พันธะไออนิก 2

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

โจทย์ทดสอบที่ 4 เรื่อง พลังงานไอออไนเซชัน

1. พลังงานไอออไนเซชันของธาตุ A B C D เป็นดังนี้
ธาตุ พลังงานไอออไนเซชัน (KJ/mol) ลำดับที่
1 2 3 4
A 500 4600 6900 9500
B 740 1500 7700 10500
C 900 1800 14800 21000
D 580 1800 2700 11600

จงตอบคำถามต่อไปนี้
1.1 ธาตุใดมีแนวโน้มสูงสุดที่จะเกิดเป็นไอออนที่มปี ระจุ +1
1.2 ธาตุใดน่าจะมีจำนวนเวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากัน
1.3 ธาตุ A B C D ควรจะอยู่ในหมู่ใด คาบใด
2. ธาตุ ก และ ข มีเลขอะตอม 37 และ 38 จงเปรียบเทียบขนาดและค่าพลังงานไอออไนเซชัน พร้อมอธิบายเหตุผล

3. แนวโน้มของค่า IE1 ของธาตุ K Rb และ Cs ซึ่งมีเลขอะตอม 19 37 และ 55 ตามลำดับ ควรเป็นอย่างไร

4. จงอธิบายว่าเหตุใด Mg จึงมีค่า IE1 มากกว่า IE1 ของ Al ซึ่งโดยปกติค่า IE จะเพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวา


หน่วยที่ 3 พันธะไอออนิก

เช่น ให้นักเรียนเรียงความเป็นไอออนิกของสารประกอบจากมากไปหาน้อย :

Cl2 NaCl CCl4

KCl LiCl NaCl

KF KCl KBr

โซเดียมอิออนบวก(+) และคลอไรด์อิออน (-) จะดึงดูดกัน เพราะมีประจุไฟฟ้าทีต่างกัน เกิดเป็น "พันธะไอออนิก"

หรืออาจเขียนแสดงด้วยการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับ orbital ดังนี้

Na + Cl -------------> Na+ + Cl-

แมกนีเซียมไอออนบวก (Mg2+)และคลอไรด์ไอออนลบ(Cl-) จะเกิดแรงดึงดูดเป็นโมเลกุลของแมกนีเซียมคลอไรด์หรืออาจ


เขียนแสดงด้วยการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับ orbital ดังนี้

Mg + 2Cl -------------> Mg2+ + 2Cl-


ถ้าการเปลี่ยนแปลงพลังงานในแต่ละขั้นเขียนแทนด้วย H ลำดับต่างๆ และพลังงานรวมของปฏิกิริยา
เขียนแทนด้วย Hf เครื่องหมายบวก (+) แทนการดูดพลังงาน เครื่องหมายลบ (-) แทนการคายพลังงานที่เกิด
จากการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ สมการแสดงขั้นตอนการเกิดโซเดียมคลอไรด์สามารถเขียนแสดงได้ดงั นี้

Hf มีความสัมพันธ์กับ H1 H2 H3 H4 และH5 อย่างไร

• ปฏิกิริยาที่มีการดูดพลังงานมากกว่าพลังงานที่คายออกมาจัดเป็นปฏิกิริยา แบบ

ค่า Hf จะมีเครื่องหมายเป็น บวก

• ปฏิกิริยาที่มีการคายพลังงานมากกว่าพลังงานที่ดดู เข้าไปจัดเป็นปฏิกิริยา แบบ

ค่า Hf จะมีเครื่องหมายเป็น ลบ

• นักเรียนคิดว่าปฏิกิริยาระหว่างโลหะโซเดียมกับแก๊สคลอรีนเกิดเป็นโซเดียมคลอไรด์ ตามตัวอย่างนี้เป็นปฏิกิริยาแบบดูด
พลังงานหรือคายพลังงาน
พิจารณาการละลายของสารประกอบไอออนิก AB ต่อไปนี้
AB (s) คือ สารประกอบไอออนิก เมื่อ AB (s) ละลายน้ำ จะเกิดการเปลี่ยนแปลง 2 ขั้นดังนี้

• ดังนัน้ เมื่อ AB (s) ละลายน้า พิ จารณาการเปลี่ยนแปลงพลังงานได้ดงั นี้

ถ้า X > Y เป็ นการเปลี่ยนแปลงประเภท


ถ้า X < Y เป็ นการเปลี่ยนแปลงประเภท
ถ้า X = Y
ถ้า X >> Y
กราฟที่ 1 แสดงความสามารถในการละลายของสารประกอบไอออนิกในน้ำเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลง

