RPT FMGR202209 FMGR 2uobusi FMGR 202210 TH

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

สรุปภาวะตลาดรายเดือน ตุลาคม 2565

Market Summary ตลาดทุน : ประเทศไทย


Economic Review
Thai Equity Indexes 31-Aug 30-Sep +/- +/- (%)
SET 1,638.93 1,589.51 -49.42 -3.02% เศรษฐกิจไทยในเดือนสิงหาคม 2565 เศรษฐกิจไทยยังอยู่ในทิศทางฟื้ นตัว
SET50 996.33 954.44 -41.89 -4.20% โดยเครื่องชีก
้ ารบริโภคภาคเอกชนทรงตัว ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนปรับ

Net Fund Flow(Million Bht) (1- 30 Sep) +/- ดีข้น


ึ สอดคล้องกับการผลิตภาคอุ ตสาหกรรม สาหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ
Local Institution -5,561.15
ยังฟื้นตัวต่อเนื่อง และการใช้จา่ ยภาครัฐขยายตัวจากรายจ่ายประจาและ
Proprietary Trading 3,278.08
Foreign Investors -24,366.11 รายจ่ายลงทุน อย่างไรก็ตามมูลค่าการส่งออกสินค้าปรับลดลงตามอุ ปสงค์
Retail Investors 26,649.17 ต่างประเทศที่ชะลอตัวประกอบกับมีปัจจัยกดดันชัว่ คราวด้านอุ ปทาน

Global Equity Indexes 31-Aug 30-Sep +/- +/- (%)


DJIA 31,510.43 28,725.51 -2784.92 -8.84%  ภาคอุ ต สาหกรรม: เครื่อ งชี้ก ารผลิ ต ภาคอุ ต สาหกรรมที่ ข จั ด
S&P 500 3,955.00 3,585.62 -369.38 -9.34%
ปั จ จั ย ฤดู ก าลแล้ ว ปรับ เพิ่ ม ขึ้ น จากเดื อ นก่ อ นในหลายหมวด
NIKKEI 225 28,091.53 25,937.21 -2154.32 -7.67%
Germany DAX 12,834.96 12,114.36 -720.6 -5.61% โดยเฉพาะหมวดยานยนต์ เนื่องจากผู้ผลิตได้รบ
ั ชิน
้ ส่วนการผลิต
France CAC 40 6,125.10 5,762.34 -362.76 -5.92% ต่อเนื่ องจากเดือนก่อน นอกจากนี้ หมวดอาหารและเครื่องดื่ม
FTSE 100 7,284.15 6,893.81 -390.34 -5.36% เพิ่มขึ้น ตามอุ ป สงค์ใ นประเทศที่เพิ่มขึ้นและการท่องเที่ ย วที่ฟ้ ืน
Brazil BOSVESPA 109,522.88 10,036.79 513.91 0.47%
ตัวอย่างต่อเนื่องอย่ างไรก็ต าม การผลิ ตบางหมวดปรับลดลง
MSCI Russia Index N/A N/A N/A N/A
India SENSEX 59,537.07 57,426.92 -2110.15 -3.54%
เช่น หมวดเคมีภัณฑ์ และหมวดยางและพลาสติก
SHCOMP 3,202.14 3,024.39 -177.748 -5.55%
 ภาคการบริโภค : เครื่องชีก
้ ารบริโภคภาคเอกชนที่ขจัดปัจจัย
China HSCEI 6,865.12 5,914.08 -951.04 -13.85%
HSI 19,954.39 17,222.83 -2731.56 -13.69% ฤดูกาลแล้วทรงตัวจากเดือนก่อน โดยปรับเพิม
่ ขึ้น ในเกือบทุก
TWSE 15,095.44 13,424.58 -1670.86 -11.07% หมวด ยกเว้นหมวดสินค้าไม่คงทน ทัง้ นี้ ปัจจัยสนับสนุนกาลังซื้อ
MSCI Golden Dragon 179.22 152.96 -26.26 -14.65%
ภาคครัวเรือนทยอยปรับดีข้น
ึ โดยเฉพาะการจ้างงานและความ
Commodities 31-Aug 30-Sep +/- +/- (%) เชื่อมัน
่ ผู้บริโภค อย่างไรก็ตาม ค่าครองชีพที่อยู่ในระดับสูงยังคง
Gold 1,716.90 1,662.40 -54.5 -3.17% เป็นปัจจัย กดดันการบริโภคในภาพรวม
NYMEX WTI 89.55 79.49 -10.06 -11.23%
Brent 96.49 87.96 -8.53 -8.84%
 ภาคการลงทุน : เครื่องชีก
้ ารลงทุนภาคเอกชนที่ขจัดปัจจัย
Bonds 31-Aug 30-Sep +/-(bps) ฤดูกาลแล้วปรับเพิม
่ ขึ้นจากเดือนก่อน โดยหมวด เครื่องจักรและ
2y US Treasury 3.49 4.28 78.58%
อุ ปกรณ์ปรับเพิม
่ ขึ้นจากการนาเข้าสินค้าทุนของเอกชนและยอด
10y US Treasury 3.19 3.83 63.60%
จดทะเบียนรถยนต์เชิงพาณิชย์ ขณะที่หมวดการก่อสร้างปรับดี
1y Thai Govt Bond 1.11 1.24 13.14%

