5 2-เคมี4

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 4

คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชา ว๓๒๒๒๔ เคมี ๔


รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ภาคเรียนที่ ๒
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๕ จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต
เวลา ๖๐ ชั่วโมง

สืบค้นข้อมูล สำรวจตรวจสอบ ศึกษา วิเคราะห์ อภิปราย และ


อธิบายเกี่ยวกับทฤษฎีกรด–เบสของอาร์เรเนียส เบรินสเตด–ลาวรีและลิว
อิส คู่กรด-เบสของสารตามทฤษฎีกรด-เบส ของเบรินสเตด-ลาวรี การ
แตกตัวหรือความแรงของกรดและเบส ค่า pH ปฏิกิริยาสะเทิน ความ
เป็ นกรด-เบสของสารละลาย หลังการสะเทิน ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของ
เกลือ ความเป็ นกรด-เบสของสารละลายเกลือ การไทเทรต และเลือกใช้
อินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมสำหรับ การไทเทรตกรด-เบส สารละลายบัฟเฟอร์
คำนวณเลขออกซิเดชัน และระบุปฏิกิริยา ที่เป็ นปฏิกิริยารีดอกซ์ เลข
ออกซิเดชัน ตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดส์ ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันและครึ่ง
ปฏิกิริยา รีดักชันของปฏิกิริยารีดอกซ์ ดุลสมการรีดอกซ์ด้วยการใช้เลข
ออกซิเดชัน และวิธีครึ่งปฏิกิริยา เซลล์เคมีไฟฟ้ า ปฏิกิริยาที่แอโนดและ
แคโทด ปฏิกิริยารวม แผนภาพเซลล์ ค่าศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของเซลล์
เซลล์ปฐมภูมิและเซลล์ทุติยภูมิ ชุบโลหะและแยกสารเคมีด้วยกระแส
ไฟฟ้ า และอธิบายหลักการทางเคมีไฟฟ้ าที่ใช้ ในการชุบโลหะ การแยก
สารเคมีด้วยกระแส ไฟฟ้ า การทำโลหะให้บริสุทธิแ์ ละการป้ องกัน การ
กัดกร่อนของโลหะความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเซลล์เคมี
ไฟฟ้ า ในชีวิตประจำวัน
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต
การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบายและสรุป เพื่อให้เกิด
ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ ความ
สามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม สื่อสารสิ่งที่
เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง
ตระหนักในคุณค่าของความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์

ผลการเรียนรู้

๑. ระบุและอธิบายว่าสารเป็ นกรดหรือเบส โดยใช้ทฤษฎีกรด–เบสขอ


งอาร์เรเนียส เบรินสเตด–ลาวรีและลิวอิส
๒. ระบุคู่กรด-เบสของสารตามทฤษฎีกรด-เบส ของเบรินสเตด-ลาวร
๓. คำนวณ และเปรียบเทียบความสามารถ ในการแตกตัวหรือความแรง
ของกรดและเบส
๔. คำนวณค่า pH ความเข้มข้นของไฮโดรเนียม ไอออนหรือไฮดรอกไซด์
ไอออนของ สารละลายกรดและเบส
๕. เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาสะเทิน และ ระบุความเป็ นกรด-เบส
ของสารละลาย หลังการสะเทิน
๖. เขียนปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเกลือ และระบุ ความเป็ นกรด-เบสของ
สารละลายเกลือ
๗. ทดลอง และอธิบายหลักการการไทเทรต และเลือกใช้อินดิเคเตอร์ที่
เหมาะสมสำหรับ การไทเทรตกรด-เบส
๘. คำนวณปริมาณสารหรือความเข้มข้นของ สารละลายกรดหรือเบสจาก
การไทเทรต
๙. อธิบายสมบัติองค์ประกอบ และประโยชน์ ของสารละลายบัฟเฟอร์
๑๐. สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างการใช้ประโยชน์ และการแก้ปัญหา
โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับ กรด–เบส
๑๑. คำนวณเลขออกซิเดชัน และระบุปฏิกิริยา ที่เป็ นปฏิกิริยารีดอกซ์
๑๒. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน และระบุตัวรีดิวซ์และตัว
ออกซิไดส์รวมทัง้ เขียนครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันและครึ่งปฏิกิริยา รีดักชัน
ของปฏิกิริยารีดอกซ์
๑๓. ทดลอง และเปรียบเทียบความสามารถในการ เป็ นตัวรีดิวซ์หรือตัว
ออกซิไดส์และเขียนแสดง ปฏิกิริยารีดอกซ์
๑๔. ดุลสมการรีดอกซ์ด้วยการใช้เลขออกซิเดชัน และวิธีครึ่งปฏิกิริยา
๑๕. ระบุองค์ประกอบของเซลล์เคมีไฟฟ้ า และ เขียนสมการเคมีของ
ปฏิกิริยาที่แอโนดและ แคโทด ปฏิกิริยารวม และแผนภาพเซลล์
๑๖. คำนวณค่าศักย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของเซลล์ และระบุประเภทของเซลล์
เคมีไฟฟ้ า ขัว้ ไฟฟ้ า และปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึน

๑๗. อธิบายหลักการทำงาน และเขียนสมการแสดง ปฏิกิริยาของ
เซลล์ปฐมภูมิและเซลล์ทุติยภูมิ
๑๘. ทดลองชุบโลหะและแยกสารเคมีด้วยกระแส ไฟฟ้ า และอธิบายหลัก
การทางเคมีไฟฟ้ าที่ใช้ ในการชุบโลหะ การแยกสารเคมีด้วยกระแส ไฟฟ้ า
การทำโลหะให้บริสุทธิแ์ ละการป้ องกัน การกัดกร่อนของโลหะ
๑๙. สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีที่
เกี่ยวข้องกับเซลล์เคมีไฟฟ้ า ในชีวิตประจำวัน

รวมทัง้ หมด ๑๙ ผลการเรียนรู้

You might also like