Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 16

สนอง เอกสิทธิ์

งานวิจัยขึ้นห้าง: การสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบควบคุมสัณฐานวิทยาฯ

งานวิจยั ขึน้ ห้าง: การสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบควบคุมสัณฐานวิทยา


การจัดการความรูเ้ พือ่ แปรรูปผลงานวิจยั พืน้ ฐานให้เป็นผลิตภัณฑ์นวัตกรรมทำากำาไร
ResearchCommercialization: Morphological Controlled Synthesis of Silver
Nanoparticles and Related Knowledge Management Enable a
Transformation of Research Findings towards Commercial Products
สนอง เอกสิทธิ์
หน่วยปฏิบัติการวิจัยอุปกรณ์รับรู้ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ 10330,
Email: sanong.e@chula.ac.th
บทคัดย่อ
หน่วยปฏิบัติการวิจัยอุปกรณ์รับรู้เป็นหน่วยงานวิจัยสังกัดภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ที่ประสบความสำาเร็จในการจัดการความรู้เพื่อเปลี่ยนผลงานวิจัยพื้นฐานนวัตกรรมการสังเคราะห์อนุภาคระดับนาโนเมตร
ของเงิน (รูจ้ กั กันดีในชือ่ อนุภาคเงินนาโน หรือ อนุภาคซิลเวอร์นาโน) ให้เป็นผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ทส่ี ามารถแข่งขันได้ทง้ั ด้านราคา
และคุณภาพกับผลิตภัณฑ์นำาเข้าจากต่างประเทศ หรือ ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตด้วยเทคโนโลยีที่พัฒนาในต่างประเทศได้อย่างยั่งยืน
ภายใต้ระบบการวิจัยเพื่อการประยุกต์เชิงพาณิชย์ คณะนักวิจัยของหน่วยปฏิบัติการวิจัยอุปกรณ์รับรู้ได้ดำ�เนินการวิจัยพื้นฐาน
สามารถพัฒนาวิธีการสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนที่ควบคุมสัณฐานวิทยาได้จากการทำ�วิจัยอย่างเป็นระบบ นวัตกรรมและ
เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นทั้งหมดดำ�เนินการในประเทศภายใต้กลไกบัณฑิตศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจนสามารถพัฒนา
เทคโนโลยีหลัก เพื่อการผลิตอนุภาคซิลเวอร์นาโนเชิงพาณิชย์ได้เป็นผลสำ�เร็จ นอกจากการเผยแพร่ตีพิมพ์ผลงานวิจัยและ
ยื่นจดสิทธิบัตร (สิทธิบัตรไทย: อนุภาคระดับนาโนเมตรของโลหะเงินแบบแผ่นปริซึมที่สามารถควบคุมสมบัติเชิงแสงได้และ
วิธีการผลิต) คณะนักวิจัยได้พัฒนารูปแบบการจัดการความรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อรองรับการต่อยอดเชิงพาณิชย์ของ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้น คณะนักวิจัยได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตอนุภาคซิลเวอร์นาโนและร่วมพัฒนาผลิตภัณฑ์
นวัตกรรมที่ใช้อนุภาคซิลเวอร์นาโนเป็นวัตถุดิบให้แก่ภาคเอกชนของไทยจำ�นวน 5 ราย มีส่วนร่วมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มี
การเพิ่มมูลค่าด้วยนาโนเทคโนโลยีที่จำ�หน่ายเชิงพาณิชย์แล้วมากกว่า 10 ผลิตภัณฑ์ สนับสนุนให้นิสิตที่สำ�เร็จการศึกษาจาก
หน่วยวิจัยก่อตั้ง Spin-Off Company เพื่อดำ�เนินธุรกิจวัสดุนาโนและนาโนเทคโนโลยีจำ�นวน 1 บริษัท มีการทำ�วิจัยต่อเนื่อง
เพื่อพัฒนาวัสดุนาโนใหม่ๆ เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์นวัตกรรมที่มีการเพิ่มมูลค่าและศักยภาพการแข่งขันด้วยนาโนเทคโนโลยี
อย่างยั่งยืน
คำ�สำ�คัญ: การจัดการความรู้ การจัดการนวัตกรรม นาโนเทคโนโลยี อนุภาคซิลเวอร์นาโน ผลิตภัณฑ์นวัตกรรม การวิจัยเพื่อ
การประยุกต์เชิงพาณิชย์ งานวิจัยขึ้นห้าง
ABSTRACT
Sensor Research Unit (SRU), a research laboratory under Department of Chemistry, Faculty of Science,
Chulalongkorn University, has successfully transferred its fundamental research findings into competitive and profitable
commercial products via a systematic knowledge management and effective technology transfer protocol. The nano-
enable products derived from SRU-developed silver nanoparticles technology can economically compete with
imported products. After a successful development of its core technology, the SRU team filed a Thai patent “SILVER
NANOPRISMS WITH CONTROLLABLE OPTICAL PROPERTIES AND METHOD OF MAKING THEM”. A systematic knowledge
management and effective technology transfer protocol specially designed for Thai industrial environment enables
the team to successfully transferred its technology to 5 Thai companies that developed and commercialized more
than 10 brand newNanoSilver-enabled products. Three companies have licensed the technology from Chulalongkon
University for their large scale commercial productions. The research team has also encouraged and supported SRU
graduates to establish a spin-off company to do business related to nanomaterials and nanotechnologies, especially
those developed in-house. The company will later become a commercial arm as well as an industrial linker for the
laboratory. The SRU research team has demonstrated that a systematic knowledge management with sincere
collaborative researches between academic and industries could efficiently transform fundamental research findings
into novel yet profitable commercial products within a short period.
Keywords: Knowledge Management, Management of Innovation, Nanotechnology, Silver Nanoparticles, Innovative
Products, Industrial Researches, Research Commercialization

วารสารสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2558 หน้าที่ 1-16 1


สนอง เอกสิทธิ์ งานวิจัยขึ้นห้าง: การสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบควบคุมสัณฐานวิทยาฯ

1. บทนำ� มนุษย์ให้มีศักยภาพ สามารถสร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยี


เพื่อพัฒนาประเทศให้ก้าวหน้าแข่งขันกับนานาชาติได้จริงอยู่
เป็นที่ยอมรับในปัจจุบันว่าความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
ที่โครงการวิจัยบางโครงการเท่านั้นที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์
ในยุคโลกาภิวัตน์ต้องพึ่งระบบการค้าเสรีอยู่บนพื้นฐานของ
และสามารถนำ�มาต่อยอดทางธุรกิจและอุตสาหกรรมให้เห็น
ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ที่พัฒนาต่อยอดมาจากการวิจัย
ผลเป็นที่ประจักษ์ โครงการวิจัยบางโครงการแม้จะเป็นการ
นวัตกรรม และ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนาจึงเป็นพื้นฐาน
วิ จั ย พื้ น ฐาน หากมี ก ารพั ฒ นาเพิ่ ม เติ ม อี ก เล็ ก น้ อ ยก็ จ ะ
ทีส่ �ำ คัญในการเพิม่ ศักยภาพการแข่งขันของประเทศ นักวิจยั ใน
สามารถเปลี่ยนผลงานวิจัยให้เป็นนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่
หน่วยงานวิจัยของรัฐและมหาวิทยาลัยจึงต้องตอบคำ�ถามแก่
มี ศั ก ยภาพเชิ ง พาณิ ช ย์ ไ ด้ บทความนี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ จ ะ
สั ง คมว่ า งบประมาณที่ ใช้ ไ ปกั บ การวิ จั ย ได้ มี ส่ ว นในการ
เผยแพร่ ก ลไกและถอดบทเรี ย นการต่ อ ยอดผลงานวิ จั ย
พั ฒ นาและเสริ ม สร้ า งความแข็ ง แกร่ ง และศั ก ยภาพการ
พื้ น ฐานให้ เ ป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เชิ ง พาณิ ช ย์ ที่ ไ ด้ ดำ � เนิ น การจน
แข่งขันของประเทศอย่างไร? โครงการวิจัยที่ดำ�เนินการอยู่จะ
สร้างผลตอบแทนเชิงพาณิชย์หรือนำ�มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ สามารถสร้างผลิตภัณฑ์นวัตกรรมจากงานวิจัยภายใต้กลไก
ประเทศอย่างไร? จริงหรือที่การวิจัยส่วนใหญ่เป็นการวิจัยขึ้น การจัดการความรู้ที่เป็นระบบ
หิ้ง? จริงหรือที่นักวิจัยทำ�โครงการวิจัยเพื่อการตีพิมพ์และ บทความนี้ จ ะนำ � เสนอโดยใช้ ง านวิ จั ย พื้ น ฐานการ
สร้ า งความก้ า วหน้ า ในตำ � แหน่ ง ทางวิ ช าการของตนเอง ควบคุมสัณฐานวิทยา (ขนาดและรูปร่าง) ของอนุภาคซิลเวอร์
เท่ า นั้ น ? โครงการวิ จั ย ที่ ดำ � เนิ น การในหน่ ว ยงานวิ จั ย ของ นาโนด้ ว ยกระบวนการทางเคมี ที่ ดำ � เนิ น การโดยหน่ ว ย
ประเทศล้วนมีประโยชน์ทั้งสิ้น การศึกษาและวิจัยอย่างเป็น ปฏิบัติการวิจัยอุปกรณ์รับรู้ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
ระบบเป็นกลไกเดียวที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นตัวอย่าง

รูปที่ 1: ผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ที่มีการใช้อนุภาคซิลเวอร์นาโนที่ผลิตด้วยเทคโนโลยีซิลเวอร์นาโนของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เป็นส่วนประกอบ คณะนักวิจัยร่วมพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่ใช้งานได้จริงตามวัตถุประสงค์และเงื่อนไขความสำ�เร็จที่กำ�หนด
โดยภาคอุตสาหกรรมก่อนที่จะมีการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อการผลิตเชิงพาณิชย์

