้�มสุุวััฒน์์ • คุุณพรรณีี-ชาตรีี-แก้้วมณีี วนิิ ชยางกููรานนท์์
• คุุณประภััสสร ภาคอรรถ • คุุณเปรมหทััย ALEX SCHLICKE • คุุณพร-ลิินดา ปรีีดานนท์์ และญาติิมิิตร
• คุุณประภาพร ตัันติิวััฒน์์ • คุุณเป๊๊ะหยี่่� แซ่่ภู่่� และครอบครััว • คุุณพล อภิินัันทเวช
• คุุณประภาวดีี นามพิิลา และครอบครััว • คุุณเปี่่�ยมสุุข ชำำ�นาญรบ • คุุณพลวััฒน์์ นาคะลัักษณ์์ และครอบครััว
• คุุณประมวลศิิลป์์ โฮคแลนด์์ • คุุณไปรยดา-Kouiichi-Kimie Enomoto และครอบครััว • คุุณพวงทิิพย์์ นาคเป้้า
• คุุณประยงค์์-ทวีีพร ตัันสงวน • คุุณผกามาศ-สุุวิิดา หวัังวรวุุฒิิ และครอบครััว • คุุณพวงผกา บุุญทัักษ์์
• คุุณประยนต์์ คำำ�ฟอง โนนริิบููรณ์์ • คุุณผ่่องศรีี ศรีีคราม • คุุณพวงเพ็็ญ ฮีีสซ์์, Paul Heesch
• คุุณประยุุทธ-เกษณีี ยุ่่�นสมาน • คุุณผ่่อ-อาจวน แซ่่ฮ้้อ • คุุณพศวีีร์์-จัันทร์์วิิภา-ธกร-กานดา อนัั นต์์ฐานิิ ต
• คุุณประยููร-ประทิิน บุุญเรืือง • คุุณไฝ แซ่่ไช้้-วนิิ ดา-สุุนีีย์์ ฉายาวรกุุล • คุุณพสิิษฐ์์ บููรณะกููล และทิิศ ๖
• คุุณประสงค์์ บุุญนิิ ธิิฐิิติิกุุล • คุุณพงศ์์เผดิิม-มธุุรส คู่่�อรุุณ, นัั นทา ขวััญเจริิญ • คุุณพะเยาว์์ เงิินชาลีี และครอบครััว
• คุุณประสงค์์-วััฒนา-กััปตัันนฤพนธ์์-ดร.วรพรรณ- • คุุณพงษ์์ประวิิตร เลิิศสิินภากร บิิดามารดา และญาติิมิิตร • คุุณพััชนีีย์์ จัันทร์์อิินทร์์
ประพันธ์ จันทรากุลศิร ิ • คุุณพจนีีย์์-ธวััชชััย อมรโกศลพัันธ์์ • คุุณพััชรากร ลาภเจริิญกิิจ และครอบครััว
• คุุณประสิิทธิ์์�-ชลดา-กนกวรรณ-กชกร หนูู แดง • คุุณพจวััลย์์ สุุรมนทวีีกิิจ, คุุณศศิิวิิมล ถำำ�อุุทก • คุุณพััชราพร อิินทร์์ธิิราช


คุุณประสิิทธิ์์�-รััชนีี ตรีียกููล พร้้อมครอบครััว
คุุณประหยััด วงษ์์พิิรา


คุุณพชรนนท์์ จัันทกููล
คุุณพชระ แก้้วไซเทีียน และครอบครััว


คุุณพััชรีี วชิิระนัั นทกุุล และผู้้�มีีพระคุุณ
คุุณพััชรีีพร ลาภจิิตรกุุศล
173

www.kalyanamitra.org
• คุุณพััด-จี่่�โซ่่น แซ่่ภู่่�, กาญจนา ชนสยอง • คุุณเพรีียว-อาจิินต์์-ฤทััย-วิิรุจน์ุ ์ อภิิวััฒนศร • คุุณมานพ ประดิิษฐ์์ขำำ�
• คุุณพััทธนัั นท์์ เหมทนาม • คุุณเพิ่่�มพููน แสงบุุญชูู • คุุณมานิิ ต รััตนสุุวรรณ
• คุุณพัันธวรรณ พิิริยิ ะไพโรจน์์ • คุุณเพีียงเพ็็ญ ชููเกีียรติิสกุุลกาล • คุุณมานิิ ตย์์ นุุ ศรา พิิลึึก
• คุุณพัันเลิิศ จำำ�ปาขอม และครอบครััว • คุุณแพงมณีี อิินทิิสาน และครอบครััว • คุุณมานิิ ตย์์-ซิิวลั้้�ง วรรััตน์์ ญานนท์์ และครอบครััวญาติิมิิตร
• คุุณพิิชชุุศรีี ศิิริถิ าพร • คุุณโพ๊๊ะ ใจหาญ และครอบครััว • คุุณมาริิศา ตาโพธิ์์�
• คุุณพิิชญา ฝอยหิิรัญ ั • คุุณไพบููลย์์ สืืบสาย • คุุณมาลััย คำำ�ภีีทููล และครอบครััว
• คุุณพิิชญาณ์์ ภััส จงภััทรกิิจ, ชาณัั ฐ แนบเนีียร • คุุณไพพร วงศ์์ประเสริิฐ และครอบครััว • คุุณมาลา ปานน้้ อย
• คุุณพิิเชฐ-จุุไรรััตน์์ เตชะจำำ�เริิญสุุข และครอบครััว • คุุณไพพรรณ อิินทะเตชะ • คุุณมาลา ปานสง่่า และครอบครััว
• คุุณพิิณทิิพย์์ เจีียมวิิเศษ • คุุณไพรััช วรภััทรกิิจกุุล • คุุณมาลิินีี -โทมััส ไอเอโควนา
• คุุณพิิณทิิพย์์-สุุมาลีี-วราภรณ์์ -เมธานัั ย • คุุณภรณีี กิิจไพศาลศัักดิ์์� • คุุณมาลิินีี -รััตนา ชาลีีทา
• คุุณพิิมพ์์แข-กมลชนก สายสมร • คุุณภริิษา ธนภััควิิจิิตร และครอบครััว • คุุณมุุกดา-ปานรวีี-กััณภััค พรธิิสาร
