Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 26

อิลาสโตเมอร์ (Elastomers impression material)

Runda Dumsim
School of dental Technology
ผลลัพธ์การเรียนรู้
นักศึกษาสามารถอธิบายวัสดุพิมพ์ปากชนิดอิลาสโตเมอร์ ในหัวข้อต่อไปนี้
1.คาจากัดความที่เกี่ยวข้อง ส่วนประกอบ และหน้าที่ของส่วนประกอบ
2. บอกปฏิกิริยาการก่อตัว
3. อธิบายการใช้งาน อุปกรณ์ที่ใช้ในการผสม อัตราส่วน เวลาที่ใช้ในการผสม การเก็บรอยพิมพ์ การ
หล่อแบบ การฆ่าเชื้อ
4.อธิบายผลเสียหายจากการใช้ผิดวิธี
อิลาสโตเมอร์ (Elastomers impression material) ทางทันตกรรม
1. พอลิซัลไฟล์ (Polysulfide)
2. ซิลิโคน (Silicone)
- ชนิดควบแน่น (condensation type)
- ชนิดเติม (addition typ
3. พอลิอีสเตอร์ (Polyether)
Elastomers impression material
1. ยางสังเคราะห์ วัสดุพิมพ์ประเภทยืดหยุ่น ต้านทานต่อแรงฉีกขาด
2. ลักษณะความข้นต่างกัน การเลือกใช้วัสดุชนิดข้นหรือชนิดเหลวขึ้นอยู่กับวิธกี ารพิมพ์
3. ลอกเลียนรายละเอียดได้ดี เปลี่ยนแปลงรูปร่างน้อย ให้ความเที่ยงสูง
4. เก็บรอยพิมพ์ไว้ในอากาศได้ เก็บรอยพิมพ์ได้นาน
5. เทแบบได้หลายครั้ง
6.ทาแม่แบบด้วยวิธีชุบไฟฟ้าได้
ประโยชน์
1.พิมพ์เพื่อทำแม่แบบและแบบหล่อในกำรทำฟันเทียมชนิดติดแน่น (Fixed restoration)
2.พิมพ์ปำกครั้งสุดท้ำยเพื่อทำแบบหล่อในกำรทำฟันเทียมทั้งปำก
3. พิมพ์ปำกชนิดฟังค์ชนั แนล(Functional impressional) ในกำรทำฟันเทียมบำงส่วนถอดได้
4.พิมพ์เพื่อเสริมฐำนหรือเปลี่ยนฐำนฟันเทียม (Reline or Rase)
5.ทำแม่แบบหรือแบบหล่อซำ
ลักษณะโดยทั่วไปของวัสดุ (General characteristics)
- ลักษณะความข้น ที่ต่างกันเกิดจากปริมาณวัสดุตัวเติมที่เติมลงไป
- การเลือกใช้วัสดุพิมพ์ชนิดข้นหรือชนิดเหลวขึ้นอยู่กับวิธีการพิมพ์
Polysulfide (Rubber Base)
consistency ;ความข้น
1. Light or syringe type ชนิดเหลว หรือชนิดใช้ฉีดด้วยกระบอกฉีด
2. Regular type ชนิดเหลวปานกลาง
3. Heavy type ชนิดข้น
ชื่อการค้า Permlastic ;เวลาผสม 60 วินาที ,เวลาก่อตัว 6-10 นาที
Polysulfide
Polysulfide
Base ; Polysulfides polymer สีขาว
Catalyse ; lead dioxide สีน้าตาล
อุปกรณ์ผสม ; spatular ปลายแข็ง
; กระดาษอาบมัน หรือกระเบื้องผิวเรียบ
; อัตราส่วน เบสต์ :คะตะลิสต์ =1:1
Polysulfide
Polysulfide
ข้อควรระมัดระวังในการใช้
1. กลิ่นเหม็น
2. ติดเสื้อผ้า
3. สารตะกั่ว ระวังการสัมผัส สูดดม
4. ใช้กับถาดพิมพ์เฉพาะราย และต้องทากาวของที่ใช้กับโพลีซัลไฟต์
5. กาวปิดฝาขวดให้แน่น ถ้าระเหยใช้อะซีโตนผสม
Polysulfide
1. การเก็บในห้องอุณหภูมิต่า
2. การก่อตัวทดสอบโดยใช้เครื่องมือทื่อๆกด วัสดุจะบุ๋มเมื่อเอาเครื่องมืออกวัสดุจะกลับคืน
รูปร่าง
3. การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิมีผลต่อการก่อตัว(อัตราส่วนก็มีผลต่อการก่อตัวแต่ไม่ควร
ทา เพราะการยืดหยุ่นจะน้อยลง) ปรับอุณหภูมิของแผ่นกระเบื้อง
ซิลิโคน (Silicone)
- ชนิดควบแน่น (condensation type)
- ชนิดเติม (addition type)
ความข้น
1.ชนิดเหลว
2.ชนิดเหลวปานกลาง
3.ชนิดข้น
4.ชนิดข้นคล้ายดินน้ามัน
ซิลิโคน (Silicone)
- ชนิดควบแน่น (condensation type)
ชื่อทางการค้า ; Coltoflex
Base ; dimetyl siloxane
Catalyst ; alkyl silicate,stanneous octoate
เกิดปฏิกิริยาได้ by product :ethyl alcohol
การเทแบบรอการคืนตัว ประมาณ 30 นาที
เก็บได้นานขึ้นกว่า polysulfides
ซิลิโคน (Silicone)
- ชนิดเติม (addition type)
ชื่อทางการค้า ; Silagum,Provil,3M Express,Exaflex,Pressident
Base ;methylvinyl siloxane
Catalyst ;polymer with vinyl terminal group
เกิดปฏิกิริยาได้ ก๊าชไฮโดรเจน ทาให้แบบจาลองพรุน มีการเติม palladium,platinum เพื่อไปจับกับไฮโดรเจน
Polysulfide
Polysulfide
ปฏิกิริยาก่อตัวของซิลโิ คนชนิดควบแน่น เป็ นปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ ชนิดควบแน่น (condensation
polymerization)
ส่วนซิลโิ คนชนิดเติม เป็ นปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ ชนิดเติม (addition polymerization)

