N 20211213170348 1.ลือชัย

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 32

แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

แนะนํ าการเตรียมตัวเพือ่ สอบ


สัมภาษณ์ และองค์ความรูฯ้
เพือ่ การเลือ่ นระดับ ฯ สาขาไฟฟ้ า

โดย…ลือชัย ทองนิ ล
อนุ กรรมการฯ สาขาไฟฟ้ า สภาวิศวกร

แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 1

เกี่ยวกับวิทยากร…โดยย่อ
นายลือชัย ทองนิ ล
ได้รบั รางวัล AFEO Honorary Member Award CAFEO 31 Jakarta, Indonesia 2013
ประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า วสท
กรรมการสภาวิศวกร สมัยที่ 5&6
คณะอนุ กรรมการทดสอบความรูค้ วามชํานาญการประกอบวิชาชีพ ระดับวุฒวิ ิศวกร และสามัญวิศวกร
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า สภาวิศวกร
ประธานคณะกรรมการวิชาการฯ มาตรฐานรายสาขาไฟฟ้ ากําลังและสายไฟฟ้ า สมอ.
อดีตผูอ้ าํ นวยการไฟฟ้ าเขตมีนบุรี การไฟฟ้ านครหลวง
ประธานคณะอนุ กรรมการปรับปรุงมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้ าฯ พ.ศ. 2556
ดูงานด้านระบบไฟฟ้ าในหลายประเทศเช่น สหรัฐอเมริกา ยุโรป ออสเตรเลีย ญี่ปนุ่ เกาหลีใต้ ฯลฯ
ที่ปรึกษาสมาคมช่างเหมาไฟฟ้ าและเครื่องกลไทย สมาคมเครื่องกําเนิ ดไฟฟ้ าไทย และสมาคมผู ้
ตรวจสอบอาคาร ฯลฯ
การเตรีย มความพร้อ มเพื่อ สอบสัม ภาษณ์ ...ลือ ชัย ทองนิ ล 2

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 1


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

ผลงานวิชาการ
แต่งหนังสือ การออกแบบและติดตัง้ ระบบไฟฟ้ า ตามมาตรฐานการไฟฟ้ า พิมพ์ครัง้ ที่ 41
ได้รบั รางวัลหนังสือยอดนิ ยม จากสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปนุ่ )
แต่งหนังสือ คู่มือวิศวกรไฟฟ้ า พิมพ์ครัง้ ที่ 19 ได้รบั รางวัลหนังสือยอดนิ ยม จากสมาคม
ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปนุ่ )
แต่งหนังสือ การตรวจความปลอดภัยระบบไฟฟ้ า พิมพ์ครัง้ ที่ 11 ได้รบั รางวัลหนังสือยอดนิ ยม
จากสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปนุ่ )
แต่งหนังสือ คู่มือช่างชาวบ้าน ฉบับช่างไฟฟ้ า พิมพ์ครัง้ ที่ 13 (อัมรินทร์พริ้นติ้ง))
แต่งหนังสือ การออกแบบและติดตัง้ ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ พิมพ์ครัง้ ที่ 4 (วสท.)
แต่งหนังสือ คู่มือความปลอดภัยทางไฟฟ้ าในสถานประกอบการ พิมพ์ครัง้ ที่ 3 (สสท.)
เขียนบทความ ในวารสารต่างๆ หลายเรื่อง 3

การเตรีย มความพร้อ มเพื่อ สอบสัม ภาษณ์ ...ลือ ชัย ทองนิ ล

การเตรียมตัว
 คําถามเป็ นอํานาจของคณะอนุ กรรมการสอบฯ
 ศึกษารายละเอียดในงานที่นําเสนอเป็ นผลงานดีเด่น
ทัง้ หมด
 โดยปกติจะเป็ นคําถามในงานที่เสนอเป็ นผลงาน
ดีเด่นว่าผูท้ ่ยี ่นื ขอฯ ปฏิบตั งิ านนั้นจริงหรือไม่ และ
มีความรูค้ วามสามารถในงานที่ปฏิบตั หิ รือไม่
 อาจมีคาํ ถามพื้นฐานอืน่ ที่เกี่ยวข้องกับงานที่เสนอ
เช่น ระบบประกอบอาคาร จรรยายบรรณ เป็ นต้น
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 4

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 2


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

การสัมภาษณ์
 ควรนํ าเอกสารผลงานดีเด่น
และแบบไฟฟ้ าที่นําเสนอ
มาในการสัมภาษณ์ดว้ ย
 ท่านสามารถนํ าเอกสาร
ต่างๆ เครื่องคิดเลข
คอมพิวเตอร์ และอืน่ ๆ ที่
เกี่ยวข้องเข้าห้องสอบ
สัมภาษณ์ได้ This Photo by Unknown Author is licensed under CC BY‐SA‐NC

แนะนํา การเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ฯ .....ลือ ชัย ทองนิ ล 5

