Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 22

ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตาบลภูผาม่าน

เรื่อง
การควบคุมตลาด
พ.ศ. 2563
บันทึกหลักการและเหตุผล
ประกอบข้อบัญญัติการควบคุมตลาด
พ.ศ. 2563
-------------------------------------------

หลักการ
ให้มขี ้อบัญญัติว่าด้วยการควบคุมการตลาด

เหตุผล
โดยที่ ก ารด าเนิ น กิ จ การตลาดที่ ไ ม่ ถู ก ต้ อ งด้ ว ยสุ ข ลั ก ษณะอาจเป็ น อั น ตรายต่ อ สุ ข ภาพของ
ประชาชนและก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย สมควรกาหนดลักษณะของตลาด สุขลักษณะในการดาเนิน
กิจการตลาด สุขลักษณะสาหรับผู้ ขายของและผู้ช่วยขายของในตลาด หลักเกณฑ์การอนุญาตให้ดาเนินกิจการ
ตลาด และอัตราค่าธรรมเนียมการออกใบอนุญาตให้ดาเนินกิจการตลาด จึงตราข้อบัญญัตินี้
ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตาบลภูผาม่าน
เรื่อง การควบคุมตลาด
พ.ศ. 2563
--------------------------------------
โดยที่เป็นการสมควรให้มีข้อบัญญัติว่าด้วยการควบคุมตลาด
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 71 แห่งพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วน
ตาบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติมประกอบมาตรา 35 มาตรา 37 มาตรา 54 มาตรา 55 มาตรา 58
มาตรา 63 และมาตรา 65 แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม องค์การบริหาร
ส่วนตาบลภูผาม่าน โดยความเห็นชอบของสภาองค์การบริหารส่วนตาบลภูผาม่าน และนายอาเภอภูผาม่าน จึงตรา
ข้อบัญญัติไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ข้อบัญญัติ นี้เรีย กว่า “ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่ว นตาบลภูผาม่าน เรื่อง การควบคุม
ตลาด พ.ศ. 2563”
ข้อ 2 ข้อบั ญญัติ นี้ให้ ใช้บังคับในเขตองค์การบริหารส่ ว นตาบลภูผ าม่าน ตั้งแต่ วันถัดจากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ 3 ในข้อบัญญัตินี้
“ตลาด” หมายความว่า สถานที่ซึ่งปกติ จัดไว้ให้ผู้ค้าใช้เป็นที่ชุมนุมเพื่อจาหน่ายสินค้าประเภท
สัตว์ เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ หรืออาหารอันมีสภาพเป็นของสด ประกอบหรือปรุงแล้ว หรือของเสียง่าย ทั้งนี้ ไม่ว่าจะมี
การจาหน่ายสิ นค้าประเภทอื่นด้วยหรือไม่ก็ตาม และหมายความรวมถึงบริเวณซึ่ งจัดไว้สาหรับให้ผู้ค้าใช้เป็นที่
ชุมนุมเพื่อจาหน่ายสินค้าประเภทอื่นด้วยหรือไม่ก็ตาม และหมายความรวมถึงบริเวณซึ่งจัดไว้สาหรับให้ผู้ค้าใช้เป็น
ที่ชุมนุมเพื่อจาหน่ายสินค้าประเภทดังกล่าวเป็นประจาหรือครั้งคราวหรือตามวันที่กาหนด
“สินค้า” หมายความว่า สิ่งของที่ซื้อขายกัน
“อาหาร” หมายความว่า อาหารตามกฎหมายว่าด้วยอาหาร
“อาหารสด” หมายความว่า อาหารประเภทสัตว์ เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ และของอื่นๆ ที่มีสภาพเป็น
ของสด
“อาหารประเภทเนื้อสัตว์ชาแหละ” หมายความว่า อาหารสดประเภทเนื้อสัตว์หรือเนื้อสัตว์ที่มี
การชาแหละ ณ แผงจาหน่ายสินค้า
“อาหารประเภทปรุงสาเร็จ ” หมายความว่า อาหารที่ได้ผ่านการทา ประกอบหรือปรุ งสาเร็จ
พร้อมที่จะรับประทานได้ รวมทั้งของหวานและเครื่องดื่มชนิดต่างๆ
“สุขาภิบาลอาหาร” หมายความว่า การจัดการและควบคุมปัจจัยต่างๆ เพื่อให้อาหารสะอาด
ปลอดภัยจากเชื้อโรค และสารเคมีที่เป็นพิษซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของผู้บริโภค เช่น อาหาร ผู้สัมผัส
อาหาร สถานที่ทา ประกอบ ปรุง และจาหน่ายอาหาร ภาชนะ อุปกรณ์ สัตว์และแมลงที่เป็นพาหนะนาโรค
“การล้ างตลาดตามหลั กการสุขาภิบาล” หมายความว่า การทาความสะอาดตัว อาคาร แผง
จาหน่ายสินค้าในตลาด พื้น ผนัง เพดาน ทางระบายน้า ตะแกรงดักมูลฝอย บ่อดักไขมัน บ่อพักน้าเสีย ที่เก็บ
รวบรวมหรือที่รองรั บมูลฝอย ห้ องส้วม ที่ปัสสาวะ อ่างล้างมือ และบริเวณตลาดให้สะอาด ไม่มีสิ่งปฏิกูลหรือ
มูลฝอย หยากไย่ ฝุุนละอองและคราบสกปรก รวมทั้งให้มีการฆ่าเชื้อ ทั้งนี้ สารเคมีที่ใช้ต้องไม่มีผลกระทบต่อระบบ
บาบัดน้าเสียของตลาด
ราชการ...
-2-
“ราชการส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า องค์การบริหารส่วนตาบลภูผาม่าน
“เจ้าพนักงานท้องถิ่น” หมายความว่า นายกองค์การบริหารส่วนตาบลภูผาม่าน
“เจ้าพนักงานสาธารณสุข ” หมายความว่า เจ้าพนักงานซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงสาธารณะสุขให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
ข้อ 4 ให้นายกองค์การบริหารส่วนตาบลภูผาม่าน เป็นผู้รักษาการให้เป็นไปตามข้อบัญญัตินี้ และ
ให้มีอานาจออกระเบียบ ประกาศ หรือคาสั่งเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามข้อบัญญัตินี้

หมวด 1
บททั่วไป
----------------------------
ข้อ 5 ตลาดแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
(1) ตลาดประเภทที่ 1 ได้แก่ ตลาดที่มีโครงสร้างอาคาร และมีลักษณะตามที่กาหนดไว้ในหมวด
2 ส่วนที่ 1
(2) ตลาดประเภทที่ 2 ได้แก่ ตลาดที่ไม่มีโครงสร้างอาคาร และมีลักษณะตามที่กาหนดไว้ใน
หมวด 2 ส่วนที่ 2
ข้อ 6 ที่ตั้งของตลาดต้องอยู่ห่างไม่น้อยกว่า 100 เมตร จากแหล่งที่ก่อให้เกิดมลพิษ ของเสียโรง
เลี้ยงสัตว์ แหล่งโสโครก ที่กาจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย อันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัย เว้นแต่จะมีวิธีการ
ปูองกันซึ่งเจ้าพนักงานสาธารณสุขได้ให้ความเห็นชอบแล้ว
ข้อ 7 ผู้ดาเนินกิจการตลาดต้องดาเนินกิจการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิ ธีการ และเงื่อนไขที่
ก าหนดตามข้ อ บั ญ ญั ติ นี้ รวมทั้ ง กฎกระทรวงและประกาศกระทรวงออกตามความในพระราชบั ญ ญั ติ ก าร
สาธารณสุข พ.ศ. 2535

