Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 32

ภาษาไทย (วรรณคดีและวรรณกรรม)

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑

หน่วยการเรียนรู้ที่

บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก

ตัวชี้วัด
• สรุปเนื้อหาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่นในระดับที่ยากยิ่งขึ้น
• วิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าจากวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน
• สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ความรักที่ยิ่งใหญ่ของมินนี่
ฉันคิดว่า ความรักที่พ่อแม่มีให้ฉัน
คืออะไรครับ
ยิ่งใหญ่และเสียสละที่สุดแล้วค่ะ

คิดเหมือนกันเลยครับ
พ่อแม่จะลาบากแค่ไหน
ก็ยอม ขอแค่ให้ลูก เหมือนในบทละครพูด
ได้มีความสุข เรื่องเห็นแก่ลูกเลยนะดอม
ท่านก็พอใจแล้ว

ใช่ครับ
แล้วความรักที่ยิ่งใหญ่ในความคิดของนักเรียนคืออะไร
ความเป็นมา
ละคร เป็นศิลปะการแสดงประเภทหนึ่งของไทย แบ่งออกเป็น

ละครรา ละครร้อง ละครพูด


- มีดนตรีประกอบ - ผู้แสดงต้องมีความ - มีการจัดฉาก แสง สี
- ใช้ศิลปะการร้อง สามารถในการขับร้อง เสียง อย่างสมจริง
และราตามแบบแผน ประกอบการแสดง - มีการสนทนาโต้ตอบกัน
- ตัวละครแสดงกิริยา
อาการตามบท
พระราชประวัติผู้ทรงพระราชนิพนธ์

พระราชกรณียกิจ
ด้านการเมืองการปกครอง
ด้านเศรษฐกิจ

ด้านการศึกษา
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
(รัชกาลที่ ๖)
ด้านอักษรศาสตร์
พระราชประวัติผู้ทรงพระราชนิพนธ์ (ต่อ)

พระราชนิพนธ์
• โคลนติดล้อ • ยิวแห่งบูรพาทิศ • บทเสภาสามัคคีเสวก
• ศกุนตลา • มัทนะพาธา • หัวใจนักรบ

พระนามแฝงในพระราชนิพนธ์
• อัศวพาหุ • รามจิตติ
• พระขรรค์เพชร • Young Tommy
ลักษณะคาประพันธ์ บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก
ละครพูด เป็นละครที่แสดงโดยใช้บทสนทนาโต้ตอบของตัวละคร
ผู้ทรงพระราชนิพนธ์เป็นผู้กาหนดชื่อเรื่อง ตัวละคร ลาดับการแสดง
ของตัวละครและฉาก
พระราชนิพนธ์ขึ้นเพื่อใช้ในการแสดงและการอ่าน เพราะการอ่าน
บทละครพูดทาให้ได้รับอรรถรสทางการประพันธ์และแง่คิดเตือนใจ
ผ่านพฤติกรรมต่าง ๆ ของตัวละคร ฉาก และบทสนทนาของตัวละคร

เป็นบทละครพูดขนาดสั้นที่มีความยาว
บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก เพียงองก์เดียวและมีฉากเดียว
เรื่องย่อ
บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก เป็นเรื่องของชายสองคน คือ นายล้าและพระยา
ภักดีนฤนาถ ทั้งสองเคยเป็นเพื่อนรักกันและหลงรักผู้หญิงคนเดียวกัน คือ แม่นวล
ซึ่ ง นายล้ าได้ แ ต่ ง งานกั บ แม่ น วลและมี บุ ต รสาวคนหนึ่ ง ชื่ อ แม่ ล ออ แต่ น ายล้ า
ต้องโทษจาคุก ๑๐ ปี ฐานประพฤติทุจริต เมื่อแม่ลอออายุได้เพียง ๒ ปี แม่นวลได้
เสียชีวิตลง พระยาภักดีนฤนาถจึงอุปการะแม่ลออ โดยบอกแม่ลออว่าบิดามารดาที่
เสียชีวิตไปแล้วนั้นเป็นคนดี
เรื่องย่อ

