สรุปข่าวการประชุมคณะรัฐมนตรี 3 ม.ค. 2566

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 28

1

http://www.thaigov.go.th
(โปรดตรวจสอบมติคณะรัฐมนตรีที่เปEนทางการจากสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีอีกครั้ง)
วันนี้ (3 มกราคม 2566) เวลา 09.00 น. พลเอก ประยุทธX จันทรXโอชา นายกรัฐมนตรี
เปEนประธานการประชุมคณะรัฐมนตรี ณ ตึกสันติไมตรี (หลังนอก) ทำเนียบรัฐบาล ซึ่งสรุปสาระสำคัญดังนี้

กฎหมาย

1. เรื่อง รaางกฎกระทรวงยกเวcนคaาธรรมเนียมในแทนหนังสือสำคัญแสดงการขึ้นทะเบียน
ประกันสังคมและใบแทนบัตรประกันสังคม พ.ศ. ....
2. เรื่อง รaางกฎกระทรวงการตaออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยา พ.ศ. ....

เศรษฐกิจ-สังคม
3. เรื่อง รายงานการประเมินผลโครงการหรือแผนงานภายใตcพระราชกำหนดใหcอำนาจ
กระทรวงการคลังกูcเงินเพื่อแกcไขปjญหา เยียวยา และฟlmนฟูเศรษฐกิจและสังคม
ที่ไดcรับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563
รอบ 6 เดือน ครั้งที่ 2
4. เรื่อง สรุปภาพรวมดัชนีเศรษฐกิจการคcาประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
5. เรื่อง (รaาง) แผนพัฒนาการทaองเที่ยวแหaงชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 - 2570)
6. เรื่อง การดำเนินโครงการเพื่อมอบเปEนของขวัญปuใหมa พ.ศ. 2566 ใหcแกaประชาชน
7. เรื่อง ความกcาวหนcาของยุทธศาสตรXชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ ณ เดือน
พฤศจิกายน 2565
8. เรื่อง รายงานความคืบหนcาในการดำเนินการตามแผนปฏิรูปประเทศตามมาตรา 270
ของรัฐธรรมนูญฯ ครั้งที่ 17 (เดือนกรกฎาคม - กันยายน 2565)
9. เรื่อง (รaาง) แผนพัฒนาการกีฬาแหaงชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 – 2570)
10. เรื่อง แผนเฉพาะกิจเพื่อการแกcไขปjญหามลพิษดcานฝุ|นละออง ปu 2566
ต5างประเทศ
11. เรื่อง การรับรองแผนปฏิบัติการดcานการศึกษาอาเซียน – สหพันธรัฐรัสเซีย
พ.ศ. 2565 – 2569 (ASEAN – Russian Federation Plan of Action on
Education 2022 - 2026)

แต5งตั้ง
12. เรื่อง การแตaงตั้งขcาราชการพลเรือนสามัญใหcดำรงตำแหนaงประเภทวิชาการระดับ
ทรงคุณวุฒิ (สำนักนายกรัฐมนตรี)
13. เรื่อง การแตaงตั้งขcาราชการใหcดำรงตำแหนaงประเภบบริหาร ระดับสูง ในกระทรวงการ
ทaองเที่ยวและกีฬา
14. เรื่อง การแตaงตั้งขcาราชการพลเรือนสามัญใหcดำรงตำแหนaงประเภทบริหารระดับสูง
(กระทรวงสาธารณสุข)

***************************
2

กฎหมาย

1. เรื่อง ร5างกฎกระทรวงยกเวAนค5าธรรมเนียมในแทนหนังสือสำคัญแสดงการขึ้นทะเบียนประกันสังคมและ
ใบแทนบัตรประกันสังคม พ.ศ. ....
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรaางกฎกระทรวงยกเวcนคaาธรรมเนียมใบแทนหนังสือสำคัญแสดงการขึ้น
ทะเบี ยนประกั นสั ง คม และใบแทนบั ตรประกั นสั ง คม พ.ศ. .... ที ่ กระทรวงแรงงาน (รง.) เสนอ ซึ ่ ง สำนั กงาน
คณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแลcว และใหcดำเนินการตaอไปไดc และใหcกระทรวงแรงงานรับความเห็นของ
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไปพิจารณาดำเนินการตaอไปดcวย
ทั้งนี้ รง. เสนอวaา
1. ไดc ม ี ก ฎกระทรวง ฉบั บ ที ่ 1 (พ.ศ. 2534) ออกตามความในพระราชบั ญ ญั ต ิ ป ระกั น สั ง คม
พ.ศ. 2533 ซึ่งมีผลใชcบังคับเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธX 2534 ไดcกำหนดคaาธรรมเนียมใบแทนหนังสือสำคัญแสดง
การขึ้นทะเบียนประกันสังคม ฉบับละ 50 บาท และใบแทนบัตรประกันสังคมฉบับละ 10 บาท โดยลูกจcางซึ่งเปEน
ผูcประกันตนเมื่อไดcรับการขึ้นทะเบียน สำนักงานประกันสังคมจะออกหนังสือสำคัญแสดงการขึ้นทะเบียนประกันสังคม
และบัตรประกันสังคม กรณีหนังสือสำคัญแสดงการขึ้นทะเบียนประกันสังคมและบัตรประกันสังคมสูญหาย ถูกทำลาย
หรือชำรุด หากจะขอรับใบแทนจะตcองเสียคaาธรรมเนียมตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวงนี้
2. สำนั ก งานประกั น สั ง คมมี ต c น ทุ น ในการออกใบแทนหนั ง สื อ สำคั ญ แสดงการขึ ้ น ทะเบี ย น
ประกันสังคมประมาณการจากปu 2564 จำนวน 87,165.27 บาท มีรายไดcจากการจัดเก็บคaาธรรมเนียม จำนวน
52,000 บาท ทำใหcมีรายไดcต่ำกวaาคaาใชcจaาย จำนวน 35,165.27 บาท สaวนการออกใบแทนบัตรประกันสังคมประมาณ
การจากปu 2564 มีตcนทุน จำนวน 78,097.08 บาท มีรายไดcจากการจัดเก็บคaาธรรมเนียม จำนวน 125,920 บาท
มีรายไดcสูงกวaาคaาใชcจaาย จำนวน 47,822.92 บาท รายไดcจากการจัดเก็บคaาธรรมเนียมในการออกใบแทนบัตร
ประกันสังคม แมcสูงกวaาตcนทุนในการดำเนินการ แตaรายไดcที่จัดเก็บไดcไมaเกิน 500,000 บาท รง. พิจารณาเห็นวา
คaาธรรมเนียมใบแทนหนังสือสำคัญแสดงการขึ้นทะเบียนประกันสังคม และใบแทนบัตรประกันสังคมซึ่งจัดเก็บไดcนั้น
ไมaคุcมคaาตaอการดำเนินงานของภาครัฐ เนื่องจากมีอัตราในการจัดเก็บต่ำ เห็นควรยกเวcนคaาธรรมเนียมใบแทนหนังสือ
สำคัญแสดงการขึ้นทะเบียนประกันสังคม และใบแทนบัตรประกันสังคม เพื่อใหcสอดคลcองกับมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่
2 มกราคม 2563 กลaาวคือ ในกรณีคaาธรรมเนียมใบคำขอและใบแทน หากรายไดcจากการจัดเก็บคaาธรรมเนียมต่ำกวaา
ตcนทุนของภาครัฐในการดำเนินการจัดเก็บคaาธรรมเนียมดังกลaาวแลcว ใหcหนaวยงานพิจารณายกเลิกคaาธรรมเนียม
ดังกลaาว หรืออัตราคaาธรรมเนียมใบอนุญาตที่มีคaาธรรมเนียมต่ำกวaา 100 บาท รายไดcจัดเก็บไมaเกิน 500,000 บาท
ตa อ ใบอนุ ญ าต รง. จึ ง ไดc ย กรa า งกฎกระทรวงยกเวc น คa า ธรรมเนี ย มในแทนหนั ง สื อ สำคั ญ แสดงการขึ ้ น ทะเบี ย น
ประกันสังคมและใบแทนบัตรประกันสังคม พ.ศ. .... เพื่อยกเวcนคaาธรรมเนียมใบแทนหนังสือสำคัญแสดงการขึ้น
ทะเบียนประกันสังคม และคaาธรรมเนียมใบแทนบัตรประกันสังคมดังกลaาว
3. การยกเวcนคaาธรรมเนียมใบแทนหนังสือสำคัญแสดงการขึ้นทะเบียนประกันสังคมและใบแทนบัตร
ประกันสังคมตามรaางกฎกระทรวงฉบับนี้ ไดcดำเนินการตามมาตรา 27 แหaงพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ
พ.ศ. 2561 แลc ว โดยคาดวa า จะทำรั ฐ สู ญ เสี ย รายไดc จ ากการจั ด เก็ บ คa า ธรรมเนี ย มการยกเวc น คa า ธรรมเนี ย ม
ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2534) ออกตามความในพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 ประมาณ
177,920 บาท ตaอปu
สาระสำคัญของร5างกฎกระทรวง
เปEนการยกเวcนคaาธรรมเนียมใบแทนหนังสือสำคัญแสดงการขึ้นทะเบียนประกันสังคม ฉบับละ
50 บาท และคaาธรรมเนียมใบแทนบัตรประกันสังคม ฉบับละ 10 บาท ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2534)
ออกตามความในพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 โดยใหcยกเวcนคaาธรรมเนียมดังกลaาวเปEนระยะเวลา 2 ปu
ตั้งแตaวันที่ 1 มกราคม 2566 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2567

2. เรื่อง ร5างกฎกระทรวงการต5ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยา พ.ศ. ....


คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรaางกฎกระทรวงการตaออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยา
พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) เสนอ และใหcสaงสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา โดยใหcรับ
3

ความเห็นของสำนักงาน ก.พ.ร. ไปประกอบการพิจารณาดcวย แลcวดำเนินการตaอไปไดc และใหcกระทรวงสาธารณสุข


รับความเห็นของกระทรวงเกษตรและสหกรณXและสำนักงาน ก.พ.ร. ไปพิจารณาดำเนินการตaอไปดcวย
ทั้งนี้ สธ. เสนอวaา
1. เดิมใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยาจะมีอายุตราบเทaาที่เจcาของผลิตภัณฑXยังคงเปEนผูcรับอนุญาต
ผลิตหรือผูcรับอนุญาตนำหรือสั่งยาเขcามาในราชอาณาจักร ตaอมาพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ซึ่งแกcไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบั ญญั ติ ยา (ฉบั บที ่ 6) พ.ศ. 2562 มาตรา 86/2 บั ญญั ติ ใหc ใบสำคั ญการขึ ้ นทะเบี ยนตำรั บยาสิ ้ นอายุ
เมื่อครบ 7 ปu นับแตaวันที่ออกใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยาและใหcการขอตaออายุและการอนุญาตใหcตaออายุ
ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยาใหcเปEนไปตามหลักเกณฑX วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง โดยจะ
กำหนดใหcมีการทบทวนทะเบียนตำรับยาไวcดcวยก็ไดc
2. เพื่อใหcการตaออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยาซึ่งเปEนมาตรการที่ควบคุมและกำกับดูแลยา
ของหนaวยงานของรัฐใหcมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความปลอดภัย ซึ่งเปEนหลักการสำคัญในการรับขึ้นทะเบียน
ตำรับยา ประกอบกับใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยาที่ขึ้นทะเบียนไวcกaอนวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2540 จะสิ้นอายุใน
วันที่ 13 ตุลาคม 2567 (ครบ 5 ปu) สธ. จึงมีความจำเปEนที่จะตcองเสนอรaางกฎกระทรวงการตaออายุใบสำคัญการขึ้น
ทะเบียนตำรับยา พ.ศ. .... เพื่อกำหนดหลักเกณฑX วิธีการ และเงื่อนไขการขอตaออายุและการอนุญาตใหcตaออายุ
ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยา โดยกำหนดใหcยื่นคำขอตaออายุภายใน 1 ปu กaอนวันที่ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับ
ยาสิ้นอายุ และกำหนดใหcรaางกฎกระทรวงฉบับนี้มีผลใชcบังคับเมื่อพcน 180 วัน นับแตaวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ซึ่งในคราวประชุมคณะกรรมการยา ครั้งที่ 409-3/2565 เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2565 ที่ประชุมไดcมีมติเห็นชอบ
รaางกฎกระทรวงดังกลaาวแลcว
3. สธ. ไดcจัดใหcมีการรับฟjงความคิดเห็นเกี่ยวกับรaางกฎกระทรวงดังกลaาว โดยไดcจัดประชุมและ
รับฟjงความคิดเห็นผaานทางเว็บไซตXของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และเว็บไซตXของกองยา และไดcจัดทำ
สรุปผลการรับฟjงความคิดเห็นและรายงานการวิเคราะหXผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย รวมถึงเป’ดเผยเอกสาร
ดังกลaาวผaานทางเว็บไซตXดังกลaาวตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑXการจัดทำรaางกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์
ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 และกฎกระทรวงกำหนดรaางกฎที่ตcองจัดใหcมีการรับฟjงความคิดเห็นและวิเคราะหXผลกระทบ
พ.ศ. 2565 ดcวยแลcว
สาระสำคัญของร5างกฎกระทรวง
กำหนดหลั ก เกณฑX วิ ธ ี ก าร และเงื ่ อ นไขการขอตa อ อายุ แ ละการอนุ ญ าตใหc ต a อ อายุ ใ บสำคั ญ
การขึ้นทะเบียนตำรับยา สรุปไดc ดังนี้
1. กำหนดใหcผูcรับใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยายื่นคำขอตaออายุภายใน 1 ปu กaอนวันที่ใบสำคัญ
การขึ ้ น ทะเบี ย นตำรั บ ยาสิ ้ น อายุ พรc อ มดc ว ยเอกสารหรื อ หลั ก ฐานตามที ่ ร ะบุ ไ วc ใ นแนบคำขอตa อ อายุ ใ บสำคั ญ
การขึ้นทะเบียนตำรับยา
2. กำหนดขั้นตอนการพิจารณาอนุญาตใหcตaออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยา ดังนี้
(1) เมื่อผูcอนุญาตไดcรับคำขอและเอกสารหลักฐานแลcว ผูcอนุญาตจะออกใบรับคำขอ และ
ตรวจสอบความถูกตcองครบถcวนของคำขอ หากไมaถูกตcองหรือไมaครบถcวน ใหcผูcอนุญาตบันทึกความบกพรaองไวcและแจcง
ใหcผูcรับใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยาแกcไขเพิ่มเติมคำขอหรือจัดสaงขcอมูลหรือเอกสารหลักฐานใหcถูกตcองและ
ครบถcวน ทั้งนี้ หากผูcรับอนุญาตไมaดำเนินการจะถือวaาไมaประสงคXจะตaออายุและใหcจำหนaายเรื่องออกจากสารบบ
(2) เมื่อผูcรับใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยาชำระคaาใชcจaายในกระบวนการพิจารณา
อนุญาตยาและชำระคaาธรรมเนียมแลcว ใหcผูcอนุญาตพิจารณาคำขอภายใน 120 วันนับแตaวันที่ไดcชำระคaาใชcจaายและ
คaาธรรมเนียม ทั้งนี้ หากไมaชำระคaาใชcจaายและคaาธรรมเนียม ถือวaาไมaประสงคXจะตaออายุใหcจำหนaายเรื่องออกสารบบ
(3) กรณีทะเบียนตำรับยาเปEนไปตามเงื่อนไขการอนุญาตใหcตaออายุ ผูcอนุญาตจะมีหนังสือ
แจcงคำสั่งอนุญาตใหcตaออายุ และออกใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยาที่มีเลขทะเบียนเดิมและกำหนดวันสิ้นอายุของ
ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยาใหcเปEนไปตามมาตรา 86/2 (7 ปu)
(4) กรณี ที ่ คณะกรรมการเห็ นวa าไมa อนุ ญาตใหc ตa ออายุ ใบสำคั ญการขึ ้ นทะเบี ยนตำรั บ
ยาตามที่ผูcอนุญาตเสนอ ใหcผูcอนุญาตมีคำสั่งไมaอนุญาตใหcตaออายุใบสำคัญฯ และใหcคำสั่งดังกลaาวเปEนที่สุด และใหcมี
หนังสือแจcงคำสั่งดังกลaาวใหcผูcรับใบสำคัญฯ ทราบพรcอมดcวยเหตุผล
4

(5) การแจcงคำสั่งอนุญาตหรือไมaอนุญาตใหcดำเนินการภายใน 7 วัน นับแตaวันที่มีคำสั่ง และ


การแจcงคำสั่งดังกลaาวจะดำเนินการผaานระบบอิเล็กทรอนิกสXพรcอมการออกหนังสือดcวยก็ไดc
3. กำหนดเงื่อนไขการอนุญาตใหcตaออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยา ดังนี้
(1) เอกสารการขึ้นทะเบียนตำรับยาดcานประสิทธิภาพและความปลอดภัยตcองมีความ
ถูกตcองเปEนปjจจุบันตามหลักวิชาการ และเปEนไปตามหลักเกณฑXและเงื่อนไขที่เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและ
ยากำหนด
(2) ขcอกำหนดมาตรฐานและวิธีวิเคราะหXในทะเบียนตำรับยาเปEนไปตามตำรายาที่รัฐมนตรี
ประกาศหรือฉบับที่ใหมaกวaา หรือเปEนไปตามขcอกำหนดมาตรฐาน และวิธีวิเคราะหXของผูcผลิตยาที่มีขcอมูลสนับสนุนวaา
เทียบเทaากัน แลcวแตaกรณี
4. กำหนดใหcแบบคำขอตaออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยา เปEนไปตามที่รัฐมนตรีกำหนด และ
กำหนดใหcการยื่นคำขอตามกฎกระทรวงนี้ดำเนินการดcวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสXเปEนหลัก ในระหวaางที่ยังไมaสามารถ
ดำเนินการทางอิเล็กทรอนิกสXไดc ใหcยื่นคำขอ ณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาหรือสถานที่อื่น ตามที่
เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยากำหนด
เศรษฐกิจ-สังคม
3. เรื่อง รายงานการประเมินผลโครงการหรือแผนงานภายใตAพระราชกำหนดใหAอำนาจกระทรวงการคลังกูAเงิน
เพื่อแกAไขปWญหา เยียวยา และฟYZนฟู เศรษฐกิจและสังคม ที่ไดAรับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 รอบ 6 เดือน ครั้งที่ 2
คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ รายงานการประเมินผลโครงการหรือ
แผนงานภายใตcพระราชกำหนดใหcอำนาจ กค. กูcเงินเพื่อแกcไขปjญหา เยียวยา และฟlmนฟูเศรษฐกิจและสังคม ที่ไดcรับ
ผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 รอบ 6 เดือน ครั้งที่ 2 [เปEนการดำเนินการ
ตามระเบียบ กค. วaาดcวยการประเมินผลการใชcจaายเงินกูcเพื่อแกcไขปjญหา เยียวยา และฟlmนฟูเศรษฐกิจและสังคมที่
ไดcรับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2564 ขcอ 5 (3) ที่กำหนดใหcคณะกรรมการ
ประเมิ น ผลการใชc จ a า ยเงิ น กู c ต ามพระราชกำหนด (คปก.) ประเมิ น ผลโครงการและจั ด ทำรายงานเสนอ
ตaอรัฐมนตรีวaาการกระทรวงการคลังเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีทราบทุกหกเดือน] สรุปสาระสำคัญไดc ดังนี้
1. สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะไดcวaาจcาง บริษัท ทริส คอรXปอเรชัน จำกัด และมูลนิธิสถาบันวิจัย
นโยบายเศรษฐกิจการคลังเปEนที่ปรึกษาภายใตcโครงการจcางที่ปรึกษาเพื่อติดตามประเมินผลโครงการหรือแผนงาน
ภายใตc พระราชกำหนดฯ และไดc รa วมกั นจั ดทำรายงานการประเมิ น ผลฯ ซึ ่ ง คปก. ไดc เห็ นชอบแลc วเมื ่ อวั นที่
26 กันยายน 2565 โดยมีโครงการทั้งสิ้น 1,108 โครงการ 3 แผนงาน ประกอบดcวย (1) เพื่อแกAไขปWญหาการแพรa
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) (2) เพื่อช5วยเหลือ เยียวยา และชดเชยใหcแกaภาคประชาชน
เกษตรกร และผูcประกอบการ ซึ่งไดcรับผลกระทบจากโควิด-19 และ (3) เพื่อฟYZนฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ไดcรับ
ผลกระทบจากโควิด-19 ทั้งนี้ การประเมินผลจะสุaมตัวอยaางโครงการ/แผนงาน จำนวน 400 โครงการ โดยพิจารณา
คัดเลือกโครงการที่ดำเนินการแลcวเสร็จ จำนวน 100 โครงการ กรอบวงเงินที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติ รวม 898,092.12
ลcานบาท
2. คปก. ไดc จั ดทำรายงานการประเมิ นผลฯ ระหวa างเดื อนกรกฎาคม-ธั นวาคม 2565 จำนวน
100 โครงการ ซึ่งมีกรอบวงเงินรวม 898,092.12 ลcานบาท ผลการเบิกจ5ายรวม 877,766.71 ลAานบาท คิดเปcน
รAอยละ 97.73 ของกรอบวงเงิน โดยทั้ง 100 โครงการ มีผลการดำเนินงานอยู5ในระดับดีมาก และสามารถสรcาง
มูลคaาผลกระทบตaอเศรษฐกิจ จำนวน 2,916,074.47 ลcานบาท มีรายไดcกลับคืนภาครัฐจากการเก็บภาษี จำนวน
562,869.84 ลcานบาท รวมถึงเกิดความคุcมคaา 3.55 เทaา โดยมีผลการประเมินระดับแผนงาน สรุปสาระสำคัญไดc ดังนี้
2.1 แผนงานที่ 1 แผนงาน/โครงการที่มีวัตถุประสงคfทางการแพทยfและสาธารณสุข
เพื่อแกAไขปWญหาโควิด-19
2.1.1 การประเมินผลโครงการ จำนวน 26 โครงการ กรอบวงเงินรวม 55,086.52
ลcานบาท มีผลเบิกจaายรวม 51,046.76 ลcานบาท คิดเปEนรcอยละ 92.66 ของกรอบวงเงิน มีผลการดำเนินงานอยู5ใน
ระดับดีมาก และผลการประเมินตามหลักเกณฑfการประเมินทั้ง 5 ดcาน ประกอบดcวย ความสอดคลcองและความ
เชื่อมโยง ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ผลกระทบ และความยั่งยืน อยู5ในระดับดี
5