❖ จากกราฟแสดงให้เห็นว่า

ลองฝึกเขียนสมการ ไอออนิก กับ ไอออนิกสุทธิของสารต่อไปนี้

1) KBr กับ AgNO3

สมการไอออนิก

สมการไอออนิกสุทธิ
2) CaCl2 กับ Na2CO3

สมการไอออนิก

สมการไอออนิกสุทธิ
3) CuSO4 กับ (NH4)2S

สมการไอออนิก

สมการไอออนิกสุทธิ

4) Na2SO4 กับ BaCl2

สมการไอออนิก

สมการไอออนิกสุทธิ
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่อง การเขียนสูตร การเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก

1. จงเขียนสูตรสารประกอบไอออนิกที่เกิดจากการรวมตัวระหว่างไอออนบวกกับไอออนลบ ที่กำหนดให้ต่อไปนี้

ไอออนลบ F- S2- NO3- SO42- PO43-

ไอออนบวก
Na+ NaF Na2S NaNO3 Na2SO4 Na3PO4

Ba2+ BaF2 BaS Ba(NO3)2 BaSO4 Ba3(PO4)


Al3+ AlF3 Al2S3 Al(NO3)3 Al2(SO4)3 AlPO4
Ag+ AgF Ag2S AgNO3 Ag2SO4 Ag3PO4
Cu+ CuF Cu2S CuNO3 CuSO4 Cu3PO4
Cu2+ CuF2 CuS Cu(NO3)2 CuSO4 Cu3(PO4)2
Cr3+ CrF3 Cr2S3 Cr(NO3)3 Cr2(SO4)3 CrPO4
NH4+ NH4F (NH4)2S NH4NO3 (NH4)2SO4 (NH4)3PO4

2. จงเขียนสูตรของสารประกอบไอออนิกที่เกิดจากการรวมตัวระหว่างธาตุต่อไปนี้

2.1 โพแทสเซียม กับ คลอรีน

2.2 แคลเซียม กับ ไอโอดีน

2.3 สทรอนเซียม กับ ออกซิเจน

2.4 ซีเซียม กับ กำมะถัน

2.5 อะลูมิเนียม กับ ไฮโดรเจน

3. จงเขียนสูตรของสารประกอบต่อไปนี้

ก. เลด(II) ไนเตรต ข. แคลเซียมฟอสเฟต .

ค. อะลูมิเนียมคาร์บอเนต ง. โครเมียม(III) คลอไรด์


4. จงเรียกชื่อสารประกอบไอออนิกต่อไปนี้

สารประกอบ การเรียกชื่อ สารประกอบ การเรียกชื่อ


KCN Al2(SO4)3

K2O Ba3(PO4)2
Cu2O NH4Cl
NaNO2 FeCl3
NaHCO3 AgNO3
ZnS BaSO4
CuCO3 Fe2O3
NH4CN CoCl2

5. ถ้า 38Sr ทำปฏิกิริยากับ 16S สารประกอบทีไ่ ด้ควรมีสูตรอย่างไร

ก SrS3 ข Sr3S2 ค Sr2S3 ง SrS

คำชี้แจง ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 6 - 7

ธาตุ การจัดอิเล็กตรอนของธาตุ
A 2,8,2
B 2,8,8,1
C 2,8,7
D 2 , 8 ,18 , 8
6. ธาตุคู่ใดมีการเกิดเป็นสารประกอบไอออนิกได้

ก. A กับ D ข. C กับ D ค. B กับ C ง. B กับ D

7. สารประกอบที่เกิดจากธาตุ B กับ C ควรมีสูตรอย่างไร

ก. BC2 ข. BC ค. B7C ง. B2C

8. การอ่านชื่อสารต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง

ก. BeH2 เบริลเลียมไดไฮไดรด์ ข. PbCO3 เลดคาร์บอเนต


ค. Mn2O3 แมงกานีสไตรออกไซด์ ง. CuH2PO4 คอปเปอร์ (I) ไดไฮโดรเจนฟอสเฟต

แบบฝึกหัดที่ 2 เรื่อง พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก

1. จงเติมขั้นตอนในการเกิด KBr (s) จาก K (s) กับ Br2 (l) ต่อไปนี้ให้สมบูรณ์

สมการการเปลี่ยนแปลง ชื่อพลังงาน ประเภทพลังงาน(ดูด ค่าของ


หรือคาย) พลังงาน
(kJ/mol)
1. พลังงานการระเหย 15.0
2. ดูด 69.6
3. พลังงานการระเหิด 89.9
4 418.4
5. สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน 341.4
6. คาย 668.4
7. พลังงานของการเกิดสาร

