ใบงานวิชาสังคมศึกษา

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 9

พุทธประวัติ

พระพุทธเจ้าประสูติเมื่อวันขึน
้ 15 ค่ำเดือน 6 ณ สวนลุมพินีวน
ั ใต้ต้น
สาละ มีพระนามเดิมว่า สิทธัตถะ เป็ นพระโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะ
กับพระนางสิริมหามายา เมื่อพระองค์ประสูติพระองค์ทรงเจ้าชายสิทธัต
ถะทรงดำเนินด้วยพระบาท 7 ก้าว และมีดอกบัวผุดขึน
้ มารองรับ
พระบาท พร้อมเปล่งพระวาจาว่า เราเป็ นเลิศที่สุดในโลก ประเสริฐที่สุด
ในโลก การเกิดครัง้ นีเ้ ป็ นครัง้ สุดท้ายของเรา หลังจากประสูติได้ 5 วัน
พระเจ้าสุทโธทนะเชิญพราหมณ์ ๑๐๘ คน เพื่อมาทำนายพระลักษณะ
ของพระราชกุมาร และถวายพระนามว่า สิทธัตถะ มีความหมายว่า ผู้มี
ความสำเร็จสมประสงค์ทุกสิ่งทุกอย่างที่ตนตัง้ ใจจะทำ แต่หลังจากเจ้า
ชายสิทธัตถะประสูติกาลได้แล้ว 7 วัน พระนางสิริมหามายาก็สน
ิ ้ พระชนย์
เมื่อพระองค์มีอายุได้ 8 พรรษาพระองค์ได้เรียนจบทุกหลักสูตรในสำนัก
ครูวิศวามิตร แล้วก็ทรงอยูใ่ นปราสาท 3 ฤดูที่พระบิดาทรงสร้างไว้ให้ เจ้า
ชายสิทธัตถะเสด็จตามพระเจ้าสุทโธทนะไปประกอบพิธีแรกนาขวัญ เจ้า
ชายสิตธัตถะได้นั่งสมาธิอยู่พระองค์เดียวสมาธิใต้ตน
้ หว้าจนเกิดสมาธิแรก
ชื่อปฐมฌาน เมื่อพระองค์อายุได้ 16 พรรษาพระองค์ได้อภิเษกสมรสกับ
พระนางพิมพาจนเมื่อมีพระชนมายุ 29 พรรษา พระนางพิมพาได้ให้
ประสูติพระราชโอรส มีพระนามว่า "ราหุล" ซึ่งหมายถึง "บ่วง" พระองค์
ทรงเบื่อในปราสาทสามฤดูจึงชวนสารถีพาออกไปเที่ยวที่อุทธยานและ
พระองค์ทรงได้พบกับเทวฑูตทัง้ 4 คือเห็นคนแก่ คนเจ็บ คนตาย และ
นักบวช พระองค์จึงคิดว่านีแ
้ หละคือธรรมชาติของโลก พระองค์จึงออก
ผนวชเพื่อหาทางพ้นทุกข์ พระองค์เริ่มการพ้นทุกข์จากการอดอาหาร
กลัน
้ หายใน กัดลิน
้ แต่พระองค์ก็พบว่าไม่ใช่ทางดับทุกข์พระองค์จึงเลิก
ทำแล้วบำเพ็ญเพียรจนเห็นธรรม 4 หมวดหรืออริยสัจ 4 แล้วพระองค์จึง
ตรัสรู้แล้สแสดงธรรมเทศนากัณฑ์แรกคือ "ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร"ตลอด
ระยะเวลา 45 พรรษา ที่พระองค์ก็ได้แสดงธรรมให้กับสาวกของพระองค์
และทรงปรินิพพานเมื่อวันขึน
้ 15 ค่ำเดือน 6 รวมพระชนม์ 80 พรรษา และ
วันนีถ
้ ือเป็ นการเริ่มต้นของพุทธศักราช
ใบงานวิชาสังคมศึกษา ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 2

เรื่อง พุทธศาสนา
เติมคำหรือข้อความลงในช่องว่าง
1. วันประสูติของพระพุทธเจ้า
2. ชื่อของพระบิดาของเจ้าชายสิทธัตถะ
3. ชื่อของพระมารดาของเจ้าชายสิทธัตถะ
4. ความหมายของสิตธัตถะ
5. สำนักครูที่เจ้าชายสิตธัตถะทรงเรียน
6. เจ้าชายสิตธัตถะได้อภิเษกสมรสกับ
7. พระราชโอรสของเจ้าชายสิตธัตถะ
8. เทวทูตทัง้ 4 คือ
9. วันที่พระพุทธเจ้าทรงปรินิพพาน
ศาสนาคริสต์