5y Thai Govt Bond 2.01 2.65 63.83%


ขึ้นเล็กน้อย ตามยอดจาหน่ายวัสดุก่อสร้างที่เพิม
่ ขึ้น และพื้นที่

10y Thai Govt Bond 2.60 3.21 61.48%


ได้รบ
ั อนุญาต ก่อสร้างที่ยังทรงตัวในระดับสูง โดยเฉพาะเพื่อที่
อยู่อาศัยและอุ ตสาหกรรม
FX 31-Aug 30-Sep +/- +/- (%)
USD/THB 36.46 37.73 1.27 3.47%

1 of 4
สรุปภาวะตลาดรายเดือน ตุลาคม 2565

 ดุลต่างประเทศ : มูลค่าการส่งออกสินค้าไม่รวมทองคาที่ขจัดปัจจัย สรุปภาวะตลาดหุ้นกันยายน 65

ฤดูกาลแล้วปรับลดลงจากเดือนก่อนตาม อุ ปสงค์ประเทศคู่ค้าที่ชะลอลง SET index ปรับตัวลงจาก 1,638.93 จุด ลงไปปิดที่ 1,589.51 จุด ณ สิ้น
โดยเฉพาะการส่งออกสินค้าเกษตรแปรรูปและโลหะไปจีน ประกอบกับมี เดือนกันยายน 2565 ซึ่งปรับตัวลง 49.42 จุด (-3.0%) แรงกดดันจากการ
ปัจจัยกดดันชัว่ คราวด้านอุ ปทานในหมวดปิโตรเลียมจากการบริหาร ดาเนินนโยบายการเงินของธนาคารกลางทัว่ โลกที่เข้มงวดขึ้น โดยพบว่ามี
จัดการสินค้าคงคลังของโรงกลัน
่ น้ ามัน และในหมวดสินค้าเกษตรจาก การปรับ ขึ้น อั ต ราดอกเบี้ย เร่ง ขึ้น เพื่อ แก้ ปั ญ หาเงิ น เฟ้อ ที่ อ ยู่ ใ นระดับ สูง
สภาพอากาศที่ไม่เอื้ออานวยต่อการเพาะปลูก อย่างไรก็ดี การส่งออกบาง
(FED ปรับ อั ต ราดอกเบี้ ย นโยบายขึ้ น +0.75% , ECB +0.75%, BOE
หมวดเพิม
่ ขึ้น จากเดือนก่อน อาทิ สินค้าอิเล็กทรอนิกส์เครื่องใช้ไฟฟ้า
+0.5% และ กนง. +0.25%) ซึ่งส่งผลให้ตลาดมีความกัง วลต่อภาพรวม
และยานยนต์และชิน
้ ส่วน
เศรษฐกิจโลกที่มีโอกาสถดถอยมากยิ่งขึ้น กดดันการลงทุนสินทรัพย์เสี่ยง
มูลค่าการนาเข้าสินค้าไม่รวมทองคาที่ขจัดปัจจัยฤดูกาลแล้วปรับเพิม
่ ขึ้น
จากเดือนก่อน จากการนาเข้าเชื้อเพลิงทัง้ น้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติและ ผสานกั บ เป็ น การเร่ง ให้แ นวโน้ ม ค่ า เงิ น ดอลล่ า ร์ป รับ ตั ว แข็ ง ค่ า อย่ า งมี

