Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

เอกสารประกอบการเรียนโครงการรุ่นพี่ติวรุ่นน้อง

วิชาคณิตศาสตร์เสริม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา


ลักษณะข้อสอบ ข้อสอบมีทั้งหมด 20 ข้อ 40 คะแนน แบ่งเป็น 2 ตอน ได้แก่
- ตอนที่ 1 เติมคำ 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน รวม 10 คะแนน
- ตอนที่ 2 แสดงวิธีทำ 10 ข้อ ข้อละ 3 คะแนน รวม 30 คะแนน
NOTE: ควรทำข้อเติมคำให้ได้ทุกข้อ และทำข้อแสดงวิธีทำให้ได้อย่ำงน้อย 6 ข้อ ในข้อที่ทำไม่ได้ ให้เขียนแนวคิด
คร่ำวๆ อย่ำปล่อยให้โล่ง

สรุปเนื้อหาเนื้อหาทีอ่ อกสอบ: เซต ตรรกศำสตร์ จำนวนจริง


เซต
สับเซต
- A ⊂ B หมายความว่า A เป็นสับเซตของ B ทาให้ = A และ =B
- เซตว่าง เป็นสับเซตของทุกเซต
- ถ้า n(A) = n จานวนสับเซตของ A จะมี 2n เซต และมีจานวนสับเซตแท้ 2n − 1 เซต
- ถ้า n(A) = n จานวนสับเซตของ A ที่มีสมาชิก r ตัว จะมีทั้งหมด (nr) = r!(n−r)!
n!
เซต
-A⊂B↔
เพาเวอร์เซต
กาหนดเซต A เป็นเซตใดๆ เซตของสับเซตทั้งหมดของ A เรียกว่าเพาเวอร์เซตของเซต A หรือ P(A)
ถ้า n(A) = k แล้ว n(P(A)) = 2k
a ⊂ A ↔ a ∈ P(A)

การดาเนินการบนเซต
- สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม (ใช้ได้กับ ∪, ∩) เช่น A ∪ (B ∪ C) = (A ∪ B) ∪ C
- สมบัติการสลับที่ (ใช้ได้กับ ∪, ∩) เช่น A ∩ B = B ∩ A
- สมบัติการแจกแจง (ใช้ได้กับ ∪, ∩)
A ∩ (B ∪ C) = (A ∩ B) ∪ (A ∩ C)
A ∪ (B ∩ C) = (A ∪ B) ∩ (A ∪ C)

- De Morgan’s theorem
(A ∪ B)′ = A′ ∩ B′
(A ∩ B)′ = A′ ∪ B′

- ผลต่างระหว่างเซต A − B = A ∩ B′

1
Inclusion – Exclusion theorem
2 เซต n(A ∪ B) = n(A) + n(B) − n(A ∩ B)
3 เซต n(A ∪ B ∪ C) = n(A) + n(B) + n(C) − n(A ∩ B) − n(B ∩ C) − n(C ∩ A) + n(A ∩ B ∩ C)
สมบัติของเพาเวอร์เซต
1. P(X) ∩ P(Y) = P(X ∩ Y)
2. P(X) ∪ P(Y) ⊂ P(X ∪ Y) โดย P(X) ∪ P(Y) = P(X ∪ Y) ก็ต่อเมื่อ X ⊂ Y หรือ Y ⊂ X
3. A ⊂ B ก็ต่อเมื่อ P(A) ⊂ P(B)
ตรรกศาสตร์
รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน
p → q ≡∼ p ∨ q ≡∼ q →∼ p
p ↔ q ≡ (p → q) ∧ (q → p)
∼ (p ↔ q) ≡∼ p ↔ q ≡ p ↔∼ q

กฎพีชคณิตของตรรกศาสตร์ สามารถเปรียบ ∨ เป็น ∪ และเปรียบ ∧ เป็น ∩ ได้ โดยจะมีลักษณะเหมือนการ