Hydrophilic vinyl polysiloxanes


1. ปกติซิลิโคนมีข้อด้อย เป็นสารไม่ชอบน้า( Hydrophobic )
2. วัสดุชนิดนี้มีข้อด้อย ทาแม่แบบด้วยการชุบเงิน หรือทองแดงยากเพราะมีพลังงานที่ผิว
3. กามะถันจากยาห้ามเลือด สวมถุงมือลาเทกซ์ผสมวัสดุ วัสดุพิมพ์ประเภทนี้จะก่อตัวช้า หรือไม่ก่อตัวเลย
พอลิอีเทอร์ (Polyether)
ส่วนประกอบ
ส่ วนพืน้ ฐาน ประกอบด้ วยพอลิอีเทอร์ ที่มีน ้าหนักโมเลกุลต่า และมีเอทีลีน ไอมีนริง
(ethyleneimine ring) อยูท่ ี่ปลายสายโซ่โมเลกุล มีวสั ดุตวั เติมคือ ซิลกิ า และมีสารทาให้ น่มุ
(plasticizer)อไกลคอนอีเทอร์ ฟทาเลต (glycolether phthalate)
ตัวเร่ ง ประกอบด้ วยสารเชื่อมโยงขวาง กลุม่ อะลิฟาติกแคตไอโอนิก สตาร์ เตอร์ (aliphatic cationic
starter) และมีวสั ดุตวั เติมคือซิลกิ า และสารทาให้ น่มุ ช่วยเพิ่มความข้ นผสมอยูด่ ้ วย
สารเจือจาง (octyl phthalate) และ(methyl cellulose 5 %) เป็ นสารเพิ่มความข้ น
(thickening agent) ผู้ผลิตอาจเติมสารช่วยให้ เกิดสีลงในส่วนพื ้นฐาน และตัวเร่งเพื่อให้ ได้ สีตามต้ องการ
พอลิอีเทอร์ (Polyether)
เดิมมีลกั ษณะเดียวคือ Regular แต่มี Thinner ให้ สาหรับผสมปรับ consistency
ปั จจุบนั มี 3 ความข้ น
1. Light ชนิดเหลว
2. Regular ชนิดเหลวปานกลาง
3. Heavy ชนิดข้ น
พอลิอีเทอร์ (Polyether)
Base; Polyether based polymer
Catalyst; alkyl – aromatic sulfonate
วัสดุชนิดนี ้แข็งมาก ยืดหยุน่ น้ อยนิยมใช้ ในการพิมพ์ในงานรากฟั นเทียม (implant)
ชื่อทางการค้ า Permadyne (Heavy and Light)
Impregum (Medium)
Polyjel
พอลิอีเทอร์ (Polyether)
• อัตราส่วนผสม 1:1
• วิธีผสม เหมือนการผสมวัสดุในกลุม่ อิลาสโตเมอร์
ข้ อควรระวัง
1. แข็งมาก ระวังอาจดึงวัสดุออกจากช่องปากไม่ได้ ถ้ าพิมพ์ปากในบริเวณที่มีความคอดมาก
2. การดูดน ้า ดังนันควรระมั
้ ดระวังในการเก็บรอยพิมพ์ และการฆ่าเชื ้อรอยพิมพ์
การเกิดปฏิกิริยา ; เป็ นการเกิดพอลิเมอร์ ชนิดแคทไอโอนิก (cationic polymerization)มีการเปิ ดของไอ
มินริง เกิดโคพอลิเมอร์ ของเทตระไฮโดรฟูราน (copoiymer of tetradrofuran) และเอทีลีนออกไซด์