หมวด 2
สุขลักษณะในการดาเนินกิจการตลาด
----------------------------
ส่วนที่ 1
สุขลักษณะของตลาดประเภทที่ 1
ข้อ 8 ตลาดประเภทที่ 1 ต้องมีส่วนประกอบของสถานที่และสิ่งปลูกสร้าง คือ อาคารสิ่งปลูก
สร้างสาหรับผู้ขายของ ที่ขนถ่ายสินค้า ห้องส้วม ที่ปัสสาวะ อ่างล้างมือ ที่เก็บรวบรวมหรือที่รองรับมูลฝอย และที่
จอดยานพาหนะ ตามที่กาหนดไว้ในส่วนนี้
ข้อ 9 อาคารสิ่ ง ปลู ก สร้ า งส าหรั บ ผู้ ข ายของต้ อ งมี แ ละเป็ นไปตามหลั ก เกณฑ์ แ ละสุ ข ลั ก ษะ
ดังต่อไปนี้
(1) ถนนรอบอาคารตลาดกว้างไม่น้อยกว่า 4 เมตร และมีทางเข้าออกบริเวณตลาดกว้างไม่น้อย
กว่า 4 เมตร อย่างน้อยหนึ่งทาง
(2) ตัวอาคารตลาดทาด้วยวัสดุถาวร มั่นคง และแข็งแรง
3. หลังคา...
-3-
(3) หลังคาสร้างด้วยวัสดุทนไฟ และแข็งแรงทนทาน ความสูงของหลังคาต้องมีความเหมาะสมกับ
การระบายอากาศของตลาดนั้น
(4) พื้นทาด้วยวัสดุถาวร แข็งแรง ไม่ดูดซึมน้า เรียบ ล้างทาความสะอาดง่าย ไม่มีน้าขังและไม่ลื่น
(5) ทางเดินภายในอาคารมีความกว้างไม่น้อยกว่า 2 เมตร
(6) เครื่องกั้นหรือสิ่งกีดขวางทาด้วยวัสดุถาวร และแข็งแรง สามารถปูองกันสัตว์ เช่น สุนัข มิให้
เข้าไปในตลาด
(7) การระบายอากาศภายในตลาดเพียงพอ เหมาะสม และไม่มีกลิ่นเหม็นอับ
(8) ความเข้มของแสงสว่างในอาคารตลาดไม่น้อยกว่า 200 ลักซ์
(9) แผงจาหน่ายสินค้าประเภทอาหารทาด้วยวัสดุถาวร เรียบ มีความลาดเอียง และทาความ
สะอาดง่าย มีความสูงจากพื้นไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร มีพื้นที่ไม่น้อยกว่า 1.5 ตารางเมตร และมีทางเข้าออก
สะดวกโดยมีที่นั่งสาหรับผู้ขายของแยกต่างหากจากแผง
(10) น้าประปาหรือน้าสะอาดแบบระบบท่ออย่างเพีย งพอสาหรับล้างสินค้าหรือล้างมือ ทั้งนี้
ต้องวางท่อในลักษณะที่ปลอดภัย ไม่เกิดการปนเปื้อนจากน้าโสโครก ไม่ติดหรือทับกับ ท่อระบายน้าเสียหรือสิ่ง
ปฏิกูล โดย
(ก) มีที่ล้างอาหารสดอย่างน้อย 1 จุด และในแต่ละจุดต้องมีก๊อกน้าไม่น้อยกว่า 3 ก๊อก กรณีที่มี
แผงจาหน่ายอาหารสดตั้งแต่ 30 แผง ขึ้นไป ต้องจัดให้มีที่ล้างอาหารสด 1 จุด ต่อจานวนแผงจาหน่ายอาหารสด
ทุก 30 แผง เศษของ 30 แผง ถ้าเกิน 15 แผง ให้ถือเป็น 30 แผง
(ข) มีก๊อกน้ าประจ าแผงจาหน่ายอาหารประเภทเนื้อสั ตว์ชาแหละ และแผงจาหน่ายอาหาร
ประเภทปรุงสาเร็จ
(ค) มีที่เก็บสารองน้าในปริมาณเพียงพอและสะดวกต่อการใช้ง่าย กรณีที่มีแผงจาหน่ายอาหารสด
ตั้งแต่ 50 แผงขึ้นไป ต้องจัดให้มีน้าสารองอย่างน้อย 5 ลูกบาศก์เมตรต่อจานวนแผงจาหน่ายอาหารสดทุก 100
แผง เศษของ 100 แผง ถ้าเกิน 50 แผง ให้ถือเป็น 100 แผง
(11) ระบบบาบัดน้าเสีย หรือน้าทิ้ง และทางระบายน้าตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
ทั้งนี้ ให้มีตะแกรงดักมูลฝอยและบ่อดักไขมันด้วย
(12) การติดตั้งระบบการปูองกันอัคคีภัยตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
ความใน (1) และ (5) มิให้ บังคับกับตลาดที่จัดตั้งขึ้นก่อนวันที่กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ.
2542) ออกตามความในพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ใช้บังคับ และมีข้อจากัดเรื่องพื้นที่ซึ่งไม่อาจ
จัดให้มีถนนรอบอาคารตลาด ทางเข้าออกบริเวณตลาด และทางเดินภายในอาคารตามที่กาหนดได้
ข้อ 10 ต้องจัดให้ มีที่ขนถ่ายสิ นค้าตั้งอยู่ในบริเวณหนึ่งบริเวณใดโดยเฉพาะ มีพื้นที่เพียงพอ
สาหรับการขนถ่ายสินค้าในแต่ละวัน และสะดวกต่อการขนถ่ายสินค้าและการรักษาความสะอาด
ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับตลาดที่จัดตั้งขึ้นก่อนวันที่กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2542)
ออกตามความในพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ใช้บังคับ และมีข้อจากัดเรื่องพื้นที่ซึ่งไม่อาจจัดให้มี
ที่ขนถ่ายสินค้าตามที่กาหนดได้
ข้อ 11 ต้องจัดให้มีห้องส้วม ที่ปัสสาวะและอ่างล้างมือตามแบบและจานวนที่กาหนดในกฎหมาย
ว่าด้วยการควบคุมอาหาร และตั้งอยู่ในที่เหมาะสมนอกตัวอาคารตลาด หรือในกรณีที่อยู่ในอาคารตลาดต้องแยก
เป็นสัดส่วนโดยเฉพาะ มีผนังกั้นโดยไม่ให้มีประตูเปิดสู่บริเวณจาหน่ายอาหารโดยตรง
ข้อ 12 ต้องจัด
-4-
ข้อ 12 ต้องจัดให้ มีที่ เก็บรวบรวมหรือที่รองรับมูลฝอย ตามที่กาหนดในกฎหมายว่าด้วยการ
ควบคุมอาคาร ตั้งอยู่นอกตัวอาคารตลาดและอยู่พื้นที่ที่ รถเก็บขนมูลฝอยเข้าออกได้สะดวก มีการปกปิดและ
ปูองกันไม่ให้สัตว์เข้าไปคุ้ยเขี่ ย ตามที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นโดยคาแนะนาของเจ้าพนักงานสาธารณสุขเห็นชอบว่า
เหมาะสมกับตลาดนั้น
ข้อ 13 ต้องจัดให้มีที่จอดยานพาหนะอย่างเหมาะสมตามที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นกาหนด