ดาเนินการบนเซตทุกประการ
กฎการอ้างเหตุผล
1. M.P. เหตุ 1. p ⟶ q 2. p
ผล q
2. M.T. เหตุ 1. p ⟶ q 2. ∼ q
ผล ∼ p
3. H.S. เหตุ 1. p ⟶ q 2. q ⟶ r
ผล p ⟶ r
4. D.S. เหตุ 1. p ∨ q 2. ∼ p
ผล q
5. C.D. เหตุ 1. (p ⟶ q) ∧ (r ⟶ s) 2. p ∨ r
ผล q ∨ s
6. Abs. เหตุ p ⟶ q
ผล p ⟶ (p ∧ q)
7. Simp. เหตุ p ∧ q
ผล p

2
8. Add. เหตุ p
ผล p∨q
9. Conj. เหตุ 1. p 2. q
ผล p∧q

ตัวบ่งปริมาณ
∀x แทน สาหรับ x ทุกตัว ∃x แทน สาหรับ x บางตัว

ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ
∀x[P(x)] แทน x ตัวใดตัวหนึ่ง แล้วเท็จ ค่าความจริงก็จะเป็นเท็จ (ถ้าเป็นจริงหมด ค่าความจริงก็จะเป็นจริง)
∃x[P(x)] แทน x ตัวใดตัวหนึ่ง แล้วจริง ค่าความจริงก็จะเป็นจริง (ถ้าแทนทุกตัวแล้วเป็นเท็จ ค่าความจริงก็จะเป็นเท็จ)

∼ ∀x[P(x)] ≡ ∃x[∼ P(x)]


∼ ∃x[P(x)] ≡ ∀x[∼ P(x)]

จานวนจริง
การแก้สมการพหุนาม
ทฤษฎีบทเศษเหลือ และทฤษฎีบทตัวประกอบ
กาหนดให้ p(x) เป็นพหุนามใดๆ และ c เป็นจานวนจริงใดๆ เศษเหลือที่ได้จากการนา x– c ไปหาร p(x) จะ
เท่ากับ p(c) นั่นคือ พหุนาม p(x) จะมี x– c เป็นตัวประกอบ ก็ต่อเมื่อ p(c) = 0 หรือ เศษเหลือเท่ากับ 0
ทฤษฎีบทตัวประกอบตรรกยะ
กาหนดให้ p(x) = an xn + an−1xn−1 + ⋯ + a1x + a0 เป็นพหุนามดีกรี n และ a0, a1 , … , an เป็นจานวน
เต็ม โดยที่ an ≠ 0 ถ้า x − mk เป็นตัวประกอบของพหุนาม p(x) โดยที่ m และ k เป็นจานวนเต็ม ซึ่ง m ≠ 0
และ ห.ร.ม. ของ k และ m คือ 1 แล้ว m หาร a0 ลงตัว และ k หาร a0
ช่วงและการแก้อสมการ
1. ช่วงเปิด (a, b) หมายถึง {x ∈ ℝ| a < x < b}
2. ช่วงปิด [a, b] หมายถึง {x ∈ ℝ| a ≤ x ≤ b}
3. ช่วงครึ่งเปิด - ปิด (a, b] หมายถึง {x ∈ ℝ| a < x ≤ b}
4. ช่วงครึ่งปิด - เปิด [a, b) หมายถึง {x ∈ ℝ| a ≤ x < b}

3
แบบฝึกหัด
1. (ดัดแปลงจาก PAT1 ต.ค. 53)
กาหนดให้ A, B และ C เป็นเซต โดยที่ n(A) + n(B) + n(C) = 243 และ n(A ∪ B ∪ C) = 82
ถ้า X = {x|x = n(A ∩ B ∩ C)} และกาหนดให้ α ∈ X โดยที่ ∀a ∈ X, α ≥ a และกาหนด β ∈ X โดยที่ ∀b ∈ X, β ≤ b
จงหาค่าของ α + β

2. (ดัดแปลงจาก PAT1 ต.ค. 52)