เมื่อนายล้าออกมาจากคุก เขาคิดจะมาพึ่งพาพระยาภักดีนฤนาถ โดยพระยา


ภักดีนฤนาถไม่ให้นายล้ายุ่งเกี่ยวกับแม่ลออ แต่เมื่อนายล้าได้พูดคุยกับแม่ลออและรู้
ว่าเธอชื่นชมบิดาที่แท้จริงว่าเป็นบุรุษผู้แสนดี ความเห็นแก่ตัวของนายล้าจึงหมดไป
นายล้าไม่อาจแสดงตนเป็นพ่อที่แท้จริงของแม่ลออได้ เขาปรารถนาให้แม่ลออมี
ความสุขกับอนาคตข้างหน้า
เนื้อเรื่อง
ตัวละคร ฉาก
พระยาภักดีนฤนาท ห้องหนังสือในบ้านพระยาภักดีนฤนาถ
มีประตูข้างซ้ายเข้าไปในห้องนอน ข้างขวาออกไปเฉลียง
ทางขึ้นลง ข้างหลังมีหน้าต่าง ประดับประดาด้วยของมีราคา
นายล้า

แม่ลออ

นายคา
พระยาภักดีนฤนาท
รักและอบรมสั่งสอน
เป็นพ่อบุญธรรมของแม่ลออ
แม่ลออเป็นอย่างดี

ทาหน้าที่พ่อด้วยความเต็มใจ
นายล้า

เป็นพ่อที่แท้จริงของแม่ลออ ผมหงอก หน้าย่น


ดูมีอายุมากกว่าอายุจริง

จมูกแดงแบบคนกินเหล้าจัด แต่งกายปอน ๆ
แม่ลออ

เป็นคนอ่อนโยน สุภาพ
มองโลกในแง่ดี
เรียบร้อย และมีมารยาทงาม

กาลังจะแต่งงานกับนายทองคา
อ้ายคา

เป็นบ่าวของ เป็นคนซื่อสัตย์
พระยาภักดีนฤนาถ และรักเจ้านายมาก

ฉลาดและมองนิสัยใจคอ
ของคนออก
ก็แล้วเจ้าคุณเมื่อไหร่จะกลับ?
ถ้ายังงั้นฉันคอยอยู่ที่นี่ก็ได้

แกไม่ต้องนั่งคอยอยู่กับฉัน
หรอก มีธุระอะไรก็ไปทาเสียเถอะ
เห็นจะไม่ช้าแล้วครับ ท่านเคยกลับ
แกจะคอยอะไรอีกล่ะ? จากออฟฟิศราวบ่าย ๕ โมงทุกวัน
ครับ
ถ้าจะต้องคอยอยู่เพราะฉันละก็ ฮะๆ ฮะๆ แกเห็นท่าทางฉันมันไม่ได้ ครับ
ฉันขอบอกว่าไม่จาเป็น แกจะไปก็ได้ การกระมัง แต่ที่จริงฉันน่ะเป็นผู้ดี
เหมือนกัน มีตระกูลไม่ต่าไม่เลวไป ครับ เปล่าครับ
กว่าเจ้าคุณภักดีเลย
ครับ
อ้อ! ใต้เท้ากรุณา ผมไหว้ ฉันไม่สู้แน่ใจ ดูเหมือนจะจาได้
ใต้เท้าเห็นจะจาผมไม่ได้ คลับคล้ายคลับคลา ฮะแอม!

ก็อย่างงั้นซิครับ ใต้เท้ามีบุญขึ้นแล้ว อ้อๆ นั่งเสียก่อนซิ, เป็นยังไง


จะมาจดมาจาคนเช่นผมยังไงได้ สบายดีอยู่ดอกหรือ?