• คุุณพิิมพ์์ใจ วิิเศษพัันธุุรังั ษีี • คุุณภลดา โอนอกฮิิว • คุุณเมทิิกา โยฮัันซ่่อน และครอบครััว
• คุุณพิิมพ์์ชนก-สุุพิิชา สายสมร • คุุณภัักดีี เมฆจำำ�เริิญ • คุุณเมธา ตั้้�งสืืบกุุล
• คุุณพิิมพ์์รภััส ปิิติิธราพงษ์์ • คุุณภััชรา จัันทนา • คุุณยรรยง-รุ่่�งรวีี-ภููรีี-ธนิิ ก ลิ้้�มเลิิศวาทีี
• คุุณพิิมลพรรณ ฉัันทาดิิศััย • คุุณภััชราพร ปริิโยทััย • คุุณยลรดีี ศรีีสวััสดิ์์�
• คุุณพิิมลพรรณ เหลืืองวงศ์์วาน และครอบครััว • คุุณภััทธิิดา แรงทน • คุุณยสารััตน์์ -สอิ้้�ง เอกกลาง และครอบครััว
• คุุณพิิรศุุษม์์-ทิิฆััมพร แซ่่เถา และครอบครััว • คุุณภััทร อิินลาภ และครอบครััว • คุุณยาใจ วิิศิิษฐ์์ศิิริกุิ ุล
• คุุณพิิรุลุ ห์์-พรศรีี-ประจวบ-ไพบููลย์์ นิิ มิิตยงสกุุล, • คุุณภััทรฤดีี ผดุุงพััฒน์์ และครอบครััว • คุุณยี่่�คน แซ่่ผู่่�, โบ้้วตี่่� แซ่่ห่่าน, ศริินทิิพย์์ ผู้้�แกล้้วกล้้า
ครอบครัวนิ้ มกวงเชียง • คุุณภาณุุพงศ์์ ปิ่่�นชััยพััฒน์์ • คุุณยุุธยา เรืืองแสน และครอบครััว
• คุุณพิิศตะวััน นิิ ลกาญจน์์ • คุุณภาพร-ภััคชุุดา-กษิิเดช วรุุณธนาธิิป และครอบครััว • คุุณยุุพิิน ชนะโรค และครอบครััว
• คุุณพิิศาล จิิระวััฒนศัักดา และครอบครััว • คุุณภารณีี-เพทาย-ธนภููมิิ-ณััชพล-ด.ญ.เกวลิิน สุุขสว่่าง • คุุณยุุพิิน น้ำำ�� ใจดีี
• คุุณพิิศิิษฐ์์-คุุณพััชริินทร์์ เงิินกร • คุุณภาวิิณีี จุุลรััตน์์ และครอบครััว • คุุณยุุพิิน บููมาน
• คุุณพิิษณุุ เคนวงษ์์ และครอบครััว • คุุณภาวิิดา พิิทัักษ์์ทอง และครอบครััว • คุุณยุุพิิน สุุขีีไพศาลเจริิญ, มณฑล วิิสุุทธิิ
• คุุณพิิสมััย ท่่าฉลาด และคณะญาติิมิิตร • คุุณภิิญโญ มหาดไทย • คุุณยุุพิิน-ดิิเรก ธรรมปรีีชา
• คุุณพีีระ ธาตรีีธร • คุุณภููริติ า ใจชื่่�น และลููกหลาน • คุุณโยธิิน สุุขวััฒก์์, ทิิพย์์ประภา มหาศัักดิ์์�ศิิริ ิ
• คุุณพีีระยุุทธ-ลำำ�ยอง เทพประสิิทธิ์์� • คุุณภููวกฤต จิิระสุุข • คุุณรจจิิโรจน์์ -แม่่เอื้้อ� น ทองแดง
• คุุณพููนศรีี อึ้้�งตระกููล • คุุณมงคล-จัันทร พวงกิิจจา และครอบครััว • คุุณรวยรื่่น� -รััชฎาภรณ์์ พิินทุุสมิิต
• คุุณพููลทรััพย์์ โชติินุุชิิต • คุุณมณฑน์์ สุุกาญจน์์ -ริิค เฟรเซอร์์ • คุุณรวิิพร รััตนสุุวรรณ
• คุุณพููลทรััพย์์ พยุุงธรรม และครอบครััว • คุุณมณีีณีีศร-ชาญณรงค์์-จอน-เจนโอภาสกิิจ • คุุณรวิิภา แสงวนางค์์กููล
• คุุณพููลทรััพย์์ แสงบุุญชูู • คุุณมณีีรััตน์์ นพรััตน์์ และครอบครััว • คุุณรสสุุคนธ์์-วิิวััฒน์์ -สโรชา การเจตนีี
• คุุณพููลสวััสดิ์์�-กระยาทิิพย์์ ภาคธููป • คุุณมณีีรััตน์์ พรุุตซ์์ และครอบครััว • คุุณรัักชริิน คงชูู, ฟ้้าวลััย กานตารััมภ์์,
• คุุณพููลสุุข สุุคนธ์์ • คุุณมณีีรััตน์์ -Rchard Prutz หทัยการต์ กานตารัมภ์
• คุุณเพ็็ญแข บุุญเจริิญ, Louis Collins • คุุณมณีีศร-ชาญณรงค์์-โรนาธาน-เจนนี่่� เฟอร์์ โอภาสกิิจ • คุุณรัักดีี ราชปรีีดา, วิินััย-ศิิริรัิ ตั น์์ แก้้วประเสริิฐ
• คุุณเพ็็ญทิิพย์์ ศรีีประโมทย์์ และครอบครััว • คุุณมรกต ทำำ�ขุุนทด และครอบครััว • คุุณรัังสรรค์์-บุุญมีี-สมวรรณ-โสมนัั ส รััตนนัั นทวาทีี
• คุุณเพ็็ญประภา หาญพล • คุุณมลิิวััลย์์-วชิิระ-ชุุลีีพร ช่่วงรัังษีี • คุุณรััชดา-นฎา-นรุุตม์์ นิิ ยมศิิลป์์
174 •