ศาสนาคริสต์ถือกำเนิดขึน
้ เมื่อกว่า ๒,๐๐๐ ปี ก่อนในบริเวณ
ที่เป็ นประเทศอิสราเอลในปั จจุบันและแผ่ขยายไปตามทวีปต่าง ๆ
ทั่วโลก ศาสดาของศาสนาคริสต์คือพระเยซู ประสูติเมื่อ ค.ศ. ๑ ที่
หมู่บ้านเบธเลเฮมแคว้นยูดาย บิดาชื่อโจเซฟมารดาชื่อมาเรีย

พระเยซูเป็ นผู้มีความเฉลียวฉลาดและมีความสนใจในเรื่อง
ของศาสนาเป็ นอย่างมากหลังจากที่พระเยซูประกาศศาสนาได้
เป็ นเวลา ๓ ปี ทําให้นักบวชบางกลุ่มไม่พอใจกล่าวหาว่าพระองค์
เป็ นกบฏจนพระองค์ถูกตัดสินประหารชีวิตโดยการตรึงบนไม้
กางเขนต่อมาจึงถือว่าสัญลักษณ์ของศาสนาคริสต์คือไม้กางเขน
และมีคัมภีร์ไบเบิลเป็ นที่รวบรวมคำสอนของพระเยซู

หลักคำสอนที่สำคัญของศาสนาคริสต์

1.จงนมัสการพระเจ้าแต่ผู้เดียว
2. อย่าออกพระนามพระเจ้าโดยไม่สมควร
3.วันพระเจ้าให้ถือเป็ นวันศักดิส์ ิทธิ ์
4.จงนับถือบิดามารดา
5.อย่าฆ่าคน
6.อย่าล่วงประเวณี
7.อย่าลักทรัพย์ 8.อย่านินทาว่าร้ายผูอ
้ ่น

9.อย่าคิดโลภในประเวณี
10.อย่าคิดโลภในสิ่งของของผู้อ่ น

หลักความรัก
ให้มีความรักต่อเพื่อนมนุษย์ร้จ
ู ักเสียสละและทำประโยชน์เพื่อส่วน
รวม
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามถือกำเนิดขึน
้ เมื่อกว่า ๑,๔๐๐ ปี ก่อน ณ นคร
มักกะฮ์ประเทศซาอุดีอาระเบีย ศาสดาของศาสนาคือนบีมุฮัมมัด
ศาสนาอิสลามนับถือพระเจ้าองค์เดียวคือพระอัลลอฮ์ ทรงเลือก
บุคคลที่พร้อมด้วยคุณธรรมอันสูงส่งให้เป็ นศาสนทูตของพระองค์
มีหน้าที่นำข้อบัญญัติทางศาสนามาเผยแผ่แก่มวลมนุษย์
ศาสนทูตองค์สุดท้ายคือนบีมุฮัมมัดซึ่งเป็ นศาสดาของศาสนา
อิสลามการประกาศศาสนาช่วงแรกเต็มไปด้วยความยากลำบาก
และถูกต่อต้านหลังจากประกาศศาสนาได้ ๑๓ ปี ท่านศาสดาและ
สาวกได้ลภ
ี ้ ัยไปอยู่ที่เมืองมะดีนะฮ์ปีที่ท่านนบีมุฮัมมัดอพยพมาอยู่
เมืองมะดีนะฮ์ถือเป็ นการเริ่มต้นนับฮิจเราะห์ศักราช (ฮ.ศ.) เป็ น
ศักราชทางศาสนาอิสลาม
หลักศรัทธา 6 ประการ
1. ศรัทธาต่อพระอัลัเลาะห์
2. ศรัทธาในบรรดาเทวทูต
3. ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต
4. ศรัทธาในบรรดาคัมภีร์ของพระอัลเลาะห์
5. การศรัทธาในวันสิน
้ โลก
6. ศรัทธาในกฎสภาวะของโลก/ของพระเจ้า
หลักปฏิบัติ 5 ประการ
1. การปฏิญาณตน เป็ นการประกาศตนยอมรับด้วยความศรัทธาและ
ความบริสุทธิใ์ จว่า พระอัลเลาะฮ์เป็ นพระเจ้าสูงสุดเพียงองค์เดียวเท่านัน