ฮือ! พิศๆ ไปก็ออกจะจาได้


ขอรับ ผมก็ไม่เจ็บไข้ มีอาการถึงจะล้ม นายล้าใช่ไหม?
จะตายอะไร ขอรับ นายล้า ทิพเดชะ ฉันยังไม่ได้พบเธอเลย
ตั้งแต่...
แกแปลกไปมาก
จริงขอรับ หลายปีมาแล้ว
ขอรับ ผมก็รู้สึกตัวว่า ดูแก่ไป
สิบห้าปีได้แล้ว
ผมแก่ไปมาก
ทาไมครับ ก็ผู้ที่จะมาเป็นลูกเขยผมน่ะ แกจะไปเป็นเจ้าบุญนายคุณอะไรเขา
ถ้าเขารักแม่ลออจริงละก็ ถึงผม
เขาก็มั่งมีพออยู่ไม่ใช่หรือ เขาจะเลี้ยงผม เขาจะได้เลี้ยงแก?
จะเป็นคนเลวกว่าที่ผมเป็นอยู่นี่
เขาคงไม่รังเกียจ ไว้อีกสักคนไม่ได้เทียวหรือ?
เอ๊ะ! นี่แกจะขยายขึ้นว่า
ผมเป็นพ่อแม่ลออ แกเป็นพ่อแม่ลออยังงั้นหรือ?
คิดร้ายยังไง อ๋อ! นี่น่ะ แกต้องการเงิน
ก็ดูมีบุญคุณพอแล้ว พุทโธ่! นี่แกน่ะไม่มีความเมตตา
อย่างงั้นหรือ?
ก็ยังงั้นซิขอรับ ลูกแกบ้างเลยเทียวหรือ ถึงได้
ถึงนายทองคาจะไม่รังเกียจ คนอื่นๆ ก็คง คิดร้ายแก่เขาได้ยังงั้น?
เจ้าคุณ! ผมจะต้องพูดตามตรง ผมน่ะมันหมด ต้องรังเกียจ ใครเขาจะมาคบค้าสมาคมได้อีก
ทางหากินแล้ว ไม่แลเห็นทางอื่นนอกจากที่จะ ต่อไป ไปข้างไหนเขาก็จะแลดูพูดซุบซิบกัน นายทองคาเขาจะมาแต่งกับ
อาศัยลูกสาวให้เขาเลี้ยง ถ้าใครเขาเลี่ยงได้ เขาก็คงเลี่ยง แกจะมาทา ลูกสาวคนเช่นแกได้อยู่หรือ?
ให้แม่ลออเป็นหมาหัวเน่าหรือ?
หล่อนเห็นจะจาฉันไม่ได้เลย
ฉันอยู่หัวเมือง พึ่งเข้ามา เมื่อฉันได้เห็นหล่อนครั้งก่อน
แต่ฉันเคยเห็นหล่อนแล้ว นี้น่ะ อายุหล่อนได้สองปีเท่านั้น
ฉันรู้จักคุณแม่หล่อนดี

ถ้าใครบอกหล่อนว่า อ้อ! ถ้ายังงั้นดิฉันก็ต้องนับถือคุณเหมือนอาดิฉันเหมือนกัน


พ่อหล่อนที่ตายน่ะ ทาไมดิฉันยังไม่รู้จักคุณอาเลย
ฉัน- เอ้อ- เป็นคนไม่ดีละก็หล่อน
ฉันจะต้องรีบกลับ เป็นไม่ยอมเชื่อเลย เมื่อไหร่คะ? ทาไมดิฉันจาไม่ได้ ดิฉันเป็นคนที่จาคนแน่นัก
ไปหัวเมือง เทียวหรือ? แหม! ถ้ายังงั้น คุณคงรู้จักคุณแม่ดิฉันละซิคะ
คุณอาต้องมารดน้า
บอกแล้ว ฉันยินดีด้วย ดิฉันนะคะ ถ้ายังงั้นดิฉันก็ยิ่งดีใจมากขึ้นที่ได้พบคุณ ก็คุณพ่อดิฉันที่ตายล่ะคะ
รู้จักไหม? ถ้ายังงั้นคุณก็ดีกว่าดิฉัน ดิฉันไม่รู้จักเลย เคยเห็นแต่รูป
ดิฉันจะเชื่อยังไง ดูในรูป ที่ในห้องคุณแม่ รูปร่างสูงๆ หน้าอกกว้าง ดิฉันช่างชอบหน้าเสียจริงๆ
ก็เห็นว่าเป็นคนดี เออ! หน้าตาเป็นคนซื่อ ใจคอกว้างขวาง ถ้าใครบอกดิฉันว่าเป็นคนไม่ดี
นี่คุณพ่อบอกแล้วหรือยัง ดิฉันไม่ยอมเชื่อเป็นอันขาดเทียว แต่ท่านก็เป็นคนดีจริงๆ อย่างที่
เรื่องดิฉันจะแต่งงาน ดิฉันนึกเดาเอาในใจ คุณพ่อนี่ก็ได้บอกดิฉันว่างั้น จริงไหมคะคุณพ่อ?
อย่าได้บอกความจริงกับแม่ลออ เอาเงินไปใช้มั่งซิ
เลย ให้เขาคงนับถือรูปผมอันเก่า เอาเถอะ, ฉันจะทาตาม
เอ้า! นี่แน่ะ มีสักสามสี่ร้อยบาทได้อยู่
นั้น ว่าเป็นพ่อเขา และให้นับถือ แกประสงค์
เอาไปใช้ก่อนเถอะ ต้องการอีกถึงค่อย
ตัวผมเป็นเหมือนอา บอกมาให้ฉันทราบ
ผมลาที พรุ่งนี้เช้าผมจะ
อ๊าย! ไม่รับไม่ได้ ไม่รับ
กลับไปพิษณุโลก
โกรธกันเทียว
เจ้าคุณ! ผม... ผม...
เออๆ ตั้งใจไว้ให้ดีเถอะ อย่าพูดให้มากนักเลย เงินใส่กระเป๋า
ผมจะไม่ลืมพระเดชพระคุณ นึกถึงแม่ลออบ้างนะ เสียเถอะ แล้วก็คิดอ่านหาทางทามา
ใต้เท้าจนตายทีเดียว ขอให้ หากินต่อไปนะ
เชื่อผมเถอะ