ส่วนที่ 2
สุขลักษณะของตลาดประเภทที่ 2
ข้อ 14 ตลาดประเภทที่ 2 ต้องจัดให้มีสถานที่สาหรับผู้ขายของ ห้องส้วม ที่ปัสสาวะ อ่างล้างมือ
และที่เก็บรวบรวมหรือที่รองรับมูลฝอย ตามที่กาหนดไว้ในส่วนนี้
ข้อ 15 สถานที่สาหรับผู้ขายของต้องมีและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และสุขลักษณะดังต่อไปนี้
(1) ทางเดินภายในตลาดมีความกว้างไม่น้อยกว่า 2 เมตร
(2) บริเวณสาหรั บผู้ขายของประเภทอาหารสดต้องจัดให้เป็นสัดส่วนโดยเฉพาะ โดยมีลักษณะ
เป็นพื้นเรียบ แข็งแรง ไม่ลื่น สามารถล้างทาความสะอาดได้ง่าย และไม่มีน้าขัง เช่น พื้นคอนกรีต พื้นที่ปูด้วย
คอนกรีตสาเร็จ หรือพื้นลาดด้วยยางแอสฟัลต์
(3) แผงจาหน่ายสินค้าประเภทอาหารทาด้วยวัสดุแข็งแรงที่มีผิวเรียบ ทาความสะอาดง่าย มี
ความสูงจากพื้นไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร และอาจเป็นแบบพับเก็บได้
(4) น้าประปาหรือน้าสะอาดอย่างเพียงพอ และจัดให้มีที่ล้างทาความสะอาดอาหารและภาชนะ
ในบริเวณแผงจาหน่ายอาหารสด แผงจาหน่ายอาหารประเภทเนื้อสัตว์ชาแหละ และแผงจาหน่ายอาหารประเภท
ปรุงสาเร็จ
(5) ทางระบายน้าจากจุดที่มีที่ล้าง โดยเป็นรางแบบเปิด ทาด้วยวัสดุที่มีผิวเรียบ มีความลาดเอียง
ให้สามารถระบายน้าได้สะดวก มีตะแกรงดักมูลฝอยก่อนระบายน้าออกสู่ท่อระบายน้าสาธารณะหรือแหล่งน้า
สาธารณะ และไม่ก่อให้เกิดเหตุเดื อดร้อนราคาญแก่ประชาชนข้างเคียง ในกรณีจาเป็นเจ้าพนักงานท้องถิ่นโดย
คาแนะนาของเจ้าพนักงานสาธารณะสุขอาจกาหนดให้จัดให้มีบ่อดักไขมัน หรือบ่อพักน้าเสีย ก่อนระบายน้าออกสู่
ท่อระบายน้าสาธารณะแหล่งน้าสาธารณะก็ได้
(6) กรณีที่มีโ ครงสร้างเฉพาะเสาและหลังคา โครงเหล็กคลุมผ้าใบ เต็นท์ ร่มหรือสิ่ งอื่นใดใน
ลักษณะเดียวกัน ต้องอยู่ในสภาพที่มั่งคงแข็งแรง
ข้ อ 16 ต้ อ งจั ด ให้ มี ห้ อ งส้ ว ม ที่ ปั ส สาวะและอ่ า งล้ า งมื อ ตามจ านวนและหลั ก เกณฑ์ ด้ า น
สุขลักษณะที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นกาหนดโดยคาแนะนาของเจ้าพนักงานสาธารณสุข และตั้งอยู่ในที่ที่เหมาะสมนอก
สถานที่ขายของ เว้นแต่จะจัดให้มีส้วมเคลื่อนที่ ส้วมสาธารณะ ส้วมเอกชนหรือส้วมของหน่วยงานราชการที่ได้รับ
อนุญาตให้ใช้อยู่ในบริเวณใกล้เคียง ทั้งนี้ ให้มีระยะห่างจากตลาดไม่เกิน 50 เมตร
ข้อ 17 ต้องจัดให้มีที่เก็บรวบรวมหรือที่รองรับมูลฝอยอย่างเพียงพอที่จะรองรับปริมาณมูลฝอย
ในแต่ละวัน และมีลักษณะเหมาะสมตามที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นกาหนดโดยคาแนะนาของเจ้าพนักงานสาธารณสุข
ข้อ 18 เมื่อผู้รับ...
-5-
ข้อ 18 เมื่อผู้รับใบอนุญาตให้จัดตั้งตลาดประเภทที่ 2 ได้ดาเนินกิจการต่อเนื่องกันเป็นระยะ
เวลาหนึ่งแล้ว ถ้าเจ้าพนักงานท้องถิ่นเห็นว่าตลาดประเภทที่ 2 นั้น มีศักยภาพที่จะพัฒนาเป็นตลาดประเภทที่ 1
ได้ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นและผู้รับใบอนุญาตร่วมกันพิจารณากาหนดแผนการพัฒนาปรับปรุงตลาดประเภทที่ 2 ให้
เป็นตลาดประเภทที่ 1 ตามข้อบัญญัตินี้ ตามระยะเวลาและขั้นตอนที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นกาหนด