งาน ทําไม่ได้
ให้คาํ ปรึกษา
งาน งาน
อํานวยการใช้ วางโครงการ
งาน
วิศวกรรม
ควบคุม
งานพิจารณา งานออกแบบ
ตรวจสอบ และคํานวณ
งานควบคุม
การสร้างหรือ
การผลิต
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 6
6

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 3


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

ระบบการจ่ายไฟฟ้ าของประเทศไทย
สถานี ไฟฟ้ าต้นทาง
230 kV, 69 kV, 115 kV
500 kV

โรงไฟฟ้ า
งานวางโครงการ (ระบบผลิต)
115 kV
ออกแบบและคํานวณฯ 69 kV.
ควบคุมการสร้าง โรงงานอุตสาหกรรม
อํานวยการใช้
MEA 12 kV, 24 kV
พิจารณาตรวจสอบ PEA 22 kV, 33 kV
230/400 V.
3 4W. สถานี ไฟฟ้ าย่อย
ผูใ้ ช้ไฟฟ้ า

แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 7

มาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
 มาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้ าสําหรับประเทศไทย พ.ศ.2556
 มาตรฐานการป้ องกันฟ้ าผ่า
 มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
 มาตรฐานระบบไฟฟ้ าแสงสว่างฉุกเฉิ นและไฟฟ้ าป้ ายทางออกฉุกเฉิ น
 มาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้ าในสถานที่เฉพาะ : บริเวณสถานพยาบาล
 มาตรฐานความปลอดภัยทางไฟฟ้ าในสถานที่ทาํ งาน
 มาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้ าสําหรับประเทศไทย : ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงาน
แสงอาทิตย์ท่ตี ิดตัง้ บนหลังคา
 คู่มือความปลอดภัยด้านไฟฟ้ าแรงสูง
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 8
8

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 4


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

มาตรฐานฯ ที่
เกี่ยวข้อง

กฎหมายที่และ

การใช้ความรูเ้ ชิงวิศวกรรมใน
CPD และการ
จรรยาบรรณ

การทํางานและแก้ปญั หา
สอนงาน
ความรูท้ ่คี วรมี

ความปลอดภัย บริภณั ฑ์ไฟฟ้ า


และสิ่งแวดล้อม และการใช้งาน

แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 9

ตัวอย่างความรูท้ ่คี วรมี


งานวางโครงการ 10

แนะนํ าการเตรียมตัวสัมภาษณ์ฯ.....ลือชัย ทอง


นิ ล

10

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 5


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

เกี่ยวกับงานที่ทาํ เป็ นการนํ าความรูเ้ ชิง


วิศวกรรมมาประยุกต์ใช้

 มาตรฐานที่ใช้การอ้างอิงในการปฏิบตั งิ าน ข้อกําหนดตามหลักวิชาชีพวิศวกรรม
และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 ความรู ้ ความเข้าใจในมาตรฐานต่างๆ ที่ใช้ในการออกแบบฯ (เช่น มาตรฐานการ
ติดตัง้ ทางไฟฟ้ าฯ)
 ความรูเ้ รื่องการวิเคราะห์ความเหมาะสมของโครงการ ความคุม้ ค่า (เงินลงทุน การ
บริการอย่างทัว่ ถึง ความเชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้ า รวมถึงด้านนโยบาย)

แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 11


11

เกี่ยวกับงานที่ทาํ
 ความรูเ้ กี่ยวกับอุปกรณ์ไฟฟ้ าต่างๆ และการเลือกใช้เช่น หม้อแปลง สายไฟฟ้ า
เซอร์กติ เบรกเกอร์ และ L/A เป็ นต้น
 การเลือกระบบไฟฟ้ า (สายอากาศ สายใต้ดิน) และการเลือกระบบแรงดันไฟฟ้ า
เป็ นต้น
 การนํ าเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาประยุกต์ใช้และพัฒนาความสามารถในการทํางานได้
อย่างไร
 การขยายตัวของโครงการในอนาคต
12
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล

12

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 6


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

สายไฟฟ้ าระบบสายอากาศ….สายเปลือย

แนะนําการเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 13

13

ระบบสายอากาศ …..Spaced Aerial Cable,


เป็ นสายหุม้ ฉนวนไม่เต็มพิกดั
ต้องติดตัง้ บนฉนวนไฟฟ้ า

ตัวอย่างการติดตัง้ ใช้งาน
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 14

14

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 7


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

สายหุม้ ฉนวนเต็มพิกดั (สายใต้ดิน)

แผ่นคอนกรีต

แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 15

15

ระบบสายใต้ดิน

 รูจ้ กั โครงสร้างสายไฟฟ้ าและหน้าที่ของแต่ละส่วนของ


โครงสร้างสายไฟฟ้ า
 รูจ้ กั วิธีการเดินสายใต้ดินแบบต่างๆ ข้อดี ข้อเสีย และ
การเลือกใช้งาน
 Manhole ชนิ ดต่างๆ ข้อกําหนดการเลือกใช้งาน
 Grounding & bonding

แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 16

16

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 8


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

งาน
ให้คาํ ปรึกษา
งาน งาน
อํานวยการใช้ วางโครงการ
งาน
วิศวกรรม
ควบคุม
งานพิจารณา งานออกแบบ
ตรวจสอบ และคํานวณ
งานควบคุม
การสร้างหรือ
การผลิต

ตัวอย่างความรูท้ ่คี วรมี


งานออกแบบและคํา นวณ 17

แนะนําการเตรียมตัวสัมภาษณ์ฯ.....ลือชัย ทอง
นิล

17

เกี่ยวกับงานที่ทาํ เป็ นการนํ าความรูเ้ ชิง


วิศวกรรมมาประยุกต์ใช้

 มาตรฐานที่ใช้การอ้างอิงในการปฏิบตั งิ าน ข้อกําหนดตามหลักวิชาชีพวิศวกรรม
และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 ความรู ้ ความเข้าใจในมาตรฐานต่างๆ ที่ใช้ในการออกแบบฯ (เช่นมาตรฐานการ
ติดตัง้ ทางไฟฟ้ าฯ)
 ความรูใ้ นงานออกแบบเช่น การคํานวณหาโหลด การกําหนดขนาดหม้อแปลงและ
อุปกรณ์ป้องกัน การเลือกใช้สายไฟฟ้ า การกําหนดขนาดสายไฟฟ้ า วิธีการ
เดินสาย กระแสลัดวงจร แรงดันตก ระยะห่างและพื้นที่วา่ งในการปฏิบตั งิ าน
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 18
18

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 9


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

เกี่ยวกับงานที่ทาํ
 ความรูเ้ กี่ยวกับอุปกรณ์ไฟฟ้ าต่างๆและการเลือกใช้เช่น หม้อแปลง สายไฟฟ้ า
เซอร์กติ เบรกเกอร์ และ L/A เป็ นต้น
 สามารถออกแบบให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ดา้ น Safety Reliability, Stability,
Flexibility & Economy
 ระบบการผลิตและการจ่ายไฟของการไฟฟ้ าฯ

แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล


19

19

ตัวอย่าง Single Line Dia.


24 kV
OH or UG

1,000 kVA Transf. Generator


24 kV./240-416V
IC  25 kA, 416V MDB ออกแบบและคํานวณฯ
Protective relay ควบคุมการสร้าง
อํานวยการใช้
N
G
พิจารณาตรวจสอบ
PP-1 LP-1 LP-2 Air
ATS
EMDB
Capacitor แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 20

20

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 10


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

การป้ องกันแรงดันเกิน (L/A)


กับดักเสิรจ์ (lightning arrester) หรือกับดักฟ้ าผ่า พิกดั แรงดันเป็ นไปตาม
แรงดันของระบบไฟฟ้ าดังนี้
 พิกดั แรงดัน 9 kV สําหรับระบบแรงดัน 12 kV (กฟน.)
 พิกดั แรงดัน 21 kV สําหรับระบบแรงดัน 22 kV (กฟภ.) และ 24 kV (กฟน.)
 พิกดั แรงดัน 30 kV สําหรับระบบแรงดัน 33 kV (กฟภ.)
หมายเหตุ ในบางพื้นที่ของการไฟฟ้ าฯ อาจใช้พิกดั แรงดันต่างจากนี้ดว้ ยเหตุ
ทางด้านเทคนิ ค ในการติดตัง้ ใช้งานจริงจึงควรประสานงานกับการไฟฟ้ าฯ ที่ดูแล
พื้นที่ก่อน
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 21

21

การป้ องกันกระแสเกินสําหรับหม้อแปลงไฟฟ้ า

ตารางที่ 6-5 ขนาดปรับตัง้ สูงสุดของเครื่องป้ องกันกระแสเกินสําหรับหม้อแปลงระบบแรงสูง


ขนาด ด้านไฟเข้า ด้านไฟออก
อิมพีแดนซ์
แรงดันมากกว่า 1,000 โวลต์ แรงดันมากกว่า 1,000 โวลต์ แรงดันไม่เกิน 1,000 โวลต์
ของหม้อแปลง
เซอร์กติ เบรกเกอร์ ฟิ วส์ เซอร์กติ เบรกเกอร์ ฟิ วส์ เซอร์กติ เบรกเกอร์หรือฟิ วส์

ไม่เกิน 6% 600% 300% 300% 250% 125%


มากกว่า 6% 400% 300% 250% 225% 125%
แต่ไม่เกิน 10%
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 22

22

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 11


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

ระบบสายอากาศ……Spaced Aerial Cable,


เป็ นสายหุม้ ฉนวนไม่เต็มพิกดั
ต้องติดตัง้ บนฉนวนไฟฟ้ า

ตัวอย่างการติดตัง้ ใช้งาน
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 23