สินค้าอุ ปโภคและบริโภคตามการนาเข้าสินค้าคงทน อย่างไรก็ตาม การ นั ย ส าคั ญ กดดั น ค่ า เงิ น บาทอ่ อ นค่ า สุ ด ในรอบ 16 ปี ทะลุ ร ะดับ 38 บาท
นาเข้าวัตถุดบ
ิ และสินค้าขัน
้ กลางรวมทัง้ สินค้าทุนปรับลดลงจากที่ได้เร่ง ต่อดอลล่าร์ เป็นปัจจัยที่กระตุ้น Fund Flow ไหลออกมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็
นาเข้าในเดือนก่อน ดีในช่วงปลายเดือน ด้าน BOE มีการประกาศการเข้าซื้อพันธบัตรระยะยาว
 ภาคการท่องเที่ยว : จานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ ที่ขจัดปัจจัย เพื่อช่วยพยุ งเสถีย รภาพทางการเงิน ซึ่งทาให้อัตราผลตอบแทนพันธบัตร
ฤดูกาลแล้วเพิม
่ ขึ้นจากเดือนก่อนเล็กน้อยในเกือบทุกกลุ่มสัญชาติเป็น
รัฐบาลเริม
่ ชะลอตัวลง เพิม
่ แรงหนุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงเล็กน้อยในช่วงปลาย
ผลจากการผ่อนคลายมาตรการจากัดการเดินทางระหว่างประเทศอย่าง
เดือน
ต่อเนื่อง
เดือน ก.ย. ต่างชาติสลั บมาขายสุทธิ ที่ 2.4 หมื่นลบ. เทีย บกับเดือนก่อ น
 อัตราเงินเฟ้อ : อัตราเงินเฟ้อทัว่ ไปเดือน สิงหาคม อยู่ที่รอ้ ยละ 7.86 YoY
เพิม
่ ขึ้นจากร้อยละ 7.61 YoY ในเดือนก่อน อัตราเงินเฟ้อทัว่ ไปเพิม
่ ขึ้น หน้าที่ซ้ อ
ื สุทธิ 5.7 หมื่นลบ.

จากเดือนก่อนจากอัตราเงินเฟ้อหมวดอาหารสดตามราคาผักและผลไม้
เป็นสาคัญ ประกอบกับอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเพิม
่ ขึ้นจากทัง้ หมวดอาหาร
และที่ไม่ใช่อาหาร ขณะที่อัตราเงินเฟ้อหมวดพลังงานลดลงตามราคา
น้ามันดิบในตลาดโลก

2 of 4
สรุปภาวะตลาดรายเดือน ตุลาคม 2565

แนวโน้มตลาดหุ้นตุลาคม 65 ภาวะตลาดตราสารหนีก
้ ันยายน 65
อัต ราผลตอบแทนพัน ธบัต รรัฐบาลปรับ ตัว เพิ่ม ขึ้น ตลอดทั ้งเส้น ประมาณ 13 - 74
คาดดัชนีตลาดฯในเดือนตุลาคมจะเคลื่อนไหวในกรอบ 1530-1630 จุด โดย
bps. ในทิศทางเดียวกับ US-Treasury
ปัจจัยต่างประเทศยังเกาะติดแนวโน้มสัญญาณเงินเฟ้อ หลังจากในช่วงที่ผ่าน
ภายหลั ง จากประธานธนาคารกลางสหรัฐ ฯ (เฟด) กล่ า วสุน ทรพจน์ ใ นการประชุ ม
มาหลายธนาคารกลางทัว่ โลกเร่งการใช้อัตราดอกเบี้ยขาขึ้น ซึ่งคาดจะค่อยๆ นโยบายประจาปีที่เมืองแจ็กสัน โฮล ส่งสัญญาณจะยังคงปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยต่อไป
ส่ง ผลเชิง บวกต่ อ สถานการณ์ เ งิ น เฟ้อ ในช่ว งถั ด ไป ขณะที่ จีน ตลาดจะให้ เพื่อแก้ไขปัญ หาเงิน เฟ้อ ประกอบกับผลการประชุ มคณะกรรมการนโยบายการเงิ น
(กนง.) เมื่อวันที่ 28 ก.ย. ที่มม
ี ติเอกฉันท์ให้ปรับขึ้นอัตราดอกเบีย
้ นโยบาย 0.25% ต่อ
ความสาคัญกับการประชุ มพรรคคอมมิวนิสต์ (18 ต.ค.) ซึ่งมีวาระสาคัญใน
ปี จาก 0.75% เป็น 1.00% ต่อปี
การเลือกผู้ที่จะดารงตาแหน่งผู้นา จึงมีความเป็นไปได้สง
ู ที่จะมาพร้อมการใช้ ด้านปัจจัยต่างประเทศ ผลการประชุมธนาคารกลางยุโรป (ECB) เมื่อวันที่ 8 ก.ย. มีมติ
มาตรการฟื้ นเศรษฐกิ จ ทุก รู ป แบบเพื่อ แสดงศั ก ยภาพความเป็ น ผู้ น าทาง ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย 0.75% ตามที่ตลาดคาดการณ์พร้อมส่งสัญญาณปรับขึ้นอัตรา
ดอกเบีย
้ ต่อไปเนื่องจากอัตราเงินเฟ้อยังคงอยู่สง