คุุณเพ็็ญศรีี-กนกศรีี-ดวงฤดีี สุุขารมย์์
คุุณเพ็็ญศรีี-โกแตน จิิตต์์อารีีลมััย และครอบครััว


คุุณมััณฑนา เชิิดวิิศวพัันธุ์์�
คุุณมาณีี สก็็อต ลอเรเซน


คุุณรััชนีี บำำ�รุงุ ศิิลป์์
คุุณรััชนีีกููล เตชะกำำ�ธร และคณะญาติิมิิตร

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
• คุุณรััฐพล โกริินทร์์ และครอบครััว • คุุณวนิิ ดา-จััสมิิน ศรีีสมศัักดิ์์� และครอบครััว • คุุณวาสนา คำำ�แก้้ว และครอบครััว
• คุุณรััตติิกาล ศรีีไพบููลย์์ และทิิศ ๖ • คุุณวรการ-ณภััทร-ภููริภัิ ัทร-ภููธน ตั้้�งสืืบกุุล • คุุณวาสนา อิิศรางกููร ณ อยุุธยา
• คุุณรััตนา ชำำ�นิิ และครอบครััว • คุุณวรดา ตั้้�งสืืบกุุล • คุุณวิิจิิตรา-นพ.ศิิริวัิ ัฒน์์ ชููจิิตารมย์์ และครอบครััว
• คุุณรััตนา โชติิกเสถีียร และครอบครััว • คุุณวรนุุ ช เลาหวััฒน์์ • คุุณวิิจิินต์์-วาสนา-วริิยา-วรากร สาคเรศ
• คุุณรััตนา ตัันกิิม • คุุณวรพจน์์ -สุุจิิต-นรนาถ เลีียวศิิริกุิ ุล • คุุณวิิชชา รััตนจรััสโรจน์์
• คุุณรััตนาภรณ์์ ชิิพแมน และครอบครััว • คุุณวรพล วิิชััยเจิิดจัันทร์์ • คุุณวิิชชุุดา พรพิิสุุทธิ์์�พัันธุ์์�
• คุุณรััตนาวิิไล ดำำ�รงรุ่่�งเรืือง • คุุณวรพล-จิิราพร-วรวุุฒิิ-พรทิิพย์์ ภัักดีีบุุรุษุ • คุุณวิิชญา จงรัักษ์์วณิิช
• คุุณรำำ�พึึง ตรีีศัักดิ์์�, ร้้านเสริิมสวยรำำ�พึึงบิิวตี่่� ซาลอน • คุุณวรพิิชชา แสงวรรณ์์ • คุุณวิิชญา รััตนจรััสโรจน์์
• คุุณรุ่่�งจิิต อิิงคชััยกุุลรััชต์์ และครอบครััว • คุุณวรรณชลััช-วรรณวนัั ช เสถีียรธรรมมณีี • คุุณวิิชััย-พููลสุุข เติิมเศรษฐเจริิญ ครอบครััวและญาติิมิิตร
• คุุณรุ่่�งทิิวา-อุุดม-จิิดาภา-ชญาภรณ์์ คุ้้�มถิ่่�นแก้้ว, • คุุณวรรณนภา สุุภวััน, ฐนปกรณ์์ เชาว์์ช่่วงโชติิ • คุุณวิิชััย-ไส้้กิิม-อำำ�ไพ-ภััทรา-กััลยา-ปุุณมนัั ส แสงอิินทร์์
ทองอยู่-ส�ำลี บุญปลูก • คุุณวรรณรวีี กอบพึ่่�งตน • คุุณวิิชิิต คุุณานัั นทกิิจ และครอบครััว
• คุุณรุ่่�งนภา กล่่อมเมฆ • คุุณวรรณศจีี-กาเนช-ปวริินดา-อราวิิน เปรมอนัั นต์์ • คุุณวิิเชฏฐ์์-พรรณีี โรจนธรรมกุุล
• คุุณรุ่่�งนภา ชาติิสุุทธิิ • คุุณวรรณีี ทรงจำำ�รอง • คุุณวิิเชีียร จัันทร์์แจ่่มแจ้้ง
• คุุณรุ่่�งนภา พงษ์์ศิิริ ิ และคณะ • คุุณวรรณีี สกุุลทหาร • คุุณวิิทยา-ชููศรีี-วรรณศิิริ ิ วีีระสััมพัันธ์์
• คุุณรุ่่�งนภา อิิงคชััยกุุลรััชต์์ และครอบครััว • คุุณวรรณีี-วรรณา-สุุณีี ธิิติิศุุภโชติิ • คุุณวิิทยา-วรรณา-ธนภััทร-ธนภููมิิ ห้้องหิิรัญ ั
• คุุณรุ่่�งนภา อิินทร์์ใจเอื้้�อ และครอบครััว • คุุณวรวิิทย์์-ศิิริรัิ ตั น์์ -นพพร-ทิิพย์์วรรณ วงศ์์สถิิตย์์พร • คุุณวิิทิิต-สุุรีีย์์ ชดช้้อย, บ้้านประเสริิฐยิ่่�ง-เสรีีโรดม
• คุุณรุุจนา-นิิรุติุ ิ-ปวริิศา นิิ ยมศิิลป์์ • คุุณวรวุุฒิิ สายบััว • คุุณวิิทิิตา เชีียงเดิิม ภารณีี คำำ�แสง
• คุุณเรณูู ปลื้้�มเจริิญ • คุุณวราพร ชััยวนนท์์ และครอบครััว • คุุณวิิธาน-วีีรวรรณ เสถีียรธรรมมณีี
• คุุณเรวดีี-โชติิกะ Norman • คุุณวรารัักษ์์ แก้้วมณีี และครอบครััว • คุุณวิิภาวรรณ จิิรรััตนชล
• คุุณฤดีี ดวงคำำ� • คุุณวราลีี วิิบููลย์์รัตั น์์ • คุุณวิิมล อาจหาญ
• คุุณฤดีีวรรณ ช่่างผาสุุข • คุุณวลััยเพชร จัันทโรจนวงศ์์ • คุุณวิิมลรััตน์์ อััศวโชคสุุวรรณ, คุุณแม่่ไซง้้อ แซ่่ลิ้้�ม,
• คุุณลัักษณาวดีี-สุุรเดช-พิิมพ์์นารา เกีียรติิธนากร, • คุุณวไลธััญญา ทรายคำำ� สมพร จิตจันทึก, สมปอง
นิ ธิวดี-คุณณั ฎฐสิร ิ ตันติพจน์ • คุุณวไลภรณ์์ กััณวเศรษฐ และครอบครััว • คุุณวิิมาลา พุ่่�มรััตน์์
• คุุณลััดดา จาตุุรงค์์สาโรช • คุุณวััชริินทร์์ จรััสมาธุุสร • คุุณวิิรงรอง รััตนฉายา
• คุุณลััดดา ลี้้�ตระกููล และครอบครััว • คุุณวััฒนา-วิิจิิตรา ธรรมมงคล และทิิศ ๖ • คุุณวิิริทิ ธิิพล-นัั นท์์นภััส-วรรณรััชชา-
• คุุณลััดดา อุ่่�นจิิตติิกุุล • คุุณวััฒนีี ไชยนัั นทน์์ กานต์สิร ี ทรัพย์รดาพัดชา
• คุุณลาลิิดา เธีียรปััญญา • คุุณวัันชนะ-บุุญรััตน์์ -ศุุภิิสรา-นรมนธ์์ เทีียมทวีีสิิน • คุุณวิิโรจน์์ ธรรมวิิจิิตเดช และครอบครััว
• คุุณลาวััลย์์ ธนาสว่่างกุุล • คุุณวัันชััย-ทิิพวรรณ-สุุพััชรา สุุภีีกิิตย์์ • คุุณวิิลาวััณย์์ อิิงคชััยกุุลรััชต์์ และครอบครััว
• คุุณลาวััลย์์ ปััญโญทอง • คุุณวัันทนีีพร จัันทร์์เหลืือง • คุุณวิิลาวััลย์์ พรหมบุุตร
• คุุณลิินท์์-ประเสริิฐ ยููนาสเซ็็น และครอบครััว • คุุณวัันเพ็็ญ มิ่่�งมงกุุฎ • คุุณวิิลาสิินีี สร้้อยสุุวรรณ
• คุุณลี้้�-เชีียงลิ้้�น-ห่่าน-กิิมหล่่าน, ธีีรารััตน์์ ลีีกรพงษ์์ • คุุณวัันวิิสาข์์ เต็็มสวััสดิ์์� • คุุณวิิไล ดีีกาลกล และคณะญาติิมิิตร
• คุุณเล้้งพ้้งเฮี้้�ยงอุ้้�ย แซ่่ฉั่่�ว • คุุณวัันวิิสา-คณากร ค้ำำ�ชู � ู • คุุณวิิไลพร แสงสุุข
• คุุณวนิิ ดา กล้้าหาญ และคณะญาติิมิิตร • คุุณวััลลภา ธีีรานุุรักั ษ์์ และครอบครััว • คุุณวิิไลภรณ์์ พิิมพรภิิรมย์์, บััวพััน สุุขสบาย
• คุุณวนิิ ดา ช้้างเย็็นฉ่ำำ�� • คุุณวััลลภา เหล่่าขวััญสถิิตย์์ • คุุณวิิไลรััตน์์ วีีระวุุฒิิปกรณ์์
• คุุณวนิิ ดา ไทยเจริิญ • คุุณวารุุณีี เพ่่งรุ่่�งเรืืองวงษ์์ • คุุณวิิไลวรรณ กำำ�ชััยสิิทธิิพล