23

แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 24

24

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 12


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

ข้อควรระวังในการออกแบบและติดตัง้ ใช้งาน

แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 25

25

การเลือกใช้งานสายไฟฟ้ าระบบแรงตํา่
มอก.11-2553 &
การเลือกใช้สายไฟฟ้ าจะต้อง มอก 11 มอก 11 เล่ม 101 -2559 PVC
ทราบความต้องการและข้อ
แตกต่างของสายแต่ละชนิ ด
XLPE IEC 60502
อุณหภูมิใช้งาน มอก. 2143
PVC 70OC
XLPE 90OC
Flame retardant อืน่ ๆ
ควัน สายที่มีคณ
ุ สมบัตพิ เิ ศษ
ความแข็งแรงทางกายภาพ สายทนไฟ สายควันน้อย
สาย PV เป็ นต้น
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 26

26

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 13


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

การกําหนดขนาดสายไฟฟ้ า
หากระแสโหลด (หม้อแปลง) และกําหนดขนาดเครือ่ งป้ องกันกระแสเกิน

เลือกชนิ ดของสายไฟฟ้ า และวิธกี ารเดินสายไฟฟ้ า (รูปแบบการติดตัง้ )

เลือกตารางขนาดกระแสของสายไฟ และกําหนดตัวปรับค่า (Ca & Cg)

ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าที่ตอ้ งการ (It) จากตารางที่เลือก


It ≥ In/(Ca  Cg)

สายไฟฟ้ าต้องมีขนาดกระแสไม่ตาํ ่ กว่า It


แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 27

27

24 kV
OH or UG การกําหนดขนาดสายไฟฟ้ า หา
ข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก
1,000 kVA Transf. YouTube ช่อง Generator
24 kV./240-416V “ไฟฟ้ าน่ ารู ้ by วสท.”
IC  25 kA, 416V MDB
Protective relay

N
G
PP-1 LP-1 LP-2 Air
ATS
EMDB
Capacitor
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 28

28

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 14


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

การกําหนดพิกดั กระแสลัดวงจร, ICU

Q T L
F
"
𝑠
k3 cUn
𝑰"𝒌 =
𝑅 𝑋 𝑅 𝑋 𝑅 𝑋 F
ระบบไฟฟ้ า หม้อแปลงไฟฟ้ า สายไฟฟ้ า  3  Zk

Zk

แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล


29

29

Infinite bus, กระแสลัดวงจร


𝒌𝑽𝑨 𝟏, 𝟎𝟎𝟎
𝑰𝑺𝑪
%𝒁
√𝟑 𝑽 𝟏𝟎𝟎

ตัวอย่าง กําหนดให้หม้อแปลงขนาด 1,000 kVA แรงดันด้านไฟออก 230/400 V มี


Impedance voltage 6% ไม่คดิ ค่า Impedance ของระบบไฟฟ้ า (infinite bus) และ
สายไฟฟ้ าด้านแรงตํา่ ของหม้อแปลง
จะได้
𝒌𝑽𝑨 𝟏,𝟎𝟎𝟎 𝟏,𝟎𝟎𝟎 𝟏,𝟎𝟎𝟎
𝑰𝑺𝑪 %𝒁 = 𝟔 ampere
√𝟑 𝑽 √𝟑 𝟒𝟎𝟎
𝟏𝟎𝟎 𝟏𝟎𝟎
= 24 kA
Icu ต้องไม่ตา่ํ กว่า 24 kA
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 30

30

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 15


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

เมนสวิตช์

1 ระบบไฟฟ้ าต่อลงดิน 2 บริภณั ฑ์ไฟฟ้ าต่อลงดิน

แนะนําการเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 31

31

การต่อลงดิน, การกําหนดขนาดสายดิน

ด้านไฟออก
4. สายต่อฝากของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า กําหนด
เหมือนสายดินฯ (ตาราง 4-2)
เมนสวิตช์
3. สายต่อฝากประธานกําหนดจาก บริภณั ฑ์ไฟฟ้ า
ขนาดสายเมนเข้าอาคาร (ตาราง 4-1) N
แต่ไม่เล็กกว่า 12.5% G
1. สายต่อหลักดิน กําหนดจากขนาด 2. สายดินของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า กําหนดจากขนาด
สายเมนเข้าอาคาร (ตาราง 4-1) เครื่องป้ องกันกระแสเกินของวงจร (ตาราง 4-2)
หลักดิน
ด้านไฟเข้า
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 32

32

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 16


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

งาน
ให้คาํ ปรึกษา
งาน งาน
อํานวยการใช้ วางโครงการ
งาน
วิศวกรรม
ควบคุม
งานพิจารณา งานออกแบบ
ตรวจสอบ และคํานวณ
งานควบคุม
การสร้างหรือ
การผลิต