ขอรับ ผมจะตั้งใจทามาหากินในทางอันชอบธรรม
จริงๆ ทีเดียว ถ้าผมน่ะคิดโยกโย้ไปอย่างใดอย่าง
หนึ่งอีก ขออย่าให้ผมแคล้วอาญาจักรเลย
คาศัพท์
คาศัพท์ ความหมาย
ขยาย เปิดเผย
ฉาย ถ่ายภาพ
ชั่ง มาตราเงินสมัยโบราณ ๑ ชั่ง มีค่าเท่ากับ ๘๐ บาท
เดียรฉาน สัตว์ชั้นต่า
ตกรก อ่านว่า ตก-กะ-รก หมายถึง ตกนรก
บาญชี บัญชี
ปอน ๆ ซ่อมซ่อ ไม่โอ่อ่า ส่อถึงความขัดสน
ปั้นหนึ่ง ปึกหนึ่ง
เป็นโทษ ได้รับโทษ ติดคุก
ระหาย กระหาย
อาญาจักร การลงโทษตามกฎหมาย
อินัง เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ดูแล เหลียวแล หรืออินังขังขอบ ใช้ในเชิงปฏิเสธ
บทวิเคราะห์
คุณค่าด้านเนื้อหา

แสดงให้เห็นถึงความรักและความเสียสละที่พ่อทั้ง ๒ คน คือ
นายล้า (พ่อผู้ให้กาเนิด) ด้วยความเห็นแก่ลูกจึงไม่เปิดเผยตน
พระยาภักดีนฤนาถ (พ่อบุญธรรม) ยอมสละเงินทองเป็น
จานวนมากเพื่อความสุขของแม่ลออ
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
๑. การใช้บทสนทนาที่เหมาะสมกับสถานภาพของตัวละคร
ผู้ทรงพระราชนิพนธ์สามารถสร้างบทสนทนาที่เหมาะสมกับสถานภาพของตัวละครที่กล่าวบท
สนทนานั้น ตาแหน่งทางสังคม ยศถาบรรดาศักดิ์ รวมไปถึงอายุของตัวละคร ทาให้บทละครมี
ความสมจริงมากขึ้น เช่น
เมื่อนายล้าสนทนากับอ้ายคาซึ่งมีสถานะเป็นบ่าว จะใช้สรรพนามแทนตัวว่า “ฉัน”
และเรียกอ้ายคาว่า “แก”
แต่เมื่อนายล้าสนทนากับพระยาภักดีนฤนาถซึ่งมีบรรดาศักดิ์ จะใช้สรรพนามแทนตัว
ว่า “ผม” และเรียกพระยาภักดีนฤนาถว่า “ใต้เท้า”
การใช้สรรพนามในบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกนี้
หากเป็นยุคปัจจุบันควรใช้อย่างไร เพราะเหตุใด
๒. การใช้บทสนทนาที่สอดคล้องกับลักษณะนิสัยและอารมณ์ความรู้สึกของตัวละคร
ผู้ทรงพระราชนิพนธ์สามารถสร้างบทสนทนาที่ช่วยสื่อถึงนิสัยและอารมณ์ความรู้สึกของ
ตัวละครได้อย่างสมจริง เช่น
นายล้า. : ผมเห็นควรตัวผมจะมารดน้าด้วยนะครับ
พระยาภักดี. : นี่แกเอาอะไรมานึก !
(แสดงให้เห็นอารมณ์โกรธของพระยาภักดีนฤนาท ที่นายล้าจะมางานแต่งของแม่ลออ)
๓. การใช้ถ้อยคาที่สื่อความหมายลึกซึ้ง
ผู้ทรงพระราชนิพนธ์สามารถใช้ถ้อยคาที่สั้นกระชับ แต่กินความมาก สามารถสื่อความหมาย
ได้ลึกซึ้ง ทาให้ผู้อ่านหรือผู้ชมเข้าใจเรื่องราวได้ดียิ่งขึ้น เช่น
พระยาภักดี. : อย่าทาให้เกิดเคืองมากขึ้นหน่อยเลย
ประเดี๋ยวฉันจะเหนี่ยวใจไว้ไม่อยู่.
(คาว่า “เหนี่ยวใจ” ในที่นหี้ มายถึง ระงับจิตใจไม่ให้ลงมือกระทาการรุนแรงลงไป
ซึ่งผู้ทรงพระราชนิพนธ์ใช้ถ้อยคาที่สั้นกระชับ แต่สื่อความได้กว้างขวาง)