2.1.2 ผลกระทบต5อเศรษฐกิจและสังคม เชaน โครงการคaาตอบแทน เยียวยา


ชดเชย และเสี่ยงภัย สำหรับการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูaบcาน (อสม.) ในการเฝ–าระวัง ป–องกัน
และควบคุมโควิด-19 ในชุมชน และโครงการจัดหาวัคซีนป–องกันโควิด-19 สำหรับบริการประชาชนในประเทศไทย
เพิ่มเติม 35 ลcานโดส สaงผลกระทบตaอเศรษฐกิจ จำนวน 63,559.74 ลcานบาท มีรายไดcกลับคืนภาครัฐจากการเก็บ
ภาษี จำนวน 12,267.03 ลcานบาท และสaงผลกระทบทางสังคม เชaน เพิ่มความสามารถในการรองรับผูcป|วยและผูcมี
ความเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดcานการดูแลสุขภาพมากขึ้น และลดภาระคaาใชcจaายใหcกับ
ประชาชนกลุaมเสี่ยงและประชาชนที่ติดเชื้อโควิด-19
2.1.3 ปWญหาและอุปสรรค เชaน (1) ฐานขcอมูลของ อสม. และระบบสารสนเทศ
งานสุขภาพประชาชนไมaไดcรับการปรับปรุงใหcเปEนปjจจุบัน ทำใหcไมaสามารถโอนเงินคaาตอบแทน เยียวยา ชดเชย และ
เสี่ยงภัย สำหรับการปฏิบัติงานของ อสม. (2) การสaงตaอผูcป|วยโควิด-19 มีความซ้ำซcอนและลaาชcา และ (3) ประชาชน
เกิดความสับสนและเขcาใจผิดเกี่ยวกับขcอมูลขaาวสารของโครงการ
2.1.4 ขAอเสนอแนะ เชaน (1) ควรตรวจสอบและปรับปรุงฐานขcอมูลของ อสม. ใหcมี
ความถี่มากขึ้น (2) จัดทำระบบฐานขcอมูลกลางดcานสาธารณสุขของประเทศที่สามารถสนับสนุนการรักษาและสaงตaอ
ผูcป|วยเพื่อลดความซ้ำซcอนและความลaาชcาในการสaงตaอผูcป|วย (3) ควรมีการบูรณาการระหวaางสถานพยาบาลภาครัฐ
และภาคเอกชนเพื่อใหcสามารถตัดสินใจสั่งการและใชcทรัพยากรรaวมกันไดcเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน และ (4) ควรกำหนด
มาตรการการบริหารสื่อประชาสัมพันธXและขcอมูลขaาวสารในภาวะฉุกเฉินเพื่อใหcการสื่อสารถึงประชาชนเปEนไปใน
ทิศทางเดียวกันรวมถึงกำหนดมาตรการลงโทษที่รุนแรงสำหรับผูcที่ใหcขcอมูล ขaาวสาร หรือความเห็นที่อาจทำใหcเกิด
ความเขcาใจผิด
2.2 แผนงานที่ 2 แผนงาน/โครงการที่มีวัตถุประสงคfเพื่อช5วยเหลือ เยียวยา และชดเชย
ใหAกับภาคประชาชน เกษตรกร และผูAประกอบการ ซึ่งไดAรับผลกระทบจากโควิด-19
2.2.1 การประเมิ น ผลโครงการ จำนวน 17 โครงการ กรอบวงเงิ น รวม
669,688.03 ลcานบาท มีผลเบิกจaายรวม 667,393.81 ลcานบาท คิดเปEนรcอยละ 99.65 ของกรอบวงเงิน โดยมีผลการ
ดำเนินงานอยู5ในระดับดีมาก และผลการประเมินตามหลักเกณฑfการประเมินทั้ง 5 ดcาน ประกอบดcวย ดcานความ
สอดคลcองและความเชื่อมโยง ดcานประสิทธิภาพ ดcานประสิทธิผล และดcานผลกระทบ อยูaในระดับดี สaวนดcานความ
ยั่งยืนอยูaในระดับพอใชAเนื่องจากโครงการมีลักษณะเปEนการชaวยเหลือเยียวยาในระยะสั้นเพื่อใหcกลุaมเป–าหมายไดcมี
ชaวงเวลาในการปรับตัวกับสถานการณXแตaกลุaมเป–าหมายปรับตัวกับสถานการณXไดcเพียงสaวนนcอยจึงไมaสaงผลใหcเกิดความ
ยั่งยืน
2.2.2 ผลกระทบต5อเศรษฐกิจและสังคม เชaน โครงการเพิ่มกำลังซื้อใหcแกaผูcมีบัตร
สวัสดิการแหaงรัฐและโครงการเพื่อชaวยเหลือ เยียวยา และชดเชยใหcแกaประชาชน ซึ่งไดcรับผลกระทบจากการระบาด
ของโควิด-19 สaงผลกระทบตaอเศรษฐกิจ จำนวน 2,156,189.28 ลcานบาท มีรายไดcกลับคืนภาครัฐจากการเก็บภาษี
จำนวน 416,212.00 ลcานบาท และสaงผลกระทบตaอสังคม เชaน เพิ่มความสามารถในการรักษาสภาพคลaองของธุรกิจ
รักษาการจcางงานของภาคธุรกิจและชะลอการเกิดหนี้เสียของภาคธุรกิจ
2.2.3 ปWญหาและอุปสรรค เชaน (1) หนaวยงานดำเนินโครงการมีบทบาทและหนcาที่
ไมaสอดคลcองกับลักษณะการดำเนินโครงการ และไมaมีความพรcอมในดcานทรัพยากรในการดำเนินโครงการ (2) การ
ทุจริตของผูcเขcารaวมโครงการ (3) การมีขcอจำกัดและความเหลื่อมล้ำทางดcานเทคโนโลยี รวมทั้งความเสถียรของ
สัญญาณอินเทอรXเน็ตที่แตกตaางกันในแตaละพื้นที่ (4) ฐานขcอมูลประชาชนของแตaละหนaวยงานไมaเชื่อมโยงกันและไมaมี
การปรับปรุงใหcทันสมัยและเปEนปjจจุบนั และ (5) ผูcประกอบการสaวนใหญaมีมุมมองวaาหากเขcารaวมโครงการของภาครัฐ
จะเปEนการเป’ดเผยขcอมูลดcานรายไดcและสaงผลใหcตcองเสียภาษี จึงหลีกเลีย่ งการเขcารaวมโครงการ
2.2.4 ขAอเสนอแนะ เชaน (1) หนaวยงานผูcรับผิดชอบโครงการควรเตรียมความ
พรcอมและมีทรัพยากรที่เหมาะสมในการใหcบริการประชาชน (2) ควรกำหนดมาตรการป–องกันการทุจริตโดยมี
บทลงโทษที่รุนแรงและเห็นผลเร็ว (3) ควรมีหนaวยงานภาครัฐหรือภาคเอกชนเขcามาชaวยดำเนินงานโครงการ เชaน
การลงทะเบียน การกระจายขcอมูลขaาวสาร และการใหcความรูcเกี่ยวกับโครงการ (4) ควรมีระบบฐานขcอมูลแบบรวม
ศูนยXและมีฐานขcอมูลเปEนปjจจุบันอยูaเสมอ และ (5) ควรสรcางความเขcาใจเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีและมีมาตรการทาง
ภาษีที่สามารถชaวยเหลือผูcประกอบการในภาวะวิกฤตเพื่อสรcางความมั่นใจในการเขcารaวมโครงการ
6

2.3 แผนงานที่ 3 แผนงาน/โครงการที่มีวัตถุประสงคfเพื่อฟYZนฟูเศรษฐกิจและสังคมที่


ไดAรบั ผลกระทบจากโควิด-19
2.3.1 การประเมิ น ผลโครงการ จำนวน 57 โครงการ กรอบวงเงิ น รวม
173,317.57 ลcานบาท มีผลเบิกจaาย 159,326.14 ลcานบาท คิดเปEนรcอยละ 91.92 ของกรอบวงเงิน โดยมีผลการ
ดำเนินงานอยู5ในระดับดีมาก และผลการประเมินตามหลักเกณฑfการประเมินทั้ง 5 ดcาน ประกอบดcวย ดcานความ
สอดคลcองและความเชื่อมโยง ดcานประสิทธิภาพ ดcานประสิทธิผล และดcานผลกระทบ อยูaในระดับดี สaวนดcานความ
ยั่งยืนอยูaในระดับพอใชA เนื่องจากโครงการเปEนลักษณะการพัฒนาอาชีพและการจcางงานระยะสั้น กลุaมเป–าหมายที่เขcา
รaวมโครงการจึงนำองคXความรูcจากการพัฒนาอาชีพไปตaอยอดสรcางอาชีพไดcเพียงบางสaวนเทaานั้น สaงผลใหcโครงการไมa
เกิดความยั่งยืน
2.3.2 ผลกระทบต5อเศรษฐกิจและสังคม เชaน โครงการพัฒนาพื้นที่ตcนแบบการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหมaประยุกตXสูa “โคก หนอง นา โมเดล” โครงการคนละครึ่ง และโครงการกำลังใจ
สaงผลกระทบทางเศรษฐกิจ จำนวน 696,325.45 ลcานบาท มีรายไดcกลับคืนภาครัฐ จำนวน 134,390.81 ลcานบาท
และสaงผลกระทบทางสังคม เชaน รักษาระดับการจcางงาน เกิดแปลงตcนแบบเพื่อการเรียนรูcในดcานเกษตรทฤษฎีใหมa
และพัฒนาแหลaงกักเก็บน้ำและระบบชลประทาน
2.3.3 ปWญหาและอุปสรรค เชaน (1) หนaวยงานมีภารกิจไมaเหมาะสมกับลักษณะ
การดำเนินโครงการและไมaมีความพรcอมดcานทรัพยากร (2) ระบบในการใหcบริการประชาชนมีความเสี่ยงเรื่องความไมa
เสถียรเมื่อมีการใชcงานจำนวนมาก และ (3) การประชาสัมพันธXขcอมูลขaาวสารของโครงการไมaครบถcวนถูกตcอง และ
ผูcประกอบการบางสaวนไมaตcองการเขcารaวมโครงการเนื่องจากตcองเสียภาษี ทำใหcมาตรการบางสaวนอาจไมaประสบ
ความสำเร็จ
2.3.4 ขA อ เสนอแนะ เชa น (1) ควรมอบหมายหนa ว ยงานที ่ ม ี ภ ารกิ จ ใหc บ ริ ก าร
ประชาชนซึ่งจะมีทรัพยากรที่พรcอมและเหมาะสม (2) ควรพัฒนาระบบเทคโนโลยีใหcสามารถรองรับการทำธุรกรรม
จำนวนมาก และใหcความสำคัญกับความมั่นคงปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีและการปกป–องขcอมูลของประชาชน
และ (3) มุaงเนcนการสื่อสารขcอมูลบนสื่อหลัก เชaน สื่อโทรทัศนXและวิทยุเพื่อป–องกันปjญหาการไดcรับขcอมูลขaาวสารเท็จ
และสามารถเขcาถึงกลุaมเป–าหมายไดcอยaางทั่วถึง

4. เรื่อง สรุปภาพรวมดัชนีเศรษฐกิจการคAาประจำเดือนพฤศจิกายน 2565


คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบสรุปภาพรวมดัชนีเศรษฐกิจการคcาประจำเดือนพฤศจิกายน 2565 ตามที่
กระทรวงพาณิชยXเสนอ
สาระสำคัญ
1. สรุปภาพรวมดัชนีเศรษฐกิจการคAาเดือนพฤศจิกายน 2565 ดังนี้
ดั ช นี ร าคาผูA บ ริ โ ภคของไทย เดื อ นพฤศจิ ก ายน 2565 เท5 า กั บ 107.92 เมื่อเทียบ
กับเดือนเดียวกันของปuกaอน ซึ่งเทaากับ 102.25 ส5งผลใหAอัตราเงินเฟlอทั่วไป สูงขึ้นรAอยละ 5.55 (YoY) เปEนการ
สูงขึ้นในอัตราที่ชะลอตัวตaอเนื่องเปEนเดือนที่ 3 (จากรcอยละ 6.41 และ 5.98 ในเดือนกันยายน และตุลาคม 2565
ตามลำดับ) ตามการชะลอตัวของราคาสินคcาในกลุaมอาหาร โดยเฉพาะผักสด ผลไมcสด เนื้อสัตวX และเครื่องประกอบ
อาหาร เนื่องจากปริมาณผลผลิตที่มีมากกวaาเดือนเดียวกันของปuที่ผaานมา ทั้งนี้ เมื่อเทียบกับเงินเฟ–อของตaางประเทศ
(ขcอมูลลaาสุดเดือนตุลาคม 2565) พบวaา อัตราเงินเฟ–อของไทยอยูaในระดับดีกวaาหลายประเทศ ทั้งสหรัฐอเมริกา
สหราชอาณาจั ก ร อิ ต าลี เม็ ก ซิ โ ก อิ น เดี ย รวมถึ ง ประเทศในอาเซียน ทั้งลาว ฟ’ลิปป’นสX และสิงคโปรX โดยมี
รายละเอียด ดังนี้
หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม5มีแอลกอฮอลf สูงขึ้นรAอยละ 8.40 (YoY) เปEนการสูงขึ้นในอัตรา
ที่ชะลอตัวจากเดือนกaอนที่สูงขึ้นรcอยละ 9.58 ตามราคาผักสดที่ลดลงคaอนขcางมาก (ผักกาดขาว ผักคะนcา ขึ้นฉaาย
ฟjกทอง) เนื่องจากพื้นที่เพาะปลูกไดcรับความเสียหายจากน้ำทaวมนcอยกวaาปuที่ผaานมา และมีการขยายพื้นที่เพาะปลูก
มากขึ้น ทำใหcปริมาณผลผลิตออกสูaตลาดจำนวนมากเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปuกaอน นอกจากนี้ สินคcาในกลุaม
ผลไมc เนื้อสุกร และไกaสด ปริมาณผลผลิตที่มีมากกวaาเดือนเดียวกันของปuที่ผaานมา ขณะที่ความตcองการในประเทศ
เพิ่มขึ้นอยaางคaอยเปEนคaอยไป สaงผลใหcราคาชะลอตัว รวมถึงเครื่องประกอบอาหารที่ราคาชะลอตัว และสaวนหนึ่งเปEนผล
7

จากมาตรการกำกับดูแลราคาสินคcาและบริการที่สมดุลระหวaางผูcผลิต ผูcคcาและผูcบริโภค ของกระทรวงพาณิชยXที่