2. จงเขียนแผนภาพแสดงการเปลีย่ นแปลงพลังงานในการเกิดสารประกอบไอออนิกจากธาตุที่กำหนดให้ต่อไปนี้

โพแทสเซียม กับ ฟลูออรีน

K (s) + 1/2 F2 (g)

Hf KF(s)

3. กำหนดขั้นตอนของการเกิดสารประกอบไอออนิก NaCl กับพลังงานที่เปลี่ยนไปดังนี้

ขั้นที่ 1 Na (s) + 1/2 Cl2 (g) -------> Na+ (g) + Cl- (g) H1 = +360 KJ
ขั้นที่ 2 Na+ (g) + Cl- (g) --------> NaCl (s) H2 = - 771 KJ

จงหาพลังงาน H3 ของปฏิกิริยา Na (s) + 1/2 Cl2 (g) --------> NaCl (s)

แบบฝึกหัดที่ 3 เรื่อง พลังงานกับการละลายของสารประกอบไอออนิก

1. การละลายของ NaOH (s) มี 2 ขั้นตอน คือ

ขั้นที่ 1 NaOH(s) -----> Na+ (g) + OH- (g) พลังงานแลตทิช = +662.4 KJ/mol

ขั้นที่ 2 Na+ (g) + OH- (g) -----> Na+ (aq) + OH- (aq) พลังงานไฮเดรชัน = -816.8 KJ/mol

ก. จงเขียนสมการแสดงการละลายในขั้นที่ 1 และขั้นที่ 2

ข. จงหาพลังงานในการละลาย NaOH (s)

2. นำโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 2 g ใส่ลงในบีกเกอร์ที่มีน้ำบรรจุอยู่ 100 cm3 เมื่อ NaOH ละลายหมดพบว่า


สารละลาย และบีกเกอร์ร้อนขึ้นอย่างรวดเร็ว

ก. การละลายของ NaOH เป็นการเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบใด เพราะเหตุใด


3. ทดลองละลายสาร A B และ C อย่างละ 3 g ในน้ำ 50 cm3 แล้ววัดอุณหภูมิที่เปลี่ยนไปของสารละลาย ได้ผลการ
ทดลอง ดังตาราง

สาร อุณหภูมิของน้ำ (oC) อุณหภูมิของสารละลาย (oC)


A 29.0 57.0
B 29.0 29.0
C 29.0 24.0

ก. การละลายของสาร A B C เป็นการเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบใด

ข. เพราะเหตุใดอุณหภูมิของสารละลาย B จึงไม่เปลี่ยนแปลง

แบบฝึกหัดที่ 4 เรื่อง ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก

1. จงเขียน สมการไอออนิก และ สมการไอออนิกสุทธิ ที่เกิดจากการผสมสารละลายแต่ละคูต่ ่อไปนี้

ก. AgNO3 (aq) กับ CaBr2 (aq)

สมการไอออนิก

สมการไอออนิกสุทธิ
ข. CuSO4 (aq) กับ K2S (aq)

สมการไอออนิก

สมการไอออนิกสุทธิ
ค. Ba(NO3)2 (aq) กับ K2SO4 (aq)

สมการไอออนิก

สมการไอออนิกสุทธิ
ง. CuCl2 (aq) กับ H2S (aq)

สมการไอออนิก

สมการไอออนิกสุทธิ
จ. NaCl (aq) กับ Ca(NO3)2 (aq)

สมการไอออนิก

สมการไอออนิกสุทธิ

ฉ. LiCl (s) กับ H2O (aq)

สมการไอออนิก

สมการไอออนิกสุทธิ

จงเขียนสมการไอออนิกจากสมการของปฏิกิริยาต่อไปนี้

ก. Cu (s) + 2AgNO3 (aq) --------> Cu(NO3)2 (aq) + 2Ag (s)

ข. 2Na (s) + 2H2O (l) --------> 2NaOH (aq) + H2 (g)

ค. Zn (s) + FeCl2 (aq) --------> ZnCl2 (aq) + Fe (s)


2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ว่าจะต้องนำสารละลายชนิดใดมาผสมเข้าด้วยกัน จึงจะได้ตะกอนต่อไปนี้ (สามารถใช้ข้อมูลจาก
เอกสารประกอบ)

ก. Ag3PO4

ข. PbBr2

ค. MgCO3

ง. Fe(OH)2

จ. BaSO4

ฉ. CaCO3

ช. AgBr

You might also like