ปัจจุบัน มีคาศัพท์ใดบ้างที่มีลักษณะเหมือนกับคาว่า “เหนี่ยวใจ”


๔. การสื่อความหมายโดยนัย
ผู้ทรงพระราชนิพนธ์สามารถสื่อความหมายออกมาโดยไม่แสดงออกตรง ๆ แต่สื่อผ่านคาพูด
ที่สื่อเป็นนัยให้ทราบ เช่น
นายล้า. : ที่พิษณุโลกก็พอหาอะไรดื่มได้พอใช้เทียวครับ.
พระยาภักดี. : (แลดูหน้านายล้า) ฉันเชื่อ, เชื่อทีเดียว...
(แม้นายล้าจะไม่ได้กล่าวถึงสุราอย่างตรงไปตรงมา แต่พระยาภักดีนฤนาถก็เข้าใจ
ก็เข้าใจในสิ่งที่นายล้ากล่าวถึง)
๕. การใช้สานวน
ผู้ทรงพระราชนิพนธ์สามารถใช้สานวนที่ทาให้บทสนทนาสื่อความหมายได้อย่างตรงไปตรงมา
เพื่อช่วยนาเสนอความคิดบางอย่างของตัวละครได้อีกด้วย เช่น
มีเหย้ามีเรือน หมายถึง แต่งงาน มีครอบครัว
เจ้าบุญนายคุณ หมายถึง เคยทาบุญคุณแก่เขาไว้มาก
หมาหัวเน่า หมายถึง คนที่ไม่มีใครคบค้าสมาคมด้วย
คุณค่าด้านสังคมและสะท้อนวิถีไทย
๑. ธรรมเนียมการต้อนรับแขก
การต้อนรับแขกเป็นมารยาททางสังคมอย่างหนึ่ง ซึ่งผู้ทรงพระราชนิพนธ์ได้สะท้อนให้เห็น
ธรรมเนียมนี้ เช่น
นายล้า. : แหม ! วันนี้ร้อนจริง ทาให้กระหายน้าพิลึก.
พระยาภักดี. : (เรียก) อ้ายคา ! ไปหาโซดามาถ้วยเถอะ.
นายล้า. : โซดาเปล่าหรือครับ ?
พระยาภักดี. : จะเอาครีมโซดาก็ได้ หรือน้าแดง.
(นอกจากจะสะท้อนให้เห็นธรรมเนียมการต้อนรับแขกแล้ว ยังสะท้อนให้เห็นถึง การเปลี่ยน
เครื่องดื่มรับรองแขก คือ จากน้าฝนหรือน้าสะอาด มาเป็นการดื่มโซดาหรือน้าหวานแทน
ซึ่งเป็นเครื่องดื่มจากตะวันตก)
๒. การกาหนดค่าและรูปแบบของเงิน
ผู้ทรงพระราชนิพนธ์ได้สะท้อนระบบเศรษฐกิจที่มีการกาหนดค่าของเงิน เช่น
พระยาภักดี. : ก็พูดกันเสียตรง ๆ เท่านั้นก็จะแล้วกัน เอาเถอะฉันให้แก
เดี๋ยวนี้ก็ได้ เท่าไหร่ถึงจะพอ เอาไปสิบชั่งก่อนพอไหม ?
นายล้า. : ไม่รับประทาน.
(มีมาตราแลกเปลี่ยนเงิน คือ ๑๐๐ สตางค์เท่ากับ ๑ บาท / ๔ บาท