ดำเนินการมาอยaางตaอเนื่อง
หมวดอื่น ๆ ที่ไม5ใช5อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นรAอยละ 3.59 (YoY) ตามการสูงขึ้นของ
สินคcากลุaมพลังงาน ทั้งน้ำมันเชื้อเพลิง คaาไฟฟ–า และก™าซหุงตcม รวมทั้งคaาโดยสารสาธารณะ นอกจากนี้ สิ่งที่เกี่ยวกับ
ทำความสะอาด อาทิ ผงซักฟอก น้ำยาปรับผcานุaม และน้ำยาลcางจาน ราคาสูงขึ้นเล็กนcอย
เงินเฟlอพื้นฐาน เมื่อหักอาหารสดและพลังงานออก สูงขึ้นรcอยละ 3.22 (YoY) เพิ่ ม ขึ้ น
เล็ ก นc อ ยจากเดื อ นกa อ นหนc า ที่ สู ง ขึ้ น รc อ ยละ 3.17 (YoY) ตามตc น ทุ น การผลิ ต ที่ เ กิ ด จากราคาพลั ง งานยังอยูaใน
ระดับสูง สaงผลใหcราคาขายปลีกสินคcาและบริการปรับเพิ่มขึ้น
ดัชนีราคาผูAบริโภคในเดือนนี้ เมื่อเทียบกับเดือนก5อนหนAา ลดลงรAอยละ 0.13 (MoM) ตาม
การลดลงของสินคcากลุaมอาหาร โดยเฉพาะผักและผลไมcสด (ผักบุcง ผักคะนcา สcมเขียวหวาน ฝรั่ง) เนื้อสุกร ไขaไกa
ขcาวสารเจcา และเครื่องประกอบอาหาร (น้ำมันพืช มะพรcาว (ผลแหcง/ขูด)) สำหรับดัชนีราคาผูAบริโภคเฉลี ่ ย
11 เดือน (ม.ค. - พ.ย.) ปu 2565 เทียบกับชaวงเดียวกันของปuกaอน สูงขึ้นรAอยละ 6.10 (AoA) อยูaระดับใกลcเคียง
กับที่กระทรวงพาณิชยXคาดการณXไวc (ระหวaางรcอยละ 5.5 - 6.5 คaากลางรcอยละ 6.0)
ดัชนีความเชื่อมั่นผูAบริโภคโดยรวม เดือนพฤศจิกายน 2565 ปรับเพิ่มขึ้นต5อเนื่องเปcน
เดือนที่ 5 มาอยู5ที่ระดับ 49.9 จากระดับ 47.7 ในเดือนกaอนหนcา ซึ่งใกลcจะเขcาสูaชaวงความเชื่อมั่น โดยดัชนีความ
เชื่อมั่นผูcบริโภคในปjจจุบัน ปรับเพิ่มขึ้นจากระดับ 38.7 มาอยูaที่ระดับ 40.4 และดัชนี ค วามเชื่ อ มั่ น ผูc บ ริ โ ภคใน
อนาคต (3 เดือนขcางหนcา) ปรับเพิ่มขึ้นจากระดับ 53.7 มาอยูaที่ระดับ 56.3 อยูa ระดั บที่ มีความเชื่ อมั่ นติ ดตa อกั น
เปE น เดื อ นที่ 13 โดยมี ปj จ จั ย สนั บ สนุ น จากภาวะเศรษฐกิ จ ในประเทศที่ปรับตัวดีขึ้นตามลำดับ มาตรการชaวยเหลือ
และกระตุcนเศรษฐกิจของภาครัฐที่มีตaอเนื่อง รวมทั้งราคาน้ำมันเชื้อเพลิงที่สูงขึ้นไมaมากนัก อยaางไรก็ตาม แมcวaาเศรษฐกิจ
ของไทยจะปรับตัวดีขึ้น แตaมีปjจจัยเสี่ยงจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจประเทศคูaคcาสำคัญ และความขัดแยcงทาง
ภูมิรัฐศาสตรXในตaางประเทศ รวมถึงราคาสินคcาและบริการในประเทศที่ยังอยูaในระดับสูง จะสaงผลตaอความเชื่อมั่น
ของผูcบริโภคในระยะตaอไป
2. แนวโนAมเงินเฟlอ
แนวโนAมเงินเฟlอเดือนธันวาคม 2565 คาดว5าจะยังขยายตัวในระดับที่ใกลAเคียงกับเดือน
ที่ผ5านมา เนื่องจากราคาพลังงาน (น้ำมันเชื้อเพลิง คaาไฟฟ–า ก™าซหุงตcม) สินคcากลุaมอาหาร (อาทิ เนื้อสัตวX ไขaและ
ผลิตภัณฑXนม และอาหารสำเร็จรูป) และคaาโดยสารสาธารณะ ยังสูงกวaาเดือนเดียวกันของปuกaอน รวมทั้ง อุปสงคXใน
ประเทศที่เริ่มปรับตัวดีขึ้น นอกจากนี้ ฐานราคาที่ต่ำลงในเดือนธันวาคม 2565 ยังเปEนอีกปjจจัยที่อาจทำใหcเงินเฟ–อใน
เดือนธันวาคมปuนี้เพิ่มขึ้นจากเดือนพฤศจิกายน 2565 อยaางไรก็ตาม ปริมาณผลผลิตสินคcาเกษตรบางชนิดที่มีมากกวaาปu
ที่ผaานมา มาตรการดูแลคaาครองชีพของภาครัฐ แนวโนcมการแข็งคaาของเงินบาท และการแพรaระบาดของโควิด-19
สายพั น ธุX ใ หมa จะเปE น ปj จ จั ย ที่ อ าจลดทอนอั ต ราเงิ น เฟ– อ ในชa ว งที่ เ หลื อ ไดc ซึ่ ง จะตc อ งติ ด ตามสถานการณX อยaาง
ใกลcชิดตaอไป
ทั้ ง นี้ กระทรวงพาณิ ช ยf ยั ง คงคาดการณf อั ต ราเงิ น เฟl อ ทั่ ว ไปปv 2565 อยู5 ที่ ระหว5าง
รAอยละ 5.5 - 6.5 (ค5ากลางรAอยละ 6.0) ซึ่งเปEนอัตราที่สอดคลcองกับสถานการณXเศรษฐกิจและการคาดการณXอัตรา
เงินเฟ–อของหนaวยงานดcานเศรษฐกิจของไทย
5. เรื่อง (ร5าง) แผนพัฒนาการท5องเที่ยวแห5งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 - 2570)
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและประกาศใชc (รaาง) แผนพัฒนาการทaองเที่ยวแหaงชาติ ฉบับที่ 3
(พ.ศ. 2566 - 2570) (รaางแผนพัฒนาการทaองเที่ยว ฉบับที่ 3) ตามที่คณะกรรมการนโยบายการทaองเที่ยวแหaงชาติ
(ท.ท.ช.) เสนอ
สาระสำคัญของเรื่อง
ท.ท.ช. รายงานวaา
1. สืบเนื่องมาจากมาตรา 10 (2) และมาตรา 15 แหaงพระราชบัญญัตินโยบายการทaองเที่ยวแหaงชาติ
พ.ศ. 2551 และที่แกcไขเพิ่มเติม ซึ่งบัญญัติใหc ท.ท.ช. มีหนcาที่และอำนาจในการดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาการ
ทaองเที่ยวแหaงชาติเสนอตaอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติและประกาศในราชกิจจานุเบกษา ซึ่งที่ผaานมาไดcมี
การจัดทำแผนพัฒนาการทaองเที่ยวแหaงชาติมาแลcว จำนวน 3 ฉบับ ไดcแกa (1) แผนพัฒนาการทaองเที่ยวแหaงชาติ
8

พ.ศ. 2555 - 2559 (ฉบั บ ที ่ 1) (2) แผนพั ฒ นาการทa อ งเที ่ ย วแหa ง ชาติ พ.ศ. 2560 - 2564 (ฉบั บ ที ่ 2) และ
(3) แผนพัฒนาการทaองเที่ยวแหaงชาติ พ.ศ. 2564 - 2565 (ฉบับปรับปรุง)
2. ร5างแผนพัฒนาการท5องเที่ยว ฉบับที่ 3 ที่ ท.ท.ช. ไดAเสนอมาในครั้งนี้ (ท.ท.ช. เห็นชอบในคราว
ประชุมเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2564) จะเปcนการยกระดับและขับเคลื่อนแนวทางการพัฒนาการท5องเที่ยวที่
สอดคลAองและต5อยอดจากแผนพัฒนาการท5องเที่ยวที่ผ5านมาและจะเปcนกรอบทิศทางในการพัฒนาการท5องเที่ยว
ของไทยภายหลั ง สถานการณf การแพร5 ระบาดของโรคติ ดเชื ้ อไวรั สโคโรนา 2019 อั นเปc นประโยชนf ใ นการ
พัฒนาการท5องเที่ยวไทย ตลอดจนแกAไขฟYZนฟูการท5องเที่ยว รวมถึงเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอุตสาหกรรมใหAสอด
รับกับภาวะความปกติถัดไป มีวิสัยทัศนXในการพัฒนาและขับเคลื่อนการทaองเที่ยวอยaางครอบคลุมและทั่วถึง ภายใน
ระยะเวลา 5 ปu คือ “การท5องเที่ยวของประเทศไทยเปcนอุตสาหกรรมที่เนAนคุณค5า มีความสามารถในการปรับตัว
เติ บ โตอย5 า งยั ่ ง ยื น และมี ส 5 ว นร5 ว ม (Rebuilding High Value Tourism Industry with Resilience,
Sustainability and Inclusive Growth)” โดยมีรายละเอียดสรุปไดc ดังนี้
2.1 เปlาหมาย พันธกิจ และตัวชี้วัด
ประเด็น สาระสำคัญ
เปlาหมาย เปlาหมายหลัก
- การทaองเที่ยวไทยมีความเขcมแข็งและสมดุล (Resilience & Re-balancing Tourism)
- การยกระดับความเชื่อมโยงและโครงสรcางพื้นฐานดcานการทaองเที่ยว (Connectivity)
- การสรcางความเชื่อมั่นและมอบประสบการณXทaองเที่ยวคุณคaาสูง (Entrusted Experience)
- การบริหารจัดการการทaองเที่ยวอยaางยั่งยืน (Sustainable Development)
เปlาหมายรอง
- การพัฒนาปjจจัยสนับสนุนดcานการทaองเที่ยวใหcมีคุณภาพสูงสำหรับทุกกลุaม (Supporting
Elements)
- เทคโนโลยี ด ิ จ ิ ท ั ล และโครงสรc า งพื ้ น ฐานดc า นขc อ มู ล พรc อ มสa ง เสริ ม การทa อ งเที ่ ย ว
(ICT Readiness)
- ความพรcอมในการรับมือและจัดการกับความเสี่ยงทุกรูปแบบอยูaเสมอ (Risk Readiness)
พันธกิจ - เสริมสรcางความเขcมแข็งของภาคการผลิต (Supply-side) ในอุตสาหกรรมการทaองเที่ยว
- พัฒนาปjจจัยพื้นฐานของอุตสาหกรรมการทaองเที่ยว เชaน มาตรฐานสถานประกอบการแหลaง
ทaองเที่ยว และความพรcอมของโครงสรcางพื้นฐานคมนาคมขนสaง
- พัฒนาและยกระดับประสบการณXการทaองเที่ยวตลอดเสcนทางอยaางครบวงจร
- สaงเสริมความยั่งยืนของอุตสาหกรรมการทaองเที่ยว
ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดหลักในระยะ 5 ปv (พ.ศ. 2566 - 2570) เชaน
- สั ด ส5 ว นผลิ ต ภั ณ ฑf ม วลรวมภายในประเทศดA า นการท5 อ งเที ่ ย วตa อ ผลิ ต ภั ณ ฑX ม วลรวม
ภายในประเทศไม5ต่ำกว5ารAอยละ 25
- จำนวนธุรกิจบริการทaองเที่ยวและแหลaงทaองเที่ยวไดcรับรองมาตรฐานการทaองเที่ยวไทย
(Thailand Tourism Standard) และอาเซียน (Asean Standard) เพิ่มขึ้นปuละไมaต่ำกวaา
3,000 ราย
- ระยะเวลาพำนักของนักท5องเที่ยวต5างชาติ ไม5ต่ำกว5า 10 วัน และคaาใชcจaายโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น
รcอยละ 5 ตaอปu
- ระยะเวลาพำนักของนักทaองเที่ยวชาวไทย ไมaต่ำกวaา 3 วัน และคaาใชcจaายโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น
รcอยละ 7 ตaอปu
- สัดส5วนจำนวนนักทaองเที่ยวกลุaมเดินทางครั้งแรก (First Visit) และกลุ5มเดินทางซ้ำ (Revisit)
เปcน 40 : 60
- อั น ดั บ ผลการดำเนิ น งานภาพรวมตามเป– า หมายการพั ฒ นาอยa า งยั ่ ง ยื น (SDGs) อยู a ใ น
35 อันดับแรก
2.2 ยุทธศาสตรfการพัฒนา
9

แบa งออกเปE น 4 ยุ ทธศาสตรX โดยมุ a งเนc นไปที ่ การดำเนิ นการเพื ่ อพั ฒนาและยกระดั บ
อุตสาหกรรมการทaองเที่ยวใหcมีความเขcมแข็ง ตaอยอดโอกาสในการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอุตสาหกรรมใหcสอดรับกับ
ภาวะความปกติถัดไป (Next Normal) เพื่อการเติบโตอยaางครอบคลุม (Inclusive Growth) ดcวยการพัฒนาแบบ
องคXรวม (Holistic Approach) ซึ่งมีรายละเอียดสรุปไดc ดังนี้
ยุทธศาสตรfที่ 1
เสริมสรAางความเขAมแข็งและภูมิคุAมกันของอุตสาหกรรมการท5องเที่ยวไทย (Resilient Tourism)
เปlาประสงคf - อุตสาหกรรมทaองเที่ยวไทยมีความเขcมแข็ง ยืดหยุaน และมีศักยภาพพรcอมรับมือกับการ
เปลี่ยนแปลงและวิกฤตการณXทุกรูปแบบดcวยการประยุกตXใชcเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่
ทันสมัย
- การทaองเที่ยวไทยชaวยในการสรcางความเจริญและลดความเหลื่อมล้ำทั่วทุกพื้นที่ โดยการ
กระจายรายไดcไปสูaชุมชน
- ประเทศไทยไดcรับรายไดcจากการทaองเที่ยวไทยอยaางแทcจริง โดยการลดการรั่วไหลของรายไดc
ตลอดหaวงโซaอุตสาหกรรมดcวยการสaงเสริมการใชcวัตถุดิบภายในประเทศ
- การทaองเที่ยวไทยมีสมดุลระหวaางนักทaองเที่ยวไทยและนักทaองเที่ยวตaางชาติในแตaละ
ประเทศ และสaงเสริมนักทaองเที่ยวคุณภาพสูง
ตัวอย5างตัวชี้วัด - สั ด สa ว นผลิ ต ภั ณ ฑX ม วลรวมภายในประเทศดc า นการทa อ งเที ่ ย วตa อ ผลิ ต ภั ณ ฑX ม วลรวม
ภายในประเทศ (TGDP/GDP) ไมaต่ำกวaารcอยละ 25 ภายในปu 2570
- อัตราการเติบโตของรายไดcในสาขาอุตสาหกรรมการทaองเที่ยว 12 สาขา เทaากับรcอยละ 4.5
ในปu 2570
- จำนวนผูcประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยaอม (SMEs) ในอุตสาหกรรมทaองเที่ยว
ไดcรับการยกระดับศักยภาพในการเพิ่มมูลคaาใหcกับสินคcาและบริการ จำนวน 12,500 ราย
ในปu 2570
ตัวอย5างกลยุทธf - กระจายรายไดcและความเจริญจากการทaองเที่ยวอยaางทั่วถึงทุกพื้นที่ และลดการรั่วไหลใน
ภาคการทaองเที่ยวอยaางเปEนธรรม
- สaงเสริมการทaองเที่ยวคุณภาพที่มุaงเนcนการสรcางสมดุลใหcแกaอุตสาหกรรมการทaองเที่ยวทั้ง
ดcานอุปสงคXและอุปทาน
ตัวอย5างแนวทาง - กระจายจำนวนนักทaองเที่ยวไปยังเมืองตaาง ๆ เพื่อสรcางการมีสaวนรaวมและกระจายรายไดc
ในการพัฒนา - ปรับปรุงและทบทวนกฎหมายดcานการลงทุนและการดำเนินธุรกิจในอุตสาหกรรมการ
ทaองเที่ยว
- ยกระดับการสรcางสรรคXสินคcาและบริการทaองเที่ยวใหcมีคุณคaาและมูลคaาสูงตามเอกลักษณX
ของแตaละพื้นที่
- สaงเสริมการตลาดที่ตรงใจกลุaมนักทaองเที่ยวเป–าหมายที่มีคุณภาพทั้งไทยและตaางชาติ
ตัวอย5างโครงการ - โครงการสaงเสริมและพัฒนาการทaองเที่ยวโดยชุมชน เพื่อรองรับการตลาดทaองเที่ยวรูปแบบ
ภายใตAยุทธศาสตรf วิถีชีวิตใหมa (New Normal)
- โครงการพัฒนาและสaงเสริมการประชาสัมพันธXแพลตฟอรXม Online Travel Agency (OTA)
สัญชาติไทย
- โครงการสรcางรายไดcจากการทaองเที่ยวโดยชุมชนเชิงสรcางสรรคXผaานตลาดมูลคaาสูง
- โครงการพัฒนาสินคcาและบริการทaองเที่ยวใหcมีมูลคaาเพิ่ม
หน5วยงาน เชaน กระทรวงการทaองเที่ยวและกีฬา (กก.) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดศ.)
รับผิดชอบ และองคXการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการทaองเที่ยวอยaางยั่งยืน (องคXการมหาชน)
ยุทธศาสตรfที่ 2
พัฒนาปWจจัยพื้นฐานของอุตสาหกรรมการท5องเที่ยวใหAมีคุณภาพสูง (Quality Tourism)
เปlาประสงคf - ประเทศไทยมี โ ครงสรc า งพื ้ น ฐาน การคมนาคมและสิ ่ ง อำนวยความสะดวกที ่ เ ชื ่ อ มโยง
มีคุณภาพและเพียงพอ สามารถรองรับการใชcงานของนักทaองเที่ยวครอบคลุมทั้งประเทศ
10

- ประเทศไทยมีโครงสรcางดcานดิจิทัลและศูนยXกลางขcอมูลดcานการทaองเที่ยว (One-Stop
Tourism Database) ที่เชื่อมโยงอยaางแทcจริงและสามารถนำขcอมูลไปตaอยอดไดcอยaาง
มีประสิทธิภาพ
ตัวอย5างตัวชี้วัด - คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของนักทaองเที่ยวชาวไทยและตaางชาติตaอโครงสรcางพื้นฐานดcาน
การทaองเที่ยว 7 ดcาน เพิ่มขึ้นทุกปu
- จำนวนผูcใชcบริการฐานขcอมูลจากศูนยXกลางขcอมูลดcานการทaองเที่ยวไทยเพิ่มขึ้นรcอยละ 40
ตaอปu ในปu 2570
- อัตราการเกิดอุบัติเหตุและอาชญากรรมตaอนักทaองเที่ยวตaางชาติรcอยละ 20 ตaอปu ในปu 2570
ตัวอย5างกลยุทธf - พัฒนาความปลอดภัย สุขอนามัย และมาตรฐานการทaองเที่ยวตลอดเสcนทางทaองเที่ยวเพื่อ
สรcางความมั่นใจแกaนักทaองเที่ยว
- ยกระดับโครงสรcางพื้นฐานดcานดิจิทัลและขcอมูลสารสนเทศ
- สนับสนุนการใชcขcอมูลดcานเศรษฐกิจการทaองเที่ยว (Tourism Economy) เพื่อการกำหนด
นโยบายการทaองเที่ยวระดับประเทศ และการวางแผนดำเนินธุรกิจของผูcประกอบการ
ตัวอย5างแนวทาง - ควบคุม ดูแล และสนับสนุนการขึ้นทะเบียนมาตรฐานเพื่อการทaองเที่ยวทุกประเภทอยaาง
ในการพัฒนา สม่ำเสมอ
- สนับสนุนการขยายขอบเขตและคุณภาพโครงสรcางพื้นฐานสารสนเทศ รวมถึงปรับปรุง
ระบบสื่อสารใหcมีความเสถียร
- สนับสนุนงานวิจัยเพื่อพัฒนาการทaองเที่ยว
ตัวอย5างโครงการ - โครงการสaงเสริมการขึ้นทะเบียนมาตรฐานดcานการทaองเที่ยวไทยของผูcประกอบการที่พัก
ภายใตAยุทธศาสตรf และสินคcาและบริการดcานการทaองเที่ยว
- โครงการพัฒนาระบบฐานขcอมูลกลางการทaองเที่ยวของประเทศไทย และกระจายจุดรับ
ขcอมูลอัตโนมัติตามพื้นที่นำรaอง (One - Stop -Tourism Database)
- โครงการจัดทำแอปพลิเคชันดcานการคมนาคมการทaองเที่ยวที่เชื่อมโยง
หน5วยงาน เชaน กก. กระทรวงคมนาคม (คค.) ดศ. และสำนักงานตำรวจแหaงชาติ
รับผิดชอบ
ยุทธศาสตรfที่ 3
ยกระดับประสบการณfดAานการท5องเที่ยว (Tourism Experience)
เปlาประสงคf - นักทaองเที่ยวชาวไทยและชาวตaางชาติมีความเชื่อมั่นในการเดินทางทaองเที่ยวภายในประเทศ
ไทย พรcอมไดcรับประสบการณXที่สะดวก ปลอดภัย และบริการที่เปEนเลิศ
- ประเทศไทยมีรูปแบบการทaองเที่ยวศักยภาพสูงที่โดดเดaน มีกิจกรรมและแหลaงทaองเที่ยวที่
หลากหลาย เพื่อรองรับความสนใจและพฤติกรรมที่แตกตaางกันของนักทaองเที่ยวแตaละกลุaม
- การสื่อสารการตลาดการทaองเที่ยวไทยมีประสิทธิภาพและโดดเดaน มอบขcอมูลดcานการ
ทaองเที่ยวทุกชaองทาง ทุกที่และทุกเวลา ดcวยการประยุกตXใชcเทคโนโลยีการวิเคราะหXขcอมูล
เชิงลึกและกระบวนการคิดเชิงนวัตกรรม
ตัวอย5างตัวชี้วัด - ระดับความพึงพอใจของนักทaองเที่ยวไทยและนักทaองเที่ยวตaางชาติที่เดินทางทaองเที่ยวใน
ไทย เพิ่มขึ้น 0.05 คะแนน ในแตaละปu
- อัตราการเติบโตของรายไดcจากรูปแบบการทaองเที่ยวที่มีศักยภาพสูงในประเทศไทยไมaต่ำกวaา
รcอยละ 5 ในแตaละปu
- อันดับ Global Wellness Travel โดย Global Wellness Institute อยูaที่อันดับ 1 ใน 5
ภายในปu 2570
ตัวอย5างกลยุทธf - สaงเสริมรูปแบบการทaองเที่ยวศักยภาพสูงที่หลากหลายและสรcางสรรคXของไทย
- สaงเสริมการตลาดเชิงรุกมุaงเนcนกลุaมเป–าหมายเชิงคุณภาพดcวยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่
ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย5างแนวทาง - สaงเสริมการทaองเที่ยวเชิงสรcางสรรคXและวัฒนธรรม ดcวยการออกแบบและผลักดันกิจกรรม
ในการพัฒนา ดcานศิลปะและวัฒนธรรมไทยใหcโดดเดaนและดึงดูดนักทaองเที่ยว
11