คุุณวนิิ ดา ศรีีสว่่าง
คุุณวนิิ ดา-กฤษณา อุ่่�นจิิตติิกุุล


คุุณวารุุณีี ราโช และครอบครััว
คุุณวาเรศ-มณีี พิิทัักษ์์นคราช


คุุณวิิไลวรรณ-มานะ บููรณสััมฤทธิ์์�
คุุณวิิวรรณ ธรรมมงคล และทิิศ ๖
175

www.kalyanamitra.org
• คุุณวิิวััฒน์์ -กััลยา-ทิิพย์์วรรณ อััคราวานิิ ช และครอบครััว • คุุณศุุภกร-ชลธิิชา คชเดช และครอบครััว • คุุณสมพิิศ เอี่่�ยมตปนีียะ
• คุุณวิิสิิทธิ์์�-ทองมา-นทีีธร-ปิิยะนัั นท์์ พิิมพ์์วััลย์์ • คุุณศุุภมิิตร ศิิริมิ าตย์์ • คุุณสมโภช-ศิิริเิ กศ-ศุุภมััทนา-มนสิิริ-ิ
• คุุณวิิสิิทธิ์์�-บุุญศรีี-สิิรินิ ทร์์ กิิตติิโชติิพาณิิชย์์ • คุุณศุุภฤกษ์์-จิินตนา-เพชรดา มั่่�นเจริิญ รณกฤต โสภณรัตนโภคิน, กุลฉั ตร ธาดานิ พนธ์
• คุุณวิิสิิทธิิศัักดิ์์�-วราเมธ เพ็็งสููงเนิิ น พร้้อมบรรพบุุรุษุ • คุุณสกาวรััตน์์ ไชยศร และครอบครััว • คุุณสมร-จั่่�นทอง เอมริ่่ง� และครอบครััว
• คุุณวิิสุุดา พรธิิสาร-VINCENT (LISA) COLLIOT • คุุณสงััด-ละออง-พิิมพ์์หทััย ไตลัังคะ • คุุณสมร-สุุขุุม-สุุดฤตา-เสรีี บุุญจิินดาทรััพย์์
• คุุณวิิสููตร-เดืือนน้้ อย ลีีนะวััต • คุุณสง่่า-อนุุ สรณ์์ แสงทองพิินิิจ • คุุณสมรััตน์์ พััชระโสภณ
• คุุณวีีณา เพิ่่�มพานิิ ช และครอบครััว • คุุณสถาพร-จิิราพร มหััทธโนดมกุุล และครอบครััว • คุุณสมศรีี บวรรััตนคุุณ และครอบครััว
• คุุณวีีรดีี ลิ้้�มศิิริเิ ศรษฐกุุล • คุุณสนทยา สมลัักษณ์์ • คุุณสมศัักดิ์์� จิิรสกุุลเดช
• คุุณวีีระชััย-กรรณิิ กา-พิิชญ์์พงศ์์-อรพิิชชา พนารมย์์ • คุุณสนธยา สมบััติิสถาพรกุุล • คุุณสมศัักดิ์์�-เฉลิิมศรีี-กัันติิกาญจน์์ หััสเดชะ
• คุุณวีีระศัักดิ์์�-อารีีรััตน์์ ศิิริคุิ ุรุรัุ ตั น์์ และครอบครััว • คุุณสนอง-ประภาศรีี จัักสาน • คุุณสมศัักดิ์์�-ศริินทิิพย์์ สุุวรรณวรางกููล และลููก
• คุุณแววตา ทััศนศร • คุุณสนั่่� น-ลุ่่�ย บััณฑิิตย์์นพรััตน์์ และบุุตรธิิดา • คุุณสมศัักดิ์์�-สุุพร วงศ์์ศิิริกุิ ุล และครอบครััว
• คุุณศรชััย-นงเยาว์์-เจนจิิรา กองแก้้ว • คุุณสมเกีียรติิ วลิิตวรางค์์กููร-อริิยา แซ่่ห่่าน • คุุณสมศัักดิ์์�-สุุภานัั น พััฒนกิิจกุุล และครอบครััว
• คุุณศรััณย์์ ยอแสงรััตน์์ • คุุณสมควร บ่่อสอาด • คุุณสมสุุข นิิ โครสหเกีียรติ์์�
• คุุณศรายุุทธ-อััญชิิฐา เพชรนริินทร์์ • คุุณสมจิิต กลั่่�นวารีี • คุุณสมหมาย-อััปสร ครสาคูู และครอบครััว
• คุุณศรีีกาญจนา จิิรธนา, อััญชลีี สมพลพงษ์์ • คุุณสมจิิตต์์-พิิน-หม้้ง จัันทร์์โสด • คุุณสมััคร-ส้้มป่่อย-ศิิริพิ ร-โกมุุท-ชโลทร คงเทศ
• คุุณศรีีกานดา เบญจพลสิิริจิิ ิตต์์ • คุุณสมจิิตร พรรณเชษฐ์์ • คุุณสรกานต์์ ศรีีตองอ่่อน, นิิ ศานาถ เตีียบฉายพัันธุ์์�
• คุุณศรีีดา-ถั่่�ว ไชยชนะ • คุุณสมจิิตร-ศวง-ประวิิทย์์-วาย-ปััทมา-ประไพรััตน์์ - • คุุณสวััสดิ์์� โลหารชุุน
• คุุณศรีีนวล พฤกษวิิบููลย์์ ด.ญ.เกศกัญยา-ประมวล รอดปาน • คุุณสวััสดิ์์�-เพชรสาคร เมฆดารา
• คุุณศรีีฟ้้า สุุทธิิประเสริิฐ และครอบครััว • คุุณสมจิิตร์์-สิิรภพ หอไตรรงค์์ • คุุณสว่่าง-เสาวภาคย์์ กััลยาณมิิตร
• คุุณศรีีมุุกดา ไกรวงษ์์ • คุุณสมจิินต์์ ศรสููงเนิิ น • คุุณสัังวรณ์์ เอี่่�ยมตปนีียะ
• คุุณศรีีรััตน์์ พุ่่�มจำำ�ปา • คุุณสมใจ ศรีีบุุญเรืือง • คุุณสััญญา-บุุษบา ศรลััมพ์์
• คุุณศรีีสุุดา พรพรหมโชติิ • คุุณสมใจ อ่่องสุุวรรณ • คุุณสััมพัันธ์์-จัันทร์์เรืือง เสริิมชีีพ และครอบครััว
• คุุณศรุุตยา อััศววงศ์์ตระกููล • คุุณสมชััย-กนิิ ฐา-นรธิิป-ปรีียาพร-ปวัันรััตน์์ ธนสารศิิลป์์ • คุุณสััว-ผอง, บัับพา-ไพบููลย์์ โคตรอาษา,
• คุุณศศธร เกตุุมาลีี • คุุณสมนึึ ก เหล่่าขวััญสถิิตย์์ เรียม-แสงเทียน แสงขาว
• คุุณศศนัั นท์์-ศรนัั นท์์ หาญเจริิญ • คุุณสมบุุญ Watkins • คุุณสาธิิต-วิิวััลค์์ เรืือนสุุข
• คุุณศศิิชา ศิิริพัิ ันธ์์ • คุุณสมบุุญ เลิิศอนัั นต์์, บุุญเลิิศ-ศิิริวิ รรณ-ศุุทธิิรัตั น์์ - • คุุณสาธิิต-สุุเนตรา-จิิรภััทร-ฐิิติิรัตั น์์ สุุโอฬาร
• คุุณศศิิธร วงค์์วัันศรีี และครอบครััว ศุรวีร ์ ม่วงสกุล • คุุณสามชััย เย็็นสนาน, สุุภรััตน์์ สุุขพรหม และครอบครััว
• คุุณศศิินทร์์ นิิ ศากรนารา • คุุณสมปอง ศรีีปั้้�น • คุุณสายใจ นิิ ลเซ่่น และครอบครััว
• คุุณศศิิลัักษณ์์ อภิิมาศ • คุุณสมพงษ์์ อััจฉริิยะอนุุ ชน, กุุลนิิ ดา กาญจนวรกิิจ • คุุณสายหยุุด ประเสริิฐวิิทย์์
• คุุณศัักดิ์์�ชััย จุุสาสุุนทร, ครอบครััวจุุสาสุุนทร • คุุณสมพงษ์์-สุุจิินตนา-นพรััตน์์ โชคสุุชาติิ • คุุณสายััณต์์-ต่่อพงศ์์-พิิริยิ าภรณ์์ พณิิชยกุุล, ด.ญ.อลิิสา-
• คุุณศิิรกาญจน์์ พรหมสวััสดิ์์� • คุุณสมพร คาร์์เตอร์์ และครอบครััว ด.ญ.ธารา โฮเคนซัน
• คุุณศิิระพรชััย เดชสุุนทรวััฒน์์ • คุุณสมพร พรรณเชษฐ์์ • คุุณสาริิศา จัันทนา
• คุุณศิิริณั
ิ ั ฏฐา นำำ�นาผล และครอบครััว • คุุณสมพร-ดวงกมล ไทรทอง • คุุณสาวิิตรีี มีีชััย และครอบครััว
• คุุณศิิริภัิ ัณฑ์์ นิิ ศากรวุุฒิิพงศ์์ • คุุณสมพร-ถนอมศรีี สััตยรัักษา • คุุณสำำ�เภา แคล้้วคลาด และครอบครััว
• คุุณศิิริรัิ ตั น์์ เกตุุวงศา และคณะญาติิมิิตร • คุุณสมพััตร-เรืือนคำำ� ทรายคำำ� • คุุณสำำ�รวย อิ่่�มเอิิบ, ฉลวย-ฉะอ้้อน-ผิิว-บุุญชูู-เฉลีียว-
176 •