ส่วนที่ 3
การดาเนินกิจการตลาด
ข้อ 19 การจัดวางสินค้าในตลาดแต่ละประเภทต้องจั ดให้เป็นหมวดหมู่และไม่ปะปนกัน เพื่อ
สะดวกในการดูแลความสะอาดและปูองกันการปนเปื้อนในอาหาร
ข้อ 20 กาหนดเวลาการเปิดและปิดตลาด ต้องเป็นไปตามเวลาที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นกาหนด
ข้อ 21 ผู้รับใบอนุญาตให้จัดตั้งตลาดประเภทที่ 1 ต้องรับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับการบารุงรักษา
ตลาดและการรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยในตลาดให้ถูกสุขลักษณะ ดังต่อไปนี้
(1) บารุงรักษาโครงสร้างต่างๆของตลาด ให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดีตลอดเวลา เช่น ตัวอาคาร
พื้น ฝูาเพดาน แผงจาหน่ายสินค้า ระบบบาบัดน้าเสียหรือน้าทิ้ง และทางระบายน้า อุปกรณ์ต่างๆ เช่น สายไฟ
หลอดไฟ พัดลม ก๊อกน้า ท่อน้าประปา และสาธารณูปโภคอื่น
(2) จัดให้มีการเก็บกวาดมูลฝอยบริเวณตลาด และดูแลความสะอาดของตะแกรงดักมูลฝอยบ่อ
ดักไขมัน ระบบบาบัดน้าเสียหรือทิ้ง และทางระบายน้า มีให้มีกลิ่นเหม็นเป็นประจาทุกวัน และดูแลที่เก็บรวบรวม
หรือรองรับมูลฝอยให้ถูกสุขลักษณะเสมอ
(3) ดูแลห้องส้วม ที่ปัสสาวะและอ่างล้างมือให้อยู่ในสภาพที่สะอาด ใช้การได้ดี และเปิดให้ใช้
ตลอดเวลาที่เปิดตลาด
(4) จัดให้มีการล้างทาความสะอาดตลาดเป็นประจาทุกวัน โดยเฉพาะแผงจาหน่ายอาหารสด
และแผงจาหน่ายอาหารประเภทเนื้อสัตว์ชาแหละ และมีการล้างตลาดตามหลักการสุขาภิ บาลอย่างน้อยเดือนละ
หนึ่งครั้ง ในกรณีที่มีการระบาดของโรคติดต่อ เจ้าพนักงานท้องถิ่นโดยคาแนะนาของเจ้าพนักงานสาธารณสุข อาจ
แจ้งให้มีการล้างตลาดตามหลักการสุขาภิบาลมากกว่าเดือนละหนึ่งครั้งก็ได้
(5) จัดให้มีการกาจัดสัตว์หรือแมลงที่เป็นพาหะนาโรคภายในบริเวณตลาดอย่างน้อยเดือนละหนึ่ง
ครั้ง
(6) ดูแลแผงจาหน่ายอาหารประเภทเนื้อสัตว์ชาแหละมิให้ปล่อยน้าหรื อของเหลวไหลจากแผงลง
สู่พื้นตลาด และจัดให้มีทางระบายน้าหรือของเหลวลงสู่ทางระบายน้าหลักของตลาด
ข้อ 22 ผู้รับใบอนุญาตให้จัดตั้งตลาดประเภทที่ 2 ต้องรับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับการบารุงรักษา
ตลาดและการรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยภายในตลาดให้ถูกสุขลักษณะดังต่อไปนี้
(1) จัดให้มีการเก็บกวาดมูล ฝอยบริเวณตลาด และดูแลความสะอาดของตะแกรงดักมูลฝอย
รวมทั้งกรณีที่มีบ่อดักไขมัน บ่อพักน้าเสีย และทางระบายน้า มิให้มีกลิ่นเหม็นเป็นประจาทุกวัน และดูแลที่เก็บ
รวบรวมหรือที่รองรับมูลฝอยให้ถูกสุขลักษณะเสมอ
(2) ดูแลห้องส้วม ที่ปัสสาวะ และอ่างล้างมือ ให้อยู่ในสภาพที่สะอาด ใช้การได้ดี และเปิดให้ใช้
ตลอดเวลาที่เปิดตลาด
(3) จัดให้มี...
-6-
(3) จัดให้มีการล้างทาความสะอาดตลาดเป็นประจาทุกวัน โดยเฉพาะแผงจาหน่ายอาหารสด
และแผงจาหน่ ายอาหารแระเภทเนื้อสัตว์ชาแหละ ในกรณีที่มีการระบาดของโรคติดต่อให้ดาเนินการล้างตลาด
ตามหลักการสุขาภิบาลตามที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นโดยคาแนะนาของเจ้าพนักงานสาธารณสุขแจ้งให้ปฏิบัติ
(4) จั ดให้ มีการปู องกัน ไม่ให้ น้ าหรือของเหลวไหลจากแผงจ าหน่ายอาหารประเภทเนื้ อสั ต ว์
ชาแหละลงสู่พื้นตลาด
ข้อ 23 เพื่ อประโยชน์ ในการปูองกันเหตุราคาญ มลพิษที่เป็นอันตราย หรือการระบาดของ
โรคติดต่อ ผู้รับใบอนุญาตให้จัดตั้งตลาดประเภทที่ 1 หรือตลาดประเภทที่ 2 ต้องไม่กระทาการและควบคุมดูแลมิ
ให้ผู้ใดกระทาการ ดังต่อไปนี้
(1) จาหน่ายอาหารที่ไม่สะอาดหรือไม่ปลอดภัยตามกฎหมายว่าด้วยอาหารในตลาด
(2) นาสัตว์ทุกชนิดเข้าไปในตลาด เว้นแต่สัตว์ที่นาไปขังไว้ในที่ขังสัตว์เพื่อจาหน่าย
(3) ฆ่าหรือช าแหละสัตว์ใหญ่ เช่น โค กระบือ แพะ แกะ หรือสุ กร ในตลาด รวมทั้งฆ่าหรือ
ชาแหละสัตว์ปีกในกรณีที่เกิดการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ที่ติดต่อมาจากสัตว์ในเขตท้องที่นั้น
(4) สะสมหรือหมักหมมสิ่งหนึ่งสิ่งใดในตลาด จนทาให้สถานที่สกปรก รกรุงรัง เป็ นเหตุราคาญ
เกิดมลพิษที่เป็นอันตราย หรือเป็นที่เพราะพันธุ์สัตว์หรือแมลงที่เป็นพาหะนาโรค
(5) ถ่ายเทหรือทิ้งมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกู ลในที่อื่นใด นอกจากที่ซึ่งจัดไว้สาหรับรองรับมูลฝอยหรือ
สิ่งปฏิกูล
(6) ทาให้น้าใช้ในตลาดเกิดความสกปรกจนเป็นเหตุให้เป็นหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
(7) ก่อหรือจุดไฟไว้ในลักษณะซึ่งอาจเป็นที่เดือดร้อนหรือเกิดอันตรายแก่ผู้อื่น
(8) ใช้ตลาดเป็นที่พักอาศัยหรือเป็นที่พักค้างคืน
(9) กระทาการอื่ น ใดที่อาจก่อให้ เกิดเหตุราคาญ มลพิษที่ เป็นอันตราย หรือการระบาดของ
โรคติดต่อ เช่น เสียงดัง แสงกระพริบ ความสั่นสะเทือน หรือมีกลิ่นเหม็น