- กระตุcนนวัตกรรมทางการตลาด สaงเสริมการทaองเที่ยวไทยผaานสื่อใหมa และเสริมสรcาง


การตลาดทุกชaองทางและเชื่อมโยงกันอยaางไรcรอยตaอ
ตัวอย5างโครงการ - โครงการบูรณาการความรaวมมือระหวaางประเทศเพื่อพัฒนาเสcนทางการทaองเที่ยวเชื่อมโยง
ภายใตAยุทธศาสตรf อนุภูมิภาคและภูมิภาคอาเซียน
- โครงการสaงเสริมการทaองเที่ยวเชิงประวัติศาสตรXและวัฒนธรรม ภายใตcแนวคิด “เที่ยวชุมชน
ยลวิถี”
- โครงการพัฒนาศูนยXบริการดcานการแพทยXแผนไทยในเมืองทaองเที่ยวสำคัญ
- โครงการการสรcางการสื่อสารเชิงรุกเพื่อการทaองเที่ยวคุณภาพสูงดcวยสื่อดิจิทัล
หน5วยงาน เชa น กก. กระทรวงวั ฒ นธรรม (วธ.) กระทรวงสาธารณสุ ข (สธ.) และสำนั ก งานพั ฒ นา
รับผิดชอบ วิทยาศาสตรXและเทคโนโลยีแหaงชาติ (สวทช.)
ยุทธศาสตรfที่ 4
ส5งเสริมการพัฒนาการท5องเที่ยวอย5างยั่งยืน (Sustainable Tourism)
เปlาประสงคf - การทaองเที่ยวของไทยมีการประยุกตXใชcเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการบริหารจัดการ
นักทaองเที่ยวอยaางมีประสิทธิภาพ เพื่อลดการกระจุกตัวในแหลaงทaองเที่ยว
- วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และเอกลักษณXความเปEนไทยคงอยูaในสังคมสืบตaอไป พรcอมทั้งมี
การตaอยอดเพิ่มมูลคaาดcวยกระบวนการคิดเชิงออกแบบอยaางสรcางสรรคX
- แหลaงทaองเที่ยวธรรมชาติ วัฒนธรรม และชุมชนของประเทศไทยมีมาตรฐานความยั่งยืน
ระดับสากล
ตัวอย5างตัวชี้วัด - ปริมาณการปลaอยก™าซเรือนกระจกและการสรcางขยะในภาคการผลิตของอุตสาหกรรมการ
ทaองเที่ยวลดลงรcอยละ 2 ในแตaละปu
- จำนวนแหลaงทaองเที่ยวและธุรกิจบริการทaองเที่ยวไดcรับมาตรฐานความยั่งยืนในระดับสากล
(GSTC) เพิ่มขึ้นรcอยละ 30 ตaอปu ในปu 2570
- มูลคaาการลงทุนและสัดสaวนมูลคaาการสะสมทุนถาวรเพื่อการทaองเที่ยวในมิติวัฒนธรรมตaอ
มูลคaาการสะสมทุนดcานการทaองเที่ยวเพิ่มขึ้นเปEนรcอยละ 2.5 ตaอปu ในปu 2570
ตัวอย5างกลยุทธf - เสริมสรcางความสมบูรณXแกaสิ่งแวดลcอมและแหลaงทaองเที่ยวธรรมชาติ
- สaงเสริมการอนุรักษXและตaอยอดทรัพยXสินทางวัฒนธรรมและเอกลักษณXความเปEนไทยดcวย
การประยุกตXใหcเขcากับยุคสมัย
- สaงเสริมการประยุกตXใชcเทคโนโลยีในการบริหารจัดการนักทaองเที่ยวอยaางมีประสิทธิภาพ
ตัวอย5างแนวทาง - ประยุกตXใชcเทคโนโลยีและสารสนเทศภูมิศาสตรXเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรทางธรรมชาติ
ในการพัฒนา - ทบทวนและปรับปรุงกฎระเบียบเรื่องขีดความสามารถในการรองรับของพื้นที่ (Carrying
Capacity) ของแหลaงทaองเที่ยวตaาง ๆ ใหcเหมาะสมกับบริบทปjจจุบันและความสามารถใน
การรองรับนักทaองเที่ยว
ตัวอย5างโครงการ - โครงการเพิ่มศักยภาพและฟlmนฟูพื้นที่แนวปะการังที่เปEนแหลaงทaองเที่ยว
ภายใตAยุทธศาสตรf - โครงการทaองเที่ยวดcวยขนสaงยั่งยืน “Eco-friendly Transport” ในเมืองทaองเที่ยวสำคัญ
- โครงการยกระดับดนตรีพื้นบcานรaวมสมัยเพื่อสaงเสริมการทaองเที่ยวเมืองรอง
- โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการจำนวนนักทaองเที่ยวตามแหลaงทaองเที่ยวทางธรรมชาติ
และแหลaงทaองเที่ยวทางประวัติศาสตรX และวัฒนธรรมในจังหวัดนำรaอง
หน5วยงาน เชaน กก. คค. ทส. และสำนักงานสaงเสริมเศรษฐกิจสรcางสรรคX (องคXการมหาชน)
รับผิดชอบ
2.3 กลไกการขับเคลื่อนและการติดตามและประเมินผล
ประเด็น สาระสำคัญ
กลไก แบ5งเปcน 3 ระดับ ไดAแก5
การขับเคลื่อน - ระดับนโยบาย ผaาน ท.ท.ช. ซึ่งเปEนหนaวยงานหลักในการพิจารณากำหนดนโยบายและ
แผนพัฒนา ยุทธศาสตรXการบริหารและพัฒนาการทaองเที่ยว
12

- ระดับพื้นที่ ผaาน คณะกรรมการพัฒนาการท5องเที่ยวประจำเขตพัฒนาการท5องเที่ยว


คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ และคณะกรรมการบริหารงานกลุ5ม
จังหวัดแบบบูรณาการ รวมทั้งหน5วยงานที่เกี่ยวขAองทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่มีภารกิจ
เกี่ยวกับการพัฒนาการทaองเที่ยว
- ระดับชุมชน ผaาน กลุ5ม/องคfกร หรือเครืองข5ายองคfกร เชaน วิสาหกิจชุมชน
การติดตาม - การติดตามผลรายปv ประกอบดcวย
และประเมินผล (1) การติดตามการดำเนินงานตามเป–าหมายและตัวชี้วัดหลัก (ภาพรวม)
(2) การติดตามการดำเนินงานตามเป–าหมายและตัวชี้วัดแตaละยุทธศาสตรX
(3) การติดตามการดำเนินงานตามเป–าหมายและตัวชี้วัดรายโครงการ
- การประเมินผลในแต5ละระยะ แบaงออกเปEน
(1) การประเมินผลในระยะที่ 1 เปEนการประเมินผลความคืบหนcาหรือความกcาวหนcาของการ
ดำเนินการตามแผนในปuที่ 1 - 2 (พ.ศ. 2566 - 2567)
(2) การประเมินผลในระยะที่ 2 เปEนการประเมินผลความคืบหนcาหรือความกcาวหนcาของการ
ดำเนินการตามแผนในปuที่ 3 - 5 (พ.ศ. 2567 - 2570)
- การทบทวนแผนรายปv เปEนการทบทวนแผนรายปuใหcการดำเนินงานยังสอดรับกับบริบทและ
สถานการณXปjจจุบันที่อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
4. สภาพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแหa ง ชาติ ในคราวประชุ ม ครั ้ ง ที ่ 6/2565 เมื ่ อ วั น ที ่ 5
พฤษภาคม 2565 ไดcมีมติเห็นชอบรaางแผนพัฒนาการทaองเที่ยว ฉบับที่ 3 โดยมีขcอเสนอแนะเพิ่มเติม เชaน ควรใหc
ความสำคัญกับการวิเคราะหXบริบทและแนวโนcมการทaองเที่ยวในระยะถัดไป ควรบูรณาการรaวมกับภาคสaวนตaาง ๆ
เพื่อจัดทำแผนการรองรับความเสี่ยงในอนาคตที่จะเกิดขึ้น สaงเสริมใหcสถาบันการศึกษาในพื้นที่มีสaวนรaวมในการพัฒนา
มุaงเนcนใหcคนในพื้นที่เปEนหลักในการจัดกิจกรรมทaองเที่ยว ใหcความสำคัญกับการกระจายอำนาจสูaทcองถิ่น ยกระดับ
มาตรฐานความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยXสินของนักทaองเที่ยว ระบุแนวทางปรับปรุงกฎหมาย/กฎระเบียบที่เปEน
อุปสรรคตaอการพัฒนาการทaองเที่ยวใหcชัดเจน และควรมีแนวทางการสaงเสริมการทaองเที่ยวที่เป’ดกวcางและสอดคลcอง
ความตcองการของนักทaองเที่ยวแตaละประเภท รวมทั้งควรใหcความสำคัญกับการจัดลำดับความสำคัญของแผนงาน/
โครงการ ซึ่ง กก. ในฐานะฝ|ายเลขานุการของ ท.ท.ช. ไดcจัดทำคำชี้แจงและปรับปรุงรaางแผนดังกลaาวตามขcอเสนอแนะ
ของสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหaงชาติเรียบรcอยแลcว
6. เรื่อง การดำเนินโครงการเพื่อมอบเปcนของขวัญปvใหม5 พ.ศ. 2566 ใหAแก5ประชาชน
คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบการดำเนินโครงการเพื่อมอบเปEนของขวัญปuใหมa พ.ศ. 2566 ใหcแกa
ประชาชนตามที่ศูนยXอำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใตcเสนอ ดังนี้
“ของขวัญปuใหมa 2566” ของรัฐบาล โดยคณะกรรมการยุทธศาสตรXดcานการพัฒนาจังหวัดชายแดน
ภาคใตc เพื่อประโยชนXและความสุขของประชาชนจังหวัดชายแดนภาคใตc
1. การพัฒนาที่สอดคลAองกับความตAองการของประชาชน
1) สนับสนุนอาหาร วิตามินเสริม และบริการทางสุขภาพแมaและเด็ก เพื่อแกcไขปjญหา
ภาวะโภชนาการต่ำของเด็กเล็กในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตc และเพิ่มสุขภาวะของประชาชน จำนวน 46,819 ราย
2) สนับสนุนอาหารกลางวันใหcแกaโรงเรียนตาดีกา และโรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตยX
ตามโครงการสรcางคนดีตามหลักการทางศาสนาที่ถูกตcองเพื่อรaวมสืบสานและรักษาสังคมพหุวัฒนธรรมที่ดีงามของ
จังหวัดชายแดนภาคใตc จำนวน 1,875 แหaง 171,324 คน
3) สaงเสริมการเรียนรูcและพัฒนาทักษะการเรียนรูcภาษาไทย ภาษามาลายู ภาษาอาหรับ
ภาษาจีน ภาษาอังกฤษและภาษาตุรเครีย แกaประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตc เพื่อรองรับการประกอบอาชีพ
ในอนาคต และการเตรียมภาษาใหcกับนักศึกษาและผูcที่ประสงคXจะไปศึกษา และทำงานทั้งภายในประเทศและ
ตaางประเทศ รวมทั้งเชื่อมโยงพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตcกับนานาชาติ โดยเฉพาะอยaางยิ่งโลกมุสลิม ไมaนcอยกวaา
40,000 ราย
4) แกcไขปjญหาครัวเรือนยากจนที่ยั่งยืน 5 ดcาน (ฐานขcอมูล TPMAP) ไมaนcอยกวaา 1,200
ครัวเรือน
13

2. การส5งเสริมการมีส5วนร5วมของประชาชนทุกภาคส5วนในการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตA
1) สนับสนุนงบประมาณแกaผูcนำทcองที่ (กำนัน ผูcใหญaบcาน) เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก
ของหมูaบcาน ชุมชน ทุกหมูaบcานในจังหวัดชายแดนภาคใตc
2) สaงเสริมและสนับสนุนการทำงานใหcแกaองคXกรภาคประชาสังคมและภาคประชาชนใน
พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตc ไมaนcอยกวaา 200 องคXกร
3) จัดตั้งอุทยานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระวชิรเกลcาเจcาอยูaหัวฯ เนื่องในโอกาส
ทรงเจริญพระชนมพรรษา 72 พรรษา เทศบาลเมืองบcานพรุ อำเภอหาดใหญa จังหวัดสงขลา
3. การผลั ก ดั น จั ง หวั ด ชายแดนภาคใตA ไ ปสู 5 “มหานครแห5 ง อาหารและบริ ก ารฮาลาล
สู5 ตลาดโลก”
1) การเพิ่มจำนวนฐานแมaวัวพันธุXพื้นเมือง รองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล
จังหวัดชายแดนภาคใตc จำนวนไมaนcอยกวaา 50,000 ตัว
2) การเพิ่มจำนวนฐานแมaพันธุXและพaอพันธุXแพะ รองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร
ฮาลาลจังหวัดชายแดนภาคใตc จำนวนไมaนcอยกวaา 20,000 ตัว
3) ขับเคลื่อนเมืองปูทะเลโลก แบบครบวงจร เพิ่มจำนวนลูกปูเพาะพันธุXไดcเองในพื้นที่
ไมaนcอยกวaา 1,000,000 ลcานตัว ครัวเรือน/กลุaมอาชีพ มากกวaา 100 กลุaม และการทaองเที่ยวชุมชน 10 ชุมชน
4) เพิ่มจำนวนพื้นที่เพาะปลูกพืชอาหารสัตวX พืชพลังงานและผลไมcรองรับการพัฒนาภายใตc
โครงการระเบียงเศรษฐกิจฮาลาลจังหวัดชายแดนภาคใตc ไมaนcอยกวaา 50,000 ไรa
4. การเสริมสรAางพหุสังคมที่เขAมแข็ง
1) การจัดวิ่งตามภูมิศาสตรX “Amazean Jungle Trail Edition”
2) ปฏิทินประเพณีวัฒนธรรม 12 เดือน
3) การซaอมแซมและบูรณะปฏิสังขรณXวัดที่มีอายุเกิน 100 ปu โบราณสถาน ศาสนสถาน
พิพิธภัณฑX เพื่อการเรียนรูcและเปEนแหลaงทaองเที่ยว
7. เรื่อง ความกAาวหนAาของยุทธศาสตรfชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ ณ เดือนพฤศจิกายน 2565
คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหaงชาติ (สศช.) ในฐานะ
สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตรXชาติและคณะกรรมการปฏิรูปประเทศเสนอความกcาวหนcาของ
ยุทธศาสตรXชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ ณ เดือนพฤศจิกายน 2565 สรุปสาระสำคัญไดc ดังนี้
1. ความกAาวหนAายุทธศาสตรfชาติและการขับเคลื่อนแผนแม5บทภายใตAยุทธศาสตรfชาติ
1.1 การขั บ เคลื ่ อ นยุ ท ธศาสตรf ช าติ ไ ปสู 5 ก ารนำไปปฏิ บ ั ต ิ คณะรั ฐ มนตรี ม ี ม ติ
(22 พฤศจิกายน 2565) เห็นชอบยุทธศาสตรfจัดสรรงบประมาณรายจ5ายประจำปvงบประมาณ พ.ศ. 2567 เพื่อเปcน
กรอบแนวทางใหAหน5วยงานของรัฐใชAในการจัดทำโครงการที่มีความสอดคลAองกับเปlาหมายของยุทธศาสตรfชาติ
และขั บ เคลื ่ อ นการบรรลุ เ ปl า หมายของแผนระดั บ ที ่ 2 เพื ่ อเสนอขอรั บจั ดสรรงบประมาณรายจa ายประจำปu
งบประมาณ พ.ศ. 2567 โดยใหcความสำคัญกับประเด็นการพัฒนาที่ตcองเรaงดำเนินการเพื่อใหcบรรลุ 13 หมุดหมายการ
พัฒนาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหaงชาติ ฉบับที่ 13 และประเด็นสำคัญของ 17 นโยบายและแผนความ
มั่นคงตามนโยบายและแผนระดับชาติวaาดcวยความมั่นคงแหaงชาติควบคูaกับประเด็นการพัฒนาตามแผนยaอยของแผน
แมaบทภายใตcยุทธศาสตรXเพื่อใหcสามารถถaายระดับเป–าหมายของยุทธศาสตรXชาติไปสูaการปฏิบัติของหนaวยงานของรัฐ
ไดcอยaางแทcจริง ทั้งนี้ สศช. ไดcขอใหcสำนักงานคณะกรรมการสaงเสริมวิทยาศาสตรX วิจัยและนวัตกรรมนำเขcาขcอมูลสถิติ
สถานการณX และงานวิจัยหรือขcอมูลอื่น ๆ ที่แลcวเสร็จในปuงบประมาณ พ.ศ. 2565 และปuกaอนหนcาในระบบฐานขcอมูล
เป’ดภาครัฐเพื่อสนับสนุนการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตรXชาติ (Open Data Portal for
Monitoring and Evaluating Government Projects under National Strategy: Open-D) รวมทั้งจัดสaงรายการ
ความเชื่อมโยงของการดำเนินงาน/โครงการภายใตcกรอบการวิจัยกับเป–าหมายของแผนแมaบทยaอยตั้งแตaปuงบประมาณ
พ.ศ. 2562 จนถึงปuปjจจุบัน เพื่อใชcเปEนขcอมูลประกอบการวิเคราะหXและจัดทำโครงการเพื่อขับเคลื่อนการบรรลุ
เป–าหมายของยุทธศาสตรXชาติบนฐานขcอมูลเชิงประจักษXตaอไป
1.2 ความกAาวหนAาการดำเนินงานของศูนยfอำนวยการขจัดความยากจนและการพัฒนา
คนทุกช5วงวัยอย5างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ศจพ.) สศช. รaวมกับภาคีการพัฒนาตaาง ๆ และ
14

องคXการทุนเพื่อเด็กแหaงสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund: UNICEF) ออกแบบและพัฒนาระบบ