คุุณศิิริรัิ ตั น์์ สโตนแฮม
คุุณศิิริศัิ ักดิ์์� พรรณเชษฐ์์


คุุณสมพิิศ การ์์ดเนอร์์ และครอบครััว
คุุณสมพิิศ ตระกููลอุุไรพร-เท็็ดดี้้�ทิิมมี่่�โทนี่่� อาริิยธรรม •
สะวารี ชัยมงคล
คุุณสำำ�ราญ-สมควร-ธัันยากร คชเดช

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
• คุุณสำำ�อาง อิินทร์์ดีี • คุุณสุุภาวิิดา อาจสมััย และครอบครััว • คุุณเสาวรส ปััทมะลางคุุล
• คุุณสิิราวุุท-ตง-ชุุดา นุุ ชพลอิินทร์์ • คุุณสุุภาศิิริ ิ พะหููชนม์์ • คุุณเสี่่�ยมเอ็็ง แซ่่ลิ้้�ม, ตั้้�งเตีียงใหม แซ่่ตั้้�ง, อธิิจักั ร ชื่่น� เกษมกุุล
• คุุณสิิรินิ ทร์์ ติิยานนท์์ • คุุณสุุรชััย โค้้วตระกููล, กุุลธิิดา สนธิิพัันธุ์์� • คุุณแสงจัันทร์์-สิิตานัั น-สรสวรรค์์-ศัักย์์บวร เดชสุุภา
• คุุณสิิรินิ ธร์์ มััฆวิิบููลย์์ • คุุณสุุรชััย วิิศาลจตุุรงค์์ และครอบครััว • คุุณโสภา สกุุลเอี่่�ยม และครอบครััว
• คุุณสิิริพิ ร เฉลิิมวิิสุุตม์์กุุล • คุุณสุุรชััย-ฐิิระณีีย์์-คฑาวุุธ หาญบำำ�รุงุ กิิจ และทิิศ ๖ • คุุณโสภิิต รอดวิินิิจ และครอบครััว
• คุุณสิิริลัิ ักษณ์์ พรหมประเสริิฐ และครอบครััว • คุุณสุุรชััย-นุุวดีี-นัั นท์์นภััส-ชััยบููรณ์์ พลาดิิสััย และทิิศ ๖ • คุุณไสว ปิิดเมืือง
• คุุณสิิริวิ รรณ อนัั นต์์สุุขสกุุล • คุุณสุุรเชษฐ์์ วิิศาลรัักษ์์กิิจ และครอบครััว • คุุณไสว เศีียรนอก
• คุุณสืืบสวััสดิ์์�-รศ.ดร.จัันทร์์พิิมพ์์ สายสมร • คุุณสุุรพงศ์์-ผกาวรรณ เทพหััสดิิน ณ อยุุธยา และครอบครััว • คุุณหญิิงลมุุลศรีี โกศิิน และคณะญาติิ
• คุุณสุุกััญญา-ณรงค์์-ศิิริพิ ร-ศิิริพิ รรณ รัักษาคำำ� • คุุณสุุรศัักดิ์์� เพชรอิินทร์์ • คุุณหนูู ปุ่่�น มุุขมนตรีี, ปานจัันทร์์ เรืืองสุุวรรณ และครอบครััว
• คุุณสุุกััญญา-อากิิรา-อากิิโตะ ยามางููจิิ และครอบครััว • คุุณสุุรัตั น์์ -เล็็กเจ็็ง กิิจสััมพัันธ์์วงศ์์ และครอบครััว • คุุณหััทยา-ณัั ฐกิิตติ์์�-บุุญเสริิม เติิมวิิวััฒน์์
• คุุณสุุขศรีี ปััญญาพลวััตร • คุุณสุุรัตั น์์ -อรทััย แสงสุุระธรรม • คุุณองอาจ-สุุวรรณา-ณัั ฐณิิชา-ปุุณยภา อััศดาสุุข
• คุุณสุุข-เหรีียญ แววประดิิษฐ์์ • คุุณสุุรัตั นา ผลััญชััย และครอบครััว • คุุณอชิิรญาณ์์ พัันธุ์์�เพ็็ง และครอบครััว, หมู่่�ญาติิ
• คุุณสุุจารีี รัักตประจิิต • คุุณสุุรางค์์รัตั น์์ โรจน์์ ทิินกร • คุุณอดิินัันท์์-กััญญมน-ณัั ฐพล ฮ่่อสกุุล
• คุุณสุุจิิตรา บุุญคุ้้�ม, สุุภารััตน์์ ยิ่่�งรััตนวิิทย์์ • คุุณสุุรินิ ทร์์ แคพัันดุุง • คุุณอธิิพััชร์์ ฐานอริิยบุุญศิิริ ิ
• คุุณสุุจิินต์์ ลิิตากร, ครอบครััวลิิตากร • คุุณสุุรินิ พร-อารยา-ศรััณย์์ ธนนาถฤดีี • คุุณอนัั นต์์พร เทีียมเมฆ
• คุุณสุุชญา-ด.ช.คุุณานนต์์ เอกวิิทยานุุรักั ษ์์ • คุุณสุุริยิ า ชููศัักดิ์์� • คุุณอนุุ ชิิต อารีีย์์
• คุุณสุุชาติิ-สุุวรรณา อนัั นต์์สุุขสกุุล และครอบครััว • คุุณสุุริยิ า วิิชาสุุ • คุุ ณ อนุุ ศัั ก ดิ์์�-สุุ กานดา โชคมีีศีีล
• คุุณสุุดใจ ถิ่่�นขาม • คุุณสุุรีีย์์-ปรััชญาวรรณ วรรณกิิจ และครอบครััว • คุุณอภิิชญา ตั้้�งจัักรกระชััย
• คุุณสุุดใจ หงษาพุุทธ และครอบครััว • คุุณสุุรีีรัตั น์์ บรรเจิิดธรรม • คุุณอภิิชััย ขััตติิยาภิิรักั ษ์์
• คุุณสุุดา เถื่่�อนมููลแสน และครอบครััว • คุุณสุุวนีี จัันปลั่่�งสิิริกุิ ุล • คุุณอภิิญญา ชนสยอง, วิิรัฐั ญา-อาสาฬ ชาญอุุตสาห์์
• คุุณสุุดา-ศรีีอุุบล สวััสดิิเทพ • คุุณสุุวรรณ หล่่อวิิวััฒนพงศ์์ และครอบครััว • คุุณอมรา เสริิมสุุข และครอบครััว
• คุุณสุุทธิิกานต์์ บริิหาร • คุุณสุุวรรณา พรไพรเพชร • คุุณอมาวสีี กองแก้้ว
• คุุณสุุเทพ เก้้าแสนสุุข และครอบครััว • คุุณสุุวรรณา-สุุพััตรา-เฮ้้งลิ้้�ม, ครอบครััวตัันติินิิรามััย • คุุณอรกััญญา พิิชยะญาณกร และคณะญาติิมิิตร
• คุุณสุุเทพ-ปราณีี พละวุุฑิิโฒทััย • คุุณสุุวรรณีี ธีีรภาพธรรมกุุล และครอบครััว • คุุณอรญา วงษ์์ไทย
• คุุณสุุธีีภััทธ์์ ชลาลััยวิิจิิตร และบุุตร-ธิิดา • คุุณสุุวรรณีี-จำำ�รัสั -ณัั ฐภรณ์์ กาสุุริยิ ะ • คุุณอรณัั ฐ สุุนทรวงษ์์
• คุุณสุุธีีรัตั น์์ -ชวลิิต ดำำ�รงรััตน์์ • คุุณสุุเวช ยามาโคชิิ พร้้อมครอบครััวตัันกููล • คุุณอรณีี กนกจิิราพร
• คุุณสุุนทรีี แก้้วท่่าไม้้ และครอบครััว • คุุณเสมอ สุุเจตนัั นท์์ • คุุณอรพรรณ วรพัันธ์์กิิจ และครอบครััว
• คุุณสุุนัันท์์ ดวงคำำ� • คุุณเสริิม ภู่่�วรรณชััยกุุล และคณะ • คุุณอรพิิม สุุขพููล
• คุุณสุุนิิตย์์ โรจน์์ หทััยกานต์์ • คุุณเสริิม ศรีีบรรเทา • คุุณอรรถกร ช่่วยเชีียร, ชิินพััฒน์์ ศรีีโกมุุท
• คุุณสุุนีีย์์ ตั้้�งสืืบกุุล • คุุณเสริิมศรีี-กรวิิภาภััทรรััตน์์ -วรลัักษณ์์ นารัักษ์์ • คุุณอรลัักษณ์์ เบญจอาธรศิิริกุิ ุล
• คุุณสุุบรรณ มงคลกาวิิล • คุุณเสริิมสิิริ ิ พึ่่�งพุุทโธ • คุุณอรวรรณ วงษ์์วัันทนีีย์์
• คุุณสุุปราณีี ธรรมวิิจิิตเดช และครอบครััว • คุุณเสวีียน ติิโนชััง • คุุณอรศิิริ-ิ กิิตติิพงศ์์-พงศ์์ศิิริ ิ เกตุุศรีีพงษ์์
• คุุณสุุพจน์์ -สุุธีี ชััยวงศ์์ และครอบครััว • คุุณเสาร์์-หวอง ปราณีีตพลกรััง • คุุณอรสา-พ.ต.อ.ประภััสร์์ ประยููรหงษ์์ และครอบครััว
• คุุณสุุพิิชา มิ่่�งมงคล • คุุณเสาวณีี กาญจนถนอม และครอบครััว • คุุณอรอนงค์์ อารยะสุุวรรณ
• คุุณสุุภาพร น้้ อยเมืืองคุุณ และครอบครััว • คุุณเสาวณีีย์์ ยถาภููธานนท์์ • คุุณอรััญญา ขุุนปริิง และครอบครััว


คุุณสุุภาภรณ์์ -อบเชย-บุุญยััง ปััถวีี และครอบครััว
คุุณสุุภาวดีี คงสนุ่่�น และครอบครััว


คุุณเสาวนีี เปี่่�ยมสััมฤทธิ์์�-ยุุวดีี เสืืออิ่่�ม
คุุณเสาวนีี-ผ.ศ.ขนิิ ษฐา พููนผลกุุล