ส่วนที่ 4
ผู้ขายของและผู้ช่วยขายของในตลาด
ข้อ 24 ผู้ขายของและผู้ช่วยขายของในตลาดต้องปฏิบัติและให้ความร่วมมือกับผู้รับ ใบอนุญาตให้
จัดตั้งตลาด เจ้าพนักงานท้องถิ่น และเจ้าพนักงานสาธารณสุข ในเรื่องดังต่อไปนี้
(1) การจัดระเบียบและกฎเกณฑ์ในการรักษาความสะอาดของตลาด
(2) การจัดหมวดหมู่สินค้า
(3) การดูแลความสะอาดแผงจาหน่ายสินค้าของตน
(4) การรวบรวมมูลฝอยลงในภาชนะรองรับที่เหมาะสม
(5) การล้างตลาด
(6) การเข้ารับการฝึกอบรมด้านสุขาภิบาลอาหารและอื่นๆ ตามหลักเกณฑ์ที่เจ้าพนักงานท้องถิ่น
กาหนดโดยคาแนะนาของเจ้าพนักงานสาธารณสุข
(7) การตรวจสุ ข ภาพตามที่ เ จ้ า พนั ก งานท้ อ งถิ่ น ก าหนดโดยค าแนะน าของเจ้ า พนั ก งาน
สาธารณสุข
ข้อ 25 ผู้ขาย...
-7-
ข้อ 25 ผู้ขายของและผู้ช่วยขายของในตลาดต้องปฏิบัติเกี่ยวกับสินค้าและแผงจาหน่ายสินค้า
ดังต่อไปนี้
(1) ให้วางสินค้าบนแผงจาหน่ายสินคาหรือขอบเขตที่กาหนด โดยห้ามวางสินค้าล้าแผงจาหน่าย
สินนคาหรือขอบเขตที่กาหนด และห้ามวางสินคาสูงจนอาจเกิดอันตรายหรือส่ง ผลกระทบต่อระบบกรองระบาย
อากาศ และแสงสว่าง ทั้งนี้ ตามที่เจาพนักงานท้องถิ่นกาหนดโดยคาแนะนาของเจาพนักงานสาธารณสุข
(๒) ห้ามวางสินคาประเภทวัตถุอันตรายปะปนกับสินคาประเภทอาหาร
(๓) ให้วางสินคาประเภทอาหาร เครื่องดื่ม และภาชนะอุปกรณ์ในขอบเขตที่กาหนด โดยสูงจาก
พื้นตลาดไมน้อยกว่า ๖๐ เซนติเมตร
(๔) ห้ามเก็บสินคาประเภทอาหารไวใต้ แผงจาหน่ายสินคา เว้นแต่อาหารในภาชนะบรรจุที่ปิด
สนิทตามกฎหมายว่าด้วยอาหาร หรืออาหารที่มีการปูองกันการเน่าเสียและปกปิดมิ ดชิด ทั้งนี้ ตองมีการรักษา
ความสะอาดและปูองกันสัตว์หรือแมลงที่เป็นพาหะนาโรค
(๕) ไมใช้แสงหรือวัสดุอื่นใดที่ทาให้ผู้บริโภคมองเห็นอาหารต่างไปจากสภาพที่เป็นจริง
(๖) ห้ามต่อเติมแผงจาหน่ายสินคา เว้นแต่จะไดรับอนุญาตจากเจาพนักงานท้องถิ่นโดยคาแนะนา
ของเจาพนักงานสาธารณสุข
ขอ 26 ผู้ขายของและผู้ช่วยขายของในตลาดต้องมีสุขอนามัยส่วนบุคคล ดังต่อไปนี้
(๑) มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ไมเป็นโรคติดต่อ ไมเป็นโรคที่สังคมรังเกียจ หรือไมเป็นพาหะนา
โรคติดต่อ เช่น อหิวาตกโรค ไขรากสาดน้อย บิด ไขสุกใส หัด คางทูม วัณโรคในระยะอันตราย โรคเรื้อนในระยะ
ติดต่อหรือในระยะที่ปรากฏอาการเป็น ที่รังเกียจแกสังคม โรคผิวหนังที่น่ารังเกียจ ไวรัสตับอักเสบชนิดเอ ไขหวัด
ใหญ่ร วมถึงไขหวัดใหญ่ที่ติดต่อมาจากสั ตว์ และโรคตามที่ เ จาพนักงานท้องถิ่นกาหนดโดยคาแนะนาของเจา
พนักงานสาธารณสุข
(๒) ในระหว่างขายสินคาต้องแต่งกายสุภาพ สะอาด เรียบร้อย หรือตามที่เจาพนักงานท้องถิ่น
กาหนดโดยคาแนะนาของเจาพนักงานสาธารณสุข
(๓) ในระหว่างขายสินคาประเภทอาหารต้องปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยส่วนบุคคล เช่น ไมไอ
หรือจามรดอาหาร ไมใช้มือหยิบจับอาหารที่พรอมรับประทานโดยตรง ล้างมือให้สะอาดก่อนหยิบหรือจับอาหาร
ไมสูบบุหรี่หรือดื่มสุรา ทั้งนี้ ตามที่เจาพนักงานท้องถิ่นกาหนดโดยคาแนะนาของเจ้าพนักงานสาธารณสุข
ขอ 27 ผู้ขายของและผู้ช่วยขายของในตลาดต้องปฏิบัติให้ถูกสุขลักษณะในการจาหน่ายทา
ประกอบ ปรุง เก็บหรือสะสมอาหาร และการรักษาความสะอาดของภาชนะ น้าใช้และของใช้ต่างๆ ดังต่อไปนี้
(๑) อาหารที่ขายต้องสะอาด และปลอดภัยตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดไวในกฎหมายว่าด้วยอาหาร
(๒) อาหารสดเฉพาะสัตว์ เนื้อสัตว์ และอาหารทะเล ตองเก็บรักษาในอุณหภูมิ ไมเกิน ๕ องศา
เซลเซียส ในตูเย็นหรือแชน้าแข็งตลอดระยะเวลาการเก็บ
(3) การจาหน่ายอาหารประเภทปรุงสาเร็จต้องใช้เครื่องใช้ ภาชนะที่สะอาด และต้องมีอุปกรณ์
ปกปิ ดอาหารเพื่อปู องกันการปนเปื้ อน และรักษาอุปกรณ์ปกปิดอาหารนั้นให้ ส ะอาดและใช้ การไดดีอยู่ เสมอ
(4) ในกรณีที่เป็นแผงจาหน่ายอาหาร ซึ่งมีการทา ประกอบ และปรุงอาหาร ตองจัดสถานทีไ่ วให้
เป็นสัดส่วนโดยเฉพาะเพื่อการนั้นและต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามหลักการสุขาภิบาลอาหาร
(5) เครื่องมือ เครื่องใช้ และภาชนะอุปกรณ์ที่ใช้ เช่น เขียง เครื่องขูดมะพร้าว จาน ชาม ช้อน
และส้อม ตะเกียบ และแก้วน้า ตองสะอาดและปลอดภัย มีการล้างทาความสะอาดและจัดเก็บที่ถูกต้อง
หมวด 3 ...
-8-
หมวด 3
ใบอนุญาต
ข้อ 28 ห้ามมิให้ผู้ใดจัดตั้งตลาด เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากเจ้าพนังงานท้องถิ่น
การเปลี่ยนแปลง ขยาย หรือลดสถานทีห่ รือบริเวณที่ใช้เป็นตลาดภายหลังจากที่เจ้าพนักงาน
ท้องถิ่นได้ออกใบอนุญาตให้จัดตั้งตลาดตามวรรคหนึ่งแล้วจะกระทาได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากเจ้า
พนักงานท้องถิ่นด้วย
ความในข้อนี้มิให้ใช้บังคับแก่กระทรวง ทบวง กรม ราชการส่วนท้องถิ่นหรือองค์กรของรัฐที่ได้
จั ด ตั้ ง ตลาดตามอ านาจหน้ า ที่ แต่ ใ นการด าเนิ น กิ จ การตลาดจะต้ อ งปฏิบั ติ เ ช่ น เดี ย วกั บ ผู้ รั บ ใบอนุ ญ าตตาม
บทบัญญัติอื่นแห่งข้อบัญญัตินี้และพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ด้วย และให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมี
อานาจกาหนดเงื่อนไขเป็นหนังสือให้ผู้จัดตั้งตลาดตามวรรคนี้ปฏิบัติเป็นการเฉพาะรายก็ได้
ข้อ 29 ผู้ใดประสงค์จะจัดตั้งตลาดจะต้องยื่นคาขอรับใบอนุญาตตามแบบที่กาหนดไว้ท้ายบัญญัติ
บัญญัตินี้ พร้อมกับเอกสารและหลักฐานดังต่อไปนี้
(1) สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน ข้าราชการ หรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ
2) สาเนาใบอนุญาตตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
(3) อื่นๆ ตามที่ราชการส่วนท้องถิ่นประกาศกาหนดและเผยแพร่ให้ประชาชนทราบ
ข้อ 30 เมื่อได้รับคาขอรับใบอนุญาตหรือคาขอต่ออายุใบอนุญาต ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่น
ตรวจสอบความถูกต้องของคาขอและความครบถ้วนของอกสารหลักฐานทนที กรณีไม่ถูกต้อง ครบถ้วน ให้เจ้า
พนักงานท้องถิ่นแจ้งต่อผู้ยื่นคาขอให้แก้ไขเพิ่มเติมเพื่อดาเนินการ หากไม่สามารถดาเนินการได้ในขณะนั้น ให้
จั ดทาบั น ทึกความบกพร่ องและรายการเอกสารหรื อหลั กฐานยื่ น เพิ่มเติมภายในระยะเวลาที่กาหนด โดยให้
เจ้าหน้าที่และผู้ยื่นคาขอลงนามไว้ในบันทึกนั้นด้วย
เจ้าพนักงานท้องถิ่นต้องออกใบอนุญาตหรือมีหนังสือแจ้งคาสั่งไม่อนุญาตพร้อมด้วยเหตุผลให้ผู้
ขออนุญาตทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันได้รับคาขอ ซึ่งมีรายละเอียดถูกต้องหรือครบถ้วนตามที่กาหนดใน
ข้อบัญญัตินี้
ในกรณีที่มีเหตุจาเป็นที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นไม่อาจออกใบอนุญาตหรือยังไม่อาจมีคาสั่งไม่อนุญาต
ได้ภายในกาหนดเวลาตามวรรคสอง ให้ขยายเวลาออกไปได้อีกไม่เกินสองครั้ง ๆ ละไม่เกินสิบห้ าวันแต่ต้องมี
หนังสือแจ้งการขยายเวลาและเหตุจาเป็นแต่ละครั้งให้ผู้ขออนุญาตทราบก่อนสิ้นกาหนดเวลาตามวรรคสอง หรือ
ตามที่ได้ขยายเวลาได้แล้ วนั้น แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ หากเจ้าพนักงานท้องถิ่นพิจารณายังไม่แล้วเสร็จ ให้แจ้งเป็น
หนังสือให้ผู้ยื่นคาขอทราบถึงเหตุแห่งความล่าช้าทุกเจ็ดวันจนกว่าจะพิจารณาแล้วเสร็จ พร้อมสาเนาแจ้ง ก.พ.ร.
ทราบทุกครั้ง
ข้อ 31 ผู้ได้รับอนุญาตต้องมารับใบอนุญาตภายในสิบห้าวัน (หรือตามที่เห็นสมควร) นับแต่วันที่
ได้รับหนังสือแจ้งการอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่น เว้นแต่จะมีเหตุอันสมควรและได้แจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น
ทราบแล้ว
ข้อ 32 บรรดาใบอนุญาตที่ออกให้ตามข้อบัญญัตินี้ให้มีอายุหนึ่งปีนับแต่วันที่ออกใบอนุญาต
และให้ใช้ได้เพียงในเขตอานาจของราชการส่วนท้องถิ่นเท่านั้น
การขอต่ออายุใบอนุญาตจะต้องยื่นคาขอก่อนใบอนุญาตสิ้นอายุ เมื่อได้ยื่นคาขอพร้อมกับเสีย
ค่าธรรมเนียมแล้วให้ประกอบกิจการตลอดเวลาที่ประกอบกิจการ
ข้อ 33 ผู้ได้รับ...
-9-
ข้อ 33 ผู้ได้รับใบอนุญาตตามข้อบัญญัตินี้ ต้องแสดงใบอนุญาตไว้โดยเปิดเผยและเห็นได้ง่าย ณ
สถานที่ประกอบกิจการตลอดระยะเวลาที่ประกอบการ
ข้อ 34 ในกรณีที่ใบอนุญาตสูญหาย ถูกทาลาย หรือชารุดในสาระที่สาคัญ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาต
ยื่นคาขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้ทราบถึงการสูญหาย ถูกทาลาย หรือชารุด ตามแบบที่
กาหนดไว้ท้ายข้อบัญญัตินี้
การขอรับใบแทนใบอนุญาตและการออกใบแทนใบอนุญาตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และ เงื่อนไขดังต่อไปนี้
(1) ในกรณีใบอนุญาตสูญหาย ให้ผู้ยื่นคาขอใบแทนใบอนุญาตนาสาเนาบันทึกการแจ้งความต่อ
พนักงานเจ้าหน้าที่แห่งท้องที่ที่ใบอนุญาตสูญหายมาแสดงต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นประกอบด้วย
(2) ในกรณีใบอนุญาตถูกทาลาย หรือชารุดในสาระที่สาคัญ ให้ผู้ยื่นคาขอรับใบแทนใบอนุญาตนา
ใบอนุญาตเดิมเท่าที่เหลืออยู่มาแสดงต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นประกอบด้วย
ข้อ 35 ในกรณีที่ปรากฏว่าผู้รับใบอนุญาตตามข้อบัญญัตินี้ ไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติไม่ถูกต้องตาม
บทแห่ งพระราชบัญญัติการสาธารณสุ ข พ.ศ. 2535 กฎกระทรวง หรือ ข้อบัญญัติ นี้ หรือเงื่อนไขที่ระบุไว้ใน
ใบอนุญาตในเรื่องที่กาหนดไว้เกี่ยวกับการประกอบกิจการตามที่ได้รับใบอนุญาตตามข้อบัญญัตินี้ เจ้าพนักงาน
ท้องถิ่นมีอานาจสั่งพักใช้ใบอนุญาตได้ภายในเวลาที่เห็นสมควรแต่ต้องไม่เกินสิบห้าวัน
ข้อ 36 เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอานาจออกคาสั่งเพิกถอนใบอนุญาตเมื่อปรากฏว่าผู้รับใบอนุญาต
(1) ถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตตั้งแต่สองครั้งขึ้นไปและมีเหตุที่จะต้องถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตอีก
(2) ต้องคาพิพากษาถึงที่สุดว่าได้กระทาความผิดตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.
2535
(3) ไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติไม่ถูกต้องตามบทแห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
กฎกระทรวง หรือข้อบัญญัตินี้ หรือเงื่อนไขที่ระบุไว้ในใบอนุญาตในเรื่องที่กาหนดไว้เกี่ยวกับการประกอบกิจการ
ตามทีไ่ ด้รับใบอนุญาตตามข้อบัญญัตินี้ และการไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติไม่ถูกต้องนั้น ก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรง
ต่อสุขภาพของประชาชน หรือมีผลกระทบต่อสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับการดารงชีพของประชาชน
ข้อ 37 คาสั่งพักใช้ใบอนุญาตและคาสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ให้ทาเป็นหนังสือแจ้งให้ผู้รับ
ใบอนุญาตทราบ ในกรณีที่ไม่พบผู้ รับใบอนุญาต หรือผู้รับใบอนุญาตไม่ยอมรับคาสั่งดังกล่าว ให้ส่งคาสั่งโดยทาง
ไปรษณีย์ ตอบรั บ หรื อ ให้ ปิ ดค าสั่ ง นั้ น ไว้ ในที่ เปิ ดเผยเห็ น ได้ ง่า ย ณ ภู มิล าเนาหรือ ส านั กท าการงานของผู้ รั บ
ใบอนุญาต และให้ถือว่าผู้รับใบอนุญาตนั้นได้รับทราบคาสั่ งแล้วตั้งแต่เวลาที่คาสั่งไปถึง หรือวันปิดคาสั่ง แล้วแต่
กรณี
ข้อ 38 ผู้ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตจะขอรับใบอนุญาตสาหรับการประกอบกิจการที่ถูกเพิกถอน
ใบอนุญาตอีกไม่ได้จนกว่าจะพ้นกาหนดหนึ่งปีนับแต่วันที่ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาต

หมวด 4
ค่าธรรมเนียมและค่าปรับ

ข้อ 39 ผู้ได้รับใบอนุญาตต้องเสียค่าธรรมเนียมการออกใบอนุญาตตามอัตราที่กาหนดไว้ท้ายข้อ
บัญญัตินี้ในวันที่มารับใบอนุญาตสาหรับกรณีที่เป็นการขอรับใบอนุญาตครั้งแรก หรือก่อนใบอนุญาตสิ้นอายุ –
สาหรับ...

-10-
สาหรับกรณีที่เป็นการขอต่ออายุใบอนุญาต ตลอดเวลาที่ยังดาเนินกิจการนั้น ถ้ามิได้เสียค่าธรรมเนียมภายในเวลา
ที่กาหนด ให้ชาระค่าปรับเพิ่มขึ้นอีกร้อยละยี่สิบของจานวนค่าธรรมเนียมที่ค้างชาระ เว้นแต่ผู้ได้รับใบอนุญาตจะได้
บอกเลิกการดาเนินกิจการนั้นก่อนถึงกาหนดการเสียค่าธรรมเนียมครั้งต่อไป
ในกรณีที่ผู้มีหน้าที่ต้องเสียค่าธรรมเนียมตามวรรคหนึ่งค้างชาระค่าธรรมเนียมติดต่อกันเกินกว่า
สองครั้ง ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอานาจสั่งให้ผู้นั้นหยุดการดาเนินกิจการไว้จนกว่าจะได้เสียค่าธรรมเนียมและ
ค่าปรับจนครบจานวน
ข้อ 40 บรรดาค่าธรรมเนียมและค่าปรับตามข้อบัญญัตินี้ ให้เป็นรายได้ของราชการส่วนท้องถิ่น

หมวด 5
บทกาหนดโทษ
----------------------------
ข้อ 41 ผู้ใดฝุาฝืนคาสั่งของเจ้าพนักงานหรือไม่ปฏิบัติตามข้อบัญญัตินี้ต้องระวางโทษตามที่
กาหนดไว้ในบทกาหนดโทษแห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ประกาศ ณ วันที่ ..........................................................................