เศรษฐกิจของโลก ในช่วงที่ประเทศมหาอานาจอื่นๆเผชิญกับปัญหารอบด้าน
ผลการประชุ มธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) เมื่อวันที่ 20-21 ก.ย. มีมติปรับขึ้นอัตรา
ผสานกับความคาดหวังเชิงบวกในประเทศจากการเข้าสู่ไตรมาสสุดท้ายของปี
ดอกเบี้ย ระยะสัน
้ 0.75% สู่ร ะดั บ 3.00-3.25% ตามที่ ต ลาดคาดการณ์ไ ว้แ ละส่ ง
โดยคาดภาคการท่ อ งเที่ ย ว และการบริโ ภคภาคเอกชน จะเป็ น แรงหนุ น ที่ สัญ ญาณว่าจะปรับ ขึ้น อัต ราดอกเบี้ย ต่อ ไปจนกว่าตั วเลขเงิ นเฟ้อ ปรับตั วลงสู่ร ะดับ
ส าคั ญ ในการขับ เคลื่ อนเศรษฐกิ จ ไทย ซึ่ง จะช่ว ยเพิ่ม จิต วิท ยาเชิง บวกต่ อ เป้าหมายของเฟดที่ 2%
ผลการประชุ ม ธนาคารกลางญี่ ปุ่ น (BOJ) เมื่อ วัน ที่ 21-22 ก.ย. มีม ติ ค งนโยบาย
เงินทุนไหลเข้า อาจหนุนเงินบาทกลับมาแข็งค่าขึ้น และเป็นบวกต่อตลาดหุ้น
การเงินแบบผ่อนคลายเป็นพิเศษ (Ultraeasy Monetary Policy) ไว้ที่ ระดับ -0.1%
ไทยให้มโี อกาสฟื้ นตัว และคงเป้ า หมายอั ต ราผลตอบแทนพั น ธบั ต รรัฐ บาลอายุ 1 0 ปี ไ ว้ ที่ ป ระมาณ 0%
สอดคล้องกับการคาดการณ์ของตลาด เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ
ผลการประชุ ม ธนาคารกลางอั ง กฤษ (BoE) เมื่อ วั น ที่ 22 ก.ย. มีม ติ ป รับ ขึ้น อั ต รา
ดอกเบี้ย นโยบาย 0.50% สู่ร ะดับ 2.25% ส่งสัญ ญาณว่า จะยัง คงคุม เข้ม นโยบา ย
การเงินต่อไปเพื่อสกัดเงินเฟ้อ
ธนาคารกลางอังกฤษ (BoE) เมื่อวันที่ 28 ก.ย. ประกาศรับซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยไม่
จากัดจานวนจนถึงวันที่ 14 ต.ค. 65 เพื่อสร้างเสถียรภาพในตลาดการเงิน
ด้านปัจจัย ในประเทศ กระทรวงพาณิชย์รายงานอัตราเงินเฟ้อทัว่ ไปประจาเดือน ส.ค.
65 เพิม
่ ขึ้น 7.86% (YoY) จากราคาพลังงานที่ปรับตัวสูงขึ้น
ผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) เมื่อวันที่ 28 ก.ย. มีมติเอกฉันท์
ให้ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย นโยบาย 0.25% ต่อปี จาก 0.75% เป็น 1.00% ต่อปี โดย
มองว่า เศรษฐกิจ ไทยมีแ นวโน้ม ฟื้นตั ว ต่ อเนื่ อง จากภาคท่ อ งเที่ ย วและการบริโ ภค
ภาคเอกชน และคาดว่าเศรษฐกิจไทยในปี 65 มีแนวโน้มจะขยายตัวที่ 3.3% และ 3.8%
ในปี 66 ขณะที่ธนาคารโลกปรับประมาณการเศรษฐกิจ (GDP) ของประเทศไทย จาก
เดิมที่ 2.9% เพิม
่ ขึ้นเป็น 3.1% หลังจากภาค การบริโภค การท่องเที่ยวและการส่งออก
ฟื้นตัว
ธนาคารโลกปรับประมาณการเศรษฐกิ จ (GDP) ของประเทศไทย จากเดิม ที่ 2.9%
เพิม
่ ขึ้นเป็น 3.1% หลังจากภาค การบริโภค การท่องเที่ยวและการส่งออกฟื้นตัว
เดือ นกัน ยายนที่ ผ่ านมา (1-30 ก.ย. 65) มีกระแสเงิ น ลงทุน ต่ างชาติไ หลออกจาก
ตลาดตราสารหนี้ไทยรวมสุทธิ 22,229 ล้านบาท โดยเป็นการขายสุทธิในตราสารหนี้
ระยะสัน
้ (ST) (อายุคงเหลือไม่เกิน 1 ปี) 6,084 ล้านบาท และ ขายสุทธิในตราสารหนี้
ระยะยาว (LT) (อายุมากกว่า 1 ปี) 13,826 ล้านบาท และมีตราสารหนี้ที่ถือครองโดย
นักลงทุนต่างชาติหมดอายุ 4,476 ล้านบาท