คุุณอราพรรษุ์์� ทััยคุุปต์์
คุุณอริิยา นิิ มะ, วัันขวััญ เทีียมจัันทร์์
177

www.kalyanamitra.org
• คุุณอริิสรา-อารดา-อนาวิิล เหลืืองสุุวิิมล และครอบครััว • ด.ช.วิิมุุตติิ กอผจญ • นพ.อมร แซ่่เล้้า
• คุุณอริิสา-บุุญส่่ง-ปราณีี-สุุพจน์์ ประเสริิฐสุุขดีี, • ด.ช.สรธรรม-ด.ช.ชยานัั นท์์-ด.ช.ณธกร เรืืองขจร • นาวาอากาศโทมนัั ส-ศรีียาใจ บริิบููรณ์์ และครอบครััว
ศุภณั ฐ-สุวภัทร-ชุติมณฑน์ -เหนี ยว-บุญสม ใจคง • ด.ช.สราวิิน จัันทนา • ผศ.ดร.ทิิพวััลย์์ สีีจัันทร์์ และครอบครััว
• คุุณอรุุณ-ปราณีี-ปรีียวาจ บััวพุุด และครอบครััว • ด.ญ.ปุุญญาพััฒน์์ ทองคำำ� • ผศ.ดร.ธงชััย-คุุณจัันทนา-พรนภา-เบญจภา พงศ์์สิทิ ธิิกาญจนา
• คุุณอรุุณรััตน์์ เหล็็กกล้้า-HARALD SCHUETZ • ดร.จิิตตวุุฒิิ-สุุภััททา-ศิิณิิชา-สมััชญา ลิ้้�มศิิริเิ ศรษฐกุุล • ผศ.ดร.วิิไลลัักษณ์์ เลขาขำำ�
• คุุณอรุุณีี อนัั นต์์ศิริิ ปิ ระภา • ดร.เจืือ-รศ.นงลัักษณ์์ สุุทธิิวนิิ ช • ผศ.ดร.สุุพรรณีี บุุญเรืือง
• คุุณอัังสุุมา-โมนา-มนกานต์์ อััญญโชติิ • ดร.ณัั ฐภรณ์์ -ฉัั ฐนัั นท์์ ภััทรโชติิอนัั นต์์ • ผศ.สุุนิิตย์์ เย็็นสบาย
• คุุณอััจจิิมา ราชนิิ ยม และครอบครััว • ดร.ธนกฤต วรธนัั ชชากุุล และครอบครััว • ผศ.อรพิินท์์ วิิบููลย์์เมธ และครอบครััว
• คุุณอััญชลีี คำำ�พัันธุ์์� และครอบครััว • ดร.นิิรมล เตีียงพิิทยากร • พ.ต.ท.หญิิงรััตนา รััตนอาภา,วราภรณ์์ ยอดดำำ�เนิิ น
• คุุณอััญชลีี ดิิลกเจริิญ • ดร.ประณต-ทััศนีียา พิิพััฒนางกููร • พ.ต.อ.อพิิวััฒน์์ -พญ.กวีีวรรณ กลั่่�นวารีี
• คุุณอััญชิิสา ตัักโพธิ์์� และครอบครััว • ดร.ปิ่่�นมณีี ขวััญเมืือง • พ.อ.(พ) สุุรเดช-นพรััตน์์ สุุทธวาทิิน
• คุุณอััญวีีณ์์ ไหวบุุตร-พััชรา เมธางกููร • ดร.ลััดดา อิ่่�มอกใจ • พ.อ.ทวีี น้้ อย วัันทนีี วุุฒิิยานัั นท์์ และครอบครััว
• คุุณอััมพร-อิิศรา วีีรแพทยโกศล • ดร.วัันเพ็็ญ กรอบทอง • พ.อ.หญิิงจุุฬาลัักษณ์์ สิินพููลผล และครอบครััว
• คุุณอััมพวััน ศรีีเพ็็ชรวรรณดีี และญาติิมิิตร • ดร.วิิลาวััณย์์-ดร.กิิตติิ-สััญชนัั น จรััณยานนท์์ • พญ.กาญจนา-อภิิสรา ชััยกิิตติิศิิลป์์
• คุุณอาภรณ์์ -สุุนีีย์์ อิินทรสวััสดิ์์� • ดร.วีีระพัันธ์์-มานิิ ดา โชติิวนิิ ช • พญ.รติิพร บาลโสง
• คุุณอารีี สุุวโรพร • ดร.ศิิริพิ ร-คุุณแม่่วลีี-คุุณพ่่อสนิิ ท ศิิริขิ วััญชััย และญาติิมิิตร • พญ.วชิิรพร จอร์์แดน พิิลึึก
• คุุณอารีีนัั นท์์ รััตนพัันธ์์มงคล-ณฐกร รััตนมาศมงคล • ดร.สมศัักดิ์์�-คุุณสุุชาดา-คุุณน้ำำ�ผึ้้
� �ง ศรีีสมบุุญ • พล.ท.ณรงค์์ กลั่่�นวารีี
• คุุณอำำ�นวย-ทวีี-กานติิมา พงษ์์ประภาพัันธ์์ และครอบครััว • ดร.สิิฐิิภููมิ์์� ธนฤทธิิพร และครอบครััว • พลตำำ�รวจเอก ดร.เทระโกะ อิิจิิม่่า
• คุุณอำำ�พร อิิมาอิิ-อุุไร อิิชิิดะ และครอบครััว • ดร.สุุนัันท์์ ทิิพย์์ทิิพากร • พลโทลิิขิิต-คุุณศัันสนีีย์์ ถำำ�อุุทก และครอบครััว
• คุุณอำำ�พััน เกิิดแก่่นแก้้ว • ดร.สุุพจน์์ -นพสรััญญ แก้้ววิิมล • ภญ.ปิิยวรรณ เป็็งธรรม
• คุุณอำำ�ไพ เถื่่�อนทองคำำ� • ดร.สุุพััฒนา นิิรัคั ฆนาภรณ์์ • ภญ.มนัั สนัั นท์์ อิินทร์์พงษ์์
• คุุณอุุดม น้้ อยมณีี และครอบครััว • ดร.อรอุุมา เข็็มอนุุ สุุข • ร.ต.ต.เสมอ-ขุ้้�ยหยก-จรััสศรีี-นัั นทิินีี -ธนวดีี-จตุุพร กุุลอึ้้�ง,
• คุุณอุุดม-เพลิินพิิศ เปรมเจริิญ • ทพญ.วิิไล, ทพ.สุุวััฒน์์ สุุริยิ าแสงเพ็็ชร์์ และครอบครััว อาทิตย์ เปลวสมบูรณ์
• คุุณอุุดร-ประเทืืองศรีี-รวิิศว์์ ขัันชะลีี • น.ท.หญิิงนพรััตน์์ จอห์์นสััน • ร.ต.ท.สนธยา-ไพริิน-รััชกาล-กาญจนา จัันทร์์ตรีีและญาติิมิิตร
• คุุณอุ่่�นจิิต นริินทร์์ รุุธิิรศิิริ ิ ร้้าน chezquans • น.อ.ประชุุม ภาคอรรถ • ร.ต.บุุญส่่ง-คุุณแม่่สุพุ ร พัันธุ์์�โกศล,ทพญ.บงกช สุุวรรณปััทม
• คุุณอุุบล เปรมเจริิญ • นพ.ชััยเสน พานิิ ชสุุริยิ านนท์์ • ร.ท.หญิิงเครืือวััลย์์-คุุณคล้้าย-คุุณเล็็ก แนบชิิด และครอบครััว
• คุุณอุุบลพงศ์์ ธเนศสถิิตย์์กุุล • นพ.ถนอมพล เครืือเถาว์์ • ร.ศ.ธวััช-พยอม ลวะเปารยะ
• คุุณอุุษณีีย์์ ฮาฟร์์วี่่� และครอบครััว • นพ.ธนาคม เปรมประภา และครอบครััว • ร.อ.กษิิดิิศ-เพ็็ญศรีี-กฤษพฤฒ-วริิษฐา แพทธยา
• คุุณเอ็็นดูู-ทวีี เขีียวฉะอ้้อน • นพ.บุุณย์์ธนิิ สร์์-สรีีระเพ็็ญ-ผศ.ดร.บุุริมิ -พญ.วราธิิป- • รศ.กาญจนา ตัันสุุวรรณรััตน์์
• คุุณเอมอร-สุุจิินดา ศรีีสััจจากุุล ดร.พบพร โอทกานนท์ • รศ.คัันธรส แสนวงศ์์
• คุุณเอมี่่� เสนะวงศ์์ • นพ.ภาณุุ เมศ-พญ.สุุนีีย์์-กล้้าตะวััน-จิินดามณีี ศรีีสว่่าง • รศ.ช.ณิิ ฏฐ์์ศิิริ-ิ ปรีีชา สุุยสุุวรรณ
• คุุณเอวอร เศวตามร • นพ.มะโนธรรม-สุุวััสสา-ศศพล-พิิสิิทธิ์์�ชััย พงษ์์อำำ�ไพ • รศ.ดร.รุ่่�งรััตน์์ -พงษ์์อิินทร์์-กมลรััตน์์ ชััยสำำ�เร็็จ
• คุุณเอื้้�อม-ฉ้้าย-จิิรวุุฒิิ แก้้วแดง และญาติิมิิตร • นพ.รุ่่�งโรจน์์ -ดวงใจ-พุุทธานุุ ภาพ-พุุทธรัักษา แซ่่เอง • รศ.ดร.ศิิริกุิ ุล-ณิิชา วิิสุุทธิ์์�เมธางกููร
• จ.ส.อ.จำำ�ลอง-สริิตา จููงทรััพย์์ และครอบครััว • นพ.วััชระ-พญ.อารีีวรรณ สมหวัังประเสริิฐ และครอบครััว • รศ.ดร.สพญ.ศุุภร ฟุ้้�งลััดดา
• ด.ช.ปุุณยธร วรกิิตติิเพชร • นพ.วิิทยา บุุญเลิิศเกิิดไกร • รศ.วััฒนา พุุทธางกููรานนท์์ และครอบครััว
178 •

ด.ช.พศวีีร์์ วิิวััฒน์์ อัังกููร พร้้อมครอบครััว
ด.ช.วััชรวีีร์์ ปััทมสิิงห์์ ณ อยุุธยา


นพ.สนั่่� น-ศศิิธร นิิ มมานเสรีี
นพ.สุุนทร-พญ.ลััดดาวััลย์์ ฮ้้อเผ่่าพัันธ์์


ศ.ดร.นพ.ประกิิตพัันธุ์์�-ประภััสสร-ธรรม์์ ทมทิิตชงค์์
อ.ดร.สุุพรรณ ทิิพย์์ทิิพากร