(ลงชื่อ)
(นายสุนทร สุบิน)
นายกองค์การบริหารส่วนตาบลภูผาม่าน

เห็นชอบ

(ลงชื่อ)
(นายชินกร แก่นคง)
นายอาเภอภูผาม่าน
อัตราค่าธรรมเนียมการออกใบอนุญาต/ใบอนุญาต
ท้ายข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตาบลภูผาม่าน
เรื่อง ควบคุมตลาด พ.ศ. 2563
------------------------------------
ลาดับที่ รายการ อัตราค่าธรรมเนียม
บาท/ปี
1 ตลาดประเภทที่ 1
(ก) ใบอนุญาตจัดตั้งตลาดที่มีโครงสร้างอาคารที่มีจานวนแผงค้าในตลาด 3,000
ไม่เกินหนึ่งร้อยแผง
(ข) ใบอนุญาตจัดตั้งตลาดในโครงสร้างอาคารที่มีจานวนแผงค้าในตลาดเกิน 5,000
กว่าหนึ่งร้อยแผง

2 ตลาดประเภทที่ 2
(ก) ใบอนุญาตจัดตั้งตลาดที่ไม่มีโครงสร้างอาคารที่มีจานวนแผงค้าไม่เกิน 2,000
หนึ่งร้อยแผง
(ข) ใบอนุญาตจัดตั้งตลาดที่ไม่มีโครงสร้างอาคารที่มีจานวนแผงค้าเกินกว่า 3,000
หนึ่งร้อยแผง

การต่อใบอนุญาตจัดตั้งตลาด ให้เป็นไปตามอัตราในข้อ 1 หรือ 2 แล้วแต่กรณี


คาขอเลขที่........./.......... แบบคาขอใบรับอนุญาต/ต่ออายุใบอนุญาต
(เจ้าหน้าที่กรอก) ประกอบกิจการ.................................................................

เขียนที่..............................................................
วันที่..............เดือน.......................พ.ศ. .....................

1. ข้าพเจ้า...........................................................................อายุ.................ปี สัญชาติ....................
โดย...................................................................................................................................................ผู้มีอานาจลงนาม
แทนนิติบุคคลปรากฏตาม...........................................................................................................................................
ที่อยู่เลขที่...................................หมู่ที่.....................ตรอก/ซอย.............................ถนน..............................................
แขวง/ตาบล.........................................................เขต/อาเภอ.......................................จังหวัด...................................
หมายเลขโทรศัพท์...................................................................ผู้ขออนุญาต
2.พร้อมคาขอนี้ข้าพเจ้าได้แนบเอกสารหลักฐานต่างๆ มาด้วยแล้วดังนี้
สาเนาบัตรประจาตัว (ประชาชน ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ อื่นๆ ระบุ…...............)
สาเนาใบอนุญาตตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่..............................................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
หนังสือให้ความเห็นชอบการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ใบมอบอานาจ (ในกรณีที่มีการมอบอานาจ)
สาเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล
หลักฐานที่แสดงการเป็นผู้มีอานาจลงนามแทนนิติบุคคล
เอกสารและหลักฐานอื่นๆ ตามที่ราชการส่วนท้องถิ่นประกาศกาหนด คือ
1)........................................................................................................................
2)…………………………………………………………………………………………………………..
ขอรับรองว่าข้อความในคาขอนี้เป็นความจริงทุกประการ

(ลงชื่อ).........................................................ผู้ขออนุญาต
(..................................................)
ส่วนของเจ้าหน้าที่
ใบรับคาขอรับใบอนุญาต/ต่ออายุใบอนุญาต

เลขที่.......................... ได้รับเรื่องเมื่อวันที่................เดือน............................ พ.ศ. .........................


ตรวจสอบแล้ว เอกสารหลักฐาน ครบ
ไม่ครบ คือ
1).........................................................................................
2).........................................................................................
3).........................................................................................

(ลงชื่อ)....................................................................
(.................................................................)
ตาแหน่ง...................................................................

ส่วนของผู้ขอรับใบอนุญาต
ใบรับคาขอรับใบอนุญาต/ต่ออายุใบอนุญาต

เลขที่.......................... ได้รับเรื่องเมื่อวันที่................เดือน............................ พ.ศ. .........................


ตรวจสอบแล้ว เอกสารหลักฐาน ครบ
ไม่ครบ คือ
1).........................................................................................
2).........................................................................................
3).........................................................................................
ดังนั้น กรุณานาเอกสารหลักฐานที่ยังไม่ครบทั้งหมดมายื่นต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นภายใน......................วัน นับตั้งแต่
วันนี้เป็นต้นไป

(ลงชื่อ)....................................................................
(.................................................................)
ตาแหน่ง...................................................................
ที.่ .................................. สานักงาน...............................................
……………………………………………………….

วันที่............... เดือน................................. พ.ศ. ...............


เรื่อง คาแนะนาให้แก้ไขปรับปรุงสภาพของสถานที่ประกอบกิจการ
เรียน .............................................................................................
อ้างถึง ใบรับคาขออนุญาต/ต่ออายุใบอนุญาต เลขที่........................ ลงวันที่...........เดือน..................พ.ศ. .............
ตามที่ท่านได้ยื่นคาขอรับใบอนุญาต/ต่ออายุใบอนุญาตประกอบกิจการ..............................................
และราชการส่วนท้องถิ่นได้ออกใบรับคาขออนุญาต/ต่ออายุใบอนุญาตไว้ตามที่อ้างถึง นั้น
เนื่องจากเจ้าพนักงานได้ตรวจสภาพด้านสุขลักษณะของสถานที่ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ ระบบ
กาจัดหรือบาบัดของเสียและอื่นๆ ของสถานที่ประกอบกิจการของท่านแล้วพบว่ายังไม่ถูกต้อง ครบถ้วน ตามที่
กาหนดไว้ในข้อกาหนดของท้องถิ่น ดังนี้
1)....................................................................................................................................................
2)....................................................................................................................................................
3)....................................................................................................................................................
4)....................................................................................................................................................
ฉะนั้น จึงขอให้ท่านแก้ไขให้ถูกต้องและสมบูรณ์เพื่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นจะได้ดาเนินการพิจารณา
การอนุญาตต่อไป

ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ)………………………………………………………
(........................................................)
ตาแหน่ง............................................................
เจ้าพนักงานท้องถิ่น
บันทึกข้อความ
ส่วนราชการ.....................................................................................................โทร. ................................................
ที.่ ...................................................................วันที่................เดือน...........................พ.ศ. ......................
เรื่อง รายงานผลการตรวจสภาพของสถานที่ประกอบกิจการเพื่อประกอบการพิจารณาการอนุญาต
เรียน เจ้าพนักงานท้องถิ่น
ตามที่ราชการส่วนท้องถิ่นได้รับคาของรับใบอนุญาตประกอบกิจการ ............................................
และได้ออกใบรับคาขออนุญาต เลขที่ ................................... ลงวันที่.............เดือน.....................พ.ศ. ............... นั้น
จากการตรวจสภาพด้านสุขลักษณะของสถานที่ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ ระบบกาจัดหรือบาบัด
ของเสียและอื่นๆ ของสถนที่ประกอบกิจการดังกล่าวแล้วพบว่า
ครบถ้วนถูกต้องตามที่กาหนดไว้ในข้อกาหนดของท้องถิ่น
ไม่ครบ ดังนี้
1. ....................................................................................................................................
2. ....................................................................................................................................
3. ....................................................................................................................................
ฉะนั้น จึงมีความเห็นว่า สมควรอนุญาต
สมควรอนุญาตโดยมีเงื่อนไข ดังนี้
1. ............................................................................................
2. ............................................................................................
3. ............................................................................................
4. ............................................................................................
ไม่สมควรอนุญาต
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา

(ลงชื่อ)………………………………………………….
(....................................................)
ตาแหน่ง.......................................................
เจ้าพนักงานสาธารณสุข/ผู้ได้รับแต่งตั้งจากเจ้าพนักงานท้องถิ่น
ที.่ .................................. สานักงาน...............................................
……………………………………………………….

วันที่............... เดือน................................. พ.ศ. ...............


