B-NET ตอนต้น ปีการศึกษา 2565

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

เนื้อหาและจํานวนขอของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดานพระพุทธศาสนา (B-NET)

วิชาภาษาบาลี ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ปการศึกษา 2565 (สอบ พ.ศ. 2566)

เนื้อหา จํานวนขอสอบ

มัธยมศึกษาปที่ 1 17
1) ความหมายของบาลีไวยากรณ 1
2) จําแนกประเภทของนามศัพท 2
3) บอก และจําแนกเพศเครื่องหมายรูปแบบของนามศัพทคําพูดที่เปลงออกมาในภาษาบาลี 2
4) อาน การเขียน แจกจําแนกวิภัตตินามและคําเชื่อมอายตนิบาต 1
5) อาน การเขียน วิเคราะห การผสมวิภัตติ และแปลสังขยา การนับนามนามใหรูจํานวนของนามนาม 2
6) อธิบาย และจําแนกอัพยยศัพทที่แจกผสมวิภัตตินามไมได 2
7) บอกอักขรวิธีในภาษาบาลี และสามารถนําไปใชไดถูกตองตามหลักไวยากรณ 2
8) อธิบายฐานที่ตั้งที่เกิด และกรณอวัยวะสําหรับเสียง 1
9) จําแนกเสียงอักขระในภาษาบาลีและสามารถออกเสียงอักขระ 2
10) อธิบายการเขียนพยัญชนะสังโยค 2
มัธยมศึกษาปที่ 2 17
1) อธิบาย แปล เขียนวาจก อันเปนตัวประธานของกิริยาในแตละวาจก 4
2) วิเคราะหปจจัยของวาจากถูกตองตามหลักบาลีไวยากรณ 4
3) อธิบาย แปลหลักการแปลเรื่องกิริยาในระหวาง บทขยายกิริยาในระหวาง กิริยาคุมพากย บทขยายกิริยาคุมพากย 3
4) อธิบาย แปลตามโครงสรางของประโยควาจกทั้ง 5 วาจก 3
5) อธิบาย การแปลประโยคแทรก ประโยคอนาทรและลักขณะ ประโยคเลขนอก เลขใน 3
มัธยมศึกษาปที่ 3 16
1) อธิบายการยอบทสมาสและจําแนกประเภทของสมาสทั้งโดยยอและพิสดาร 1
2) อธิบายกัมมธารยสมาส ทิคุสมาส ตัปปุริสสมาส ทวันทวสมาส อัพยยีภาวสมาส พหุพพิหิสมาส 5
3) วิเคราะห และแปลศัพทกัมมธารยสมาส ทิคุสมาส ตัปปุริสสมาส ทวันทวสมาส อัพยยีภาวสมาส พหุพพิหิสมาส 3
4) อธิบายการยอบทตัทธิตและจําแนกประเภทของตัทธิตทั้งโดยยอและพิสดาร 2
5) อธิบายปจจัย สามัญญตัทธิติ ภาวตัทธิต และอัพยยตัทธิต 3
6) วิเคราะห และแปลศัพทสามัญญตัทธิต ภาวตัทธิต และอัพยยตัทธิต 2
รวมจํานวนขอ 50
เนื้อหาและจํานวนขอของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดานพระพุทธศาสนา (B-NET)
วิชาธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ปการศึกษา 2565 (สอบ พ.ศ. 2566)

เนื้อหา จํานวนขอสอบ

นักธรรมชั้นตรี: ธรรม 30
1) ทุกะ: หมวด 2 4
2) ติกะ: หมวด 3 5
3) จตุกกะ: หมวด 4 5
4) ปญจกะ: หมวด 5 3
5) ฉักกะ: หมวด 6 3
6) สัตตกะ: หมวด 7 2
7) อัฏฐกะ: หมวด 8 1
8) นวกะ: หมวด 9 1
9) ทสกะ: หมวด 10 1
10) คิหิปฏิบัติ 5
นักธรรมชั้นโท: ธรรม 15
1) ทุกะ: หมวด 2 3
2) ติกะ: หมวด 3 3
3) จตุกกะ: หมวด 4 2
4) ปญจกะ: หมวด 5 2
5) ฉักกะ: หมวด 6 1
6) สัตตกะ: หมวด 7 1
7) อัฏฐกะ: หมวด 8 1
8) นวกะ: หมวด 9 1
9) ทสกะ: หมวด 10 1
นักธรรมชั้นเอก: ธรรม 5
1) วิปสสนากัมมัฏฐาน 3
2) วิปลลาสกถา 1
3) มหาสติปฏฐานสูตร 1
รวมจํานวนขอ 50
เนื้อหาและจํานวนขอของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดานพระพุทธศาสนา (B-NET)
วิชาพุทธประวัติ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ปการศึกษา 2565 (สอบ พ.ศ. 2566)