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
• อาจารย์์อริิสรา รััตนวงศ์์พิิบููลย์์ • ชมรมพุุทธศาสน์์ มหาวิิทยาลััยเกษตรศาสตร์์ • อาสาพัันธุ์์�ตะวััน รุ่่�น ๑๒ บุุญเนืืองนองปลื้้�มปริ่่ม�
• กลุ่่�มกล้้าตะวัันธรรม วิทยาเขตก�ำแพงแสน • อาสาสมััครธรรมวารีี
• กลุ่่�มกััลยาณมิิตร อ.เขาค้้อ จ.เพชรบููรณ์์ • ดวงตะวัันสัันติิภาพ THE SUN OF PEACE • อาสาสมััครแผนกสวััสดิิการเจ้้าหน้้าที่่�
• กลุ่่�มกััลยาณมิิตรลุุยทุุกบุุญ • ทีีมงานพระอาจารย์์-พี่่�เลี้้�ยงบุุคลากร รุ่่�น ๑๙ • อุุบาสิิกา รุ่่�น ๖
• กลุ่่�มแก้้วพุุทธจัักร • ทีีมงานพิิซเรฟโวลููชั่่�น • อุุบาสิิกา รุ่่�น ๘
• กลุ่่�มแกะสลัักบููชาข้้าวพระ • ทีีมผู้้�นำ�บุ
ำ ุญจุุดออกรถ ม.เกษตร จตุุจัักร • อุุบาสิิกา รุ่่�น ๑๐
• กลุ่่�มเชื่่�อมสายบุุญกัับมหาปููชนีียาจารย์์ • บรมเศรษฐีีฉะเชิิงเทรา-กลุ่่�มบุุญบัันเทิิง • อุุบาสิิกา รุ่่�น ๑๑ ชุ่่�มบุุญ
• กลุ่่�มตามรอยเท้้าพ่่อ, กลุ่่�มบุุญนิิ ธิิสหััสรัังษีี • บริิษััท เจคเชีียร์์ เทคโนโลยีี จำำ�กััด • NT ซีีร๊๊อกซ์์ ศรีีสะเกษ
• กลุ่่�มประตููน้ำ�ำ� คนรัักดีี • บริิษััท ชััยสุุวรรณวััสดุุดีี จำำ�กััด (ห้้างบิ๊๊�กโปร) • TPJ TEAM
• กลุ่่�มปาฬิิสิิกขา รุ่่�น ๒๗ • บริิษััท ชิินโคไคเซ็็น จำำ�กััด • Aarian Liew Yuan Kai
• กลุ่่�มพัันธุ์์�ตะวัันบููชาข้้าวพระ • บริิษััท แอล เอส เอ็็ม อ๊๊อกซิิเจน จำำ�กััด • Add-Sengchan-Tyler Charousapha
• กลุ่่�มเพื่่�อนกััลฯ บููชาข้้าวพระ • บััณฑิิตแก้้ว รุ่่�น ๒๐ • Ajith Errabelly
• กลุ่่�มมหาเศรษฐีีบรรลุุธรรม • บััณฑิิตวิิทยาลััย DOU • Alan Tan Tai Lun
• กลุ่่�มมุ่่�งสู่่�สุุดธรรม • บััณฑิิตอาสาฟื้้�นฟููศีีลธรรมโลก • Angela-Eddie Olmedo and Family
• กลุ่่�มรัักบุุญ ใจใส ใจสบาย • บุุคลากร รุ่่�น ๑๔ กลั่่�นบุุญ • ANNE TEH YEE ANN
• กลุ่่�มรััตนโชติิ และจุุดออกรถสนามหลวง • บุุคลากร รุ่่�น ๑๕ • Anya Au Yong Hai Yun
• กลุ่่�มลููกพระธััมฯ ปากเกร็็ด • บุุคลากร รุ่่�น ๑๖ ไม่่ตกกัันดาร • Archra Chanthraksuwan
• กลุ่่�มสืืบสานตะวัันธรรม และคณะญาติิมิิตร • บุุคลากร รุ่่�น ๑๗ เรืือนทองหััวเพชร สำำ�เร็็จทุุกอย่่าง • Aree Srivanlop
• กองต้้อนรัับระดัับโลก • บุุคลากร รุ่่�น ๑๘ กายแก้้วอััศจรรย์์ อนัั นตกาล • Arissara Chanthraksuwan
• กองต้้อนรัับและพิิธีีกรรมหอฉััน • บุุคลากร รุ่่�น ๑๙ สู้้�โว้้ย • Arpapan Watsungnoen
• กองบุุญมหาทานบารมีี ๑ เดืือน ๑๑ • บุุคลากร รุ่่�น ๒๒ Twenty Two Unity • Aswin Chanthraksuwan
• กองวิิชาการ ชมรมพุุทธศาสตร์์สากลฯ • บุุคลากร รุ่่�น ๒๕ นัั กรบกล้้าอาชาไนย • Au Yong Hin Yoong
• กองอบรมพระศููนย์์ส่่งเสริิมศีีลธรรม • แผนกเพชรสว่่าง กองรัักษาบรรยากาศ • Aunchalie Chanthraksuwan
• คณะลููกพระธััมฯ วััดพระธรรมกายบููโรส สวีีเดน • แผนกสุุทธาโภชน์์ กองรัักษาบรรยากาศ • Avery Woo Jia Rui
• คณะสงฆ์์-อุุบาสก-อุุบาสิิกา-กััลยาณมิิตร • พี่่�น้้องเครืือข่่ายเยาวชน EQ Club • Bah Ah Boh
วัดพระธรรมกายโตเกียว • โรงพิิมพ์์เลี่่�ยงเชีียง (จงพิิพััฒน์์ ยิ่่�ง) • BEAMERS NET SDN BHD, DEFT DESIGN, CRAVINGS,
• เครืือข่่าย YNS • ลููกพระธััมฯ กลุ่่�มเพชรกลางกาย ARTISAN FARM
• เครืือข่่ายส่่งเสริิมสร้้างสรรค์์กิิจกรรมเพื่่�อสัันติิภาพ (CNAP) • ลููกพระธััมฯ แสนรวย • BEH KAK KEH
• โครงการปฏิิบัติั ิธรรมพระนวกะ ๑ ปีี กลุ่่�ม ๗ • ลููกๆ อาสาพัันธุ์์�ตะวััน • Bouavone Manivanh
• โครงการรัักษาวัันละบาท กองรัักษาบรรยากาศ • ศ.คลิินิิกเกีียรติิคุุณ พญ.สรรพ์์ศรีี-สมาน เปีียวุุฒิิ • Bounsone-Bounyang Mutchittom and Family
• เจ้้าหน้้าที่่�-กััลยาณมิิตรศููนย์์ปฏิิบััติิธรรมจอร์์แดน-บาห์์เรน • ศิิษย์์เก่่า-ปััจจุุบััน ม.เกษตรศาสตร์์ และญาติิมิิตร • Boupha-Malissa-Emma Phonemany
• ชมรมครูู ผู้้�ปกครอง และนัั กเรีียนโรงเรีียนตะวัันชััยวิิทยา • สมาคมส่่งเสริิมศีีลธรรมและความดีีสากล บางซื่่�อ • Bu Ya Lan, Bu Kai Hong, Liang Hai Ying
จ.นครราชสีมา • สมาชิิกอาศรมอุุบาสิิกา • Cao Xiao Feng and Family
• ชมรมใจใสใจสบาย • สมาธิิแก้้วทุุกรุ่่�น • CHAN POI KOUN
• ชมรมบััวขาว • สวนพนาวััฒน์์ • Chandana P.Songer


ชมรมบ้้านแก้้วสายใยรััก
ชมรมพระโขนง


อสม.แผนกสวััสดิิการเจ้้าหน้้าที่่�
อาสาพัันธุ์์�ตะวััน รุ่่�น ๑๐


Chang Hooi Yin
Chang Yit Hang and Family
179

www.kalyanamitra.org
• CHARAN KAUR AND FAMILY • ESTHER SIU AND FAMILY • Lang Jin Xuan and Family
• Charoenchai Jareerath Getima • Ewan Woo Jun Rui • Lau Wai Peng
• Chay Leng’s Family • Fon Churat • Lee Chor Yoke
• CHEAH CHEE KEONG AND FAMILY • Foo Kum Wah and Family • LEE CHOW MING
• Chen Hsuan Pin • Foo Ming Hooi • LEE HIAN TEE
• Chen Jia Xiao and Family • Gao Li Qiong • LEE HUNG BOON
• Chen Xiao Qin, Deng Zhen Feng and Family • GAR TI WEI AND FAMILY • LEE JIN HONG
• Chen Yi Ting • Guo Gan Long and Family • LEE KIM SWEE
• Chen Ying Jun and Family • GURDEV KAUR AND FAMILY • LEE KWAN
• Chen Zhong Zu and Family • Hai Yun and Family • LEE ZE BIN
• Cheng Lily • Hendrik Schultz • LEE ZE YU
• Chew Kong Seng • Ho Liang Heng • Lei Wen Li and Family
• Chew Su Ming • Hong Beng Foo • Lei Zi He and Family
• Chomsy Luangpraseuth, Paul and Miichelle Philavong • Hou Jie Wen and Family • Li Meng Ni and Family
• CHOO SEE MENG AND FAMILY • Hu Lu Wa • Li Ping and Family
• CHOONG BEE TUAN AND FAMILY • Huang Chen Se • Li Sha Sha
• CHOW WAI KEE • Huang Kan Ju • Liang He Ying
• Christine Chew Soh Guat • Huang Ling Yin • Liang Hua Hong and Family
• Chua Bee Hong • Huang Xiao Shi, Yuan Man • Lien Lang
• Chuang Yuan Kai • Huang Xiu Zhen and Family • LIEW YUH SERN
• Chui Tan, Roger Yang, Melvin Yang, Jennifer Yang • Huang Yen Bo • LIEW YUN KAW
• Cindy-Scott Whitaker • Ian Lim Yi En • Lim Geok Yean
• CREATE MERIT HAPPILY • IGEN CLUB • Lim Hock Heng Cheng Lily and Family
• David Paul Clegg and Family • INEM, JUPA DIN LOY, MARLIKSA AND HENRY PHUVADY • LIM MEE YAN
• De Long and Family • JACKSON TEH JEE SHYEN • LIM SIEW CHING AND PARENTS
• Deceased Loh Lee Chin • Jack-Udomluk Spence and Family • Lin Hao Hui and Family
• Deng You Long and Family • James-Sivilay-Peter-Lena-Sophia Amkha • Lisa Tran To
• Desmond Lim WH and Darren Lim WJ • Jutibapa-Lhan-Supee Rittem • Liu Wen Jie
• Dhammakaya Meditation Center Tennessee • Kenny Khanthasri-Amamda Vongphachanh • Liu Yu Wei and Family
• Diem To • Khoo Yoke Leng • Liu ZhuoJing and family
• Dr. Jenna Dao • Koay Chew Seng and Family • Loo Siew Yen and Family
• Dr. Kevin To • Koji-Wilai Jindo พร้้อมครอบครััวจัันทร์์ลัักษณ์์ • Ludovic Piluek
• Elenore Nussara Brigitte piluek • Kojsonk Family • MA TIN LUK AND FAMILY
• Eng Guo Joe • KOSAL LEY AND FAMILY • Ma Yan
• Eng Kwang Yeow • Kuo Jui Hsia • Madeline และครอบครััวแก้้วสิิทธิ์์�
180 •