นักวิจัยจะต้องทำ�อะไรบ้างหลังจากการวิจัยเพื่อสร้าง นวัตกรรมหลังจากประสบความสำ�เร็จในการวิจัยและพัฒนา
องค์ความรู้ใหม่และตีพิมพ์ผลงานวิจัย นักวิจัยต้องทำ�อย่างไร ระดับห้องปฏิบัติการผลงานวิจัยและองค์ความรู้ที่สร้างและ
เพื่อให้มีการต่อยอดเชิงพาณิชย์ของงานวิจัย นักวิจัยจะต้อง พัฒนาขึ้นในมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยเป็นเพียงจุดเริ่มต้น
ทำ � อะไรเพิ่ ม เติ ม เพื่ อ ให้ เ กิ ด การถ่ า ยทอดเทคโนโลยี แ ละ เท่านั้น ในกรณีศึกษาการถ่ายทอดเทคโนโลยีซิลเวอร์นาโนสู่

2 วารสารสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2558 หน้าที่ 1-16


สนอง เอกสิทธิ์ งานวิจัยขึ้นห้าง: การสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบควบคุมสัณฐานวิทยาฯ

การประยุ ก ต์ เ ชิ ง พาณิ ช ย์ สิ่ ง ที่ ค ณะนั ก วิ จั ย ของหน่ ว ย ก่ อ นอื่ น มาทำ � ความเข้ า ใจกั น ก่ อ นว่ า วั ส ดุ น าโนคื อ
ปฏิ บั ติ ก ารวิ จั ย อุ ป กรณ์ รั บ รู้ ไ ด้ ทำ � เพิ่ ม เติ ม เพื่ อ ให้ เ กิ ด การ อะไร มี ค วามสำ � คั ญอย่ า งไร?เป็ น ที่ ย อมรั บกั น โดยทั่ วไปใน
ถ่ายทอดเทคโนโลยีและสร้างผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์อย่างเป็น ปั จ จุ บั น ว่ า วิ ท ยาศาสตร์ น าโนและนาโนเทคโนโลยี
รูปธรรมคือ 1) การปรับกระบวนการผลิตให้มีความซับซ้อน (Nanoscience and Nanotechnology) เป็ น ศาสตร์
น้ อ ยลง ใช้ เ ครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ์ ที่ ห าได้ ใ นประเทศ 2) ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การศึ ก ษา ผลิ ต ควบคุ ม แปรรู ป และ ใช้
พั ฒ นาระบบการผลิ ต ที่ มี ต้ น ทุ น การผลิ ต ตํ่ า ที่ สุ ด เพื่ อ ให้ ประโยชน์วัสดุนาโน โดยวัสดุนาโนจะต้องมีสมบัติพื้นฐาน 3
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส ามารถแข่ ง ขั น ได้ เชิ ง พาณิ ช ย์ 3) พั ฒ นาระบบ ประการ คือ 1) วัสดุนาโนมีขนาดอยู่ในช่วง 1 – 100 นาโน
การขยายกำ�ลังการผลิตเพื่อรองรับการผลิตปริมาณมาก 4) เมตร 2) วัสดุนาโนมีสมบัติแปลกใหม่แตกต่างจากวัสดุชนิด
พัฒนากระบวนการผลิตที่สามารถทำ�ซํ้าได้ ผลิตภัณฑ์อนุภาค เดียวกันที่มีขนาดใหญ่ (Bulk Materials) และ 3) สามารถ
นาโนที่ได้มีคุณภาพสมํ่าเสมอ 5) พัฒนาระบบการตรวจสอบ ควบคุ ม ขนาดของวั ส ดุ น าโนได้ ต ามต้ อ งการและผลิ ต ซํ้า ได้
และควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่มีค่าใช้จ่ายในการวิเคราะห์ คำ�ถามของคนทั่วไปที่ไม่ได้ทำ�งานวิจัยหรือใช้วัสดุนาโน คือ 1
ทดสอบตํ่ า ที่ สุ ด 6) พั ฒ นาระบบการถ่ า ยทอดความรู้ แ ละ นาโนเมตร (Nanometer) มีความยาวหรือขนาดเท่าใด โดย
จัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพ สามารถฝึกฝนบุคลากรของ นิยามแล้ว 1 นาโนเมตร มีความยาวเท่ากับหนึ่งในพันล้าน
ภาคเอกชนให้สามารถดำ�เนินการผลิตและแก้ปัญหาได้ โดย ส่วน (1/1,000,000,000) ของ 1 เมตร หากพิจารณาง่าย ๆ
ไม่ต้องพึ่งนักวิจัยหลังจากการถ่ายทอดเทคโนโลยี 7) ช่วย เส้นผมปรกติ (Normal Hair) ของคนไทยมีความยาวของเส้น
สร้างระบบการผลิตในโรงงานเพื่อให้สามารถดำ�เนินการผลิต ผ่านศูนย์กลางประมาณ 100 ไมโครเมตร หากแบ่งเส้นผ่าน
ได้เหมือนกับที่ทำ�ในห้องปฏิบัติการ 8) สนับสนุนข้อมูลทาง ศูนย์กลางของเส้นผมดังกล่าวเป็น 100,000 ส่วน แต่ละส่วน
เทคนิ ค แก่ ภ าคเอกชนเพื่ อ ให้ เ อกชนสามารถจดสิ ท ธิ บั ต ร จะมีความยาว 1 นาโนเมตร วัสดุที่มีขนาดเล็กระดับนาโน
คุ้มครองผลิตภัณฑ์และกรรมวิธีการผลิต 9) ช่วยแก้ปัญหา เมตรนี้ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า ไม่สามารถมองเห็นได้
หากผู้ประกอบการประสบปัญหาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์หลังจาก ด้วยกล้องจุลทรรศน์แสง (Optical Microscope) จะต้องใช้
การถ่ายทอดเทคโนโลยี กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนกำ�ลังขยายสูงในการบันทึกขนาด
ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาขึ้นจากเทคโนโลยีซิลเวอร์ และรูปร่าง
นาโนที่ พั ฒ นาโดยคณะนั ก วิ จั ย แสดงในรู ป ที่ 1 นั ก วิ จั ย จากข้อจำ�กัดด้านขนาด รูปร่าง และสมบัติพิเศษที่
มี เ ทคโนโลยี หลัก (Core Technology) เพียงเทคโนโลยี เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากขนาดระดับนาโนเมตร การทำ�วิจัยด้าน
เดียว คือ เทคโนโลยีการผลิตอนุภาคซิลเวอร์นาโนที่สามารถ วัสดุนาโนจึงต้องใช้เครื่องมือขั้นสูงในการวิเคราะห์ทดสอบ
ควบคุมสัณฐานวิทยา [1-3] แต่สามารถนำ�ไปพัฒนาต่อยอด ต้องการกำ�ลังคนจำ�นวนมากที่มีความสามารถเฉพาะทางมา
ให้สามารถผลิตสินค้าที่หลากหลาย โดยผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด ทำ�งานร่วมกัน วิทยาศาสตร์นาโนและนาโนเทคโนโลยีโดย
มีข้อจำ�กัดและข้อกำ�หนดในการพัฒนาที่แตกต่างกัน นักวิจัย พื้ น ฐานแล้ ว เป็ น สหสาขาศาสตร์ (Multi-disciplinary
ต้ อ งมี ร ะบบการจั ด การความรู้ แ ละแนวทางการถ่ า ยทอด Science) ทำ � ให้ ต้ อ งลงทุ น สู ง ในการสร้ า งองค์ ค วามรู้ แ ละ
เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ สามารถรองรับการประยุกต์ที่ พัฒนาต่อเนื่องกว่าจะสามารถนำ�ความรู้ที่พัฒนาขึ้นมาใช้ให้
หลากหลาย ภาคเอกชนสามารถใช้ประโยชน์จากอนุภาคซิล ประโยชน์ได้ แนวโน้มด้านผลตอบแทนและผลประโยชน์ที่จะ
เวอร์นาโนได้โดยไม่มีข้อจำ�กัด ผู้ประกอบการสามารถพัฒนา ได้ จ ากนาโนเทคโนโลยี ทั้ ง ผลประโยชน์ เ ชิ ง พาณิ ช ย์
สิ น ค้ า ได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งยั่ ง ยื น ในขณะที่ นั ก วิ จั ย สามารถ ผลประโยชน์ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงองค์ความรู้
ดำ�เนินการวิจัยอื่นๆ ได้อย่างอิสระ ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ที่ จ ะเป็ น พื้ น ฐานของการ
การดำ � เนิ น การเชิ ง พาณิ ช ย์ ต่ อ เนื่ อ งหลั ง จากการ พัฒนาต่อเนื่อง เป็นพลังผลักดันให้มีการสนับสนุนงานวิจัย
ถ่ายทอดเทคโนโลยี เช่น การวางแผนการตลาด แผนการ วั ส ดุ น าโนและนาโนเทคโนโลยี ข องรั ฐ บาลในกลุ่ ม ประเทศ
ขยายกำ � ลั ง การผลิ ต รู ป แบบและชนิ ด ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ เชิ ง ผู้นำ�ด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม โดยการทุ่มงบประมาณ
พาณิชย์ ที่ดำ�เนินการโดยผู้ประกอบการนั้น อยู่นอกเหนือ จำ�นวนมากในการวิจัยและพัฒนานาโนเทคโนโลยี ภายใต้
ขอบเขตของการถ่ายทอดเทคโนโลยี บทความนี้เขียนขึ้นจาก ความเชื่อมั่นว่านวัตกรรมและเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นจะเป็น
ประสบการณ์ตรงที่นักวิจัยได้ดำ�เนินการเพื่อให้การพัฒนาต่อ ส่ ว นสำ � คั ญ ที่ ทำ � ให้ ป ระเทศได้ เ ปรี ย บในการแข่ ง ขั น เชิ ง
ยอดผลงานวิจัยพื้นฐานไปเป็นผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์เกิดขึ้น เศรษฐกิ จ สั ง คม การเมื อ ง และนโยบายต่ า งประเทศใน
ได้ อนาคต

วารสารสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2558 หน้าที่ 1-16 3


สนอง เอกสิทธิ์ งานวิจัยขึ้นห้าง: การสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบควบคุมสัณฐานวิทยาฯ

ปั จ จุ บั น มี ก ารนำ � นาโนเทคโนโลยี แ ละวั ส ดุ น าโนมา ปรากฏการณ์ Surface Plasmon Resonance บริเวณ


ผลิ ต เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี ส มบั ติ ที่ โ ดดเด่ น แปลกใหม่ ต่ า งจาก พื้นผิวของอนุภาคซิลเวอร์นาโน ส่งผลให้มีการเพิ่มขึ้นของ
ผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันที่ไม่ได้ใช้วัสดุนาโน จากผลการสำ�รวจ Raman Scattering มากกว่า 1 ล้านเท่า ทำ�ให้สามารถใช้
พบว่ามีผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ใช้นาโนเทคโนโลยีในการผลิตจำ�นวน เทคนิ ค SERS ในการวิ เ คราะห์ ส ารที่ มี ป ริ ม าณน้ อ ยมาก
1,317 รายการ (ข้ อ มู ล ณ เดื อ นมี น าคม 2557) มู ล ค่ า โดยเฉพาะสารชีวภาพที่อยู่บนอนุภาคซิลเวอร์นาโน แม้จะมี
การตลาดของผลิตภัณฑ์นาโนจะเติบโตจาก 254,000 ล้าน เพียงโมเลกุลเดียวก็สามารถตรวจวัดได้
เหรียญสหรัฐ ในปี 2553 เป็น 1,000,000 ล้านเหรียญสหรัฐ นักวิจยั ของหน่วยปฏิบตั กิ ารวิจยั อุปกรณ์รบั รู้ เป็นนิสติ
ในปี 2558 โดยผลิตภัณฑ์ที่มีการพัฒนาและเติบโตมากที่สุด ระดั บ ปริ ญ ญาโทและปริ ญ ญาเอก ที่ ทำ � วิ จั ย ภายใต้ ก ลไก
คือ ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพ อนุภาคซิลเวอร์นาโนเป็นวัสดุ บัณฑิตศึกษา ที่ต้องทำ�วิจัยและตีพิมพ์ผลงานจากการวิจัย
นาโนที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ ก่ อ นที่ จ ะสำ � เร็ จ การศึ ก ษา ซึ่ ง ได้ ดำ � เนิ น การวิ จั ย พื้ น ฐาน
มากที่สุด เกี่ยวกับการสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนอย่างเป็นระบบ
จนสามารถพัฒนาวิธีการสังเคราะห์ที่สามารถควบคุมขนาด
2. งานวิจัยพื้นฐาน (Fundamental Research) และรูปร่างของอนุภาคซิลเวอร์นาโนได้อย่างแม่นยำ� การวิจัย
จุดเริ่มต้นของนวัตกรรมและเทคโนโลยี ด้านวัสดุนาโนในช่วงเริ่มต้นของคณะนักวิจัย (และนักวิจัยทั่ว
อนุ ภ าคซิ ล เวอร์ น าโนแท้ ที่ จ ริ ง แล้ ว คื อ โลหะเงิ น ที่ มี ประเทศ) ประสบปั ญ หาด้ า นเครื่ อ งมื อ วิ เ คราะห์ ที่ ต้ อ งใช้
ขนาดเล็กมากระดับนาโนเมตร ขนาดเล็กมากจนไม่สามารถ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron Microscope) ในการ
มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า อนุภาคซิลเวอร์นาโนสามารถผลิตได้ พิสูจน์ทราบสัณฐาน (ขนาด และ รูปร่าง) ของอนุภาคนาโน
ด้วยวิธีที่หลากหลาย ทั้งแบบ Top-down Approach โดย เนื่องจากเครื่องมือวิเคราะห์ข้างต้นมีจำ�นวนจำ�กัดและมีคิว
การทำ�ให้เม็ดโลหะเงินขนาดใหญ่มีขนาดเล็กลงโดยการบด จองยาวมาก เพื่อแก้ปัญหาการวิเคราะห์ข้างต้น คณะนักวิจัย
(Grinding) การระเหิด (Sublimation) การสลายตัวด้วยแสง ได้ใช้สมบัติเชิงแสงที่พิเศษและโดดเด่นของอนุภาคซิลเวอร์นา
เลเซอร์ (Laser Ablation) หรือการผลิตอนุภาคนาโนแบบ โนทรงกลมในการยืนยันขนาดและรูปร่างของอนุภาคนาโน
Bottom-up Approach โดยการรีดิวซ์ไอออนของโลหะเงิน คอลลอยด์ของอนุภาคซิลเวอร์นาโนขนาด 5-40 นาโนเมตร
ให้เป็นอะตอมของโลหะเงินด้วยวิธีทางเคมีและวิธีทางฟิสิกส์ จะมีสีเหลืองทองที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ แม้จะมีความเข้มข้น
พร้อมกับการควบคุมการโตของอนุภาคนาโนที่เกิดจากการ ตํ่ามากระดับ 10 ส่วนในล้านส่วน สมบัติเชิงแสงนี้เป็นสมบัติ
รวมตัวของอะตอมเงินหากสามารถควบคุมรูปแบบการโตของ พิเศษของอนุภาคซิลเวอร์นาโน เม็ดเงินและโลหะเงินจะมีสี
อนุภาคนาโนได้ ก็จะสามารถกำ�หนดขนาดและรูปร่างของ เทาเงินแวววาว แต่อนุภาคซิลเวอร์นาโนที่แขวนลอยในนํ้ามีสี
อนุภาคนาโนได้ ซึ่งจะส่งผลให้สามารถควบคุมสมบัติพิเศษ เหลื อ งทอง มี แ ถบการกระเจิ ง แสง Surface Plasmon
ต่างๆ ของอนุภาคนาโนได้ตามต้องการ เช่น สมบัติเชิงแสง Resonance ในช่วงความยาวคลื่น 390-420 นาโนเมตร
สมบัติการเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา สมบัติเชิงแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งจะ อนุภาคเงินนาโนทรงกลมกระเจิงในช่วงความยาวคลื่นของ
ส่ ง ให้ ส ามารถประยุ ก ต์ ใช้ อ นุ ภ าคนาโนในอุ ต สาหกรรมที่ แสงสีฟ้าทำ�ให้คอลลอยด์ของอนุภาคซิลเวอร์นาโนทรงกลมมี
หลากหลาย เช่น อิเล็กทรอนิกส์ การแพทย์ เคมี การเกษตร สีเหลือง โดยตำ�แหน่ง Surface Plasmon Resonance
สิ่งแวดล้อม เป็นต้น Maxima มีความสัมพันธ์โดยตรงกับขนาดของอนุภาค และ
ในฐานะนั ก เคมี คณะนั ก วิ จั ย ของหน่ ว ยปฏิ บั ติ ก าร ความสูงของ Plasmon Extinction แปรผันโดยตรงกับความ
วิจัยอุปกรณ์รับรู้ผลิตอนุภาคซิลเวอร์นาโนโดยการรีดิวซ์ด้วย เข้มข้นของอนุภาคซิลเวอร์นาโนในคอลลอยด์ [1, 2] คณะ
สารเคมี เนื่องจากเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพสูง ประหยัดไม่ต้อง นักวิจัยได้ใช้สมบัติเชิงแสงที่โดดเด่นของอนุภาคซิลเวอร์นาโน
ลงทุนสูงด้านเครื่องมือและอุปกรณ์ ควบคุมปฏิกิริยาได้ง่าย ในการยืนยันความสำ�เร็จเบื้องต้นในการสังเคราะห์อนุภาคซิล
ปฏิกิริยาเกิดอย่างสมบูรณ์คณะนักวิจัยเริ่มงานวิจัยด้านวัสดุ เวอร์ น าโน การเลื อ กวิ ธี ก ารวิ เ คราะห์ ที่ ทำ � ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว
นาโนตั้งแต่ปี 2550 โดยมีจุดมุ่งหมายเริ่มต้นว่าจะสังเคราะห์ ถูกต้อง แม่นยำ� และ ค่าใช้จ่ายตํ่า ทำ�ให้นักวิจัยสามารถ
อนุ ภ าคซิ ล เวอร์ น าโนขึ้ น ใช้ เ องเพื่ อ เป็ น วั ส ดุ ร องรั บ พั ฒ น า ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต ร ะ ดั บ ห้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ที่ มี
(Substrate) เพื่ อ การวิ เ คราะห์ เชิ ง โมเลกุ ล ด้ ว ยเทคนิ ค ประสิทธิภาพแบบ Batch Process ในการสังเคราะห์อนุภาค
Surface Enhanced Raman Spectroscopy (SERS) ที่มี ซิ ล เวอร์ น าโนทรงกลมขนาด 10-40 นาโนเมตรกำ � ลังการ
การเพิ่ ม ความเข้ม ของสนามแม่เหล็ก ไฟฟ้าอัน เนื่ อ งมาจาก ผลิต 1 ลิตรต่อชั่วโมง

4 วารสารสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2558 หน้าที่ 1-16


สนอง เอกสิทธิ์ งานวิจัยขึ้นห้าง: การสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบควบคุมสัณฐานวิทยาฯ

ความสำ�เร็จในการสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโน กร่อนของไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ซึ่งทำ�หน้าที่เป็นโครงสร้าง
ทรงกลมของคณะนักวิจัย เป็นความสำ�เร็จเบื้องต้นเท่านั้น พื้นฐานที่จะโตเป็นอนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบแผ่น ในขณะที่
ความท้าทายที่สำ�คัญในการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตอนุภาค เกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าออกซิ เ ดชั น ไฮโดรเจนเพอร์ อ อกไซด์ รี ดิ ว ซ์
นาโน คือ การพัฒนาวิธีการสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนที่ ไอออนเงินให้เป็นอะตอมเงินไปเกาะบนอนุภาคซิลเวอร์นาโน
สามารถควบคุ ม ทั้ ง ขนาดและรู ป ร่ า งของอนุ ภ าคได้ อ ย่ า ง ขนาดเล็กการขยายขนาดอย่างมีรูปแบบทำ�ให้อนุภาคซิลเวอร์
แม่นยำ� คณะนักวิจัยได้พัฒนาระบบการสังเคราะห์อนุภาคซิล นาโนขนาดเล็กโตเป็นอนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบแผ่น สังเกต
เวอร์ น าโนแบบแผ่ น โดยการเปลี่ ย นรู ป ร่ า งอนุ ภ าคด้ ว ย ได้จากสีของคอลลอยด์ที่เปลี่ยนจากสีเหลืองเป็นสีแดง สีส้ม
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน-รีดักชันระหว่างอนุภาคซิลเวอร์นาโน สีชมพู สีม่วง สีนํ้าเงิน และ สีฟ้า ตามลำ�ดับ ความพิเศษของ
ทรงกลมกั บ ไฮโดรเจนเพอร์ อ อกไซด์ โดยการกระตุ้ น ให้ ระบบการสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบแผ่นที่คณะ
เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันละลายอะตอมเงินที่บริเวณผิวของ นักวิจัยพัฒนาขึ้นคือไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ที่ใช้ในการทำ�
อนุภาคซิลเวอร์นาโนให้เป็นไอออนของโลหะเงิน พื้นผิวของ ปฏิกิริยา ทำ�หน้าที่เป็นทั้งตัวออกซิไดซ์และตัวรีดิวซ์พร้อมๆ
อนุภาคซิลเวอร์นาโนส่วนที่ไม่ทนทานต่อปฏิกิริยาออกซิเดชัน กัน ภายใต้เงื่อนไขที่ใช้ในการสังเคราะห์ การเปลี่ยนแปลง
จะถูกละลายจนหมด เหลืออนุภาคซิลเวอร์นาโนขนาดเล็ก รูปร่างของอนุภาคซิลเวอร์นาโนจากทรงกลมเป็นแบบแผ่น
(Silver Seeds) ที่ปกคลุมด้วยหน้าตัดคริสตัลที่มีการเรียงตัว แบนสามารถยื น ยั น ได้ จ ากการเปลี่ ย นสี ข องคอลลอยด์
ของอะตอมเงินแบบ Ag{111} ที่มีความทนทานต่อการกัด ระหว่างการเกิดปฏิกิริยา [1] ดังแสดงในรูปที่ 2

รูปที่ 2: การเปลี่ยนสีของคอลลอยด์นํ้าของอนุภาคซิลเวอร์นาโนจากสีเหลืองเป็นสีส้ม-แดง-ชมพู-ม่วง-นํ้าเงิน-ฟ้า เมื่ออนุภาค


เปลี่ยนรูปร่างจากทรงกลมเป็นแผ่นบางขนาดเล็ก และ ขนาดใหญ่ข้นึ ตามลำ �ดับ โดยการเปลี่ยนสีของคอลลอยด์สอดคล้องกับ
Surface Plasmon Resonance Spectrum ทีแ่ สดงตำ�แหน่งการดูดกลืนสูงสุดเพิม่ ขึน้ จาก 400 นาโนเมตร เป็น 780 นาโน
เมตร เมื่อขนาดของแผ่นบางนาโนมีขนาดใหญ่ขึ้น การเปลี่ยนแปลงของขนาดและรูปร่างของอนุภาคซิลเวอร์นาโนยืนยันได้จาก
ภาพถ่ายจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน (Transmission Electron Microscope, TEM)

คณะนักวิจัยได้ยื่นจดสิทธิบัตรเรื่องอนุภาคระดับนา- ซิลเวอร์นาโนทรงกลมและอนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบแผ่น [3]


โนเมตรของโลหะเงินแบบแผ่นปริซึมที่สามารถควบคุมสมบัติ คณะนั ก วิ จั ย ยื่ น จดสิ ท ธิ บั ต รเพื่ อ รองรั บ การต่ อ ยอดเชิ ง
เชิงแสงได้และวิธีการผลิต (SILVER NANOPRISMS WITH พาณิชย์และคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาเทคโนโลยีการผลิต
CONTROLLABLE OPTICAL PROPERTIES AND METHOD อนุ ภ าคซิ ล เวอร์ น าโนของนั ก วิ จั ย และผู้ ป ระกอบการ
OF MAKING THEM): สิ ท ธิ บั ต รไทย เลขที่ คำ � ขอ ภาคเอกชนที่ จ ะมาขออนุ ญ าตใช้ สิ ท ธิ์ ใ นเทคโนโลยี
1301002072 ยื่น คำ�ขอเมื่อ 19 เมษายน 2556 ซึ่ ง เป็ น (Technology Licensing) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สิ ท ธิ บั ต รที่ เ ปิ ด เผยรายละเอี ย ดกรรมวิ ธี ก ารผลิ ต อนุ ภ าค

วารสารสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2558 หน้าที่ 1-16 5


สนอง เอกสิทธิ์ งานวิจัยขึ้นห้าง: การสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบควบคุมสัณฐานวิทยาฯ

งานวิจัยส่วนใหญ่ที่ดำ�เนินการในมหาวิทยาลัย หรือ ศักยภาพเชิงพาณิชย์เนื่องจากข้อจำ�กัดหลายประการ


สถาบันวิจัยของรัฐ จะสิ้นสุดที่การตีพิมพ์ผลงานในวารสาร เช่น 1) ต้นทุนการผลิตสูงเกินไปเนื่องจากราคาวัตถุดิบ
ทางวิ ช าการ (ระดั บ ชาติ ห รื อ ระดั บ นานาชาติ ) และ/หรื อ ที่ใช้ในการวิจัย 2) กำ�ลังการผลิตตํ่าเนื่องจากเป็นการ
การนำ�เสนอผลการวิจยั ในการประชุมทางวิชาการ (แบบบรรยาย ผลิตแบบกะ (Batch Process) ทำ�ให้ควบคุมคุณภาพวัสดุ
หรื อ แบบโปสเตอร์ ) ผลงานวิ จั ย ส่ ว นหนึ่ ง ที่ มี ศั ก ยภาพเชิ ง นาโนให้มีความสมํ่าเสมอได้ยาก
พาณิ ช ย์ มี ก ารยื่ น จดสิ ท ธิ บั ต ร (สิ ท ธิ บั ต รไทยและ/หรื อ
สิทธิบัตรนานาชาติ) อย่างไรก็ตามการยื่นจดสิทธิบัตรไม่ได้ ต้นทุนการผลิตและกำ�ลังการผลิตเป็นคำ�ถามแรก
เป็นการรับรองว่าผลงานการวิจัยหรือนวัตกรรมนั้นจะมีการ ที่ผู้ประกอบการต้องการรู้เพื่อประเมินความเป็นไปได้
นำ � ไปแปรรู ป เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เชิ ง พาณิ ช ย์ ห รื อ มี ก ารนำ � ไปใช้ ในการต่ อ ยอดผลงานวิ จั ย ไปสู่ ก ารผลิ ต เชิ ง พาณิ ช ย์
ก่อให้เกิดประโยชน์เชิงพาณิชย์ สิทธิบัตรจะทำ�รายได้ให้แก่ นอกจากนั้ น ผู้ ป ระกอบการส่ ว นใหญ่ ต้ อ งการระบบที่
เจ้ า ข อ ง สิ ท ธิ บั ต ร เ มื่ อ มี ก า ร ข อ อ นุ ญ า ต ใช้ สิ ท ธิ์ โ ด ย สามารถใช้ ง านหรื อ ใช้ ใ นการผลิ ต เชิ ง พาณิ ช ย์ ไ ด้ เ ลย
ผู้ประกอบการที่เห็นศักยภาพเชิงพาณิชย์ของสิทธิบัตร การ เนื่องจากข้อจำ�กัดด้านกำ�ลังคนและโครงสร้างพื้นฐาน
จัดการความรู้ให้มีความพร้อมสำ�หรับการถ่ายทอดเทคโนโลยี ของอุตสาหกรรมไทยที่เป็นอุตสาหกรรมแบบ Turn-
และการต่ อยอดเชิงพาณิช ย์ของงานวิจัยพื้น ฐานจึ ง มี ค วาม Key Factory ที่ เ ป็ น ผู้ ใช้ เ ทคโนโลยี ไม่ ใช่ ผู้ พั ฒ นา
จำ�เป็น นักวิจัยไทยจะต้องเรียนรู้กระบวนการนี้เพื่อให้มีการ เทคโนโลยี นอกจากนั้ น ผู้ ป ระกอบการที่ ส นใจ
แปรรูปผลงานวิจัยจากห้องปฏิบัติการไปเป็นผลิตภัณฑ์เชิง เทคโนโลยี บ างรายเป็ น ตั ว แทนจำ � หน่ า ยสิ น ค้ า
พาณิชย์อย่างเป็นรูปธรรม (Distributor) ไม่ใช่ผู้ผลิตสินค้าทำ�ให้ไม่มีศักยภาพการ
แข่งขันในยุคโลกาภิวัตน์ ที่กำ�แพงภาษีและการกีดกัน
3. การเตรียมผลงานวิจัยและนวัตกรรมให้พร้อม ทางการค้ า ถู ก ทำ � ลายลง โดยเฉพาะเมื่ อ ประเทศไทย
เพื่อรองรับการต่อยอดเชิงพาณิชย์ ก้ า วเข้ า สู่ ก ารเป็ น สมาชิ ก ของประชาคมเศรษฐกิ จ
เพื่ อ แปรรูป ผลงานวิจัยและทรัพย์สิน ทางปั ญญาให้ อาเซียน (Asian Economic Community, AEC) ซึ่ง
เป็ น นวั ต กรรมที่ มี ศั ก ยภาพเชิ ง พาณิ ช ย์ คณะนั ก วิ จั ย ได้ การแข่ ง ขั น ทางการตลาดทวี ค วามรุ น แรงมากขึ้ นจาก
ดำ � เนิ น การต่ อ เนื่ อ งจากการตี พิ ม พ์ ผ ลงานวิ จั ย และการจด การเปิดเขตเศรษฐกิจการค้าเสรีและการเข้ามาเป็นผู้
สิทธิบัตรดังต่อไปนี้ 1) พัฒนาระบบการผลิตอนุภาคซิลเวอร์ จำ � ห น่ า ย สิ น ค้ า เ อ ง ข อ ง เ จ้ า ข อ ง เ ท ค โ น โ ล ยี
นาโนให้เป็นระบบที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์ 2) พัฒนาระบบ ผู้ประกอบการไทยที่เคยเป็นตัวแทนจำ�หน่ายสินค้าต้อง
การจัดการความรู้เพื่อรองรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ภาค หาทางออกเพื่อความอยู่รอด โดยการหาแหล่งวัตถุดิบ
การผลิต 3) พัฒนาระบบการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ ใหม่ที่มีราคาตํ่ากว่าหรือจำ�หน่ายสินค้าจากแหล่งผลิต
อนุ ภ าคซิ ล เวอร์ น าโน และ 4) สนั บ สนุ น การจดสิ ท ธิ บั ต ร ใหม่ที่ยังมีศักยภาพการแข่งขันด้านราคาและคุณภาพ
วิ ธี ก า ร ผ ลิ ต สิ น ค้ า แ ล ะ ก า ร ป ร ะ ก ว ด น วั ต ก ร ร ม ข อ ง โดยยั ง มี ข้ อ ได้ เ ปรี ย บเรื่ อ งฐานลู ก ค้ า และระบบ
ผู้ประกอบการที่ร่วมทำ�วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ โลจิสติกส์เดิม อย่างไรก็ตามความได้เปรียบนี้จะไม่ยั่งยืน
หากสินค้าที่จำ�หน่ายด้อยคุณภาพหรือมีคุณภาพไม่สม
3.1 พัฒนาระบบการผลิตอนุภาคซิลเวอร์นาโนให้เป็นระบบ กับราคา ผู้ประกอบการไทยจึงเริ่มแสวงหานวัตกรรม
ที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์ พร้อมใช้เพื่อรองรับการผลิตสินค้าและสร้างตราสินค้า
งานวิ จั ย ที่ นั ก วิ จั ย ของหน่ ว ยปฏิ บั ติ ก ารวิ จั ย (Branding) ของตนเอง ซึ่งยังมีโอกาสในการแข่งขันอีก
อุปกรณ์รับรู้ได้ดำ�เนินการไปแล้วเป็นงานวิจัยพื้นฐาน มากในระบบการค้ า เสรี ซึ่ ง เปิ ด กว้ า งสำ � หรั บ สิ น ค้ า
เพื่อการสร้างองค์ความรู้เท่านั้น ข้อมูลที่ได้จากการวิจัย นวั ต กรรม โดยเฉพาะสิ น ค้ า และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี ก ารใช้
ทำ�ให้นักวิจัยทราบกลไกการเกิดปฏิกิริยา รูปแบบการ เทคโนโลยี แ ละการออกแบบมาช่ ว ยในการเพิ่ ม
โต สั ณ ฐานวิ ท ยาและสมบั ติ เชิ ง แสงของอนุ ภ าคซิ ล ภาพลั ก ษณ์ แ ละศั ก ยภาพการแข่ ง ขั น หน่ ว ยงานวิ จั ย
เวอร์ น าโน ความรู้ความเข้าใจที่ไ ด้เป็น ข้อ มู ล พื้ น ฐาน ของรัฐจึงต้องเข้ามาช่วยในการเสริมความแข็งแกร่งของ
สำ�คัญในการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตอนุภาคซิลเวอร์ ภาคการผลิตไทยโดยเฉพาะอุตสาหกรรม SMEs ที่ต้อง
นาโนและแก้ ไขปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ การ ปรับตัวรองรับการแข่งขันจากผู้ค้าต่างประเทศและการ
สั ง เคราะห์ อ นุ ภ าคนาโนระดั บ ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารยั ง ไม่ มี แสวงหาตลาดใหม่ๆ ภายใต้ระบบการค้าเสรี