ตัวอย่างความรูท้ ่คี วรมี


งานควบคุม การสร้า งและการผลิต

แนะนําการเตรียมตัวสัมภาษณ์ฯ.....ลือชัย ทองนิล 33

33

เกี่ยวกับงานที่ทาํ

 ความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการติดตัง้ ทางด้านไฟฟ้ าฯ และมาตรฐานอืน่ ที่


เกี่ยวข้อง ทบทวนความถูกต้องของแบบไฟฟ้ า

 การตรวจสอบแบบไฟฟ้ าและอืน่ ๆ ที่เกี่ยวข้อง (สถานที่ตดิ ตัง้ การขนส่ง ฯลฯ


 ระบบการผลิตและการจ่ายไฟของการไฟฟ้ าฯ
 วิธีการทดสอบระบบก่อนการใช้งาน (Checklists & Form ต่างๆ)
 ปัญหาทางวิศวกรรมและแนวทางการแก้ไข

แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล


34

34

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 17


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

เกี่ยวกับงานที่ทาํ
 พื้นฐานความรูใ้ นงานที่ทาํ หลักเกณฑ์และวิธีการในการควบคุมงานให้ได้คณ ุ ภาพ
เช่น การติดตัง้ ได้ตามมาตรฐาน ได้ตามที่ผูผ้ ลิตแนะนํ า การดูแลเรื่อง Cost
Control และอืน่ ๆ
 กระบวนการที่ทาํ ให้โครงการสําเร็จที่เกี่ยวกับ คน เงิน วัสดุ ฯลฯ

35
แนะนําการเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล

35

ระบบสายใต้ดิน

 รูจ้ กั โครงสร้างสายไฟฟ้ าและหน้าที่ของแต่ละส่วน


 Grounding & bonding
 วิธีการทดสอบท่อ และการลากสาย
 การต่อสาย การต่อลงดิน และการทําหัวเคเบิล
 การตรวจสอบและทดสอบก่อนการจ่ายไฟ

แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 36

36

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 18


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

Ligntning Arrester Grounding


เมือ่ L/A ใช้ป้องกันหม้อแปลงไฟฟ้ า

แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 37

37

การต่อลงดินของ L/A ที่หม้อแปลงไฟฟ้ า

V1

V2
Case I
สายดินของ L/A
V3
แยกกับหม้อแปลง
V = V1+V2+V3

แรงดัน V มีค่าสูง เป็ นอันตราย

แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 38

38

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 19


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

การต่อลงดินของ L/A ที่หม้อแปลงไฟฟ้ า

Case II
ดีกว่า
สายดินของ L/A V1
รวมกับหม้อแปลง V2 L/A

V3

V = V1+V2

แรงดัน V มีตา่ํ ลง

แนะนําการเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 39

39

การต่อลงดินของ L/A ที่เคเบิลแรงสูง

เมื่อติดตัง้ Surge
arrester ด้วย ต้องต่อ
shield ของเคเบิลร่วมกับ
สายดินของ arrester

แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 40

40

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 20


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

ข้อควรระวัง…เมื่อใช้ ATS ชนิ ด 3-P,

ไฟฟ้ าจากการไฟฟ้ าฯ
เมนสวิตช์ เครื่องกําเนิ ดไฟฟ้ า 1. ที่ Gen ห้าม
ต่อ N ลงดิน
N N
G
G

N
G
3-pole
transfer switch
N
โหลด เมื่อเกิด Ground Fault
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 41

41

ข้อควรระวัง… เมื่อใช้ ATS ชนิ ด 3-P


GFP อาจปลดวงจรได้แม้ไม่เกิด Ground Fault

ไฟฟ้ าจากการไฟฟ้ าฯ
เมนสวิตช์ เครื่องกําเนิ ดไฟฟ้ า
2. ที่ Gen ห้าม
ต่อ N กับ G
N N
G G
กระแสโหลด
N
G
3-pole transfer switch
N
โหลด
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 42

42

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 21


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

การติดตัง้ เมื่อมีเครื่องกําเนิ ดไฟฟ้ าด้วย, 4-P Transfer SW


ไฟฟ้ าจากการไฟฟ้ าฯ
เมนสวิตช์ เครื่องกําเนิ ดไฟฟ้ า

N RS N
G
G
สายต่อหลักดิน

G
(ต่อระบบไฟฟ้ าลงดิน)
4-pole
switch transfer
N
โหลด
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 43