3 of 4
สรุปภาวะตลาดรายเดือน ตุลาคม 2565

ข้อสงวนสิทธิแ
์ ละคาเตือนเกี่ยวกับความเสีย
่ งในการลงทุน

บริษัทหลักทรัพย์จด
ั การกองทุน ยูโอบี (ประเทศไทย) จากัด (“บริษัทจัดการ”) จัดทาเอกสารฉบับนี้ข้น
ึ เพื่อวัตถุประสงค์ในการเผยแพร่ข้อมูลเป็นการทัว่ ไป โดยไม่มุ่ง

หมายให้ถือเป็นคาเสนอหรือการเชิญชวนให้บุคคลใดทาการซื้อ และ/หรือ ขายผลิตภัณฑ์ด้านการลงทุนประเภทต่าง ๆ ตามที่ปรากฏในในเอกสารฉบับนี้ และไม่ถือ

เป็นการให้คาปรึกษาหรือคาแนะนาเกี่ยวกับการทาธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ดา้ นการลงทุนของบริษัทต่างๆ ตามที่ระบุไว้ในเอกสารนี้ แต่อย่างใด แม้บริษัท

จัดการจะได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรเพื่อให้ข้อมูลดังกล่าวมีความถูกต้องและตรงกับวัตถุประสงค์ของการจัดทาเอกสารนี้ บริษัทจัดการและพนักงานของ

บริษัทจัดการไม่มีความรับผิดและจะไม่รบ
ั ผิดสาหรับความผิดพลาด ความไม่ถูกต้อง หรือการตกหล่นของข้อมูลใดๆ ที่เกิดขึ้นไม่วา่ ด้วยเหตุ ใดก็ตาม รวมทัง้ จะไม่รบ

ผิดสาหรับการกระทาใดๆ ที่เกิดขึ้นบนพื้นฐานของความเห็นหรือข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในเอกสารฉบับนี้ บริษัทจัดการไม่ได้ให้คารับรองหรือรั บประกัน ไม่ว่าโดยชัดแจ้ง

หรือโดยปริยาย เกี่ยวกับความถูกต้อง แม่นยา น่าเชื่อถือ ทันต่อเหตุการณ์ หรือความสมบูรณ์ของข้อมูลดั งกล่าวในกรณีใดๆ ทัง