แสดงผลขcอมูล (Dashboard) เพื่อใชcในการติดตาม แกcไขปjญหาความยากจนและพัฒนาคนทุกชaวงวัยในระดับพื้นที่
เพื่อนำไปใชcประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายและการดำเนินการตaาง ๆ ที่สอดคลcองกับสภาพปjญหาของการพัฒนา
คนทุกชaวงวัย รวมทั้งภูมิสังคมและทรัพยากรในพื้นที่ในลักษณะบูรณาการไดcอยaางรวดเร็ว แมaนยำ และมีประสิทธิภาพ
มากขึ้น
2. ความกAาวหนAาแผนการปฏิรูปประเทศ
2.1 รายงานความคืบหนAาการดำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศตามมาตรา 270
ของรัฐธรรมนูญแห5งราชอาณาจักรไทย ไดcจัดทำรายงานความคืบหนcาฯ เดือนกรกฎาคม - กันยายน 2565 เสนอ
คณะรัฐมนตรี และรัฐสภา โดยมีผลสัมฤทธิ์ของการปฏิรูปประเทศที่สำคัญ สรุปไดc ดังนี้
ดAาน ผลสัมฤทธิ์
(1) การเมือง • ชุดความรูcการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยXทรง
เปEนประมุขในรูปแบบหนังสือ
• หลักสูตรและมีการเรียนการสอนสำหรับเยาวชนและประชาชนทั่วไป
• ความรูcในระดับพื้นที่ผaานศูนยXพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง
(2) บริหารราชการแผaนดิน • งานบริการภาครัฐ e-Service อยaางนcอย 343 บริการ
• แพลตฟอรXมกลางสำหรับประชาชนและภาคธุรกิจ
(3) กฎหมาย การบั ง คั บ ใชc พ ระราชบั ญ ญั ต ิ ห ลั ก เกณฑX ก ารจั ด ทำรa า งกฎหมายและการ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 เพื่อใหcการตรากฎหมายเปEนไป
ไดcโดยละเอียดรอบคอบ ไมaสรcางภาระแกaประชาชนเกินความจำเปEน รวมทั้ง
พัฒนากฎหมายใหcทันสมัยและสอดคลcองกับบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป
(4) กระบวนการยุติธรรม การบังคับใชcพระราชบัญญัติระยะเวลาในการดำเนินงานของกระบวนการ
ยุติธรรม พ.ศ. 2565 เพื่อกำหนดระยะเวลาดำเนินงานในทุกขั้นตอนของ
กระบวนการยุติธรรมใหcชัดเจน
(5) การศึกษา การบั ง คั บ ใชc พ ระราชบั ญ ญั ต ิ ก องทุ น เพื ่ อ ความเสมอภาคทางการศึ ก ษา
พ.ศ. 2561
(6) เศรษฐกิจ การจัดทำรaางพระราชบัญญัติกองทุนชaวยเหลือเพื่อการปรับตัวของภาคการ
ผลิตและภาคบริการที่ไดcรับผลกระทบจากการเป’ดเสรีทางการคcา พ.ศ. ....
เพื่อเปEนแหลaงเงินทุนสำหรับชaวยเหลือเยียวยาผูcที่ไดcรับผลกระทบจากการเป’ด
เสรีทางการคcา ทั้งภาคการผลิตสินคcาการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาค
บริการ
2.2 การดำเนินการภายหลังสิ้นสุดแผนการปฏิรูปประเทศ ตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติ
(27 กันยายน 2565) รับทราบแนวทางการดำเนินการภายหลังการสิ้นสุดของแผนการปฏิรูปประเทศ ในสaวนของการ
พิจารณาทบทวนความจำเปEนและความเหมาะสมเกี่ยวกับอำนาจหนcาที่ของสำนักงานขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ
ยุทธศาสตรXชาติ และการสรcางความสามัคคีปรองดรอง (สำนักงาน ป.ย.ป.) โดย สศช. ไดcประชุมรaวมกับสำนักงาน
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการและไดcขอรายละเอียดเพิ่มเติมจากสำนักงาน ป.ย.ป. ประกอบดcวย ขcอมูล
โครงสรcาง อัตรากำลัง ภารกิจหนcาที่ และสรุปผลการดำเนินงานจนถึงปjจจุบัน เพื่อใชcประกอบการจัดทำแนวทางการ
บริหารจัดการโครงสรcาง และทรัพยากรของสำนักงาน ป.ย.ป. และจะเสนอตaอที่ประชุมคณะกรรมการยุทธศาสตรXชาติ
ตaอไป
3. การติดตาม การตรวจสอบ และการประเมินผลการดำเนินการตามยุทธศาสตรfชาติและ
แผนการปฏิรูปประเทศ สศช. ไดcเผยแพรaชุดขcอมูลโครงการจากระบบติดตามและประเมินผลแหaงชาติ (eMENSCR)
สิ้นสุดไตรมาสที่ 4 ของปuงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวมทั้งสิ้น 177,353 โครงการ โดยหนaวยงานของรัฐและภาคีการ
พัฒนาที่เกี่ยวขcองสามารถนำขcอมูลดังกลaาวไปวิเคราะหXเพื่อใหcเห็นภาพรวมการดำเนินงานของทุกหนaวยงานของรัฐ
และนำไปสูaการประมวลผลหาชaองวaางเชิงนโยบายและการพัฒนาตaาง ๆ รวมทั้งการวางแผนการดำเนินงานในชaวง
ปuงบประมาณตaอ ๆ ไป
15

4. ประเด็นที่ควรเร5งรัดเพื่อการบรรลุเปlาหมายของยุทธศาสตรf ขอใหcหนaวยงานผูcรับผิดชอบ
โครงการเพื่อขับเคลื่อนการบรรลุเป–าหมายตามยุทธศาสตรXชาติที่ผaานการจัดลำดับความสำคัญ ประจำปuงบประมาณ
พ.ศ. 2567 จำนวน 1,026 โครงการ เสนอขอรับจัดสรรงบประมาณตามโครงสรcางยุทธศาสตรXจัดสรรประจำปu
งบประมาณ พ.ศ. 2567 โดยหนaวยงานผูcมีหนcาที่กำกับแผนงานบูรณาการหรืองานวิจัยตcองใหcความสำคัญในการ
พิจารณาจัดสรรงบประมาณโครงการฯ ที่ผaานการจัดลำดับความสำคัญเปEนลำดับแรก ทั้งนี้ หากเปEนโครงการฯ ที่ไมa
เขcาเงื่อนไขในการเสนอขอตั้งผaานชaองทางงบประมาณนั้น ๆ ใหcเรaงประสานแจcงหนaวยงานผูcรับผิดชอบโครงการฯ
รวมทั้งใหcสำนักงานงบประมาณพิจารณาจัดสรรงบประมาณโดยใหcความสำคัญกับโครงการฯ ที่ผaานการจัดลำดับ
ความสำคัญเปEนลำดับแรก
8. เรื่อง รายงานความคืบหนAาในการดำเนินการตามแผนปฏิรูปประเทศตามมาตรา 270 ของรัฐธรรมนูญฯ
ครั้งที่ 17 (เดือนกรกฎาคม - กันยายน 2565)
คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหaงชาติ (สศช.) ในฐานะ
สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการยุทธศาสตรXชาติและคณะกรรมการปฏิรูปประเทศเสนอรายงานความคืบหนcาใน
การดำเนินการตามแผนปฏิรูปประเทศตามมาตรา 270 ของรัฐธรรมนูญแหaงราชอาณาจักรไทย ครั้งที่ 17 (เดือน
กรกฎาคม - กันยายน 2565) และเสนอรัฐสภาเพื่อทราบตaอไป
รายงานดังกลaาวประกอบดcวยสาระสำคัญรวม 4 สaวน ไดcแกa 1) สรุปความคืบหนcาการดำเนินการ
ตามแผนการปฏิรูปประเทศ 2) ความคืบหนcาการจัดทำ/ปรับปรุงกฎหมายภายใตcแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับ
ปรับปรุง) 3) ความคืบหนcาของประเด็นที่รัฐสภาใหcความสนใจเปEนพิเศษ และ 4) การดำเนินการในระยะตaอไป
สรุปไดcดังนี้
1. สรุปความคืบหนAาการดำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ
สศช. ไดcรวบรวมและประมวลผลขcอมูลการดำเนินการปฏิรูปประเทศดcานตaาง ๆ ทั้ง 13
ดcาน ประกอบดcวย กิจกรรมปฏิรูปประเทศที่จะส5งผลใหAเกิดการเปลี่ยนแปลงต5อประชาชนอย5างมีนัยสำคัญ (Big
Rock) รวมทั้งสิ้น 62 กิจกรรม และกฎหมายที่จัดทำ/ปรับปรุงใหม5 รวม 45 ฉบับ โดยมีการระบุเป–าหมายยaอยของ
ความสำเร็จ (Milestone : MS) กรอบระยะเวลาแลcวเสร็จ หนaวยงานรับผิดชอบหลัก และหนaวยงานรaวมดำเนินการไวc
อยaางชัดเจนจากระบบติดตามและประเมินลผลแหaงชาติ (eMENSCR) เพื่อใชcเปEนขcอมูลในการกำกับ ติดตาม และ
เรaงรัดการดำเนินงานตามแผนการปฏิรูปประเทศไดcทันสถานการณX และแกcไขปjญหาไดcตรงจุด รวมทั้งสามารถ
ขับเคลื่อนการดำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศใหcบรรลุผลภายในกรอบระยะเวลาที่กำหนดไวc
ทั้งนี้ รายงานความคืบหนAาฯ รอบเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2565 มีสถานการณf
ดำเนินการของกิจกรรม Big Rock เปcนไปตามที่กำหนดไวAในแผนขับเคลื่อนกิจกรรม Big Rock รAอยละ 88.71
โดยมีความคืบหนAากว5ารอบรายงานรอบที่ผ5านมา และมีผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินโครงการตามแผนปฏิรูปประเทศที่
เปEนรูปธรรม เพื่อใหcเกิดผลตามมาตรา 258 ของรัฐธรรมนูญฯ อันนำไปสูaการบรรลุเป–าหมายในการปฏิรูปประเทศตาม
มาตรา 257 ทั้งนี้ สำหรับกิจกรรม Big Rock ที่ยังมีความลaาชcากวaากรอบระยะเวลาที่กำหนดไวc หนaวยงานรับผิดชอบ
หลักและหนaวยงานรaวมดำเนินการจะไดcเรaงดำเนินงานในสaวนที่เกี่ยวขcองใหcแลcวเสร็จตามกรอบระยะเวลาที่กำหนดไวc
ตaอไป สรุปไดcดังนี้
1.1 ดAานการเมือง มีการดำเนินการตามแผนฯ ภายใตcกิจกรรมปฏิรูปที่ 1 (BR0101) การ
สaงเสริมความรูcทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยXทรงเปEนประมุข โดยมีการดำเนินการใหA
ประชาชนมีความรูAความเขAาใจที่ถูกตAองเกี่ยวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยfทรง
เปcนประมุขและมีส5วนร5วมในการดำเนินกิจกรรมทางการเมืองฯ เชaน การจัดทำชุดความรูAการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยfทรงเปcนประมุขในรูปแบบหนังสือ จัดทำเปcนหลักสูตร และมีการออกแบบสื่อ
การเรียนการสอน (Tool kit) สำหรับเยาวชน และประชาชนทั่วไป รวมทั้งมีการนำหลักสูตรดังกลaาวไปเผยแพรa
และสaงเสริมความรูcใหcกับประชาชนในพื้นที่ผaานศูนยXการเรียนรูcตaาง ๆ ทั่วประเทศ
1.2 ดAานการบริหารราชการแผ5นดิน มีการดำเนินการตามแผนฯ ภายใตcกิจกรรมปฏิรูปที่
1 (BR0201) ปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารงานและการบริการภาครัฐไปสูaระบบดิจิทัล โดยมีการนำเทคโนโลยีที่
เหมาะสมมาประยุกตfใชAในการบริหารราชการแผ5นดินและการจัดทำบริการสาธารณะ เชaน มีการบังคับใชA
พระราชบัญญัติการปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกสf พ.ศ. 2565 เพื่อเปEนกลไกสaงเสริมใหcเกิดการปรับตัวของการ
16

ทำงานและการใหcบริการของภาครัฐใหcเปEนอิเล็กทรอนิกสXมากขึ้น โดยปjจจุบันมีงานบริการภาครัฐผaานระบบ e-
Service รวม 343 บริการ มีแพลตฟอรXมกลางสำหรับประชาชน Citizen Portal ผaานแอปพลิเคชัน “ทางรัฐ” และ
แพลตฟอรXมกลางสำหรับภาคธุรกิจผaานเว็บไซตX (www.bizportal.go.th)
1.3 ดAานกฎหมาย มีการดำเนินการตามแผนฯ ภายใตcกิจกรรมปฏิรูปที่ 1 (BR0301) มี
กลไกยกเลิกหรือแกcไขปรับปรุงกฎหมายที่สรcางภาระหรือเปEนอุปสรรคตaอการดำรงชีวิตหรือการประกอบอาชีพของ
ประชาชน โดยมีกลไกการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือขAอบังคับต5าง ๆ ที่ใชAบังคับอยู5ก5อนวันประกาศใชc
รัฐธรรมนูญนี้ใหcสอดคลcองกับหลักการตามมาตรา 77 และหลักสากล เชaน มีการบังคับใชcพระราชบัญญัติหลักเกณฑf
การจัดทำร5างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 เพื่อใหcการตรากฎหมายเปEนไปโดย
ละเอียดรอบคอบไมaสรcางภาระแกaประชาชนเกินความจำเปEน และพัฒนากฎหมายใหcทันสมัยและสอดคลcองกับบริบท
สังคมที่เปลี่ยนแปลงไป
1.4 ดAานกระบวนการยุติธรรม มีการดำเนินการตามแผนฯ ภายใตcกิจกรรมปฏิรูปที่ 1
(BR0401) การใหcประชาชนสามารถติดตามความคืบหนcาขั้นตอนการดำเนินงานตaาง ๆ ในกระบวนการยุติธรรม โดยมี
การกำหนดระยะเวลาดำเนินงานในทุกขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรมที่ชัดเจนเพื่อใหcประชาชนไดcรับความ
ยุติธรรมโดยไมaลaาชcา และมีกลไกชaวยเหลือประชาชนผูcขาดแคลนทุนทรัพยXใหcเขcาถึงกระบวนการยุติธรรมไดc เชaน มีการ
บังคับใชcพระราชบัญญัติระยะเวลาในการดำเนินงานของกระบวนการยุติธรรม พ.ศ. 2565 และกิจกรรมปฏิรูปที่ 4
ปฏิรูประบบการปลaอยชั่วคราว (BR0404) โดยการจัดใหcมีระบบการปล5อยชั่วคราวไดAทุกวันโดยไม5มีวันหยุด มีศาล
ยุติธรรมทั่วประเทศที่เขcารaวมโครงการ จำนวน 171 แหaง และมีการนำอุปกรณXเครื่องมืออิเล็กทรอนิกสXพรcอมระบบที่
เกี่ยวขcองสำหรับตรวจสอบหรือจำกัดการเดินทางของบุคคลในการปลaอยชั่วคราว (Electronic Monitoring) แกa
ผูcตcองหา/จำเลยในศาลยุติธรรมทั่วประเทศ
1.5 ดAานเศรษฐกิจ มีการดำเนินการตามแผนฯ ภายใตcกิจกรรมปฏิรูปที่ 1 (BR0501) การ
สรcางเกษตรมูลคaาสูง (High Value Added) ซึ่งมีเป–าหมายเปEนการขจัดอุปสรรคและเสริมสรcางความสามารถในการ
แขaงขันของประเทศ โดยไดcมีการจัดทำร5างพระราชบัญญัติกองทุนช5วยเหลือเพื่อการปรับตัวของภาคการผลิตและ
ภาคบริการที่ไดAรับผลกระทบจากการเป•ดเสรีทางการคAา พ.ศ. .... หรือ พ.ร.บ. FTA เพื่อจัดตั้งกองทุนชaวยเหลือเพื่อ
การปรับตัวของภาคการผลิตและภาคบริการที่ไดcรับผลกระทบจากการเป’ดเสรีทางการคcา หรือกองทุน FTA เพื่อเปEน
แหลaงเงินทุนสำหรับชaวยเหลือเยียวยาผูcที่ไดcรับผลกระทบจาก FTA ทั้งภาคการผลิตสินคcาเกษตร ภาคอุตสาหกรรม
และภาคบริการ
1.6 ดAานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลAอม มีการดำเนินการตามแผนฯ ภายใตcกิจกรรม
การปฏิรูปที่ 3 (BR0603) การบริหารจัดการน้ำเพื่อสรcางเศรษฐกิจชุมชนในพื้นที่นอกเขตชลประทาน โดยไดcกำหนดใหc
มีระบบจัดการทรัพยากรน้ำที่มีประสิทธิภาพเปcนธรรมและยั่งยืน เชaน มีการจัดตั้งสำนักงานทรัพยากรน้ำแห5งชาติ
(สทนช.) ซึ่งเปEนกลไกภาครัฐที่สำคัญในการบูรณาการการบริหารจัดการน้ำทั้งหมดอยaางเปEนระบบ เพื่อใหcประเทศ
ไทยมีระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ำที่มีประสิทธิภาพ เปEนธรรมและยั่งยืน โดยคำนึงถึงความตcองการใชcน้ำในทุกมิติ
รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลcอมและสภาพภูมิอากาศ
1.7 ดAานสาธารณสุข มีการดำเนินการตามแผนฯ ภายใตcกิจกรรมปฏิรูปที่ 4 (BR0704)
การปฏิรูประบบหลักประกันสุขภาพและกองทุนที่เกี่ยวขcองใหcมีความเปEนเอกภาพ บูรณาการ เปEนธรรม ทั่วถึง
เพียงพอและยั่งยืนดcานการเงินการคลัง โดยการปรับระบบหลักประกันสุขภาพใหAประชาชนไดAรับสิทธิและประโยชนf
จากการบริหารจัดการและการเขcาถึงบริการที่มีคุณภาพและสะดวกทัดเทียมกัน เช5น มีหลักประกันสุขภาพแห5งชาติ
หรื อ บั ต รทองใหA ป ระชาชนไดA เ ขA า ถึ ง บริ ก ารทางการแพทยf ไ ดA ท ุ ก พื้ น ที่ โ ดยครอบคลุ มสิ ทธิ การรั กษา จำนวน
47,650,952 คน ตaอจำนวนประชากรทั้งประเทศ รcอยละ 99.61
1.8 ดA า นสื ่ อ สารมวลชน เทคโนโลยี สารสนเทศ มี การดำเนิ นการตามแผนฯ ภายใตc
กิจกรรมปฏิรูปที่ 1 (BR0801) การพัฒนาระบบคลังขcอมูลขaาวสารเพื่อการประชาสัมพันธXเชิงรุกและการจัดการ Fake
News โดยมีการจัดตั้งศูนยfประสานงานและแกAไขปWญหาข5าวปลอม (Anti-Fake News Center : AFNC) เพื่อทำ
หนcาที่ตรวจสอบความถูกตcองของขcอมูล และดำเนินการตามกฎหมายกับผูcกระทำความผิด รวมทั้งเผยแพรaขcอมูล
ขaาวสารเกี่ยวกับปjญหาขaาวปลอมผaานทางชaองทางออนไลนX เชaน Website Line และ Facebook รวมถึงการจัด
กิจกรรมสรcางการรับรูcเพื่อรูcเทaาทันและรับมือกับขaาวปลอม
17