43

ระบบการเดินสายภายในอาคาร…..บางส่วน
ข้อ ควรระวัง

แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 44

44

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 22


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

การป้ องกันความร้อนจากกระแสเหนี่ ยวนํา


เมื่อติดตัง้ สายไฟฟ้ ากระแสสลับในเครื่องห่อหุม้ โลหะ ต้องจัดทํา
ไม่ให้เกิดความร้อนเนื่ องจากการเหนี่ ยวนํ า...ดังนี้
◦รวมสายทุกเส้นของวงจรเดียวกันและสายดิน ในเครื่องห่อหุม้
เดียวกัน
◦การเดินสายควบ ในแต่ละท่อต้องมีสายของวงจรเดียวกันครบ
ทุกเส้น รวมทัง้ สายดิน
เมนสวิตช์ ท่อร้อยสาย แผงย่อย
A
B
C
N G 45
มีสายครบทุกเฟสรวมนิ วทรัลและสายดิน
แนะนําการเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ ฯ .....ลือ ชัย ทองนิ ล

45

ความร้อนจากกระแสเหนี่ ยวนํ าในท่อโลหะ


แนวทางการป้ องกัน
G
N
C
B
A

A B C NG A B C NG
A B C NG

ท่อโลหะ
แนะนําการเตรียมตัวสัมภาษณ์ฯ.....ลือชัย ทองนิล 46

46

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 23


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

การวางสายบนรางเคเบิล

A A B B C C N N

A B C N A B C N

A B C N N C B A

แนะนําการเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 47

47

• ต้องใช้สายขนาดไม่เล็กกว่า 50 ตร.มม. และ


การเดิน
• ใช้สายชนิ ดเดียวกัน และ ขนาดเดียวกัน และ
สายควบ • มีความยาวเท่ากัน และ วิธกี ารต่อสายเหมือนกัน

แผงย่อย ท่อร้อยสาย แผงย่อย


A
B
C
N
G
0.1 ohm
400A 400A Ia = 240 A
Ia
0.15 ohm Ib = 160 A
Ib
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 48

48

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 24


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

ข้อควรระวังอืน่ ๆ ในการเดินสายไฟฟ้ า
 จํานวนสายในช่องเดินสาย
 ชนิ ดของสายที่ใช้ได้
 ชนิ ดของช่องเดินสายสําหรับอาคารที่เป็ นสถานที่เฉพาะ
อาคารชุด อาคารสูง และอาคารขนาดใหญ่พเิ ศษ
 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ า (ตัวปรับค่า)

แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 49

49

งาน
ให้คาํ ปรึกษา
งาน งาน
อํานวยการใช้ วางโครงการ
งาน
วิศวกรรม
ควบคุม
งานพิจารณา งานออกแบบ
ตรวจสอบ และคํานวณ
งานควบคุม
การสร้างหรือ
การผลิต

ตัวอย่างความรูท้ ่คี วรมี


งานพิจ ารณาตรวจสอบ 50
This Photo by Unknown Author is licensed under CC BY‐ND

แนะนําการเตรียมตัวสัมภาษณ์ฯ.....ลือชัย ทองนิล

50

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 25


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

เกี่ยวกับงานที่ทาํ

 มาตรฐานที่ใช้อา้ งอิงในการตรวจสอบ
 รูจ้ กั บริภณั ฑ์ไฟฟ้ าและการทํางาน วิธีการตรวจสอบ และข้อควรระวังต่าง ๆ
 ความรูเ้ รื่องเครื่องมือและเครื่องวัด การเลือกใช้ มาตรฐานที่ใช้ในการตรวจสอบ
และทดสอบ และเกณฑ์การตัดสิน
 ความสามารถในการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้ และการทํารายงาน
 การนํ าเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาประยุกต์ใช้
 การป้ องกันอันตรายจากไฟฟ้ า (การเลือกใช้ PPE) 51
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล

51

การตรวจวัดความร้อน
วัดอุณหภูมโิ ดยไม่ตอ้ งสัมผัสอุปกรณ์

แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 52

52

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 26


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

Delta-T
38.8 C 58 C

96.8 C
128.8 C
40.3 C

การวิเคราะห์ผล
 Delta-T Temperature Rating System
 Standard-Based Temperature Rating System
แนะนําการเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 53

53

งาน
ให้คาํ ปรึกษา
งาน งาน
อํานวยการใช้ วางโครงการ
งาน
วิศวกรรม
ควบคุม
งานพิจารณา งานออกแบบ
ตรวจสอบ และคํานวณ
งานควบคุม
การสร้างหรือ
การผลิต

ตัวอย่างความรูท้ ่คี วรมี


งานอํา นวยการใช้ 54

แนะนําการเตรียมตัวสัมภาษณ์ฯ.....ลือชัย ทอง
นิล

This Photo by Unknown Author is licensed under CC BY SA

54

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 27


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

เกี่ยวกับงานที่ทาํ
 การวางแผนการบํารุงรักษา (PM- แผนระยะสัน้ ระยะยาว) และการทํา Check
lists)
 การใช้เครื่องมือรวมถึงวิธกี ารตรวจสอบ ทดสอบ และการวิเคราะห์ผล
 วิธีการตรวจสอบ ทดสอบ ระบบและอุปกรณ์ไฟฟ้ าก่อนการใช้งาน
 การทํางานของอุปกรณ์ ข้อจํากัดของอุปกรณ์น้นั ๆ และวิธีการซ่อมบํารุง
 การนํ าเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาประยุกต์ใช้และพัฒนาความสามารถในการทํางาน
 การป้ องกันอันตรายจากไฟฟ้ า (การเลือกใช้ PPE) 55
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล

55

Prevention is better than cure


การบํารุงรักษาคืออะไร?
คือการกระทําที่ผสมผสานกันทัง้ ด้านเทคนิ คและการจัดการ ในอันที่จะ เทคนิค

คงไว้ซ่งึ สภาพของอุปกรณ์ หรือเพือ่ ฟื้ นฟูสภาพของอุปกรณ์ ให้อยู่ใน การ


จัด การ
สภาพที่จะทํางานได้ตามที่ตอ้ งการ และมีความปลอดภัย
การบํารุงรักษา

แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 56

56

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 28


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

การวัดและการทดสอบทางไฟฟ้ า…ตัวอย่าง
ทดสอบฉนวนไฟฟ้ า (แห้ง ของเหลว)

Insulation power factor

ตรวจวัดความร้อน

ตรวจวัดความต้านทานการต่อลงดิน

Contact Resistance

ตรวจวัด Gas ในนํ้ ามัน


แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 57

57

การวางแผนและขัน้ ตอนการตรวจสอบฯ
แบบไฟฟ้ าทัง้ หมด ประกอบด้วย:-
Single line, Schematic & Wiring Diagram
➀ Short-circuit & Coordination Study
Circuit Routing Diagram, Cable Maps, Raceway
สํารวจและจัดทํา Layouts (ระบุตาํ แหน่ ง ชนิ ด ขนาด รายละเอียดของ
รายชื่ออุปกรณ์ สายไฟฟ้ า แรงดันไฟฟ้ า ฯลฯ)
และจัดเตรียม Layout, Plot Plants, Equipment Location Plants
ข้อมูลต่อไปนี้ or Plant Maps (ระบุตาํ แหน่ งอุปกรณ์ไฟฟ้ าและเครื่องจักร
ทัง้ หมด)
คู่มือการบํารุงรักษา
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล การติดตัง้ ที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม อ้างอิง NFPA 70B 58

58

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 29


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

การวางแผนและขัน้ ตอนการตรวจสอบฯ
เป็ นอุปกรณ์ท่มี ีความสําคัญหรือไม่
➁ (บุคคล ทรัพย์สนิ ผลิตภัณฑ์)
ถ้ามีอปุ กรณ์สาํ รอง อาจไม่ตอ้ งทํา PM แต่ถา้
แบ่งกลุม่ และ breakdown cost สูงก็อาจต้องทํา
เรียงลําดับ
ความสําคัญของ ถ้า PM cost สูงหรือไม่สามารถลดปัญหาการสึกหรอได้
อุปกรณ์ ก็ไม่ควรทํา PM
ถ้าอุปกรณ์จะล้าสมัยก่อนเวลาชํารุด ก็อาจไม่ตอ้ งทํา
PM
อ้างอิง NFPA 70B
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 59
59

การวางแผนและขัน้ ตอนการตรวจสอบ
➂ จุดที่ตอ้ งตรวจสอบ แนวทางการตรวจสอบ
จัดทําวิธีการตรวจสอบฯ จุดสําคัญ รายการ การดําเนินการ ความถี่
และอุปกรณ์สาํ คัญ(Critical) ที่ตอ้ ง อุณหภูมิ จดอุณหภูมอิ ากาศ นํา้ มันหม้อแปลงและขดลวด ทุกวัน
ตรวจสอบฯ รวมทัง้ อุปกรณ์ท่มี ีผล ระดับนํา้ มันหม้อ อ่านค่าจากเครื่องวัดระดับนํา้ มัน (สังเกตรอยแตกร้าวหรือมีไอนํา้ เกาะใน ทุกสัปดาห์
ต่อระบบอืน่ แปลง กระจกหรือไม่)
นํา้ มันรัว่ ซึม ตรวจตามครีบระบายความร้อน ข้อต่อวาล์ว และชิ้นส่วนอื่น ๆ ทุกเดือน
บุชชิ่ง ตรวจรอยรัว่ ซึมของนํา้ มัน รอยแตก บิน่ และสิง่ สกปรก ทุกเดือน