และยอมรับว่าท่านนบีมุฮัมมัดเป็ นศาสนทูตของพระเจ้า

2. การละหมาด เป็ นการนมัสการพระเจ้าทัง้ ทางร่างกายและจิตใจ 

3. การถือศีลอด เป็ นการงดการบริโภคอาหาร เครื่องดืม และการมี


เพศสัมพันธ์ตงั ้ แต่พระอาทิตย์ขน
ึ ้ จนถึงพระอาทิตย์ตกดินเป็ นเวลา 1
เดือน ตามกำหนด ซึ่งจะมีในเดือน 9 เรียกว่า เดือนรอมาฏอน การถือศีล
อดนีเ้ ป็ นการฝึ กฝนร่างกาย และจิตใจให้มีความอดทน

4. การบริจาคซะกาต เป็ นการบริจาคทรัพย์หรือให้ทานแก่คนที่


เหมาะสมตามที่ศาสนากำหนด เช่น เด็กกำพร้า คนที่ขัดสน เพื่อเป็ นการ
ขัดเกลาจิตใจให้สะอาดลดความเห็นแก่ตัวลง และเป็ นการลดช่องว่างใน
สังคม

5.การประกอบพิธฮ
ี ัจญ์ เป็ นการเดินทางไปประกอบพิธกรรมทาง
ศาสนาที่เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดีอาระเบีย จุดมุง่ หมายเพื่อให้ชาว
มุสลิมระลึกถึงพระเจ้าและได้พบปะพี่น้องมุสลิมจากทั่วโลก

ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ถือกำเนิดขึน
้ ที่ชมพูทวีปหรือประเทศอินเดียในปั จจุบันโดย
เป็ นศาสนาที่ชาวอินเดียส่วนใหญ่นับถือและเผยแผ่ความเชื่อไปยัง
ดินแดนต่าง ๆ รวมทัง้ ในประเทศไทยเป็ นศาสนาที่ไม่มีศาสดา แต่
นับถือเทพผู้เป็ นใหญ่ ๓ พระองค์ พระพรหมคือผู้สร้างโลก
เทพเจ้าแห่งการสร้างสรรค์ความเมตตา พระวิษณุหรือพระ
นารายณ์คือผู้คุ้มครองโลกผู้ดูแลรักษาทุกสรรพสิ่งพระอิศวรหรือ
พระศิวะคือผู้ทำลายและผู้ขบ
ั ไล่มิ่งชั่วร้าย สัญลักษณ์สำคัญคือตัว
อักษรที่อ่านว่า“ โอม” มาจากอะ + อุ + มะซึ่งแทนพระตรีมูรตี
เทพอะมาจากเสียงสุดท้ายของคำว่าพระศิวะ (อะ) อุมาจากเสียง
สุดท้ายของคำว่าพระวิษณุ มะมาจากเสียงสุดท้ายของคำว่าพระ
พรหมมะ (มะ)
คัมภีร์พระเวทเป็ นคัมภีร์ทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดูประกอบ
ด้วยคัมภีร์หลัก ๔ เล่ม
๑. ฤคเวทเป็ นคัมภีร์ที่ใช้สวดสรรเสริญเทพเจ้า
๒. ยชุรเวท เป็ นคัมภีร์เกี่ยวกับระเบียบพิธีในการ
บูชายัญและบวงสรวงต่าง ๆ
๓. สามเวทเป็ นคัมภีร์สําหรับสวดขับกล่อมและถวาย
น้ำโสมแก่พระผู้เป็ นเจ้า
๔. อถรรพเวทเป็ นคัมภีร์ที่รวบรวมคาถาอาคมหรือ
เวทมนตร์ในพิธีกรรมต่าง
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูมีหลักคำสอนที่สำคัญคือหลักธรรม
๑๐ ประการ
๑. ธฤติคือความพอใจความกล้าความมั่นคง
๒. กษมาคือความอดทน
๓. ทมะคือความข่มจิตใจด้วยความเมตตา
๔. อัสเตยะคือการไม่ลักขโมย
์ งั ้ ทางกายและใจ
๕. เราจะคือการกระทำตนให้บริสุทธิท
๖. อินทรียนครหะคือการหมั่นตรวจสอบและสำรวมใน
อินทรีย์เช่นหูตาจมูกลิน
้ และผิวหนัง
๗. ธีคือปั ญญาสติ
๘. วิทยาคือความรู้ทางปรัชญา
๙. สัตยะคือความจริงความสุจริต
๑๐ อโกธะคือความไม่โกรธ

You might also like