เท่ากับ ๑ ตาลึง / ๒๐ ตาลึง เท่ากับ ๑ ชั่ง)
๓. ค่านิยมการนับถือบุคคลที่เพียบพร้อมทั้งรูปสมบัติและทรัพย์สมบัติ
ผู้ทรงพระราชนิพนธ์ได้สะท้อนค่านิยมของคนไทยที่นับถือบุคคลที่มีฐานะมากกว่าความดี
ของบุคคลนั้น เช่น
พระยาภักดี. : นายทองคาเขาจะมาแต่งกับลูกสาวคนเช่นแกได้อยู่หรือ ?
นายล้า. : ถ้าเขารักแม่ลออจริงละก็ ถึงผมจะเป็นคนเลวกว่าที่ผมเป็น
อยู่นี่ เขาคงไม่รังเกียจ.
พระยาภักดี. : ถึงนายทองคาจะไม่รังเกียจ คนอื่น ๆ ก็คงรังเกียจ,
ใครเขาจะมาคบค้าสมาคมได้อีกต่อไป ไปข้างไหน
เขาก็จะแลพูดซุบซิบกัน ถ้าใครเขาเลี่ยงได้
เขาก็คงเลี่ยง แกจะมาทาให้แม่ลออเป็นหมาหัวเน่าหรือ ?
๔. แสดงให้เห็นถึงสัจธรรมของมนุษย์
ผู้ทรงพระราชนิพนธ์ได้สะท้อนถึงพ่อแม่ที่ย่อมเห็นแก่ลูกมากกว่าตนเอง เช่น
นายล้า. : หล่อนได้เขียนรูปพ่อของหล่อนขึ้นไว้ในใจเป็นคนดีไม่มีที่ติ
ผมไม่ต้องการจะลบรูปนั้นเสียเลย. (ถอดแหวนวงหนึ่งจากนิ้ว)
นี่แน่ะครับ แหวนนี้เป็นของแม่นวล ผมได้ติดตัวไปด้วยสิ่งเดียว
เท่านี้แหละ เจ้าคุณได้โปรดเมตตาผมสักที พอถึงวันแต่งงาน
แม่ลออ เจ้าคุณได้โปรดให้แหวนนี้แก่เขาบอกว่าเป็นของรับไหว้
ของผม ส่งมาแทนตัว.
พระยาภักดี : (รับแหวน.) ได้ซิเพื่อนเอ๋ย ฉันจะจัดการตามแกสั่ง อย่าวิตกเลย.
บทละครเรื่อง เห็นแก่ลูก

ใจความสาคัญ สิ่งที่ได้
ความรู้ ข้อคิด

เป็นบทละครพูดที่มีโครงเรื่อง ๑. พระราชกรณียกิจและ
๑. สถาบันครอบครัวมีความสาคัญ
พระราชนิพนธ์ของรัชกาลที่ ๖
ไม่ซับซ้อน มีบทสนทนาที่ตรงไป ต่อโครงสร้างสังคมไทย
ตรงมา ใช้ภาษากระชับ ใช้ความ ๒. ลักษณะคาประพันธ์ของ
บทละครพูด ๒. คนดีย่อมมีผู้นับถือ
น้อยแต่กินความมาก และสะท้อน
ให้เห็นถึงความรักของบิดาที่มีต่อ ๓. ได้รับคุณค่าด้านเนื้อหา ๓. อย่าทาตนเองให้ตกต่าเพราะ
บุตร ด้านวรรณศิลป์ และด้าน การกระทาของตนเอง
สังคมและสะท้อนวิถีไทย

You might also like