้ สิ้น และบริษัทจัดการขอปฏิเสธ

ความรับผิดทัง
้ ปวงที่เกิดหรืออาจเกิดขึ้นในทุกกรณี ทัง
้ นี้ ความเห็น บทวิเคราะห์ หรือการคาดคะเนต่างๆ เกี่ยวกับเหตุการณ์หรือผลการดาเนินงานในอนาคตที่

ปรากฏในเอกสารนี้ (ซึ่งรวมถึงแต่ไม่จากัดเพียงข้อมูลเกี่ยวกับประเทศ เศรษฐกิจ ตลาด หรือบริษัทต่างๆ) ไม่ถือเป็นเครื่องยืนยันและอาจแตกต่างจากเหตุการณ์

หรือผลประกอบการที่เกิดขึ้นจริงได้ ผลการดาเนินงานของกองทุนหรือบริษัทจัดการในอดีต/ผลการเปรีย บเทียบผลการดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกั บผลิตภัณฑ์ใน

ตลาดทุนในอดีต มิได้เป็นเครื่องยืนยันถึงผลการดาเนินงานในอนาคตหรือที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต และอาจมีกรณีที่ผลการดาเนินงานเป็นไปอย่างผิดความคาดหมาย

เนื่องจากเหตุการณ์หรือปัจจัยต่างๆ ที่ไม่เป็นปกติได้ การลงทุนในหน่วยลงทุนมิใช่การฝากเงิน และไม่ถือว่าบริษัทจัดการ และ/หรือ บริ ษัทในเครือหรือผู้ดาเนินการ

ขายของบริษัทจัดการได้รบ
ั ประกันการลงทุนให้แ ก่ผู้ลงทุนแต่อย่างใด นอกจากนัน
้ การลงทุนมีความเสี่ยง ไม่ว่าจะเป็นความเสี่ยงจากการลงทุน ความเสี่ยงจาก

อัตราแลกเปลี่ยน หรือความเสีย
่ งอื่นๆ ดังนัน
้ ผู้ลงทุนอาจได้รบ
ั เงินลงทุนคืนมากกว่าหรือน้อยกว่าเงินลงทุนเริม
่ แรก หรือไม่ได้รบ
ั เงินลงทุนคืนเลยก็ได้ ผู้ลงทุนควร

ศึกษาข้อมูลในหนังสือชีช
้ วนของกองทุน คาเตือน และเอกสารที่เกี่ยวข้องก่อนทาการสัง่ ซื้อหน่วยลงทุน และในการทาธุรกรรมต่างๆ เพื่อหน่วยลงทุนนัน
้ จะต้องทา

ตามรูปแบบและวิธก
ี ารที่ระบุไว้ในหนังสือชีช
้ วนสาหรับนักลงทุนที่ต้องการทราบข้อมูลหรือรายละเอียดเพิม
่ เติม สามารถติดต่อบริษัทจัดการหรือผู้ดาเนินการขายที่

ท่านใช้บริการ บริษัทจัดการขอสงวนสิทธิ์ในข้อมูลที่ปรากฏในเอกสารนี้โดยห้ามมิให้ผู้ใดเผยแพร่ ทาซ้า ดัดแปลง ลอกเลียนแบบ อ้างอิง ไม่ว่าทัง


้ หมดหรือบางส่วน

หรือใช้วธ
ิ ก
ี ารใดก็ตามเว้นแต่จะได้รบ
ั อนุญาตล่วงหน้าจากบริษัทจัดการเป็นลายลักษณ์อักษรก่อน นอกจากนัน
้ บริษัทจัดการขอสงวนสิทธิท
์ ี่จะทาการแก้ไข ปรับปรุง

เปลี่ยนแปลง หรือเพิม
่ เติมข้อความใดๆ ในเอกสารนี้ได้ตามที่บริษัทจัดการจะเห็นสมควร

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อ

บริษัทหลักทรัพย์จด
ั การกองทุน ยูโอบี (ประเทศไทย) จากัด
โทรศัพท์ : 0 2786 2222 โทรสาร: 0 2786 2377
อีเมล : thuobamwealthservice@UOBgroup.com
เว็บไซต์ : www.uobam.co.th

การลงทุนมีความเสีย
่ ง ผู้ลงทุนควรทาความเข้าใจลักษณะกองทุน นโยบายกองทุน
เงื่อนไขผลตอบแทน ความเสีย
่ ง และผลการดาเนินงานของกองทุนก่อนตัดสินใจลงทุน

4 of 4

You might also like