กล่องสารดูด ตรวจการเปลีย่ นสีของสารดูดความชื้น (Silica gel) หากมีการเปลีย่ นสี(เป็ น ทุก 6 เดือน
ความชื้น สีชมพู) ต้องเปลีย่ นใหม่ ตรวจคราบนํา้ มัน
จัดทําใบรายการบํารุงรักษา สภาพภายนอก สังเกตสิง่ สกปรก สนิม หยดนํา้ การเปลีย่ นสีของจุดต่าง ๆ สังเกตเสียงและ ทุกเดือน
ตารางเวลาการบํารุงรักษา (ได้จาก... แสงทีเ่ กิดจาก Partial discharge สังเกตกลิน่ ทีผ่ ดิ ปกติ
คําแนะนํ าของผูผ้ ลิต และจากความ ล่อฟ้ า ตรวจสภาพทัว่ ไป รอยบิน่ แตก จด Counter ของล่อฟ้ า (ถ้ามี) หลังฝนตกฟ้ า
ชํานาญ ประสบการณ์ ระดมสมอง) คะนอง
นํามันหม้อแปลง วัดค่าความเป็ นฉนวนของนํามันหม้อแปลง ทุกปี
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 60
60

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 30


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

การวางแผนและขัน้ ตอนการตรวจสอบ
 โครงสร้างและการทํางานของอุปกรณ์
 วิธีเฉพาะสําหรับการทํางาน (ถ้ามี)
➄  อันตรายจากไฟฟ้ าที่อาจเกิดได้จากตัวอุปกรณ์หรือการทํางาน
 การระมัดระวังเป็ นพิเศษ การใช้ PPE, การใช้อปุ กรณ์และเครื่องมือ
เตรียมความรูใ้ ห้พนักงาน ฉนวน การใช้ครื่องมือทดสอบ
(วิธตี รวจสอบ Safety,  เทคนิ คและความชํานาญที่จาํ เป็ นในการแยกแยะส่วนที่มีไฟฟ้ าเปิ ด
บุคคลที่ตดิ ต่อกรณี โล่ง
 เทคนิ คและความชํานาญที่จาํ เป็ นในการที่จะทราบระดับแรงดันของ
ฉุกเฉิ น) ส่วนที่มีไฟฟ้ าเปิ ดโล่ง
 กระบวนการที่จาํ เป็ นในการหาระดับอันตรายและการขยายตัวของ
อันตราย
 การวางแผนการทํางานที่จาํ เป็ นเพื่อความปลอดภัย
อ้างอิง NFPA 70B
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 61
61

การวางแผนและขัน้ ตอนการตรวจสอบ
จากใบรายการบํารุงรักษา
➅ นํ ามากําหนดแผนการใช้ทรัพยากร

จัดเตรียมอุปกรณ์และ
เครื่องมือ แรงงานที่ตอ้ งการใช้
เครื่องมือที่ตอ้ งใช้
อะไหล่และอุปกรณ์อน่ื ๆ เช่นเครื่องป้ องกัน
ภัยส่วนบุคคล
กําหนดเป็ นงบประมาณค่าใช้จา่ ยได้
อ้างอิง NFPA 70B
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 62
62

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 31


แนะนําการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ฯ เพือการเลือระดับสาขาไฟฟ้า 12‐Dec‐21

การวางแผนและขัน้ ตอนการตรวจสอบ
รายการ การดําเนินการ

ทําการตรวจสอบ โดย อุณหภูมิ จดอุณหภูมอิ ากาศ นํามันหม้อแปลงและขดลวด
ใช้ Check List ระดับนํามันหม้อแปลง อ่านค่าจากเครืองวัดระดับนํามัน (สังเกตรอยแตกร้าวหรือ
(Tank & On load tap) มีไอนําเกาะในกระจกหรือไม่)
นํามันรัวซึม ตรวจตามครีบระบายความร้อน ข้อต่อวาล์ว และชินส่วน
➇ อืน ๆ
สรุปผล วิเคราะห์ และ เสียงดังผิดปกติขณะ ตรวจสอบโดยการฟั งเสียง ถ้าเกิดจากการสันสะเทือน
ทํางาน ผิดปกติจะทราบได้จากการใช้มือสัมผัส
รายงานรวมทัง้ แก้ไข บุชชิง ตรวจรอยรัวซึมของนํามัน รอยแตก บิน และสิงสกปรก
ปรับปรุง
กล่องสารดูดความชืน ตรวจสารดูดความชืน (Silica gel) หากมีการเปลียนสี(เป็ น
สีชมพู)ต้องเปลียนใหม่ ตรวจคราบนํามัน
➈ สังเกตสิงสกปรก สนิม หยดนํา การเปลียนสีของจุดต่าง ๆ
สภาพภายนอกทัวไป
บํารุงรักษาตามความ สังเกตเสียงและแสงทีเกิดจาก Partial discharge
จําเป็ น
ตาราง อาจแยกเป็ นแบบรายวัน รายเดือน และรายปี ก็ได้
แนะนํา การเตรีย มตัวสัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 63
63

THE END
ลือชัย ทองนิ ล …..อนุ กรรมการทดสอบความรูฯ้ สภาวิศวกร
แนะนําการเตรีย มตัว สัม ภาษณ์ ฯ.....ลือ ชัย ทองนิ ล 64

64

ลือชัย ทองนิล.....อนุกรรมการฯ สาขาไฟฟ้า สภาวิศวกร 32

You might also like