Eng Kwang Yeow, Lau Wai Peng, Eng Guo Joe
EPUI, NARIN, SU CHITT, CITRA AMYRA AND AMIR


Kwan Pui See
Lance Collins, Denise Valentina Abe and Family


MAHABUCHANIYACARN (PHRA WEELEP PAWITCHO)
Makhala Maronpon
THANAVAT

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
• Mana Yordming • ONG CHUAN TIAP AND FAMILY • Sasikant Norcross
• Maneewan udmasoon and Family • Ong Jing Yi • Shang Hai Fo Yuan Qun
• Marisa Juthapa Maas • Ong Mooi Cheok • Shen Jia Hua and Family
• Matthew Lim Yi Kai • Ong Soo Yong • Shen Jian Fei and Family
• MEK KERIAN, PHANI, CHU, SOM CHIAN AND ARISSARA • ONG SUAN NYIN • Sing-Bounma-Malisa-Jondan-Emily Xaysongkham
• MELISSA INTRATHEP • Ong Wei Shen • SOMPHON, KIM SUI, THANAKORN AND NAKPHATSORN
• MEMBERS FROM POWER GROUP AND BUDDHIST • Ong Yan Hwee • Souchinda Borihanh
FRIENDS • Ong Yuan Bin • Stephanie Ho Jia Sean
• MICHAEL SCHAEFER • OOH ZI JING • STEVEN LOH, LANG LI EE, LOH PEI XUAN
• MICHAEL TONG YIN YIE, ROSABEL KWAN YOKE LING • OOH ZI SHENG • Suphaporn Seekornsai
• Min Sheng and Family • OOH ZI XUAN • TAN BOON AUN, CHOON LAN, XUAN EARN AND TAN
• MINDY SOU AND FAMILY • Ooi Chee Hou ZI DAO
• MIRIELLE TEO YEONG SHIEN • OOI GUEK HAR AND FAMILY • TAN CHIN CHOO
• MISS JENNIFER YEO PC AND FAMILY • OOI LAI CHOON AND FAMILY • TAN CHOOI YEONG
• Mone Vongsamphanh • OZAWA TAKASHI • Tan Jia Ning
• MR.MARTIN JOHN LOUCH • Parpaiporn (คุุณประไพพร) Schaer • Tan Khim Whan and Family
• MR.JAMES ASHWORTH • Paula Sundara and family • Tan Lee Pheng
• Mrs.Suthinee Lazar • PAVEENA UTTRAPHAN AND FAMILY, SHASHITHARAN • Tan Poh Ming
• Narin Lann KURUKULLAM AND FAMILY • Tan Ying Xuan
• Narorn-Rachana Mock and family • Peggy Sie Geok Choo and Family • TAY FOO ENG
• Narry Lann and family • PENG QIN • Tay Geok Koon
• Natalie Woo Xuan Rui • Penny, Chris and Christian Walden • TEH BENG EONG
• Nathaphon Pongchaisit • Phay Lee Chen and Family • Teh Lea Khuan
• NG AH CHONG, PHATCHRAPORN NG AND FAMILY • Philip Liew Tien Yu • Teng Qiao Yang, Tang Yu Feng, Teng Yi
• Ng Kock Seong • PHRAKHRUVISUDVIRIJAKHUN • The Stern Family
• NG LAY YEN AND FAMILY • Pongpat Leonie Piluek • Thongjan Aasland
• NG SAI PENG • Prakrit-Dara Suppapiroj • Thongnhot-Vasana Khamvongsa
• Ng Suu King • Pu Sheng Xi, Lin Ying Ying and Family • Tian Shu Zeng and Family
• Ng Wan Qi • Qu Li Mei • Tien Chung
• Ng Zhan Hao • QUININE TAO • Timothy Leathers-เพ็็ญนภา มานิิ ตย์์โชติิพิิสิิฐ
• NGOH SIEW HOON • Rachanee Erkens • Toby-Melanie Young
• Ngoh Soo Keong • Regina Tay and Family • TOH CHAI LENG
• Ngoh Yan Rong Clarissa • Roger and Thawanrat Owen • Tony-Cindy-Dania-Justin Charernnam
• Ngoh Yen Lin Geraldine • SAKON DIN CHOM • Tsai Li Fen
• Ong Bee Hong • SANDRA LEONG SHAN SHAN • Tsai Li Ping


Ong Chin Hui
Ong Choon Gan


SANDY AND FAMILY
SANDY S.RUENGSORN


Tsai Wen Chun
Ven.Yanuttamo and family
181

www.kalyanamitra.org
• Viroot-Manivanh-Julie-Regis Pongsavath
• VITHARANI AND FAMILY
• Wang Fang and Family
• Wang Fei and Family
• Wang Yan Zhang
• WARANGKANA TEMPATI
• Wee Yong Hong
• Worasak-Kayphet Boodthijak
• Wu Ji Chun Dao Chang
• Xiang Qian and Family
• XU CAI AND LIN CAI YUN
• XU YONG XIN AND FAMILY
• Yan Ling and Family
• YEUNG CHI TUNG AND FAMILY
• YEW KIM SAN AND FAMILY
• Yuan Yun Lin, Tao Man Ling, Yuan Wei Ji
• Zhao Jie
• Zhou Lei
• Zhu Bao Yang and Family

182

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
คณะบรรณาธิิการ

พระครููปลััดสุุวััฒนโพธิิคุุณ (สมชาย ฐฃานวุุฑฺฺโฒ), ดร. พระครููวิิบููลนิิ ติิธรรม (ไพบููลย์์ ธมฺฺมวิิปุโุ ล)


พระมหาสมเกีียรติิ วรยโส (ป.ธ. ๙) พระมหาสุุทธิิชััย สุุทฺฺธิิชโย
พระครููสัังฆรัักษ์์อนุุรักั ษ์์ โสตฺฺถิิโก พระมหานพพร ปุุญฃฺฺญฃชโย (ป.ธ. ๙)
พระภาสุุระ ทนฺฺ ตมโน ผศ.ดร.สมสุุดา ผู้้�พััฒน์์
ดร.รััฐรพีี พิิพััฒน์์ ธนวงศ์์ อาจารย์์สุุวณีีย์์ ศรีีโสภา
ดร.วีีระ สุุภะ

คณะศิิษยานุุ ศิิษย์์ผู้้�จััดทำำ�หนัั งสืือ

พระพิิสุุทธิ์์� ฐฃานสุุทฺฺโธ พระภััทรพงษ์์ เหมภทฺฺโท พระมหาชาญณรงค์์ ปคุุณธมฺฺโม


ไพบููลย์์ สืืบสาย ขวััญจิิตต์์ จิิตสิินธุุ สิิริวิ รรณ อนัั นต์์สุุขสกุุล
กิิติิยา แก้้วขาว จรีีรััตน์์ พััสดุุธาร จิิดาภา แจ่่มจัันทร์์ชนก
จิิตรลดา ปรีีชาหาญ ฉัั ตรลััดดา ภููวสิิทธิิถาวร ชนิิ ดา ซิ้้�มเจริิญ
ชิิตาพร โต๊๊ะทอง ทััศนีีย์์ โคตรสมุุทร ธารารััตน์์ อิินทรเสนา 183

www.kalyanamitra.org
นฤมล สิิมมา ปััทมา รััตนคช พรพิิมล สุุขสวััสดิ์์�
พุุธิิตา สุุมานนท์์ เพ็็ญธิิดา น้้ อยนุุ พา เมธีี แท่่นทอง
รภััทร สุุวรรณนทีี รััฐวิิชญ์์ รุ่่�งเรืืองนพรััตน์์ รัตั นาภรณ์์ อมรทวีีสิิน
รุ่่�งพรรษา มณีีขาว ลำำ�แพน พวงมาลััย วรวุุฒิิ สายบััว
วลััยทิิพย์์ เปรมทวีีธนโชต วลััยลัักษณ์์ มงคลกาวิิล ประทีีป สวยงาม
สุุธิิดา จิินดากิิจนุุกููล สุุพััตรา ไชยสาส์์น สุุภาวิิดา อาจสมััย
สุุมาลีี จุุลจัันทร์์ หรรษา ศิิริยิ านุุ ธาพร อรอนงค์์ สาลีีผล
อาทิิตยา ลำำ�ดัับ รวรรณวััฒน์์ เรืืองสุุวรรณ ศุุภรััฎฐา วิิวััฒนสราญรมย์์
อััมพร วััฒนกาญจนะ นิิรุตุ ติิ คงเจริิญพร

184

สติิ สััมปชััญญะ | รากฐานการศึึกษาของมนุุ ษยชาติิ


www.kalyanamitra.org
สติ สัมปชัญญะ

สติ สัมปชัญญะ | รากฐานการศึกษาของมนุ ษยชาติ


รากฐานการศึ ก ษาของมนุ ษ ยชาติ

www.kalyanamitra.org

You might also like