6 วารสารสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2558 หน้าที่ 1-16


สนอง เอกสิทธิ์ งานวิจัยขึ้นห้าง: การสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบควบคุมสัณฐานวิทยาฯ

สิ่งที่นักวิจัยต้องยอมรับคือนวัตกรรมวัสดุนาโน ขายสารเคมี 3-4 เท่าตัว วัสดุนาโนเป็นวัสดุที่มีมูลค่าสูง


ไม่ใช่นวัตกรรมใหม่ อนุภาคซิลเวอร์นาโนรูปแบบต่างๆ ด้วยตัวเองอยู่แล้ว เทคโนโลยีและความลับในการผลิต
มีจำ�หน่ายเชิงพาณิชย์แล้ว ผู้ประกอบการไทยได้มีการ เป็ น ปั จ จั ย หลั ก ที่ ทำ � ให้ วั ส ดุ น าโนมี มู ล ค่ า ที่ สู ง ขึ้ น จาก
นำ � เข้ า วั ส ดุ น า โ น เ พื่ อ ใช้ ใ น ก า ร ผ ลิ ต สิ น ค้ า แ ล้ ว ราคาของวัสดุพื้นฐานนอกจากนั้นเทคโนโลยีการผลิตที่
นอกจากนั้ น สิ น ค้ า ที่ ใช้ เ ทคโนโลยี ซิ ล เวอร์ น าโนก็ มี สามารถควบคุ ม ขนาดและรู ป ร่ า งได้ ก็ ยั ง ไม่ เ ป็ น ที่
จำ�หน่ายแล้วเป็นจำ�นวนมาก องค์ความรู้จากการวิจัย แพร่ ห ลาย การผลิ ต อนุ ภ าคนาโนขึ้ น ใช้ เ องจะทำ � ให้
สิทธิบัตร และ ทรัพย์สินทางปัญญาของนักวิจัยจะไม่มี สามารถลดต้นทุนได้ 100-100,000 เท่า เทียบกับการ
โอกาสได้รับการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์หรือเป็นสินค้า ใช้ วั ส ดุ น าโนที่ นำ � เข้ า จากต่ า งประเทศ โดยเฉพาะ
ขึ้ น ห้ า ง ไ ด้ เ ล ย ห า ก ไ ม่ ไ ด้ รั บ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ จ า ก อนุ ภ าคซิ ล เวอร์ น าโนที่ สั ง เคราะห์ ขึ้ น โดยการควบคุ ม
ผู้ ป ระกอบการ นั ก วิ จั ย และผู้ ป ระกอบการจึ ง ต้ อ ง รู ป ร่ า งเพื่ อ ให้ อ นุ ภ าคซิ ล เวอร์ น าโนมี ส มบั ติ เชิ ง แสงที่
ทำ�งานร่วมกัน เพื่อที่จะสร้างผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ โดดเด่นตามต้องการ การเลือกใช้ตัวรีดิวซ์และสารช่วย
ที่สามารถแข่งขันได้อย่างยั่งยืนในตลาดการค้าเสรี ใน เสถียรให้เหมาะสมกับการประยุกต์ใช้งานเป็นอีกปัจจัย
หนึ่งในการลดต้นทุนการผลิตอนุภาคซิลเวอร์นาโนของ
การแข่ ง ขั น ทางการตลาดปั จ จั ย แรกที่ ผู้ ป ระกอบการ
ผู้ประกอบการ การจะเลือกใช้สารชนิดใดนั้นขึ้นอยู่กับ
สนใจคื อ ราคา หากผลิ ต สิ น ค้ า แล้ ว ต้ น ทุ น การผลิ ต สู ง
การนำ � อนุ ภ าคซิ ล เวอร์ น าโนไปใช้ ซึ่ ง นั ก วิ จั ย จะต้ อ ง
เกินไป จะทำ�อย่างไรก็ตามสินค้านัน้ ก็แข่งขันลำ�บาก ปัจจัยที่
ปรั บระบบการผลิ ต ให้ เ หมาะกั บผู้ ประกอบการแต่ล ะ
สองที่ ผู้ ป ระกอบการสนใจคื อ ระบบการผลิ ต ต้ อ งไม่ ราย
ซับซ้อน ลงทุนไม่สูงเกินไป และต้องผลิตได้ในปริมาณ
ปั จ จั ย การผลิ ต อี ก ปั จ จั ย หนึ่ ง ที่ ผู้ ป ระกอบการ
มาก สามารถขยายกำ�ลังการผลิตได้ตามความต้องการ
พิจารณาก่อนการตกลงร่วมทำ�วิจัยเพื่อการต่อยอดเชิง
หากนั ก วิ จั ย ไม่ ส ามารถตอบสนองต่ อ ความต้ อ งการ
พาณิ ช ย์ ร ะบบการผลิ ต ต้ อ งไม่ ซั บ ซ้ อ น ต้ อ งไม่ ล งทุ น
พื้ น ฐานทั้ ง สองได้ ผลงานวิ จั ย และสิ ท ธิ บั ต รก็ จ ะไม่ ด้ า นเครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ์ ที่ สู ง เกิ น ไป สามารถปรั บ
สามารถแปรรู ป ไปเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เชิ ง พาณิ ช ย์ ไ ด้ เ ลย กำ � ลั ง การผลิ ต ได้ ต ามต้ อ งการ หากพิ จ ารณางานวิจัย
ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ส า ม า ร ถ นำ � เข้ า วั ส ดุ น า โ น จ า ก ซิ ล เวอร์ น าโนที่ ตี พิ ม พ์ ใ นวารสารทางวิ ช าการระดั บ
ต่ า งประเทศมาผลิ ต สิ น ค้ า แล้ ว ยั ง มี ต้ น ทุ น การผลิ ต นานาชาติและสิทธิบัตร กำ�ลังการผลิตจะมีขนาดเล็ก
โดยรวมตํ่ า กว่ า การผลิ ต วั ส ดุ น าโนขึ้ น ใช้ เ อง โดยรวม มาก ระดับ 1-100 มิลลิลิตรเท่านั้น อย่างมากก็ไม่เกิน
แล้วหากนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นไม่สามารถลดต้นทุนการ 1 ลิตร และทำ�ที่ความเข้มข้นตํ่ามาก (ความเข้มข้นของ
ผลิตสู่ระดับที่แข่งขันได้ นวัตกรรมนั้นก็ไม่มีโอกาสเชิง เกลือซิลเวอร์ไนเตรทสูงไม่เกิน 1 มิลลิโมลาร์) ทำ�ให้
พาณิชย์ ระบบการสังเคราะห์ที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการไม่
เพื่ อ แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ศั ก ยภาพเชิ ง พาณิ ช ย์ ข อง สามารถผลิ ต อนุ ภ าคซิ ล เวอร์ น าโนเชิ ง พาณิ ช ย์ ไ ด้ เ ลย
เทคโนโลยี ซิ ล เวอร์ น าโนที่ ไ ด้ พั ฒ นาขึ้ น คณะนั ก วิ จั ย เนื่องจากความเข้มข้นและอัตราการผลิตตํ่าเกินไป ใน
ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยอุปกรณ์รับรู้ จึงต้องพิสูจน์ให้ ความเป็ น จริ ง แล้ ว การสั ง เคราะห์ วั ส ดุ น าโนเพื่ อ การ
เป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ เ สี ย ก่ อ นว่ า การผลิ ต อนุ ภ าคซิ ล เวอร์ ตี พิ ม พ์ ห รื อ จดสิ ท ธิ บั ต รไม่ มี ค วามจำ � เป็ น ต้ อ งผลิ ต
นาโนขึ้นใช้เองสามารถลดต้นทุนการผลิตให้ตํ่าลงอย่างมี ปริมาณมาก ก็ได้วัสดุนาโนปริมาณมากเกินพอสำ �หรับ
นัยสำ�คัญ สามารถแข่งขันด้านราคากับอนุภาคซิลเวอร์ การวิ เ คราะห์ ท ดสอบเพื่ อ พิ สู จ น์ ส มมุ ติ ฐ านหรื อ โจทย์
วิ จั ย การวิ จั ย พื้ น ฐานด้ า นวั ส ดุ น าโนในมหาวิ ท ยาลั ย
นาโนที่นำ�เข้าจากต่างประเทศได้ ไม่ว่าจะนำ�เข้ามาจาก
ส่วนใหญ่จึงไม่ได้วางแผนหรือออกแบบการวิจัยให้ตอบ
แหล่งใดก็ตาม การผลิตอนุภาคนาโนขึ้นใช้เองมีต้นทุน
โจทย์ เ รื่ อ งกำ � ลั ง การผลิ ต ทำ � ให้ ป ระสบปั ญ หาเมื่ อ
ที่ตํ่ากว่าและมีคุณภาพที่ดีกว่า มีความสมํ่าเสมอในการ
พยายามขยายกำ � ลั ง การผลิ ต เป็ น ระดั บ อุ ต สาหกรรม
ผลิ ต ที่ ส ามารถควบคุ ม ได้ ป้ อ งกั น ความเสี ย หายและ เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว คณะนักวิจัยจึงออกแบบระบบ
ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในกระบวนการผลิต การผลิตอนุภาคเงินนาโนให้สามารถผลิตแบบ Flow
วิ ธี ห นึ่ ง ที่ ทำ � ให้ ต้ น ทุ น การผลิ ต ลดลงได้ อ ย่ า งมี Process ที่ให้ปฏิกิริยาการสร้างอนุภาคนาโนเกิดขึ้น
นัยสำ�คัญคือการต้มเกลือซิลเวอร์ไนเตรทขึ้นใช้เอง ซึ่ง ขณะที่ ตั ว ทำ � ปฏิ กิ ริ ย าไหลในท่ อ ทำ � ให้ ส ามารถขยาย
จะทำ�ให้มีต้นทุนตํ่ากว่าการซื้อเกลือของเงินจากบริษัท กำ�ลังการผลิตได้โดยไม่จำ�กัด หากต้องการอัตราการผลิต

วารสารสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2558 หน้าที่ 1-16 7


สนอง เอกสิทธิ์ งานวิจัยขึ้นห้าง: การสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบควบคุมสัณฐานวิทยาฯ

ที่สูงขึ้นก็เพียงใช้ป๊มั ให้มีอัตราการไหลสูงขึ้น ต้นแบบการ เนื่องจากคณะนักวิจัยเป็นบุคลากรจากภาคการศึกษาที่


ผลิตอนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบ Batch Process ของ ต้องมีการทำ�วิจัยต่อเนื่อง นิสิตที่เข้ามาใหม่ก็จะทำ�งาน
คณะนักวิจัยมีกำ�ลังการผลิต 1 ลิตรต่อชั่วโมง (ที่ความ วิ จั ย เรื่ อ งใหม่ อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาที่ ค อยกำ � กั บ ดู แ ล
เข้มข้นของเกลือซิลเวอร์ไนเตรท 100 มิลลิโมลาร์ซึ่งเป็น งานวิ จั ย ก็ จ ะต้ อ งทำ � งานวิ จั ย เรื่ อ งใหม่ แ ละต้ อ งมี
ความเข้มข้นของการผลิตอนุภาคซิลเวอร์นาโนที่ค่อน ผลงานวิ จั ย ใหม่ เ พื่ อ ความก้ า วหน้ า ทางวิ ช าการ ทิ ศ
ข้างสูง) ต้นแบบเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อของคณะนักวิจัย ทางการวิจัยของนักวิจัยมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง หาก
สามารถผลิตอนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบ Flow Process บริ ษั ท มี ปั ญ หาด้ า นบุ ค ลากรหลั ง จากการถ่ า ยทอด
ในอัตราการผลิต 10 ลิตรต่อชั่วโมง ผู้ประกอบการที่รับ เทคโนโลยี นักวิจัยรุ่นใหม่ของหน่วยวิจัยก็จะช่วยฝึกฝน
การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตจากคณะนักวิจยั ได้ขยาย ได้ ไ ม่ เ ต็ ม ที่ ห รื อ ไม่ ส ามารถช่ ว ยได้ เ ลย นั ก วิ จั ย จึ ง
กำ�ลังการผลิตเป็น 100 ลิตรต่อชั่วโมง สนั บ สนุ น ระบบการถ่ า ยทอดเทคโนโลยี ที่ ทำ � ให้
ผู้ ป ระกอบการสามารถดำ� เนิ น การด้ ว ยตนเองอย่ า งมี
ระบบการผลิ ต ระดั บ อุ ต สาหกรรมที่ นั ก วิ จั ย
ประสิทธิภาพ โดยไม่ต้องพึ่งนักวิจัย ในกระบวนการ
ได้ อ อกแบบและพั ฒ นาขึ้ น นั้ น ไม่ ต้ อ งลงทุ น สู ง มาก
ถ่ายทอดเทคโนโลยีและการจัดการความรู้ นักวิจัยจะมี
เนื่องจากเป็นระบบการผลิตแบบกวนผสมหรือระบบ
เอกสารประกอบการถ่ า ยทอดเทคโนโลยี ที่ ใ ห้ ข้อมูล
การผสมในท่อ ไม่จำ�เป็นต้องมีระบบควบคุมอุณหภูมิ
เกี่ยวกับ 1) ข้อมูลพื้นฐานเทคโนโลยีซิลเวอร์นาโนที่
หรือความดัน เครื่องมือและอุปกรณ์การผลิตสามารถ
ผู้รับการถ่ายทอดต้องรู้ 2) เครื่องแก้ว สารเคมี และ
หาได้ ใ นประเทศ การผลิ ต ระดั บ 100 ลิ ต รต่ อ วั น
อุ ป กรณ์ ที่ ต้ อ งใช้ ใ นการผลิ ต อนุ ภ าคซิ ล เวอร์ น าโน 3)
สามารถทำ � ในห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารเคมี ทั่ ว ไปได้ หาก
วิ ธี ก ารเตรี ย มสารตั้ ง ต้ น เพื่ อ ใช้ ใ นการผลิ ต อนุ ภ าคซิ ล
ผู้ประกอบการมีห้องปฏิบัติการและนักเคมีก็สามารถ
เวอร์นาโน 4) กรรมวิธีการผลิตโดยละเอียด 5) การ
ดำ�เนินการผลิตอนุภาคซิลเวอร์นาโนได้ทันทีหลังจาก
ประมาณขนาดและรู ป ร่ า งของอนุ ภ าคซิ ล เวอร์ น าโน
รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากคณะนักวิจัย
ด้ ว ยตาเปล่ า และตรวจสอบด้ ว ยเครื่ อ ง UV-visible
Spectrometer หรือกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน 6)
3.2 พั ฒ นาระบบการจั ด การความรู้ร องรั บ การถ่ า ยทอด การแก้ไขหรือการนำ�กลับมาใช้ใหม่หากอนุภาคซิลเวอร์
เทคโนโลยีซิลเวอร์นาโนสู่ภาคการผลิต นาโนที่ผลิตได้ไม่อยู่ในกรอบคุณภาพที่ต้องการ 7) การ
แม้ ว่ า คณะนั ก วิ จั ย จะได้ พั ฒ นาระบบการผลิ ต กำ � จั ด ของเสี ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการผลิ ต และ 8) ข้ อ มู ล
อนุภาคซิลเวอร์นาโนที่มีประสิทธิภาพสูง เป็นระบบที่ ความปลอดภัยและการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในการ
ดำ�เนินการได้โดยบุคลากรที่ไม่จำ�เป็นต้องเป็นนักเคมี ผลิ ต โดยเอกสารประกอบการถ่ า ยทอดเทคโนโลยี จ ะ
เพียงแต่มารับการฝึกฝนอย่างเป็นระบบจากนักวิจัย ก็ เป็นส่วนหนึ่งของเอกสารความลับในการขออนุญาตใช้
จะสามารถดำ � เนิ น การผลิ ต อนุ ภ าคซิ ล เวอร์ น าโนได้ สิทธิในการผลิตอนุภาคซิลเวอร์นาโนจากจุฬาลงกรณ์
ด้วยตนเอง ไม่ว่าบุคคลกรของบริษัทจะจบการศึกษา มหาวิทยาลัยด้วยเทคโนโลยีซิลเวอร์นาโนที่พัฒนาโดย
ระดับประถม มัธยม ปวช. ปวส. หรือ ปริญญาตรี หาก หน่ ว ยปฏิ บั ติ ก ารวิ จั ย อุ ป กรณ์ รั บ รู้ ซึ่ ง บริ ษั ท ต้ อ งเก็ บ
เป็ น ผู้ ที่ มี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจสมการและปฏิ กิ ริ ย าเคมี เป็นความลับ บุคคลากรที่เข้าถึงเอกสารต้องลงนามใน
พื้ น ฐาน ก็ จ ะสามารถทำ � งานเป็ น ผู้ ผ ลิ ต อนุ ภ าคนาโน สัญญาการรักษาความลับของบริษัท
ด้วยเทคโนโลยีของนักวิจัยได้ คณะนักวิจัยพัฒนาระบบ อย่างไรก็ตามปัญหาด้านบุคลากรของบริษัทอาจ
การถ่ายทอดความรู้ที่มีประสิทธิภาพนี้ขึ้นมาเพราะไม่ เกิ ด ขึ้ น เมื่ อ ใดก็ ไ ด้ ห ลั ง จากที่ ไ ด้ รั บ การถ่ า ยทอด
ต้ อ งการรับ ภาระเป็น ผู้แ ก้ปัญ หาภายหลัง เมื่ อ บริ ษั ท เทคโนโลยี เพื่ อ สนั บ สนุ น ให้ บ ริ ษั ท ที่ รั บ การถ่ า ยทอด
ประสบปั ญ หาการลาออกของพนั ก งาน หากมี ก าร เทคโนโลยีสามารถดำ�เนินการผลิตอนุภาคซิลเวอร์นาโน
ฝึกฝนและถ่ายทอดภายในบริษัทด้วยรูปแบบเดียวกัน ได้ โ ดยไม่ ติ ด ขั ด คณะนั ก วิ จั ย ได้ ส นั บ สนุ น ให้ นิ สิ ต ที่
กับที่นักวิจัยถ่ายทอด ผู้ที่รับการถ่ายทอดจากบุคลากร สำ � เร็ จ การศึ ก ษาจากหน่ ว ยวิ จั ย รวมตั ว กั น เพื่ อ ดำ � เนิ น
ของบริ ษั ท ก็ จ ะสามารถทำ � งานได้ ทั น ที สาเหตุ ห นึ่ ง ที่ ธุรกิจนวัตกรมและจัดตั้ง Spin-Off Company ในปี
ผู้ วิ จั ย ต้ อ ง ถ่ า ย ท อ ด เ ท ค โ น โ ล ยี ทั้ ง ห ม ด แ ล ะ มี พ.ศ.2556 ชื่อ บริษัท ไพรม นาโนเทคโนโลยี จำ�กัด
กระบวนการยืนยันความสามารถของผู้รับการถ่ายทอด (Prime Nanotechnologies Co. Ltd.) ทำ � ธุ ร กิ จ