เรื่อง แจ้งขยายเวลาการพิจารณาอนุญาตประกอบกิจการ.....................................................................................
เรียน .................................................................................
อ้างถึง ใบรับคาขออนุญาต เลขที่........................ ลงวันที่...........เดือน..................พ.ศ. .................
สิ่งที่ส่งมาด้วย 1............................................................................................................................
2............................................................................................................................
ตามที่ท่านได้ยื่นคาขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการ.......................................................................
และราชการส่วนท้องถิ่นได้ออกใบรับคาขออนุญาตไว้ตามที่อ้างถึง นั้น
เนื่องจากมีเหตุจาเป็นที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นไม่สามารถออกใบอนุญาตหรือยังไม่สามารถมีคาสั่งไม่
อนุญาตได้ภายในเวลา 30 วันนับแต่วันที่ได้รับคาขอดังกล่าว ดังนี้
1.....................................................................................................................................................
2.....................................................................................................................................................
3.....................................................................................................................................................
ดังนั้น จึงขอแจ้งขยายเวลาการพิจารณาอนุญาตออกไปเป็นเวลา 15 วัน นับแต่วันที่ .................
และต้องขออภัย มา ณ โอกาสนี้ด้วย
ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ)……………………………………………………..
(........................................................)
ตาแหน่ง...........................................................
เจ้าพนักงานท้องถิ่น
ที.่ .................................. สานักงาน...............................................
……………………………………………………….

วันที่............... เดือน................................. พ.ศ. ...............


เรื่อง แจ้งการอนุญาตประกอบกิจการ....................................................................................................................
เรียน .................................................................................
อ้างถึง ใบรับคาขออนุญาต เลขที่........................ ลงวันที่...........เดือน..................พ.ศ. .................
ตามที่ท่านได้ยื่นคาขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการ............................................................................
และราชการส่วนท้องถิ่นได้ออกใบรับคาขออนุญาตไว้ตามที่อ้างถึง นั้น
บัดนี้ เจ้าพนักงานท้องถิ่นได้พิจารณาออกใบอนุญาตให้แก่ท่านเรียบร้อยแล้ว จึงขอให้ท่านมาติดต่อ
ขอรับใบอนุญาต ณ สานักงาน................................................................ ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันได้รับหนังสือนี้
ทังนี้ หากท่านไม่สามารถมารับใบอนุญาตภายในระยะเวลาดังกล่าว กรุณาแจ้งให้เจ้าพนักงานท้องถิ่น
ทราบด้วย
ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ)……………………………………………………..
(........................................................)
ตาแหน่ง...........................................................
เจ้าพนักงานท้องถิ่น

..................................................................
.................................................................
ใบอนุญาต
ประกอบกิจการ...............................................................
เล่มที่................. เลขที่ ..................... / ........................
(1) เจ้าพนักงานท้องถิ่นอนุญาตให้..........................................................สัญชาติ...........................
อยู่บ้านเลขที่ .............หมู่ที่..............ตาบล.........................อาเภอ................................จังหวัด...................................
หมายเลขโทรศัพท์........................................................................
ชื่อสถานประกอบกิจการ........................................................................ประเภท............................
ตั้งอยู่เลขที่..................หมู่ที่..............ตาบล.........................อาเภอ................................จังหวัด...................................
หมายเลขโทรศัพท์........................................................................
อัตราค่าธรรมเนียมปีละ......................บาท (...................................................) ตามใบเสร็จรับเงิน
เล่มที่.............. เลขที่......................ลงวันที่...................................
(2) ผู้รับใบอนุญาตต้องปฏิบัติให้ถูกต้อง ครบถ้วน ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนด
ในข้อกาหนดของท้องถิ่น
(3) หากปรากฏในภายหลังว่าการประกอบกิจการที่ได้รับอนุญาตนี้เป็นการขัดต่อกฎหมายอื่นที่
เกี่ยวข้องโดยมิอาจแก้ไขได้ เจ้าพนักงานท้องถิ่นอาจพิจารณาให้เพิกถอนการอนุญาตนี้ได้
(4) ผู้รับใบอนุญาตต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขเฉพาะดังต่อไปนี้อีกด้วย คือ
4.1) .................................................................................................................................
4.2) .................................................................................................................................
(5) ใบอนุญาตฉบับนี้ออกให้เมื่อวันที่.....................เดือน.................................. พ.ศ. .....................
(6) ใบอนุญาตฉบับนี้สิ้นอายุวันที่...........................เดือน.................................. พ.ศ. ....................

(ลงชื่อ)………………………………………………………..
(.........................................................)
ตาแหน่ง..............................................................
เจ้าพนักงานท้องถิ่น

คาเตือน (1) ผู้รับใบอนุญาตต้องแสดงใบอนุญาตนี้ไว้โดยเปิดเผยและเห็นได้ง่าย ณ สถานที่ประกอบ


กิจการตลอดเวลาที่ประกอบกิจการ หากฝุาฝืนมีโทษปรับไม่เกินห้าร้อยบาท
(2) หากประสงค์จะประกอบกิจการในปีต่อไปต้องยื่นคาขอต่ออายุใบอนุญาต ก่อนวันที่
ใบอนุญาตสิ้นอายุ

(มีต่อด้านหลัง)
รายการต่ออายุใบอนุญาตและเสียค่าธรรมเนียม
วัน/เดือน/ปี วัน/เดือน/ปี ใบเสร็จรับเงิน (ลงชื่อ)
ที่ออกใบอนุญาต ที่สิ้นอายุใบอนุญาต เล่มที่ เลขที่ วัน/เดือน/ปี เจ้าพนักงานท้องถิ่น
ที.่ .................................. สานักงาน...............................................
……………………………………………………….

วันที่............... เดือน................................. พ.ศ. ...............


เรื่อง คาสั่งไม่อนุญาตให้ประกอบกิจการ
เรียน .................................................................................
อ้างถึง (1) ใบรับคาขออนุญาต/ต่ออายุใบอนุญาต เลขที่.........................ลงวันที่.........เดือน...............พ.ศ. ............
2) หนังสือแจ้งคาแนะนาให้แก้ไขปรับปรุงสภาพของสถานที่ประกอบกิจการ ที่................. ลว....................
ตามที่ท่านได้ยื่นคาขอรับใบอนุญาต/ต่ออายุใบอนุญาตประกอบกิจการ.......................................................
และเจ้าพนักงานได้มีหนังสือแจ้งคาแนะนาให้ท่านแก้ไขปรับปรุงสภาพของสถานที่ประกอบกิจการให้ถูกต้อง
ครบถ้วน ตามที่กาหนดไว้ในข้อกาหนดของท้องถิ่นภายในเวลาที่กาหนด ตามที่อ้างถึงนั้น
จากการตรวจสอบปรากฏว่าท่านไม่สามารถแก้ไขปรับปรุงสภาพของสถานที่ประกอบกิจการให้
ถูกต้องครบถ้วน ตามที่กาหนดไว้ในข้อกาหนดของท้องถิ่น ดังนี้
1...........................................................................
2...........................................................................
3...........................................................................
ดังนั้น อาศัยอานาจตามมาตรา 56 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 เจ้า
พนักงานท้องถิ่นจึงมีคาสั่งไม่ออกใบอนุญาตให้ท่านประกอบกิจการตามที่ได้ยื่นคาขอไว้
อนึ่ง หากท่านไม่พอใจคาสั่งนี้ ท่านมีสิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขได้ภายใน
สามสิบวันนับแต่วันทราบคาสั่งนี้
ทั้งนี้ การอุทธรณ์ไม่เป็นเหตุการณ์ทุเลาการบังคับตามคาสั่ง เว้นแต่รัฐมนตรีจะเห็นสมควรให้มีการ
ทุเลา การบังคับตามคาสั่งนั้นไว้ชั่วคราว
ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ)………………………………………………..
(.................................................)
ตาแหน่ง.....................................................
เจ้าพนักงานท้องถิ่น

……………………………………………..
……………………………………………..

You might also like