กาหนดเซตและจานวนสมาชิกของเซตตามตารางต่อไปนี้

เซต A B C A∪B B∪C C∪A (A ∩ B) ∪ C


จำนวนสมำชิกในเซต 16 20 26 27 33 31 29
จงหา n(A ∪ B ∪ C)

3. กำหนดให้ A และ B เป็นเซต โดยที่ n(A) = 26 และ n(P(A)) + n(P(B)) = n(P(A ∪ B))
ถ้ำ X = {x|x = n(A ∩ B)} จงหำผลบวกของสมำชิกใน X ทั้งหมดที่เป็นไปได้

4
4. Given that A, B, C and D are sets.

Prove (or disprove) that ((A ∪ D) − [A′ − (B − C)′ ]) ⊂ 𝒰 − A

5. ในกำรสอบกลำงภำคของโรงเรียนแห่งหนึ่ง มีนักเรียนสอบผ่ำนวิชำคณิตศำสตร์ ภำษำอังกฤษ ฟิสิกส์ และเคมี ผ่ำนเป็น 78, 79,


80 และ 81 เปอร์เซ็นต์ตำมลำดับ จงหำจำนวนเปอร์เซ็นต์นักเรียนทีน่ ้อยที่สุดที่เป็นไปได้ ทีส่ อบผ่ำนทัง้ 4 วิชำ

6. กำหนดให้ A, B และ C เป็นเซต โดยที่ n(A) + n(B) − n(A ∪ B) = 17 และ


n((B ∩ C) − A) = n(C − A) + n((A ∩ B) − C) จงหำจำนวนสมำชิกของ A ∩ B ∩ C ทั้งหมดที่เป็นไปได้

5
7. (แนว SUM 56)
กำหนด A, B เป็นเซตซึ่ง n(B − A) = 2; n(P(A) ∪ P(B)) = 64 และ P(A ∪ B) ⊂ P(A) ∪ P(B)
จงแสดงวิธีหำจำนวนสมำชิกของ {X ∈ P(B)|X ∩ A ≠ ∅}

8. (แนว SUM 57)


ถ้ำ A1 , A2 และ B เป็นเซตซึ่ง P(A1 ∪ A2 ) ⊂ P(A1 ) ∪ P(A2 ), A1 ∩ B ≠ ∅, n(A2 − A1 ) = 5,
n(A2 ∩ B) > n(A1 ∩ B), n(A1 ) = n(B) = 4 และ n(B − A2 ) = 2 จงหำ n[P(B − A1 ) ∪ P(B − A1 )]

9. (ดัดแปลงจาก PAT1 ต.ค. 52)


1 2 n−1
กำหนดให้ In = (0,1) ∩ (2 , 2) ∩ (3 , 3) ∩. . .∩ ( n
, n) เมื่อ n เป็นจำนวนนับ
78 2560
จงหำค่ำของ k ที่น้อยที่สุด ที่ทำให้ Ik ⊆ (81 , 2017)

6
10. (ดัดแปลงจากข้อสอบสมาคมคณิตศาสตร์)
เมื่อเขียนตำรำงค่ำควำมจริงของ (a ∧ b) ∨ (p → q) ∨ (x ↔ y) จะได้ว่ำประพจน์ดังกล่ำว เป็นจริงทั้งหมดกี่กรณี

11. (สมาคม พ.ย. 58)


กำหนดให้ P(X) และ Q(X) เป็นประโยคเปิด ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก. ∀x[P(x)⋀Q(x)] → [∀xP(x) ∧ ∀xQ(x)]
ข. ∀x[P(x) ∨ Q(x)] → [∀xP(x) ∨ ∀xQ(x)]
ค. ∃x[P(x) ⋀ Q(x)] → [∃xP(x) ∧ ∃xQ(x)]
ง. ∃x[P(x) ∨ Q(x)] → [∃xP(x) ∨ ∃xQ(x)]

12. (แนว SUM 57)


