Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 32

ดร.

วีระ ศรีอริยะกุล
▪วัสดุเพลา
▪ขนาดของเพลา
▪หลักพิจารณาในการออกแบบเพลา
▪การออกแบบเพลาตามโค้ดของ ASME
▪ตัวอย่างการออกแบบเพลา

2
เพลาเป็ นชิ้นส่วนทีม่ ใี ช้อยู่ในเครื่องจักรเกือบทุกชนิด ทาหน้าทีใ่ นการส่ง
ถ่ายกาลังหรือ ทาให้เกิดการหมุนระหว่างชิ้นส่วนต่างๆ ของเครื่ อง ขณะใช้
งานเพลาจะอยู่ภ ายใต้ภ าระการกระท าชนิ ด ต่ า งๆ เช่ น แรงกด แรงดึง
โมเมนต์ดดั และโมเมนต์บดิ ซึ่งอาจมีทงั ้ แรงสถิตและแรงแบบวัฎจักร ทาให้
เกิดการล้าได้เพลาอาจมีชอ่ื เรียกแตกต่างกันตามลักษณะการใช้งานดังนี้ คือ

3
เพลา (Shaft) เป็ นชิน้ ส่วนทีห่ มุนและใช้ในการส่งกาลัง
แกน (Axle) เป็ นชิน้ ส่วนลักษณะเดียวกันกับเพลาแต่ไม่หมุน ส่วนมากเป็ นตัวรองรับชิน้ ส่วนทีห่ มุน เช่น ล้อ ล้อสายพาน เป็ นต้น
อย่างไรก็ตามทัง้ เพลาและแกนก็นิยมเรียกรวมกันว่า เพลา ไม่วา่ ชิน้ ส่วนนัน้ จะหมุนหรือไม่กต็ าม
สพินเดิล (Spindle) เป็ นเพลาขนาดสัน้ เช่น เพลาทีห่ วั แท่นกลึง (Head-Stock spindle)เป็ นต้น
สตับชาฟ (Stub Shaft) เป็ นเพลาทีต่ ดิ เป็ นชิน้ ส่วนต่อเนื่องกับเครือ่ งยนต์ มอเตอร์ หรือ เครือ่ งต้นกาลังอื่นๆ มีขนาด รูปร่าง
และส่วนยืน่ ออกมา สาหรับใช้ต่อกับเพลาอื่น ๆ
เพลาแนว (Line Shaft) หรือเพลาส่งกาลัง (Power Transmission Shaft) หรือเพลาเมน (Main shaft) เป็ นเพลาซึง่ ต่อตรงจากเครือ่ งต้น
กาลัง ใช้ในการส่งกาลังไปยังเครือ่ งจักรกลอื่นๆ โดยเฉพาะ
แจ๊คชาฟ (Jack Shaft) เป็ นเพลาขนาดสัน้ ทีต่ ่อระหว่างเครือ่ งต้นกาลังกับเพลาเมนหรือเครือ่ งจักรกล
เพลาอ่อน (Fiexble Shaft) เป็ นเพลาทีส่ ามารถอ่อนตัวหรือโค้งได้เพลาประเภทนี้ทาด้วย สายลวดใหญ่ (Cable) ลวดสปริงหรือ
ลวดเหนียว (Wire Rope) ใช้ในการส่งกาลังในลักษณะที่ แกนหมุนทามุมกันได้แต่สง่ กาลังได้น้อย 4
วัสดุเพลา
ในการเลือกวัสดุและวิธที ใ่ี ช้ในการทาเพลา นักออกแบบจะต้องคานึงถึงสภาพการใช้งานและภาระที่
เพลาต้องรับเป็ นหลักโดยทัวไปแล้่ ว เราจะพิจารณาเลือกวัสดุและวิธกี ารผลิตเพลาตามขนาดระบุ
เพลา
วัสดุทใ่ี ช้สาหรับทาเพลาทัวไป
่ คือ เหล็กกล้าละมุน (Mild Steel) ถ้าต้องการให้มคี วามเหนียวและ
ความทนทานต่อแรงกระตุ กเป็ นพิเศษแล้ว มักจะใช้เหล็กกล้าผสมโลหะอื่นทาเพลา เช่น AISI
1347, 3140 ,4150 เป็ นต้น เพลาทีม่ ขี นาดเส้นผ่าศูนย์กลางโตกว่า 90 มิลลิเมตร มักจะกลึงมาจาก
เหล็กกล้าคาร์บอน ซึ่งผ่านการรีดร้อน อย่างไรก็ตามเพื่อให้เพลามีราคาถูกทีส่ ุด ผูอ้ อกแบบควร
พยายามเลือกใช้เหล็กกล้าคาร์บอนธรรมดาก่อนทีเ่ ลือกใช้เหล็กกล้าชนิดอื่น
5
ขนาดของเพลา
เพื่อให้เพลามีมาตรฐานเหมือนกัน องค์การมาตรฐานระหว่างประเทศจึงได้กาหนดมาตรฐานของ
เพลา ซึง่ ระบุขนาด ใน ISO / R 775 – 1969 เอาไว้สาหรับผูอ้ อกแบบเลือกใช้ ทัง้ นี้เพื่อให้สามารถ
หาซื้อได้ทวไป
ั่ นอกจากนี้ยงั เป็ นขนาดทีส่ อดคล้องกับขนาดของแบริง่ ที่ใช้รองรั บเพลาด้วยขนาด
ระบุของเพลาดูได้จากตารางที่ 4.1