1.9 ดAานสังคม มีการดำเนินการตามแผนฯ ภายใตcกิจกรรมปฏิรูปที่ 5 (BR0905) การสรcาง


มูลคaาใหcกับที่ดินที่รัฐจัดใหcกับประชาชน โดยการจัดใหAมีการกระจายการถือครองที่ดินอย5างเปcนธรรม ซึ่งมีการจัด
ที่ดินทำกินใหcชุมชนแลcว 1,442 พื้นที่ใน 70 จังหวัดทั่วประเทศ มีเนื้อที่รวม 5,757,682 ไรa และมีการชaวยเหลือ
ประชาชนทั่วประเทศไดcจำนวน 69,368 ราย
1.10 ดAานพลังงาน มีการดำเนินการตามแผนฯ ภายใตcกิจกรรมปฏิรูปที่ 1 (BR1001) ศูนยX
อนุมัติอนุญาตเบ็ดเสร็จ One-Stop-Service ดcานกิจการไฟฟ–าที่แทcจริง โดยมีการจัดตั้งศูนยfสารสนเทศพลังงาน
แห5งชาติ (เปEนหนaวยงานภายใตcสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน) เพื่อปรับกระบวนการอนุมัติ อนุญาตของ
หนaวยงานที่เกี่ยวขcองใหcสามารถลดระยะเวลาและขั้นตอนที่ไมaจำเปEน และปรับกระบวนการอนุมัติโครงการภาครัฐ
และเอกชนใหcรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อชaวยกระตุcนการลงทุนทางดcานพลังงานของประเทศและลด
ตcนทุนที่เกิดจากระบบไมaมีประสิทธิภาพ
1.11 ดAานการปlองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ มีการดำเนินการตาม
แผนฯ ภายใตcกิจกรรมปฏิรูปที่ 2 (BR1102) การพัฒนาการเขcาถึงขcอมูลขaาวสารและระบบคุcมครองผูcแจcงเบาะแสการ
ทุจริตที่มีประสิทธิภาพ โดยมี ระบบแจA งเบาะแสทางเว็ บไซตf และพัฒนาระบบบริ หารจั ดการผู A แจA งเบาะแส
(Whistleblower Management System : WMS) แบบครบวงจร ซึ่งเริ่มใชcงานเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2565 โดย
ปjจจุบันผูcแจcงเบาะแสทั้งหมด 76 เรื่อง เปEนการแจcงแบบปกป’ดตัวตน จำนวน 66 เรื่อง และเปEนการแจcงแบบเป’ดเผย
ตัวตน จำนวน 10 เรื่อง
1.12 ดAานการศึกษา มีการดำเนินการตามแผนฯ ภายใตcกิจกรรมปฏิรูปที่ 1 (BR1201) การ
สรcางโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาตั้งแตaระดับปฐมวัย โดยไดcมีการตรากฎหมายจัดตั้งกองทุนเพื่อใชAใน
การช5วยเหลือผูAขาดแคลนทุนทรัพยf และลดความเหลื่อมล้ำในการศึกษา ไดcแกa พระราชบัญญัติกองทุนเพื่อความ
เสมอภาคทางการศึกษา พ.ศ. 2561 และกิจกรรมปฏิรูปที่ 2 (BR1202) การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสูaการ
เรียนรูcฐานสมรรถนะเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 โดยมีการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุก
ระดับ เพื่อใหcผูcเรียนสามารถเรียนไดcตามถนัด ภายใตcพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 โดยมี
การจัดการเรียนรูcแบบ Active Learning การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และการพัฒนานวัตกรรมเพิ่มขึ้นในแตaละ
ปuในสถานศึกษานำรaองในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจำนวน 541 สถานศึกษา
1.13 ดAานวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษยf มีผลการดำเนินการ
ตามแผนฯ ภายใตc ก ิ จ กรรมปฏิ ร ู ป ที ่ 1 (BR1301) การสa ง เสริ ม คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมในทุ ก ชa ว งวั ย : ผa า นปฏิ รู ป
อุตสาหกรรมบันเทิงและการใชcกลไกรaวมระหวaางภาครัฐและเอกชนในการขับเคลื่อน โดยมีการปฏิรูปสื่อและ
อุตสาหกรรมบันเทิงดAวย Soft Power และมีการแตaงตั้งคณะอนุกรรมการสaงเสริมภาพลักษณXประเทศผaานสื่อ
บันเทิงในลักษณะอำนาจละมุน (Soft Power) ภายใตcคณะกรรมการภาพยนตรXและวีดิทัศนXแหaงชาติ โดยมีหนcาที่
และอำนาจในการสนับสนุนใหcมีการผลิตหรือรaวมผลิตสื่อบันเทิงบางประเภทกับภาครัฐ และภาคเอกชนทั้งในและ
ตaางประเทศซึ่งจะเปEนกลไกหนึ่งในการขับเคลื่อนการปฏิรูปสื่อและอุตสาหกรรมบันเทิงดcวย Soft Power
2. ความคืบหนAาการจัดทำ/ปรับปรุงกฎหมายภายใตAแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง)
จำนวน 45 ฉบับ ณ สิ้นเดือนกันยายน 2565 ซึ่งมีสถานะความคืบหนcาของกฎหมาย ประกอบดcวย (1) กฎหมายที่
ดำเนินการแลAวเสร็จ จำนวน 9 ฉบับ โดยดำเนินการแลcวเสร็จเพิ่มเติมจากรอบกaอนหนcา จำนวน 2 ฉบับ ไดcแกa
1) พระราชบัญญัติว5าดAวยการปรับเปcนพินัย พ.ศ. 2565 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2565
และ 2) พระราชบัญญัติกำหนดระยะเวลาดำเนินงานในกระบวนการยุติธรรม พ.ศ. 2565 ประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2565 และ (2) กฎหมายที่อยู5ระหว5างการดำเนินการ จำนวน 36 ฉบับ โดยมี
กฎหมายที่มีสถานะการจัดทำ/ปรับปรุงคืบหนcากวaารอบรายงานที่ผaานมา จำนวน 6 ฉบับ ทั้งนี้ยังมีกฎหมายที่อยูa
ระหวaางหนaวยงานของรัฐจัดทำรaางกฎหมาย จำนวน 23 ฉบับ ซึ่งเปEนหนcาที่ของหนaวยงานผูcรับผิดชอบในการเรaง
ดำเนินการจัดทำ/ปรับปรุงใหcแลcวเสร็จและนำเสนอตามขั้นตอนของกฎหมายตaอไป
3. ความคืบหนAาของประเด็นที่รัฐสภาใหAความสนใจเปcนพิเศษ
สศช. ไดc ส รุ ป รายงานตามประเด็ น ขc อ เสนอแนะของสมาชิ ก วุ ฒ ิ ส ภาในคราวประชุ ม
เมื่อวันจันทรXที่ 7 พฤศจิกายน 2565 ที่ไดcรับทราบรายงานความคืบหนcาการดำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ
ตามมาตรา 270 ของรัฐธรรมนูญฯ (เดือนมกราคม - มีนาคม 2565) เพื่อรายงานสรุปผลการดำเนินงานตaาง ๆ ที่
18

เกี่ยวขcอง พรcอมทั้งไดcสรุปรายงานสถานะความคืบหนcาของกฎหมายที่วุฒิสภาเห็นควรใหcความสำคัญในการเรaงรัด ทั้ง


10 ฉบับ เพื่อใชcเปEนแนวทางในการกำกับ ติดตาม และเรaงรัดการดำเนินงานในสaวนที่เกี่ยวขcองตaอไป
4. การดำเนินการในระยะต5อไป
สศช. ไดA ม ี ก ารดำเนิ น การตามแผนปฏิ ร ู ป ประเทศอย5 า งต5 อ เนื ่ อ ง โดยร5 ว มมื อ กั บ
หน5วยงานรับผิดชอบหลักและหน5วยงานร5วมดำเนินการในการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศผaานกลไกของแผน
ระดับที่ 2 และ แผนระดับที่ 3 และการดำเนินการตaาง ๆ ของหนaวยงานที่ไดcเชื่อมโยงประเด็นปฏิรูปประเทศกับ
เป–าหมายระดับแผนแมaบทยaอย (Y1) ของแผนแมaบทภายใตcยุทธศาสตรXชาติ และเป–าหมายระดับหมุดหมายของ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหaงชาติฉบับที่ 13 ซึ่งมีแนวทางการดำเนินงานที่สอดคลcองกัน เพื่อใชcเปEนกรอบในการ
ขับเคลื่อน กำกับ และติดตามการดำเนินงานของหนaวยงานที่เกี่ยวขcองใหcมีความตaอเนื่อง และผลักดันใหcเกิดผลสัมฤทธิ์
ของการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญฯ อยaางยั่งยืนตaอไป ทั้งนี้ สำหรับรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนการ
ปฏิรูปประเทศนั้น สศช. จะไดcดำเนินการจัดทำรายงานความคืบหนcาฯ ตามมาตรา 270 ของรัฐธรรมนูญฯ สำหรับ
รอบรายงานเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2565 เปEนรอบรายงานสุดทcาย รวมถึงจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานตาม
แผนการปฏิรูปประเทศ ประจำปu 2565โดยใชcขcอมูลผลการดำเนินงานสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565
9. เรื่อง (ร5าง) แผนพัฒนาการกีฬาแห5งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566 – 2570)
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและประกาศใชc (รaาง) แผนพัฒนาการกีฬาแหaงชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566
– 2570) (แผนพัฒนาการกีฬาฯ ฉบับที่ 7) ตามที่คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแหaงชาติ (คกช.) เสนอ
สาระสำคัญของเรื่อง
คกช. รายงานวaา
1. ที่ผaานมาประเทศไทยไดcจัดทำแผนพัฒนาดcานการกีฬามาแลcว 6 ฉบับ ตั้งแตaแผนพัฒนาการกีฬา
แหaงชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2531 – 2539) จนถึงแผนพัฒนาการกีฬาแหaงชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560 – 2564) โดย
แผนพัฒนาการกีฬาแหaงชาติ ฉบับที่ 6 คณะรัฐมนตรีไดcมีมติเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2565 เห็นชอบใหcขยายระยะเวลา
การใชcงานแผนพัฒนาการกีฬาแหaงชาติ ฉบับที่ 6 ออกไปอีก 1 ปu โดยยังคงใชcไดcตaอไปจนถึงวันที่ 30 กันยายน 2565
กก. จึงไดcจัดทำแผนพัฒนาการกีฬาฯ ฉบับที่ 7 ที่สอดคลcองกับยุทธศาสตรXชาติ 20 ปu แผนแมaบทภายใตcยุทธศาสตรX
ชาติ ประเด็น (14) ศักยภาพการกีฬาแผนแมaบทเฉพาะกิจภายใตcยุทธศาสตรXชาติอันเปEนผลมาจากสถานการณXโควิด-
19 พ.ศ. 2564 – 2565 แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ดcานวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษยX นโยบายและแผนระดับชาติวaาดcวยความมั่นคงแหaงชาติ (พ.ศ. 2562 – 2565) และ (รaาง) แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหaงชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) รวมทั้งแผนระดับปฏิบัติการอื่น ๆ ที่เกี่ยวขcองดcานการ
กีฬา เพื่อใหcประเทศไทยมีทิศทางการพัฒนาการกีฬาอยaางเปEนรูปธรรมและสามารถขับเคลื่อนการดำเนินงานไดcอยaาง
ตaอเนื่องในระยะถัดไป ทั้งนี้ ไดcผaานการพิจารณาจากทุกภาคสaวนและในคราวประชุม คกช. ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันที่
22 กันยายน 2564 คกช. ไดcมีมติเห็นชอบในหลักการแผนพัฒนาการกีฬาฯ ฉบับที่ 7 ดcวยแลcว
2. สาระสำคัญของแผนพัฒนาการกีฬาฯ ฉบับที่ 7
แผนพัฒนาการกีฬาฯ ฉบับที่ 7 มีฐานะเปEนแผนระดับที่ 3 เพื่อใหcหนaวยงานตaาง ๆ ทั้งภาครัฐและ
เอกชนใชcเปEนกรอบแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปuของแตaละหนaวยงานเพื่อชaวยผลักดันและขับเคลื่อน
การพัฒนาตามแผนสูaการปฏิบัติอยaางเปEนรูปธรรม เพื่อใหcการกีฬาเปEนกลไกสำคัญในการเสริมสรcางความมั่นคงทาง
สังคมและความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจของประเทศอยaางยั่งยืนตaอไป โดยมีรายละเอียด ดังนี้
2.1 วิสัยทัศนf พันธกิจ เปlาประสงคf และตัวชี้วัดหลัก
หัวขAอ สาระสำคัญ
วิสัยทัศนf กีฬาพัฒนาคน สังคม และเพิ่มมูลคaาเศรษฐกิจไทย
พันธกิจ พันธกิจที่ 1 : การกีฬาเปEนกลไกสำคัญในการเสริมสรcางความมั่นคงทางสังคม
พันธกิจที่ 2 : การกีฬาเปEนกลไกสำคัญในการเสริมสรcางความมั่นคั่งทางเศรษฐกิจ
เปlาประสงคf (1) ประชาชนทุกกลุaม (เด็ก เยาวชน และประชาชน) มีการออกกำลังกายและเลaนกีฬา
อยaางสม่ำเสมอ
(2) นั ก กี ฬ าผู c แ ทนของประเทศไทยประสบความสำเร็ จ ในการแขa ง ขั น กี ฬ าระดั บ
นานาชาติ
19

(3) บุคลากรดcานการกีฬาทั่วประเทศไดcรับการรับรองมาตรฐานเพิ่มขึ้น
(4) อุตสาหกรรมการกีฬามีการเติบโตอยaางตaอเนื่องและสามารถสรcางมูลคaาเพิ่มทาง
เศรษฐกิจของประเทศ
ตัวชี้วัดหลัก (1) ประชากรทุกภาคสaวนออกกำลังกายและเลaนกีฬาอยaางสม่ำเสมอ ไมaนcอยกวaารcอยละ
50 ภายในปu 2570
(2) อันดับการแขaงขันกีฬาในมหกรรมกีฬาระดับนานาชาติของนักกีฬาไทย อยูaในอันดับ
6 ในระดับเอเชียในรายการแขaงขันกีฬาโอลิมป’กเกมสX กีฬาพาราลิมป’กเกมสX กีฬา
เอเชียนเกมสX และกีฬาเอเชียนพาราเกมสX ภายในปu 2570
(3) บุคลากรดcานการกีฬาไดcรับการรับรองมาตรฐาน เพิ่มขึ้นรcอยละ 5 ตaอปu
(4) มูลคaาอุตสาหกรรมการกีฬามีอัตราการเติบโตโดยเฉลี่ยไมaนcอยกวaารcอยละ 5 ตaอปu
(5) มีฐานขcอมูล องคXความรูc และแพลตฟอรXมการประมวลผลดcานการสaงเสริมและ
พัฒนาการกีฬาอยaางมีประสิทธิภาพ
(6) มีแผนการขับเคลื่อนติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามประเด็นการพัฒนา
และมีการรายงานตามแผนรายไตรมาสและรายปu
(7) มีการประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานตาม
ประเด็นการพัฒนาในระยะครึ่งแผนพัฒนากีฬาฯ ฉบับที่ 7 และสิ้นแผนดังกลaาว
(8) มีแผนการจัดการความเสี่ยงเพื่อเตรียมความพรcอมและป–องกันผลกระทบที่เกิดจาก
ความเสี่ยงในดcานตaาง ๆ เชaน โรคติดตaออุบัติใหมaที่สaงผลตaอการสaงเสริมและพัฒนาการ
กีฬาในแตaละประเด็นพัฒนา
2.2 นโยบายพัฒนาการกีฬาแห5งชาติ มีรายละเอียดสรุปไดc ดังนี้
2.2.1 นโยบายเร5งด5วน ประกอบดcวย
นโยบายที่ สาระสำคัญ
นโยบายที่ 1 สaงเสริมการพัฒนาการกีฬาที่มีการบริหารจัดการโดยคำนึงความสำคัญของสิ่งแวดลcอม
และสอดคลcองกับโมเดลเศรษฐกิจสูaการพัฒนาที่ยั่งยืน (BCG Economy Model)
นโยบายที่ 2 สนับสุนนการสรcางการรับรูcและความตระหนักแกaเด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป ผูc
พิการ บุคคลกลุaมพิเศษ และผูcดcอยโอกาส
นโยบายที่ 3 สaงเสริมการออกกำลังกายและการเลaนกีฬา การจัดกิจกรรมกีฬา และการแขaงขันกีฬา
ภายใตcความปกติใหมa (New Normal)
นโยบายที่ 4 กำหนดใหcประเด็นการสaงเสริมการออกกำลังกายและการพัฒนาการกีฬาเปEนหนึ่งใน
เป–าหมายหลักในระดับจังหวัดและทcองถิ่น
นโยบายที่ 5 สaงเสริมและสนับสนุนการพัฒนากีฬาอยaางเปEนระบบโดยบูรณาการรaวมกับระบบ
การศึกษาของประเทศ
2.2.2 นโยบายในการขับเคลื่อนแผนระยะยาว ประกอบดcวย
นโยบายที่ สาระสำคัญ
นโยบายที่ 1 สa ง เสริ ม การเลa น กี ฬ าและการแขa ง ขั น กี ฬ าตามความถนั ด หรื อ ความสนใจของเด็ ก
เยาวชน และประชาชน
นโยบายที่ 2 สaงเสริมการใชcวิทยาศาสตรXการกีฬา นวัตกรรม และเทคโนโลยีการกีฬาในการพัฒนา
ศักยภาพของนักกีฬา รวมทั้งนักกีฬาคนพิการ
นโยบายที่ 3 พัฒนาบุคลากรดcานการกีฬาอยaางเปEนระบบและมีมาตรฐาน
นโยบายที่ 4 ผลักดันและสนับสนุนการเปEนเจcาภาพจัดกิจกรรมกีฬาเชิงทaองเที่ยว (Sport Tourism)
และมหกรรมการแขaงขันกีฬาระดับชาติและนานาชาติ (Sports Mega-Events) ใน
ประเทศไทย
นโยบายที่ 5 พัฒนาขีดความสามารถในการแขaงขันของธุรกิจอุตสาหกรรมการกีฬา
นโยบายที่ 6 พัฒนาแพลตฟอรXมและระบบฐานขcอมูลสารสนเทศดcานกีฬา
20

นโยบายที่ 7 พัฒนาโครงสรcางพื้นฐาน อุปกรณX สถานที่ สิ่งอำนวยความสะดวก


นโยบายที่ 8 สรcางและพัฒนาศูนยXฝ´กกีฬา สนามกีฬา ศูนยXวิทยาศาสตรXการกีฬา อุปกรณXการกีฬาใหc
ไดcมาตรฐานสากล
นโยบายที่ 9 ยกระดับการบริหารจัดการกีฬาในทุกระดับอยaางมีประสิทธิภาพบนพื้นฐานของธรรมาภิ
บาล
2.3 ประเด็นการพัฒนาการกีฬาในระยะแผนพัฒนาการกีฬาฯ ฉบับที่ 7 ประกอบดcวย 5 ประเด็น
ดังนี้
หัวขAอ สาระสำคัญ
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 : การส5งเสริมและพัฒนาการออกกำลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน
ตัวชี้วัด (1) เด็ ก และเยาวชนทั ่ ว ประเทศไมa น c อ ยกวa า รc อ ยละ 80 ผa า นเกณฑX ม าตรฐาน
สมรรถภาพทางกาย
(2) มีการนำหลักการวิทยาศาสตรXการกีฬาขั้นพื้นฐานและการฉลาดรูcทางกาย
(Physical Literacy) มาสอนในวิชาพลศึกษาหรือวิชาอื่น ๆ ที่มีความเหมาะสม
(3) สถานศึกษาจัดใหcมีวิชาพลศึกษาอยaางนcอย 2 ชั่วโมงตaอสัปดาหX
(4) มีการจัดกิจกรรมกีฬาหรือการแขaงขันกีฬาสำหรับเด็กและเยาวชนทุกโรงเรียน
อยaางนcอยโรงเรียนละ 1 ครั้งตaอปu
(5) มีการแขaงขันกีฬาที่มีมาตรฐานตามที่กำหนดสำหรับเด็กและเยาวชนในระดับ
อำเภอทุกอำเภอ อยaางนcอยอำเภอละ 1 ครั้งตaอปu และระดับจังหวัดทุกจังหวัดอยaาง
นcอยจังหวัดละ 1 ครั้งตaอปu
(6) มีการจัดเตรียมและพัฒนาสถานที่ออกกำลังกายและเลaนกีฬาของเด็กและ
เยาวชนที่มีความปลอดภัยและเหมาะสมในทุกโรงเรียนภายในปu 2570
แนวทางการพัฒนา (1) การสรcางการรับรูc ความตระหนัก และความตcองการเพื่อการสaงเสริมและ
พัฒนาการออกกำลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน
(2) การสนับสนุนปjจจัยเอื้อเพื่อการสaงเสริมและพัฒนาการออกกำลังกายและกีฬา
ขั้นพื้นฐาน
(3) การยกระดับการบริหารจัดการเพื่อสaงเสริมและพัฒนาการออกกำลังกายและ
กีฬาขั้นพื้นฐาน
หน5วยงานหลัก กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) และ กก. [มหาวิทยาลัยการกีฬาแหaงชาติ (มกช.) และ
กรมพลศึกษา (กพล.)]
หน5วยงานสนับสนุน เชaน กก. [สำนักงานปลัดกระทรวงการทaองเที่ยวและกีฬา (สป.กก.) และการกีฬา
แหaงประเทศไทย (กกท.)] กระทรวงมหาดไทย (มท.) กระทรวงสาธารณสุข (สธ.)
กระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและความมั ่ น คงของมนุ ษ ยX (พม.) กระทรวงการ
อุดมศึกษา วิทยาศาสตรX วิจัยและนวัตกรรม (อว.) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
และสังคม (ดศ.) และกรุงเทพมหานคร (กทม.) เปEนตcน
โครงการสำคัญ เชaน
(1) โครงการจัดกิจกรรมพิเศษเกี่ยวกับกีฬา (มท. และ กทม.)
(2) โครงการพัฒนาศูนยXฝ´กกีฬาอำเภอ (กก. มท. และ ศธ.)
(3) โครงการจัดทำแพลตฟอรXมดcานการออกกำลังกายของเด็กและเยาวชน (กก.)
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 : การส5งเสริมและพัฒนาการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อมวลขน
ตัวชี้วัด (1) สัดสaวนของประชาชนทุกกลุaมที่มีคaาดัชนีมวลกาย (BMI) อยูaในระดับมาตรฐาน
ดีขึ้นรcอยละ 5 ตaอปu
(2) มีการจัดกิจกรรมกีฬาหรือการแขaงขันกีฬาสำหรับประชาชนทุกกลุaมในทุก
ทcองถิ่นทั่วประเทศโดยในภาพรวมเพิ่มขึ้นไมaนcอยกวaารcอยละ 10 ตaอปu
(3) มีการยกระดับพื้นที่สาธารณะที่มีศักยภาพในชุมชนเปEนลานกีฬาทcองถิ่นครบทุก
หมูaบcานภายในปu 2570
21