(ethylene oxide) ปฏิกิริยาก่อตัวเป็ นปฏิกิริยาคลายความร้ อน มีอณ ุ หภูมิเพิ่มขึ ้น 4 องศาเซลเซียส
เวลาผสม เวลาทางาน และเวลาก่อตัว(working time and setting time)
- เวลาผสม
- เวลาทางาน
เวลาก่อตัวเริ่มต้ น (initial setting time)
- เวลาก่อตัว
การเปลี่ยนแปลงเวลาก่อตัว : โดยการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
วัสดุกลุม่ อิลาสโตเมอร์
1. การเก็บในห้ องอุณหภูมิต่า
2. การก่อตัวทดสอบโดยใช้ เครื่ องมือทื่อๆกด วัสดุจะบุม๋ และเมื่อเอาเครื่ องมือออกวัสดุจะกลับคืนรูปร่าง
3. การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิมีผลต่อการก่อตัว(อัตราส่วนก้ มีผลต่อการก่อตัว แต่ไม่ควรทา เพราะการยืดหยุน่ จะ
น้ อยลง) ปรับอุณหภูมิของแผ่นกระเบื ้องและพายผสม
การหล่อแบบ
1. ตามปกติจะเทแบบหลังเวลาฟื น้ ตัวคือ ภายหลังดึงรอยพิมพ์ออกจากปากผู้ป่วย 20-30นาทีแต่ปัจจุบนั
บริษัทผู้ผลิตอ้ างว่า เวลาฟื น้ ตัวของวัสดุพิมพ์อิลาสโตเมอร์ เร็วมาก สามารถเทแบบได้ ทนั ทีเมื่อดึงออกจากปากผู้ป่วย
ยกเว้ นซิลิโคนชนิดเติม บางผลิตภัณฑ์ที่เวลาก่อตัวจะเกิดก๊ าซไฮโดรเจน ต้ องทิ ้งไว้ ประมาณ 45 นาที จึงค่อยเทแบบ แต่
ถ้ าบริษัทผู้ผลิตเติมพัลเลเดียมลงไปดูดซับก๊ าซไฮโดรเจนก็สามารถเทแบบได้ ทนั ที
2. วัสดุพิมพ์อิลาสโตเมอร์ สามารถเทแบบได้ มากกว่า 1 ครัง้ ถ้ าจะให้ ได้ แบบจาลองที่ถกู ต้ องทีส่ ดุ ควรเทแบบ
ภายใน 30 นาทีภายหลังดึงออกจากปาก การเทแบบครัง้ ที2่ แม่แบบหรื อแบบหลักที่ได้ จะมีความถูกต้ องด้ อยกว่าครัง้
แรก แต่ก็ถกู ต้ องเพียงพอที่จะใช้ เป็ นแบบหลักสาหรับทางานได้ ทังนี ้ ้เพราะเมื่อแกะแม่แบบที่เทครัง้ แรกจะเกิดการ
เปลี่ยนแปลงรูปร่างอย่างถาวรของรอยพิมพ์เพิ่มขึ ้น และเกี่ยวข้ องกับการมีปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ ดาเนินต่อไปอีก
Disinfection
1. พ่นหรื อแช่ด้วย glutaraldehyde 2% นาน 10 นาที
2. ระวังสาหรับพวก polyether สามารถดูดน ้าได้ วัสดุที่ชอบน ้า ให้ พน่ ด้ วย ไอโอโดฟอร์ ทิ ้งไว้ 10 นาที

You might also like