6
ตารางที่ 4.1 แสดงขนาดระบุของเพลาตามมาตรฐาน ISO / R 755 – 1969

7
หลักพิจารณาในการออกแบบเพลา
การคานวณหาขนาดเพลาทีเ่ หมาะสมขึน้ อยู่กบั ลักษณะการใช้งาน ดังนัน้ มุมบิดของเพลาทีเ่ กิดขึน้
ในขณะใช้งานจะต้องมีค่าไม่มากกว่าที่กาหนดไว้ นัน่ คือ เพลาจะต้องมีความแข็งเกร็งอยู่ภายใน
พิกดั ที่ต้องการ ถ้ามุมบิดมากไป นอกจากจะเสียความเที่ยงตรงทางด้านตาแหน่ งแล้ว ยังอาจ
ก่อให้เกิดการสันสะเทื
่ อนมีผลให้เฟื องและแบริง่ ทีร่ องรับเพลาอยู่ เกิดความเสียหายได้งา่ ยยิง่ ขึน้

8
การออกแบบเพลาตามโค้ดของ ASME
ก่อนปี พ.ศ. 2497 ได้มกี ารยอมรับวิธกี ารคานวณหาขนาดของเพลาส่งกาลังซึ่งกาหนดเป็ นโค้ด
(Code) โดยสมาคมวิศวกรเครือ่ งกลแห่งสหรัฐอเมริกา (ASME) แม้ว่าเวลาจะล่วงเลยมานานแล้วก็
ตาม วิธกี ารออกแบบเพลาตามโค้ดของ ASME ก็ยงั มีความสะดวกและง่ายต่อการใช้งาน ซึง่ จะได้
กล่าวถึงต่อไป

9
การออกแบบเพลาตามโค้ดของ ASME
วิธกี ารดังกล่าวนี้ใช้ทฤษฏีความเค้นเฉือนสูงสุดและไม่พจิ ารณาถึงความล้าหรือความเค้นหนาแน่นที่
เกิดขึน้ บนเพลา ซึง่ เป็ นการออกแบบโดยวิธสี ถิตศาสตร์ (Static Design Method) ในการหา
สมการสาหรับออกแบบเพลาให้พจิ ารณาเพลาในรูปที่ 4.1

รูปที่ 4.1 แสดงเพลาอยูภ่ ายใต้แรงต่าง ๆ


( ทีม่ า : วริทธิ ์ อึง๊ ภากรณ์ และชาญ ถนัดงาน , 2537 )
10
การออกแบบเพลาตามโค้ดของ ASME
การออกแบบการคานวณเพลา ในการออกแบบหาขนาดของเพลา จะต้องพิจารณาสิง่ เหล่านี้
▪ กาลังงาน (Power) และภาระ (Load) ทีใ่ ช้เพลาส่งกาลัง
▪ ความเค้นทีเ่ กิดขึน
้ กับเพลา รวมทัง้ รูปร่างขนาด วัสดุ และผิวสาเร็จ ซึง่ เป็ นสาเหตุในการเกิดความ
เค้นตกค้าง (Stress Concentration) ขึน้ ณ ตาแหน่งต่าง ๆ ของเพลา
▪ ความแกร่ง (Stiffness หรือ Rigidit) หมายถึง ความคงทนต่อการแอ่นตัวหรือการบิดไปของเพลา
เมือ่ รับภาระ
▪ ความเร็ววิกฤติ (Critical Speed) หมายถึง การสันตั
่ วของเพลาอันเป็ นผลเนื่อง มาจากการแอ่นตัว
ของเพลา 11
ความเค้นบนเพลา