(4) มีการสรcางหรือพัฒนาใหcมีศูนยXฝ´กกีฬาที่มีมาตรฐานตามที่กำหนดประจำอำเภอ
1 แหaงตaออำเภอ
(5) มีประเด็นการสaงเสริมการออกกำลังกายและการพัฒนาการกีฬาในแผนพัฒนา
จังหวัดและแผนพัฒนาทcองถิ่น ภายในปu 2566
แนวทางการพัฒนา (1) การสรcางการรับรูc ความตระหนัก และความตcองการเพื่อสaงเสริมและพัฒนาการ
ออกกำลังกายและกีฬาเพื่อมวลชนใหcเปEนวิถีชีวิต
(2) การสนับสนุนปjจจัยเอื้อเพื่อสaงเสริมและพัฒนาการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อ
มวลชนใหcเปEนวิถีชีวิต
(3) การยกระดับการบริหารจัดการเพื่อสaงเสริมและพัฒนาการออกกำลังกายและ
กีฬาเพื่อมวลชนใหcเปEนวิถีชีวิต
หน5วยงานหลัก มท. พม. กก. (กพล.)
หน5วยงานสนับสนุน เชaน กก. (สป.กก. มกช. และ กกท.) สธ. กระทรวงกลาโหม (กห.) อว. ดศ. และ
กทม. เปEนตcน
โครงการสำคัญ เชaน
(1) โครงการสaงเสริมการออกกำลังกายและเลaนกีฬาหมูaบcาน 1 ตำบล 1 ชนิดกีฬา
(One Tambol One Sport: OTOS) (กก. และ มท.)
(2) โครงการยกระดับลานกีฬาทcองถิ่นจากพื้นที่สาธารณะที่มีศักยภาพในพื้นที่ทุก
ชุมชน (มท.)
(3) โครงการพัฒนาแพลตฟอรXมการประมวลผลขcอมูลกิจกรรมทางกาย การออก
กำลั ง กายและการเลa น กี ฬ าของประชาชน (CALORIES CREDIT CHALLENGE)
(กก.)
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 : การส5งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเปcนเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ
ตัวชี้วัด (1) มีจำนวนนักกีฬาหนcาใหมaเพิ่มขึ้นในระดับชาติและ/หรือระดับนานาชาติ ไมaนcอย
กวaารcอยละ 5 ตaอปu
(2) มีจำนวนนักกีฬาอาชีพเพิ่มขึ้นไมaนcอยกวaารcอยละ 5 ตaอปu
(3) จำนวนรายการการแขaงขันในระดับนานาชาติมีผลงานตั้งแตaอันดับที่สามของ
รายการขึ้นไป เพิ่มขึ้นไมaนcอยกวaารcอยละ 5 ตaอปu ของจำนวนรายการที่เขcารaวมการ
แขaงขัน
(4) อั น ดั บ การแขa ง ขั น กี ฬ าซี เ กมสX แ ละกี ฬ าอาเซี ย นพาราเกมสX อ ยู a ใ นอั น ดั บ 1
(นับเฉพาะกีฬาสากล)
(5) มีการพัฒนาศูนยXวิทยาศาสตรXการกีฬาใหcมีมาตรฐานระดับอาเซียน จำนวนไมa
นcอยกวaา 10 แหaง ภายในปu 2570
(6) มีการพัฒนาศูนยXฝ´กกีฬาผaานเกณฑXมาตรฐานสากล จำนวนไมaนcอยกวaา 12 แหaง
ภายในปu 2570
(7) จัดตั้งศูนยXฝ´กกีฬาแหaงชาติ (National Training Center: NTC) แหaงแรกไดc
สำเร็จ ภายในปu 2570
(8) มีองคXกรกีฬาเปEนเลิศและอาชีพที่ผaานเกณฑXการบริหารจัดการองคXกรตาม
มาตรฐานที่กำหนด ไมaนcอยกวaารcอยละ 80
(9) มีหลักสูตรเฉพาะทางสำหรับผูcที่ตcองการหรือมีศักยภาพที่จะพัฒนาเปEนนักกีฬา
ในการศึกษาทุกระดับตั้งแตaระดับประถมศึกษาจนถึงอุดมศึกษา ภายในปu 2566
แนวทางการพัฒนา (1) การสa ง เสริ ม ความตc อ งการเพื ่ อ พั ฒ นาการกี ฬ าความเปE น เลิ ศ และกี ฬ าเพื่ อ
การอาชีพ
(2) การสนับสนุนปjจจัยเอื้อเพื่อการสaงเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเปEนเลิศ
และกีฬาเพื่อการอาชีพ
22

(3) การยกระดับการบริหารจัดการ เพื่อการสaงเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความ


เปEนเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ
หน5วยงานหลัก กก. (กกท.)
หน5วยงานสนับสนุน เชaน กก. (สป.กก. กพล. และ มกช.) มท. ศธ. กห. อว. และ กทม. เปEนตcน
โครงการสำคัญ เชaน
(1) โครงการสรรหาและคัดเลือกนักกีฬาเปEนเลิศเขcาสูaการเปEนนักกีฬาทีมชาติ (กก.)
(2) โครงการสรcางและพัฒนาศูนยXฝ´กกีฬาใหcมีมาตรฐานสากล (กก.)
(3) โครงการศึกษาและทบทวนมาตรฐานรายการแขaงขันกีฬาอาชีพ (กก.)
ประเด็นการพัฒนาที่ 4 : การส5งเสริมและพัฒนาบุคลากรการกีฬา
ตัวชี้วัด (1) ครูผูcสอนพลศึกษาในโรงเรียนทั่วประเทศไดcรับการพัฒนาศักยภาพในการจัด
กิจกรรมการออกกำลังกายและการเลaนกีฬาผaานการทดสอบตามเกณฑXที่กำหนด ไมa
นcอยกวaารcอยละ 80 ภายในปu 2570
(2) มีอาสาสมัครการกีฬาที่ไดcรับการพัฒนาครบทุกหมูaบcาน ภายในปu 2567 และไดc
ปฏิบัติหนcาที่ผูcนำในการออกกำลังกายตามเกณฑXที่กำหนด ไมaนcอยกวaารcอยละ 80
ภายในปu 2570
(3) จำนวนหลักสูตรมาตรฐานเพื่อพัฒนาครูผูcสอนพลศึกษา ไมaนcอยกวaา 2 หลักสูตร
ตaอปu
(4) จำนวนหลั ก สู ต รมาตรฐานเพื ่ อ พั ฒ นาอาสาสมั ค รการกี ฬ า ไมa น c อ ยกวa า 2
หลักสูตรตaอปu
(5) จำนวนหลั กสู ตรการอบรมเพื ่ อการพั ฒนาบุ คลากรการกี ฬาที ่ ไดc มาตรฐาน
เทียบเทaาระดับสากล ไมaนcอยกวaา 10 หลักสูตรตaอปu
(6) จำนวนบุคลากรการกีฬา (ผูcฝ´กสอนกีฬา ผูcตัดสินกีฬา ผูcบริหารการกีฬา) ไดcรับ
การรับรองมาตรฐานเพิ่มขึ้น ไมaนcอยกวaารcอยละ 5 ตaอปu
(7) จำนวนบุคลากรการกีฬาประเภทอื่น ๆ เพื่อรองรับอุตสาหกรรมการกีฬา 5
ประเภท ธุรกิจผaานการอบรมเพิ่มขึ้นไมaนcอยกวaารcอยละ 5 ตaอปu
(8) มีจำนวนผลงานดcานวิจัยหรือนวัตกรรมดcานการพัฒนาการกีฬาที่นำไปใชc
ประโยชนXในการพัฒนาการกีฬา อยaางนcอย 6 ผลงานตaอปu
แนวทางการพัฒนา (1) การพัฒนาหลักสูตรสำหรับพัฒนาบุคลากรการกีฬาที่เปEนมาตรฐาน
(2) การพัฒนาเพื่อยกระดับสมรรถนะของบุคลากรการกีฬา
(3) การรับรองมาตรฐานบุคลากรการกีฬา
(4) การยกระดับการบริหารจัดการเพื่อการสaงเสริมและพัฒนาบุคลากรการกีฬา
หน5วยงานหลัก กก. (สป.กก.)
หน5วยงานสนับสนุน เชaน กก. (กพล.มกช. และ กกท.) มท. ศธ. สธ. อว. ดศ. และ กทม. เปEนตcน
โครงการสำคัญ เชaน
(1) โครงการจัดทำหลักสูตรพัฒนาศักยภาพครูผูcสอนพลศึกษา (กก.)
(2) โครงการอบรมครูผูcสอนพลศึกษา (กก.)
(3) โครงการจัดทำเกณฑXเพื่อรับรองมาตรฐาน สำหรับครูผูcสอนพลศึกษา (กก.)
(4) โครงการบู ร ณาการกั บ หนa ว ยงานที ่ เ กี ่ ย วขc อ งในการจั ด ตั ้ ง สภาวิ ช าชี พ
นักวิทยาศาสตรXการกีฬาและออกกำลังกาย (กก. และ อว.)
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 : การส5งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา
ตัวชี้วัด (1) จำนวนและมูลคaารายไดcของผูcประกอบการที่เกี่ยวขcองกับธุรกิจการกีฬามีอัตรา
เพิ่มขึ้นอยaางตaอเนื่อง ไมaนcอยกวaารcอยละ 5 ตaอปu
(2) มูลคaาการสaงออกทางการกีฬาโดยรวมมีอัตราการเติบโตอยaางตaอเนื่อง ไมaนcอย
กวaารcอยละ 5 ตaอปu
23

(3) มูลคaาทางเศรษฐกิจในการจัดการแขaงขันกีฬาในประเทศเพิ่มขึ้นไมaนcอยกวaารcอย
ละ 5 ตaอปu
(4) จำนวนกิจกรรมกีฬาเชิงทaองเที่ยวทั้งของภาครัฐและภาคเอกชนทุกจังหวัด
เพิ่มขึ้นไมaนcอยกวaารcอยละ 10 ตaอปu
(5) มีกิจกรรมกีฬาเชิงทaองเที่ยวที่เปEนอัตลักษณXประจำจังหวัดทั่วประเทศ (ทุก
จังหวัดภายในปu 2570)
(6) มีมาตรการดcานการเงินและ/หรือภาษี เพื่อสนับสนุนผูcประกอบการธุรกิจที่
เกี่ยวขcองกับการกีฬา
(7) การลงทุนจากภาครัฐและ/หรือภาคเอกชนในการคcนควcาและวิจัยที่เกี่ยวขcองกับ
การสรcางนวัตกรรมการกีฬามีอัตราการเติบโตไมaนcอยกวaาอัตราการเจริญเติบโตของ
มูลคaาการลงทุนดcานการวิจัย และพัฒนา (R&D) ในภาพรวมของประเทศในแตaละปu
(8) การยื่นจดอนุสิทธิบัตร สิทธิบัตร หรือลิขสิทธิ์ นวัตกรรมทางการกีฬาเชิงพาณิชยX
เพิ่มขึ้นไมaนcอยกวaา 2 ชิ้นงานตaอปu
(9) การพัฒนาเมืองกีฬาใหcสำเร็จและยั่งยืนอยaางนcอยปuละ 1 แหaง
(10) มีการจัดทำขcอมูลผลิตภัณฑXมวลรวมภายในประเทศดcานการกีฬา (Gross
Domestic Sport Product: GDSP) และการประเมิ น ผลตอบแทนทางสั ง คม
(Social Return On Investment: SROI) ที่เกี่ยวขcองภายในปu 2566
แนวทางการพัฒนา (1) การสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพในการแขaงขันของธุรกิจในอุตสาหกรรมการ
กีฬา
(2) การสนับสนุนปjจจัยเอื้อ เพื่อการสaงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรม
การกีฬา
(3) การยกระดับการบริหารจัดการ เพื่อการสaงเสริมและสนับสนุนการพัฒนา
อุตสาหกรรมการกีฬา
หน5วยงานหลัก กก. (สป.กก.)
หน5วยงานสนับสนุน เชaน กก. (กรมการทaองเที่ยว การทaองเที่ยวแหaงประเทศไทย และ กกท.) มท.
กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชยX กระทรวงคมนาคม (คค.) อว. ดศ. และ
กทม. เปEนตcน
โครงการสำคัญ เชaน
(1) โครงการสaงเสริมการจัดกิจกรรมกีฬาเชิงทaองเที่ยวทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
อยaางตaอเนื่อง (กก.)
(2) โครงการพัฒนาระบบฐานขcอมูลดิจิทัลดcานอุตสาหกรรมกีฬา (กก.)
(3) โครงการสำรวจโครงสรcางและความตcองการของแรงงานในอุตสาหกรรมกีฬา
ของประเทศไทย (กก.)
2.4 แนวทางการขับเคลื่อนแผนสู5การปฏิบัติ การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการกีฬาฯ ฉบับที่ 7 ไปสูa
การปฏิบัติใหcมีประสิทธิภาพและมีความสอดคลcองกันตั้งแตaระดับนโยบายจนถึงระดับปฏิบัติการมีรายละเอียดสรุปไดc
ดังนี้
หัวขAอ แนวทางการขับเคลื่อนแผนสู5การปฏิบัติ
(1) ระดับนโยบาย คกช. เปEนกลไกสำคัญในการกำหนดนโยบายหรือใหcความเห็น กำกับดูแลการ
ดำเนินงานที่เกี่ยวขcองกับการพัฒนาการกีฬา รวมทั้งเสนอมาตรการแกcไขปjญหา
อุปสรรคการปฏิบัติการตามนโยบายและแผนพัฒนาการกีฬาแหaงชาติ และการ
ปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือขcอบังคับที่เกี่ยวขcองใหcเอื้อตaอการพัฒนาการ
กีฬาของชาติกaอนนำเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อใหcความเห็นชอบและสั่งการตaอไป
(2) ระดับการ คกช. แตaงตั้งคณะอนุกรรมการจัดทำและติดตามการดำเนินงานตามแผนพัฒนาการ
ขับเคลื่อนแผน กีฬาฯ ฉบับที่ 7 เพื่อติดตามการดำเนินงานตามภารกิจที่กำหนดไวcในแผนพัฒนา
การกี ฬ าแหa ง ชาติ แ ละผลั ก ดั น ขั บ เคลื ่ อ น ใหc ข c อ เสนอแนะ การพั ฒ นาตาม
24

แผนพั ฒ นาการกี ฬ าแหa ง ชาติ ไ ปสู a ก ารปฏิ บ ั ต ิ อ ยa า งเปE น รู ป ธรรมในการจั ด ทำ


แผนปฏิบัติการขององคXกรและหนaวยงานที่รับผิดชอบ ทั้งนี้ หนaวยงานรับผิดชอบ
หลักในแตaละประเด็นการพัฒนาทำหนcาที่ประสานความรaวมมือกับหนaวยงาน
สนับสนุนและเปEนผูcสนับสนุนการพัฒนาในสaวนภูมิภาคโดยกำหนดบทบาทการ
พัฒนาและแนวทางการขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนา ไดcแกa การสaงเสริม สนับสนุน
และอำนวยความสะดวกการดำเนินงานใหcมีประสิทธิภาพ ตลอดจนเผยแพรaผลการ
ดำเนินงานใหcทราบเปEนระยะ
(3) ระดับปฏิบัติการ ใหcหนaวยงานซึ่งมีหนcาที่ดำเนินการตามภารกิจที่กำหนดไวcในแผนพัฒนาการกีฬา
แหaงชาติดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการพัฒนาการกีฬาและปฏิบัติการใหcเปEนไป
ตามแผนพัฒนาการกีฬาแหaงชาติ แกcไขปรับปรุงแผนปฏิบัติการพัฒนาการกีฬาใหc
เปEนไปตามแผนพัฒนาการกีฬาฯ ฉบับที่ 7 รวมทั้งหนaวยงานภาครัฐ และภาคเอกชน
ที่เกี่ยวขcองกับการพัฒนาการกีฬาของประเทศ ดำเนินการตามนโยบายที่ คกช.
มอบหมาย โดยการประสานงานและบูรณาการการดำเนินงานใหcสอดคลcองกับการ
ขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนา
3. กก. ไดAนำเสนอแผนพัฒนาการกีฬาฯ ฉบับที่ 7 ต5อสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแห5งชาติ (สคช.) ซึ่งในคราวประชุมสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหaงชาติ (สภาพัฒนาฯ) ครั้งที่ 8/2565
เมื ่ อวั นที ่ 6 กรกฎาคม 2565 ไดc มี มติ เ ห็ นชอบแผนพั ฒนาการกี ฬาฯ ฉบั บที ่ 7 โดยใหc กก. รั บความเห็ นและ
ขcอเสนอแนะของสภาพัฒนาฯ ไปพิจารณาเพิ่มเติมในรายละเอียดของแผนดังกลaาวดcวย เชaน ควรเพิ่มเติมความ
สอดคลcองของแผนพัฒนาการกีฬาฯ ฉบับที่ 7 กับ (รaาง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหaงชาติ ฉบับที่ 13 อาทิ
หมุดหมายที่ 7 ไทยมีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยaอมที่เขcมแข็ง มีศักยภาพสูงและสามารถแขaงขันไดc เนื่องจาก
แผนพัฒนาการกีฬาฯ ฉบับที่ 7 มีประเด็นการสaงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬาฯ ควรมีการ
ออกแบบหลักสูตรการออกกำลังกายและการกีฬารaวมกับ ศธ. โดยพิจารณาจากศักยภาพและความพรcอมของ
สถาบันการศึกษาใหcมีความเหมาะสมในแตaละแหaง ควรใหcความสำคัญกับการกำหนดแนวทางในการสนับสนุนนักกีฬา
ตลอดชaวงชีวิตโดยเฉพาะการใหcสวัสดิการบุคลากรการกีฬาที่สรcางชื่อเสียงใหcกับประเทศไทยในระดับนานาชาติ ควร
จัดหมวดหมูaประเภทกีฬาที่ประเทศไทยมีชื่อเสียงเปEนที่นิยมเพื่อสนับสนุนใหcเกิดเปEนอุตสาหกรรมการกีฬาที่สรcาง
มูลคaาทางเศรษฐกิจใหcแกaประเทศไทยและเชื่อมโยงอุตสาหกรรมการกีฬาไปสูaเศรษฐกิจฐานราก ควรมีการสรcางความ
เขcาใจรaวมกันในหนaวยงานภาครัฐ เอกชน และหนaวยงานที่มีสaวนรaวมในการขับเคลื่อนการกีฬา เพื่อการพัฒนาการกีฬา
แบบบูรณาการรaวมกัน เปEนตcน ทั้งนี้ กก. ไดcเพิ่มเติมรายละเอียดของแผนพัฒนาการกีฬาฯ ฉบับที่ 7 ตามขcอเสนอแนะ
ของสภาพัฒนาฯ เรียบรcอยแลcว
10. เรื่อง แผนเฉพาะกิจเพื่อการแกAไขปWญหามลพิษดAานฝุ¦นละออง ปv 2566
คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลcอม (ทส.) เสนอแผนเฉพาะ
กิจเพื่อการแกcไขปjญหามลพิษดcานฝุ|นละออง ปu 2566* และมอบหมายหนaวยงานที่เกี่ยวขcองดำเนินการตามแผนเฉพาะ
กิจฯ ตaอไป ซึ่งคณะกรรมการสิ่งแวดลcอมแหaงชาติ (กก.วล.) ไดcมีมติเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2565 เห็นชอบและ
มอบหมายใหc ทส. โดยกรมควบคุมมลพิษเสนอคณะรัฐมนตรี [เปEนการดำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี (27 มิถุนายน
2538) ที่ใหcถือวaาการประชุม กก.วล. เปEนการประชุมคณะรัฐมนตรีสิ่งแวดลcอม และมติคณะรัฐมนตรี (1 พฤศจิกายน
2548) ที่ใหcนำมติ กก.วล. เฉพาะเรื่องที่เกี่ยวขcองกับนโยบายที่สำคัญและเรื่องที่ กก.วล. พิจารณาไดcขcอยุติแลcวเสนอ
คณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ] โดยแผนเฉพาะกิจฯ กำหนดขึ้นภายใตcกรอบ “สื่อสารเชิงรุก ยกระดับปฏิบัติการ สรcางการมี
สaวนรaวม” ประกอบดcวยแนวทางการดำเนินงาน 7 แนวทาง เพื่อใหcหนaวยงานที่เกี่ยวขcองเรaงรัดและเนcนย้ำการ
ดำเนินการแกcไขปjญหาฝุ|นละอองโดยเฉพาะในชaวงเกิดสถานการณXมีสาระสำคัญสรุปไดc ดังนี้
แนวทางการดำเนินงาน หน5วยงานที่เกี่ยวขAอง
“1 สื่อสารเชิงรุก”
1. เรaงรัดการประชาสัมพันธXเชิงรุก และแจcงเตือนลaวงหนcา 7 วัน กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรX วิจัย
ทุกพื้นที่ เชaน (1) สื่อสารขcอมูลสถานการณXฝุ|นละอองจากทุก และนวัตกรรม (อว.) กระทรวงเกษตรและ
ภาคสaวนสูaประชาชนใหcครอบคลุมทุกพื้นที่ผaานชaองทางตaาง ๆ สหกรณX (กษ.) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
25