เนื้อหา จํานวนขอสอบ

นักธรรมชั้นตรี: พุทธประวัติ 30
1) ชมพูทวีปและประชาชน: หมวด 1 2
2) สักกชนบทและศากยวงศ: หมวด 2 1
3) พระศาสดาประสูต:ิ หมวด 3 2
4) ตรัสรู 1
5) ปฐมเทศนาและปฐมสาวก: หมวด 6 1
6) สงพระสาวกไปประกาศพระศาสนา: หมวด 7 2
7) เสด็จกรุงราชคฤห แควนมคธ: หมวด 8 1
8) ทรงบําเพ็ญพุทธกิจในมคธชนบท: หมวด 9 2
9) เสด็จสักกชนบท: หมวด 10 2
10) เสด็จโกศลชนบท: หมวด 11 1
11) ทรงปลงอายุสังขาร: หมวด 12 3
12) ถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ: หมวด 13 2
13) กุศลพิธี: หมวด 1 2
14) บุญพิธี: หมวด 2 2
15) ทานพิธี: หมวด 3 4
16) ปกิณณกพิธี: หมวด 4 2
นักธรรมชั้นโท: อนุพุทธประวัติ 14
1) ประโยชนของการศึกษาอนุพุทธประวัติ 1
2) รายนามพระมหาสาวกที่ไดรับตําแหนงเอตทัคคะจํานวน 41 องค 4
3) กุศลพิธี: หมวด 1 3
4) บุญพิธี: หมวด 2 2
5) ทานพิธี: หมวด 3 4
นักธรรมชั้นเอก: พุทธประวัติ 6
1) ปริจเฉทที่ 1 วาดวยชมพูทวีป 1
2) ปริจเฉทที่ 3 วาดวยการเสวยวิมุตติสุข 1
3) ปริจเฉทที่ 7 วาดวยพระมหากัสสปะและพระมหากัจจายนะ 1
4) ปริจเฉทที่ 9 วาดวยการประทานญัตติจตุตถกรรมวาจาอุปสัมปทา 2
5) ปริจเฉทที่ 10 วาดวยการเสด็จกรุงกบิลพัสดุ 1
รวมจํานวนขอ 50
เนื้อหาและจํานวนขอของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดานพระพุทธศาสนา (B-NET)
วิชาวินัย ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ปการศึกษา 2565 (สอบ พ.ศ. 2566)

เนื้อหา จํานวนขอสอบ

นักธรรมชั้นตรี: วินัย 30
1) กัณฑที่ 1 อุปสัมปทา 4
2) กัณฑที่ 2 พระวินัย 4
3) กัณฑที่ 3 สิกขาบท 4
4) กัณฑที่ 4 ปาราชิก 4 2
5) กัณฑที่ 5 สังฆาทิเสส 13 2
6) กัณฑที่ 6 นิสสัคคิยปาจิตตีย 30 2
7) กัณฑที่ 7 ปาจิตตีย 92 3
8) กัณฑที่ 8 ปาฏิเทสนียะ 4 และ เสขิยวัตร 75 3
9) กัณฑที่ 9 อธิกรณสมถะ 7 3
10) กัณฑที่ 10 มาตรา 3
นักธรรมชั้นโท: วินัย 20
1) กัณฑที่ 11 กายบริหาร 3
2) กัณฑที่ 12 บริขารบริโภค 3
3) กัณฑที่ 13 นิสสัย 3
4) กัณฑที่ 14 วัตร 3
5) กัณฑที่ 15 คารวะ 2
6) กัณฑที่ 16 จําพรรษา 2
7) กัณฑที่ 17 อุโบสถ ปวารณา 2
8) กัณฑที่ 18 อุปปถกิริยา 2
รวมจํานวนขอ 50

You might also like