จงใช้กฎกำรอ้ำงเหตุผลตรวจสอบว่ำกำรอ้ำงเหตุผลต่อไปนี้ สมเหตุสมผลหรือไม่
เหตุ: 1. p →∼ q 2. (∼ q ∧ r) →∼ t
3. s ∨ p 4. ∼ (t → s)
5. ∼ s
ผล: ∼ r

7
13. (แนว SUM)
จงหำค่ำควำมจริงของประพจน์ p, q, r และ s ที่สอดคล้องกับเงื่อนไขต่อไปนี้
- (p → q) →∼ [(s ∨∼ p) ∧ (∼ q ↔ r)] มีค่ำควำมจริงเป็นเท็จ
- [(p ∧ r) →∼ (q ∧ s)] → [∼ p ∧ (r ↔ q)] มีค่ำควำมจริงเป็นเท็จ
- [∼ q ∧ (p → r)] ↔ {[(∼ s → p) ∧ r] ↔ [(r →∼ s) ∧ (r →∼ p)]} มีค่ำควำมจริงเป็นจริง

14. (แนว SUM 59)


จงหำค่ำควำมจริงของประพจน์
1 1
∃x∀y [(x ≠ y) → (x − < y < x + ) ∧ (8x − y 2 < y 4 < 32x − 2y + 5)] , 𝕌 = {x|2 < x < 3}
2 2

8
15. (แนว SUM 56)
จงใช้กฎพีชคณิตของตรรกศำสตร์ตรวจสอบว่ำ รูปแบบประพจน์ที่กำหนดให้เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
[(p →∼ (q ∧ s)) ∨ ((r → p) ∧∼ s)] ↔ [(q →∼ (∼ r → s)) ∨ (p→ ∼ s)]

16. (แนว SUM 59)


สำมเหลี่ยมรูปหนึ่ง มีควำมยำวของฐำนด้ำนหนึ่งมำกกว่ำควำมยำวของส่วนสูงที่ลำกมำตั้งฉำกกับฐำนนั้น 4 เซนติเมตร ถ้ำต้องกำรให้รปู สำมเหลี่ยม
มีพื้นที่อยู่ระหว่ำง 6 กับ 16 ตำรำงเซนติเมตร จงหำควำมยำวของฐำนของรูปสำมเหลี่ยมรูปนี้ที่เป็นไปได้ทั้งหมด

9
17. (ดัดแปลงจากข้อสอบทุนญี่ปนุ่ 2010)
กำหนดพหุนำม P = x 3 + 2x 2 + ax + 3 ถ้ำมีจำนวนตรรกยะ a ที่ทำให้ P เป็นจำนวนตรรกยะ และสอดคล้องกับเงื่อนไข
x 2 + 7x − 9 = 0 จงหำค่ำของ P − a

18. (ดัดแปลงจาก PAT 1 ต.ค. 52)


x4 −28x2 +27
กำหนดให้ A เป็นเซตคำตอบของอสมกำร ≤ 0 และ
x−1
x4 +(1−√3)x3 +10x3 −(36+√3)x2 +10(1−√3)x2 −10(36+√3)x−36x−360
B เป็นเซตคำตอบของอสมกำร >0
x+10
จงหำเซต C ที่ทำให้ A ∪ B = ℝ − C

10
19. (แนว SUM 59)
กำหนดกำรดำเนินกำร ∗ โดยมีเงื่อนไข ได้แก่
- x∗y= y∗x
- x ∗ (x + y) = (x ∗ y)(x + y)
- (x ∗ x) − 8 = x
z
จงหำค่ำของ เมื่อ z = 480 ∗ (4 ∗ 6)
186

20. (แนว SUM 59)


กำหนดให้
A = {x ∈ ℝ|8x 4 + 6x 3 − 13x 2 − x + 3 = 0}

ถ้ำ a, b ∈ A จงหำค่ำที่มำกที่สุดที่เป็นไปได้ของ |a − b|

11

You might also like