เชaน แอปพลิเคชัน เว็บไซตX เฟซบุ™กแฟนเพจ สื่อสังคมออนไลนX และสั งคม ทส. กระทรวงมหาดไทย (มท.)
เพื่อใหcประชาชนสามารถเขcาถึงขcอมูลไดcโดยงaาย (2) บูรณาการ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข
ขcอมูลและซักซcอมการนำเสนอขcอมูลเพื่อสื่อสารในชaวงวิกฤต สำนั ก นายกรั ฐ มนตรี (นร.) สำนั ก งาน
เพื ่ อ สรc า งความเชื ่ อ มั ่ น และลดความสั บ สนของประชาชน คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ
รวมทั ้ ง เตรี ย มพรc อ มรั บ มื อ และโตc ต อบ Fake News อยa า ง โทรทัศนX และกิจการโทรคมนาคมแหaงชาติ
รวดเร็วและทันตaอสถานการณX และ (3) เนcนการสื่อสารผaานสื่อ และสำนั กงานกองทุ นสนั บสนุ นการสรc าง
ใหมaมากขึ้น เชaน TikTok เพื่อเขcาถึงกลุaมเยาวชน และยังคงชaอง เสริมสุขภาพ
ทางการสื่อสารเดิมที่เขcาถึงกลุaมเป–าหมาย เชaน โทรทัศนX วิทยุ
เครือขaาย และหอกระจายขaาว
“5 ยกระดับปฏิบัติการ”
2. ยกระดั บ มาตรการการดำเนิ น งานตามแผนปฏิ บ ั ต ิ ก าร หนaวยงานที่เกี่ยวขcองทุกหนaวยงาน
ขั บ เคลื ่ อ นวาระแหa ง ชาติ “การแกc ไ ขปj ญ หามลพิ ษ ดc า นฝุ| น
ละออง” และแผนอื่นที่เกี่ยวขcอง เชaน (1) จัดตั้งศูนยXปฏิบัติการ
แกcไขปjญหามลพิษดcานฝุ|นละออง/ศูนยXบัญชาการเหตุการณXแตa
ละระดับใหcเปEนกลไกในการอำนวยการ สั่งการ และประสาน
การปฏิ บั ติ ใ นการแกc ไ ขปj ญหามลพิ ษดc า นฝุ | นละอองอยa า งมี
เอกภาพ
(2) เตรียมการรับมือสถานการณfและเพิ่มความเขAมงวดใน
การควบคุมฝุ¦นละอองในช5วงวิกฤตในพื้นที่ป¦า โดยเตรียม
ความพรcอมดcานกำลังพล บุคลากร อุปกรณX/เครื่องมือ ใหcมี
ความพรcอมใชcงานตลอดเวลาจัดชุดปฏิบัติการดับไฟป|า รวมถึง
สรcางการมีสaวนรaวมของชุมชนและเครือขaายในการเฝ–าระวังการ
เผาในพื้นที่เสี่ยง
และ (3) เพิ ่ มความเขA มงวดในการควบคุ มฝุ ¦ นละอองจาก
ยานพาหนะ โดยบูรณาการความรaวมมือภาคเอกชนและภาค
สaวนที่เกี่ยวขcองสนับสนุนการลดการระบายมลพิษจากภาค
การจราจร เชaน การนำน้ำมันกำมะถันต่ำมาจำหนaายในชaวง
วิกฤต การบำรุงดูแลรักษาเครื่องยนตXรถที่ใชcงานอยaางสม่ำเสมอ
และจากภาคอุตสาหกรรมโดยเพิ่มความเขcมงวดในการควบคุม
การระบายมลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรมโดยเนcนโรงงานที่มี
การใชcหมcอน้ำและโรงงานที่ใชcถaานหินเปEนเชื้อเพลิง
3. ยกระดั บ การบริ ห ารจั ด การเชื ้ อ เพลิ ง แบบครบวงจร อว. กษ. ทส. มท. กระทรวงพลังงานและ
[ชิ ง เก็ บ ลดเผาและระบบบริ ก ารการเผาในที ่ โ ล5 ง (Bum กระทรวงอุตสาหกรรม (อว.)
Check)**] เชaน (1) จัดเก็บเชื้อเพลิงในพื้นที่ป|าและพื้นที่
การเกษตร รวมถึงพื้นที่เสี่ยงตaอการเผาหรือมีการเผาซ้ำซาก
(2) สaงเสริมและสนับสนุนใหcเกษตรกรนำเศษวัสดุเหลือใชcทาง
การเกษตร เชaน ตอซัง ฟางขcาว และใบอcอยไปใชcประโยชนXหรือ
เพิ่มมูลคaาเพื่อลดการเผาและ (3) บูรณาการความรaวมมือกับ
ภาคเอกชนในการใชcประโยชนXเศษวัสดุเหลือใชcทางการเกษตร
ทดแทนการเผาแบบครบวงจร
4. กำกั บ ดู แ ลการดำเนิ น การในทุ ก ระดั บ อย5 า งเขA ม งวด กระทรวงคมนาคม (คค.) ทส. มท. อก.
ติดตามผลการดำเนินการและประเมินสถานการณfเปcนระยะ สำนักงานตำรวจแหaงชาติและ
อย5างต5อเนื่อง โดยปฏิบัติการเชิงรุก เพิ่มการลงพื้นที่ควบคุม กรุงเทพมหานคร
และลดฝุ|นจากแหลaงกำเนิดตaาง ๆ ทั้งจากยานพาหนะ โรงงาน
อุ ต สาหกรรมการกa อ สรc า ง การเผาในที ่ โ ลa ง และบั ง คั บ ใชc
26

กฎหมายอยaางเขcมงวดกับผูcที่ไมaปฏิบัติตามกฎหมาย รวมถึงจัด
ใหc ม ี แ พลตฟอรX ม ศู น ยX ร วมขc อ มู ล หรื อ ชa อ งทางที ่ ส ามารถใหc
ประชาชนเขcาถึงขcอมูลหรือแจcงเหตุดcานมลพิษ และติดตามการ
ดำเนินงานในการแกcไขปjญหาของหนaวยงานที่เกี่ยวขcองไดc
5. ลดจุดความรAอน ปlองกันและควบคุมการเกิดไฟในทุกพื้นที่ กระทรวงกลาโหม (กห.) กษ. คค. อว.
และพัฒนาระบบพยากรณfความรุนแรงและอันตรายของไฟ ทส. มท. อก. และ นร.
เชaน (1) เรaงพัฒนาและประยุกตXใชcระบบพยากรณXความรุนแรง
และอั น ตรายของไฟเพื ่ อ เปE น ขc อ มู ล ในการคาดการณX ก าร
เคลื่อนที่หรือการลุกลามของไฟของเจcาหนcาที่ในการเขcาระงับ
เหตุหรือปฏิบัติการดับไฟในพื้นที่ (2) พัฒนา นำเทคโนโลยีที่
ทั น สมั ย รวมถึ ง เครื ่ อ งมื อ อุ ป กรณX ท ี ่ เ พี ย งพอมาใชc ใ นการ
ปฏิ บ ั ต ิ ง านเพื ่ อ สนั บ สนุ น ภารกิ จ การเฝ– า ระวั ง ป– อ งกั น และ
ควบคุมไฟป|า
(3) สนั บ สนุ น งบประมาณในการจั ด หาเครื ่ อ งมื อ อุ ป กรณX
ป–องกันและดับไฟป|าขององคXกรปกครองสaวนทcองถิ่นที่ไดcรับ
การถa ายโอนภารกิ จการป– องกั นและควบคุ มไฟป| า และ (4)
สำรวจและตรวจสอบความครบถc ว นสมบู ร ณX ข องเครื ่ อ งมื อ
อุปกรณXป–องกัน และดับไฟป|าเพื่อจัดทำเปEนฐานขcอมูลสำหรับ
การปฏิบัติการป–องกันและควบคุมการเกิดไฟ
6. ผลักดันกลไกระหว5างประเทศ เพื่อใหAการปlองกันและแกAไข กห. กระทรวงการตaางประเทศ ทส. และ
ปWญหาหมอกควันขAามแดนมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยจัดทำ มห.
Road map และกำหนดเปlาหมายในการลดจำนวนจุดความ
รAอน/พื้นที่เผาไหมAในภูมิภาคอาเซียน ขับเคลื่อนการป–องกัน
และแกcไขปjญหาหมอกควันขcามแดนตามกลไกอาเซียนเพื่อลด
จำนวนจุดความรcอนของแตaละประเทศใหcเปEนไปตามเป–าหมาย
และยกระดับความรaวมมือในกรอบคณะกรรมการชายแดนและ
จังหวัดคูaขนานเพื่อกำกับควบคุมแหลaงกำเนิดจากประเทศเพื่อน
บcานโดยเฉพาะการเผา
“1 สรAางการมีส5วนร5วม”
7. ใหA ท ุ ก ภาคส5 ว นเขA า มามี ส 5 ว นร5 ว มในการวางแผนและ ทส. และ มท.
ดำเนินการปlองกันและแกAไขปWญหาหมอกควันไฟป¦าและฝุ¦น
ละออง โดยสรc า งความเขc า ใจกั บ ประชาชน เป’ ด โอกาส/มี
ชaองทางใหcทุกภาคสaวนมีสaวนรaวม โดยเฉพาะหนaวยงานทcองถิ่น
ชุมชนและผูcมีสaวนไดcสaวนเสียในพื้นที่ ในการวางแผนเสนอแนะ
แนวทางดำเนิ น การ ติ ด ตามผลการดำเนิ น งานในการแกc ไ ข
ปjญหาฝุ|นละอองในพื้นที่อยaางตaอเนื่อง และจัดใหcมีชaองทาง
รายงานผลการดำเนิ น งานการแกc ไ ขปj ญ หาใหc ป ระชาชน
รับทราบอยaางตaอเนื่อง รวมถึงชaองทางสำหรับรcองทุกขX แจcง
เหตุการเกิดไฟป|าหรือการเผาในที่โลaง
__________________
*
แผนเฉพาะกิจฯ ป/ 2566 เป3นการถอดบทเรียนการป<องกันและแก@ไขปCญหาไฟปGา หมอกควัน และฝุGนละออง ป/ 2565 เพื่อปรับปรุงแนวทางการปฏิบัติให@
เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยยกระดับความเข@มงวดในการดำเนินมาตรการตYาง ๆ ประชาสัมพันธ\เชิงรุกที่เน@นการสื่อสารผYานสื่อใหมYมากขึ้น
รวมถึงให@ทุกภาคสYวนที่เกี่ยวข@องและประชาชนได@มีสYวนรYวมในการวางแผนและดำเนินการป<องกันแก@ไขปCญหาไฟปGา หมอกควัน และฝุGนละออง
**
เป3นแอปพลิเคชันที่ ทส. พัฒนาขึ้นเพื่อการบริหารจัดการเชื้อเพลิงในพื้นที่เกษตรกรรม ลดปCญหาด@านมลพิษทางอากาศ โดยให@เจ@าหน@าที่ฝGายปกครอง
ประชาชน และกลุYมเกษตรกรลงทะเบียนใช@งานเพื่อขออนุญาตเผา เมื่อผู@ใดมีความประสงค\จะกำจัดวัชพืช ซากกิ่งไม@ตYาง ๆ ด@วยวิธีการเผา
27

ต5างประเทศ
11. เรื่อง การรับรองแผนปฏิบัติการดAานการศึกษาอาเซียน – สหพันธรัฐรัสเซีย พ.ศ. 2565 – 2569 (ASEAN –
Russian Federation Plan of Action on Education 2022 - 2026)
คณะรั ฐ มนตรี ม ี ม ติ เ ห็ น ชอบแผนปฏิ บ ั ต ิ ก ารดc า นการศึ ก ษาอาเซี ย น – สหพั น ธรั ฐ รั ส เซี ย
พ.ศ. 2565 – 2569 (ASEAN – Russian Federation Plan of Action on Education 2022 - 2026) (แผนปฏิบัติ
การฯ) ทั้งนี้หากมีความจำเปEนตcองแกcไขปรับปรุงแผนปฏิบัติการฯ ที่ไมaสaงผลกระทบตaอสาระสำคัญหรือไมaขัดตaอ
ผลประโยชนXของประเทศไทย ใหcกระทรวงศึกษา (ศธ.) สามารถดำเนินการไดcโดยใหcนำเสนอคณะรัฐมนตรีทราบ
ภายหลัง รวมทั้งอนุมัติใหcรัฐมนตรีวaาการกระทรวงศึกษาธิการหรือผูcที่ไดcรับมอบหมายเปEนผูcรับรองแผนปฏิบัติการฯ
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) เสนอ
สาระสำคัญของเรื่อง
เรื่องนี้เปEนการขอความเห็นชอบตaอแผนปฏิบัติการดcานการศึกษาอาเซียน - สหพันธรัฐรัสเซีย
พ.ศ. 2565 - 2569 (ASEAN - Russian Federation Plan of Action on Education 2022 - 2026) จัดทำขึ้นโดย
คณะทำงานดcานการศึกษาอาเซียน - รัสเซีย (คณะทำงานฯ) เพื่อเสริมสรcางความรaวมมือทางการศึกษาระหวaาง
ประเทศสมาชิกอาเซียนและสหพันธรัฐรัสเซีย (จะมีการจัดประชุมคณะทำงานฯ ครั้งตaอไปในปu 2567 โดยประเทศไทย
เปEนประธานรaวมกับสหพันธรัฐรัสเซีย) โดยแผนปฏิบัติการฯ มีกิจกรรม/การดำเนินการที่สำคัญ เชaน การแลกเปลี่ยน
ขcอมูลในดcานการบริหารจัดการการศึกษาและการใชcเทคโนโลยีดิจิทัลทางการศึกษา การสaงเสริมการมีสaวนรaวมของ
นักเรียนและนักวิชาการในการประชุมและงานสัมมนาตaาง ๆ การจัดตั้งพื้นที่เพื่อสaงเสริมความรaวมมือทางการศึกษา
ระหวaางองคXกรดcานการศึกษาและภาคธุรกิจ เปEนตcน ซึ่งสำนักเลขาธิการอาเซียนขอความรaวมมือใหcประเทศสมาชิก
อาเซียนพิจารณาใหcความเห็นชอบแผนปฏิบัติการฯ และมีหนังสือรับรองอยaางเปEนทางการถึงสำนักเลขาธิการอาเซียน
ทั้งนี้ หนaวยงานที่เกี่ยวขcองพิจารณาแลcวเห็นชอบ/ไมaขัดขcอง
ทั้งนี้ประโยชนXที่ประเทศไทยจะไดcรับ ไดcแกa นักเรียนและเยาวชนไทยจะไดcรับโอกาสในการพัฒนา
ดcานวิชาการ ศิลปวัฒนธรรม และทักษะในการใชcชีวิต ตลอดจนพัฒนาทรัพยากรมนุษยXของประเทศไทยใหcมีทักษะที่
จำเปEนในศตวรรษที่ 21 รวมทั้งเสริมสรcางเครือขaายความรaวมมือระหวaางสถาบันการศึกษาในการพัฒนาการศึกษาและ
การเรียนรูcระหวaางกัน และสaงเสริมความสัมพันธXระหวaางประเทศสมาชิกอาเซียนและสหพันธรัฐรัสเซีย
แต5งตั้ง
12. เรื ่ อ ง การแต5 ง ตั ้ ง ขA า ราชการพลเรื อ นสามั ญ ใหA ด ำรงตำแหน5 ง ประเภทวิ ช าการระดั บ ทรงคุ ณ วุ ฒิ
(สำนักนายกรัฐมนตรี)
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่ (สำนักงาน ก.พ.) เสนอแตaงตั้งขcาราชการพลเรือนสามัญ สังกัดสำนัก
นายกรัฐมนตรี ใหcดำรงตำแหนaงประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิ จำนวน 2 ราย ตั้งแตaวันที่มีคุณสมบัติครบถcวน
สมบูรณX ดังนี้
1. นางสาวอลินี ธนะวัฒนfสัจจะเสรี ที่ปรึกษาระบบราชการ (นักทรัพยากรบุคคลเชี่ยวชาญ)
สำนักงาน ก.พ. ดำรงตำแหนaง ที่ปรึกษาระบบราชการ (นักทรัพยากรบุคคลทรงคุณวุฒิ) สำนักงาน ก.พ. ตั้งแตaวันที่
28 กันยายน 2565
2. นางสาววราภรณf ตั้งตระกูล ที่ปรึกษาระบบราชการ (นักทรัพยากรบุคคลเชี่ยวชาญ) สำนักงาน
ก.พ. ดำรงตำแหนaง ที่ปรึกษาระบบราชการ (นักทรัพยากรบุคคลทรงคุณวุฒิ) สำนักงาน ก.พ. ตั้งแตaวันที่ 6 ตุลาคม
2565
ทั้งนี้ ตั้งแตaวันที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลcาโปรดกระหมaอมแตaงตั้งเปEนตcนไป

13. เรื่อง การแต5งตั้งขAาราชการใหAดำรงตำแหน5งประเภบบริหาร ระดับสูง ในกระทรวงการท5องเที่ยวและกีฬา


คณะรั ฐ มนตรี ม ี ม ติ อ นุ ม ั ต ิ ต ามที ่ ก ระทรวงการทa อ งเที ่ ย วและกี ฬ าเสนอแตa ง ตั ้ ง นายจาตุ ร นตf
ภั ก ดี ว านิ ช รองอธิ บ ดี (นั ก บริ ห ารตc น ) กรมการทa อ งเที ่ ย ว เลื ่ อ นขึ ้ น ดำรงตำแหนa ง อธิ บ ดี (นั ก บริ ห ารสู ง )
กรมการทaองเที่ยว ตั้งแตaวันที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลcาโปรดกระหมaอมแตaงตั้ง
14. เรื่อง การแต5งตั้งขAาราชการพลเรือนสามัญใหAดำรงตำแหน5งประเภทบริหารระดับสูง (กระทรวงสาธารณสุข)
28

คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่กระทรวงสาธารณสุขเสนอแตaงตั้ง นางอัจฉรา นิธิอภิญญาสกุล


สาธารณสุขนิเทศกX (นายแพทยX) ประเภทวิชาการ ระดับทรงคุณวุฒิ สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข
ใหc ด ำรงตำแหนa ง ผู c ต รวจราชการกระทรวง (ผู c ต รวจราชการกระทรวง) ประเภทบริ ห าร ระดั บ สู ง สำนั ก งาน
ปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ตั้งแตaวันที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลcาโปรดกระหมaอมแตaงตั้ง

***************************

You might also like