F = แรงกดหรือแรงดึง M = โมเมนต์ดดั
d = เส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก c = ระยะจากแกนสะเทิน (Neutral Axis)
di = เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน I = โมเมนต์ความเฉื่อยของพืน้ ที่
T = โมเมนต์บดิ r = รัศมีของท่อนกลม
12
J = โมเมนต์ความเฉื่อยเชิงขัว้ ของพืน้ ที่
13
14
15
2) การคานวณหาความเค้นแรงเฉื อน
ในการออกแบบขนาดของเพลาสาหรับงานปกติทวไป ั ่ จะพิจารณาเฉพาะกาลังงานภาระ และคานวณ
ตรวจความเค้นทีเ่ กิดขึน้ กับเพลา เพือ่ ให้ได้คา่ ความปลอดภัยเพียงพอ จึงพิจารณาถึงความแกร่ง และ
ความเร็ว วิก ฤติ เพลาส่ว นมากจะอยู่ภ ายใต้ค วามเค้น ที่ว ัฏ จัก ร ทัง้ นี้ เ พราะ เพลาหมุ น อยู่
ตลอดเวลา นอกจากนัน้ แรงทีก่ ระทาอาจจะเปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลาก็ได้ ดังนัน้ เพลาจึ งเกิดความ
เสียหายเนื่องมาจากความล้าเป็ นส่วนใหญ่ ดังนัน้ จึงต้องมีตวั ประกอบความล้า (Fatigue Factor) มา
เกีย่ วข้องด้วย ค่าตัวประกอบความล้าสามารถเลือกใช้ตามลักษณะของแรงทีม่ ากระทา ซึ่งหาดูได้จาก
ตารางที่ 9.2

16
ตารางที่ 9.2 แสดงค่าตัวประกอบความล้า

โดยที่ Cm = ตัวประกอบความล้าเนื่องจากการดัด
Ct = ตัวประกอบความล้าเนื่องการบิด 17
18
19
20
ตัวอย่างที่ 4.1 ล้อสายพานขนาด 600 mm ขับโดยสายพานในแนวระดับ แล้วส่งกาลังออกไป
ยังเฟื องโดยผ่านเฟื องขับขนาด 250 mm ซึง่ ติดอยูบ่ นเพลาเดียวกับล้อสายพาน ล้อสายพานมี
มวล 140 kg แรงในสายพานและแรงปฏิกริ ยิ าทีฟ่ ั นเฟื องเป็ นดังรูปที่ 1 การส่งกาลังผ่านเพลา
มีลกั ษณะค่อนข้างเรียบ จงหาขนาดของเพลาตันตามวิธขี อง ASME

รูปที่ 1 เฟื องและล้อสายพานบนเพลา 21


วิธีทา เนื่อ งจากแรงทัง้ หมดไม่ได้อยู่ในระนาบเดียวกัน ดังนัน้ จึงทาการวิ เคราะห์แรงและ
โมเมนต์ทร่ี ะนาบดังแสดงในรูปที่ 2 การวิเคราะห์อาจทาได้ดงั นี้

22
วิธีทา เนื่อ งจากแรงทัง้ หมดไม่ได้อยู่ในระนาบเดียวกัน ดังนัน้ จึงทาการวิ เคราะห์แรงและ
โมเมนต์ทร่ี ะนาบดังแสดงในรูปที่ 2 การวิเคราะห์อาจทาได้ดงั นี้

4.2 kN
6.0 kN

250 x 4.2 1,050


250 x 6.0 1,500
1,500
1,050

23
วิธีทา เนื่อ งจากแรงทัง้ หมดไม่ได้อยู่ในระนาบเดียวกัน ดังนัน้ จึงทาการวิ เคราะห์แรงและ
โมเมนต์ทร่ี ะนาบดังแสดงในรูปที่ 2 การวิเคราะห์อาจทาได้ดงั นี้

1,0502 1,766.0

1,5002 1,543.1
A
1,500
1,050

24
วิธีทา เนื่อ งจากแรงทัง้ หมดไม่ได้อยู่ในระนาบเดียวกัน ดังนัน้ จึงทาการวิ เคราะห์แรงและ
โมเมนต์ทร่ี ะนาบดังแสดงในรูปที่ 2 การวิเคราะห์อาจทาได้ดงั นี้

1,500
1,050

25
วิธีทา เนื่อ งจากแรงทัง้ หมดไม่ได้อยู่ในระนาบเดียวกัน ดังนัน้ จึงทาการวิ เคราะห์แรงและ
โมเมนต์ทร่ี ะนาบดังแสดงในรูปที่ 2 การวิเคราะห์อาจทาได้ดงั นี้
(CmMA)2

1,766.0

70.83 mm

1,500
1,050

26
27
28
29
30
1.

(คำตอบ d = 85 mm)

31
2.

(คำตอบ x = 126.4 mm)

32

You might also like