8 วารสารสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2558 หน้าที่ 1-16


สนอง เอกสิทธิ์ งานวิจัยขึ้นห้าง: การสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบควบคุมสัณฐานวิทยาฯ

เกี่ยวกับวัสดุนาโนและนาโนเทคโนโลยี เช่น จำ �หน่าย จดสิ ท ธิ บั ต รกรรมวิ ธี ก ารผลิ ต สิ น ค้ า เพื่ อ คุ้ ม ครอง


วัสดุนาโน ให้คำ�ปรึกษาและดำ�เนินการด้านทรัพย์สิน ทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาของผู้ ป ระกอบการ โดยไม่
ทางปัญญาเกีย่ วกับนาโนเทคโนโลยี ทำ�วิจยั ร่วมเพือ่ พัฒนา จำ�เป็นต้องมีชื่อคณะนักวิจัยเป็นผู้ร่วมประดิษฐ์คิดค้น
ผลิตภัณฑ์ เป็นต้น บริษัท ไพรม นาโนเทคโนโลยี จำ�กัด แม้ ว่ า คณะนั ก วิ จั ย จะมี ส่ ว นช่ ว ยในการพั ฒ นาสิ น ค้ า ก็
จะทำ�หน้าทีถ่ า่ ยทอดเทคโนโลยีแทนหน่วยวิจยั แก้ปญ ั หา ตาม คณะนักวิจัยจะสนับสนุนข้อมูลทางวิทยาศาสตร์
ให้กบั ผูป้ ระกอบการ และดำ�เนินธุรกิจนาโนเทคโนโลยีทไี่ ด้ และเอกสารที่ จำ � เป็ น สำ � หรั บ การยื่ น จดสิ ท ธิ บั ต รของ
รับการถ่ายทอดจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ประกอบการ ทั้งการยื่นจดสิทธิบัตรไทยและสิทธิบัตร
นานาชาติ การให้อิสระแก่ผู้ประกอบการเช่นนี้จะทำ�ให้
3.3 พั ฒ นาระบบการตรวจสอบและควบคุ ม คุ ณ ภาพ
ผู้ประกอบการมีความคล่องตัวในการทำ�ธุรกิจ และการ
อนุภาคซิลเวอร์นาโน พั ฒ นาสิ น ค้ า ใหม่ จ ากเทคโนโลยี ที่ ไ ด้ รั บ การถ่ า ยทอด
เทคโนโลยีการผลิตอนุภาคซิลเวอร์นาโนทั้งหมด จากนักวิจัย
ที่ พั ฒ นาโดยหน่ ว ยปฏิ บั ติ ก ารวิ จั ย อุ ป กรณ์ รั บ รู้ เ ป็ น กิ จ กรรมการเผยแพร่ ผ ลงานวิ จั ย ที่ นั ก วิ จั ย ทำ �
เทคโนโลยีที่พัฒนามาจากงานวิจัยพื้นฐาน คณะนักวิจัย ร่วมกับผู้ประกอบการคือการส่งผลงานเข้าประกวดเพื่อ
ได้ใช้สมบัติเชิงแสงที่โดดเด่นของอนุภาคซิลเวอร์นาโน ขอรับรางวัลนวัตกรรมระดับชาติและระดับนานาชาติ
เป็นตัวบ่งบอกขนาดและรูปร่างของอนุภาคซิลเวอร์นา ในบางกรณีผู้ประกอบการเป็นผู้ส่งประกวดด้วยตนเอง
โนที่สังเคราะห์ได้ (รูปที่ 2) นักวิจัยใช้ข้อมูลจากแถบ โดยมีนักวิจัยให้การสนับสนุนข้อมูลทางเทคนิคและข้อ
การกระเจิ ง แสง Localized Surface Plasmon มู ล ทางวิ ท ยาศาสตร์ ข องอนุ ภ าคซิ ล เวอร์ น าโน การ
Resonance (LSPR) Spectrum ในการควบคุมและ ประกวดรางวั ล นวั ต กรรมระดั บ นานาชาติ ที่ ค ณะ
ประเมิ น คุ ณ ภาพของอนุ ภ าคซิ ล เวอร์ น าโนที่ ผ ลิ ต ได้ นั ก วิ จั ย และผู้ ป ระกอบการได้ ส่ ง ผลงานเข้ า ร่ ว ม
การวัด LSPR Spectrum ของอนุภาคซิลเวอร์นาโน เช่ น 1) การแสดงนิ ท รรศการนวั ต กรรม Seoul
สามารถทำ � ได้ ทั น ที่ ห ลั ง การผลิ ต ขั้ น ตอนการเตรี ย ม International Innovation Fair (SIIF) 2011, Seoul,
ตั ว อย่ า งไม่ ยุ่ ง ยากเป็ น เพี ย งการเจื อ จางเท่ า นั้ น Korea และ 2) การแสดงนิทรรศการนวัตกรรม 40th
เครื่องมือที่ใช้บันทึก LSPR Spectrum คือเครื่อง UV- International Exhibition of Inventions of Geneva
Visible Spectrometer ที่มีอยู่ในห้องปฏิบัติการเคมี (2012), Geneva, Switzerland และ 3) การประกวด
ทั่วไป การวิเคราะห์แต่ละครั้งมีค่าใช้จ่ายตํ่ามาก (หากมี รางวั ล นวั ต กรรมแห่ ง ชาติ ปี พ.ศ.2555 4) การ
เครื่องมือของตนเอง การวิเคราะห์แต่ละครั้งมีค่าใช้จ่าย ประกวดรางวั ล ความคิ ด ริ เริ่ ม ทางวิ ท ยาศาสตร์ และ
ไม่เกิน 1 บาท) ข้อมูลที่ได้จาก LSPR spectrum เป็น เทคโนโลยี เ พื่ อ การพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น (Science &
ข้อมูลเชิงปริมาณ (ความสูงของ LSPR Peak แสดง Technology Initiative and Sustainability Awards:
ความเข้ ม ข้ น ของอนุ ภ าคซิ ล เวอร์ น าโนในคอลลอยด์ ) STISA) ปี พ.ศ.2557 การเข้าร่วมจัดแสดงนิทรรศการ
และ ข้ อ มู ล เชิ ง คุ ณ ภาพ (จำ � นวนและตำ � แหน่ ง ของ และประกวดนวั ต กรรมมี ส่ ว นทำ � ให้ ผ ลงานและ
LSPR Peak แสดงรูปร่างของอนุภาคนาโนว่าเป็นทรง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องผู้ ป ระกอบการได้ รั บ การเผยแพร่
กลม แผ่ น บาง แท่ ง หรื อ โครงสร้ า งที่ ซั บ ซ้ อ นอื่ น ๆ และออกสื่ อ อย่ า งแพร่ ห ลาย ทำ � ให้ ค นไทยและ
ในขณะที่ ค วามกว้ า งของ LSPR Peak แสดงการ คนต่ า งชาติ ไ ด้ ท ราบเกี่ ย วกั บ ผลงานประดิ ษ ฐ์ คิ ด ค้ น
กระจายตั ว ของขนาดอนุ ภ าค) หากต้ อ งการยื น ยั น สินค้า และ นวัตกรรมสัญชาติไทย
รู ป ร่ า งอนุ ภ าคซิ ล เวอร์ น าโนด้ ว ยกล้ อ งจุ ล ทรรศน์
อิ เ ล็ ก ตรอนผู้ ป ระกอบการก็ ส ามารถทำ � ได้ ต ามความ 4. การถ่ายทอดเทคโนโลยีและการพัฒนาผลิตภัณฑ์
ต้องการ จากเทคโนโลยีซิลเวอร์นาโน
เมื่อผู้ประกอบการมีความสนใจที่จะนำ�เทคโนโลยีซิล
3.4 สนับสนุนการจดสิทธิบัตรวิธีการผลิตสินค้าและการ เวอร์นาโนไปใช้ในการเพิ่มศักยภาพของผลิตภัณฑ์ท่ีมีอยู่แล้ว
ประกวดนวัตกรรมของผู้ประกอบการ หรือสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ ผู้ประกอบการจะต้องเข้ามาพูดคุย
เทคโนโลยีหลักในการผลิตอนุภาคซิลเวอร์นาโนที่ กับนักวิจัย เพื่อที่จะทำ�ความเข้าใจและทราบประโยชน์และ
พั ฒ นาโดยคณะนั ก วิ จั ย ได้ มี ก ารยื่ น จดสิ ท ธิ บั ต รโดย ข้อจำ�กัดที่แท้จริงของเทคโนโลยี ผู้ประกอบการหลายรายมี
จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย เป็ น เจ้ า ของสิ ท ธิ บั ต รและ ความสั บ สนและคาดหวั ง สู ง เกิ น ไปกั บ นาโนเทคโนโลยี
คณะนั ก วิ จั ย เป็ น ผู้ ป ระดิ ษ ฐ์ คิ ด ค้ น คณะนั ก วิ จั ย เนื่องจากข้อมูลที่ได้จากสื่อและอินเตอร์เน็ตมีการโฆษณาเกิน
สนับสนุนให้ผู้ประกอบการที่ร่วมทำ�วิจัยดำ�เนินการยื่น จริ ง หรื อ สมบั ติ พิ เ ศษบางประการเป็ น สมบั ติ เ ฉพาะบาง

วารสารสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2558 หน้าที่ 1-16 9


สนอง เอกสิทธิ์ งานวิจัยขึ้นห้าง: การสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบควบคุมสัณฐานวิทยาฯ

เ งื่ อ น ไข ก า ร ใช้ ง า น ก า ร ทำ � ค ว า ม เข้ า ใจ เ บื้ อ ง ต้ น นี้ ค่าใช้จ่ายในการประเมินเทคโนโลยีเป็นความรับผิดชอบ


ผู้ประกอบการจะได้ทราบข้อจำ�กัดของเทคโนโลยี ประโยชน์ ของผู้ ป ระกอบการ นั ก วิ จั ย จะดำ � เนิ น การทดสอบ
และสิ่งที่จะได้รับหลังการถ่ายทอดเทคโนโลยี ต้นทุนที่เพิ่มขึ้น แ ล ะ ส นั บ ส นุ น อ นุ ภ า ค ซิ ล เว อ ร์ น า โ น โ ด ย ไ ม่ คิ ด
ในการผลิตสินค้าการถ่ายทอดเทคโนโลยีซิลเวอร์นาโนเพื่อ ค่าใช้จ่าย
การผลิ ต สิ น ค้ า เชิ ง พาณิ ช ย์ ข องคณะนั ก วิ จั ย จะมี ขั้ น ตอน 4.2 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Product Development)
ดังต่อไปนี้
ในขั้ น ตอนการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ นั ก วิ จั ย และ
4.1 การประเมินความเป็นไปได้ของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ผู้ ป ระกอบการจะดำ � เนิ น การวิ จั ย และพั ฒ นาสิ น ค้ า
(Technology Evaluation) ร่ ว มกั น โดยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ร่ ว มกั น พั ฒ นาอาจเป็ น
ผู้ ป ระกอบการจะต้ อ งแจ้ ง วั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารใช้ ผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือผลิตภัณฑ์เดิมของผู้ประกอบการที่
อนุภาคซิลเวอร์นาโน สินค้าและผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ ต้องการเพิ่มสมบัติพิเศษและเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน
เพิ่มศักยภาพด้วยเทคโนโลยีซิลเวอร์นาโน กำ�ลังการ ด้วยเทคโนโลยีซิลเวอร์นาโน โดยการทำ�วิจัยร่วมจะเป็น
ผลิตและแผนการใช้งานอนุภาคซิลเวอร์นาโน ในบาง แบบผู้ ประกอบการออกทุ น วิ จั ย ทั้ ง หมด หรื อ นั กวิจัย
กรณีผู้ประกอบการจะต้องเปิดเผยสูตรหรือสารเคมีที่ใช้ และผู้ประกอบการพัฒนาโจทย์วิจัยร่วมกันแล้วเสนอ
ในการผลิตสินค้า โดยเฉพาะสารที่สามารถทำ�ปฏิกิริยา โครงการเพื่ อ ขอรั บ ทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย และพั ฒ นา
กั บ โลหะเงิ น หรื อ ไอออนเงิ น หรื อ ต้ อ งเปิ ด เผย ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จ า ก ห น่ ว ย ง า น ใ ห้ ทุ น ข อ ง รั ฐ โ ด ย
กระบวนการผลิ ต สิ น ค้ า เพื่ อ ที่ นั ก วิ จั ย จะสามารถ ผู้ประกอบการสนับสนุนทุนวิจัยบางส่วน เพื่อแลกกับ
ประเมินได้ว่าจะสามารถนำ�อนุภาคซิลเวอร์นาโนใส่ลง สิ ท ธิ์ ก ารใช้ เ ทคโนโลยี โ ดยไม่ มี ข้ อ จำ � กั ด หรื อ เป็ น
ไปในผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ด้ ห รื อ ไม่ การประเมิ น เบื้ อ งต้ น นี้ อ ยู่ เจ้ า ของร่ ว มในทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการ
บนพืน้ ฐานความต้องการของผูป้ ระกอบการ โดยใช้ความรู้ วิ จั ย ในการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ผู้ ป ระกอบการอาจส่ ง
ความเข้ า ใจ ความชำ � นาญ และประสบการณ์ ข อง บุ ค ลากรของตนเองมาทำ � วิ จั ย ร่ ว มกั บ นิ สิ ต ของหน่ ว ย
นั ก วิ จั ย ในการตั ด สิ น ความเป็ น ไปได้ ข องการพั ฒ นา วิจัย ระยะเวลาของการวิจัยขึ้นอยู่กับเนื้อหาการวิจัย
ผลิตภัณฑ์ นักวิจัยจะไม่สร้างความเชื่อมั่นเกินจริงให้กับ และปั ญหาที่ พ บระหว่ า งการวิ จั ย เมื่ อ งานวิ จั ย สำ�เร็จ
ผู้ ป ระกอบการ หากมี ค วามเป็ น ไปได้ น้ อ ยมากหรื อ ลุ ล่ ว งการจดสิ ท ธิ บั ต รและการเผยแพร่ ผ ลงานก็ จ ะ
เป็นไปไม่ได้เลยในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ นักวิจัยก็จะไม่ เป็นไปตามสัญญาที่ทำ�ไว้
ดำ�เนินการต่อ 4.3 การขออนุ ญ าตใช้ สิ ท ธิ์ ใ นการผลิ ต อนุ ภ าคซิ ล เวอร์
หากการพัฒนาสินค้าและนวัตกรรมโดยการเพิ่ม นาโนจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศักยภาพด้วยเทคโนโลยีซิลเวอร์นาโนมีความเป็นไปได้ เมื่ อ การวิ จั ย ร่ ว มในการพั ฒ นานวั ต กรรมและ
คณะนักวิจัยจะดำ�เนินการขั้นต่อไปคือการทดสอบและ สินค้าที่มีการเพิ่มศักยภาพด้วยเทคโนโลยีซิลเวอร์นาโน
ประเมินความเป็นไปได้ของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ก่อน ประสบความสำ�เร็จแม้ว่าผู้ประกอบการจะเป็นเจ้าของ
(Technology Evaluation) ว่าอนุภาคนาโนสามารถ สิ ท ธิ บั ต รการผลิ ต สิ น ค้ า ที่ มี อ นุ ภ าคซิ ล เวอร์ น าโนเป็ น
นำ � ไปใช้ กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ด้ ห รื อ ไม่ โดยการตรวจสอบ ส่วนประกอบ แต่เทคโนโลยีการผลิตอนุภาคซิลเวอร์
ความเข้ากันของอนุภาคซิลเวอร์นาโนกับผลิตภัณฑ์ สี นาโนเป็ น ของจุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย หาก
และรูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ที่มีการเติมอนุภาคซิลเวอร์ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ต้ อ ง ก า ร นำ � ไ ป ผ ลิ ต เ ป็ น สิ น ค้ า
นาโน การเกิดตะกอนและปฏิกิริยาเคมีเมื่อเติมอนุภาค ผู้ ป ระกอบการต้ อ งซื้ อ อนุ ภ าคซิ ล เวอร์ น าโนจากคณะ
ซิลเวอร์นาโน หากไม่มีอะไรผิดปกติเกิดขึ้น ผลิตภัณฑ์มี นักวิจัยหรือจากบริษัท ไพรม นาโนเทคโนโลยี จำ �กัด
เสถียรภาพสูง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ก็มีความเป็นไปได้ อย่ า งไรก็ ต ามหากผู้ ป ระกอบการต้ อ งผลิ ต อนุ ภ าค
นักวิจัยก็จะพูดคุยและทำ�ความตกลงกับผู้ประกอบการ ซิลเวอร์นาโนปริมาณมาก และต้องการลดต้นทุนการผลิต
ก่อนการดำ�เนินการขั้นต่อไป ผู้ประกอบการต้องมาขออนุญาตใช้สิทธิในเทคโนโลยี
หากการประเมินความเป็นไปได้ของการพัฒนา การผลิ ต อนุ ภ าคซิ ล เวอร์ น าโนจากจุ ฬ าลงกรณ์
ผลิตภัณฑ์ไม่ผ่านเงื่อนไขความสำ�เร็จของผู้ประกอบการ มหาวิ ท ยาลั ย โดยมู ล ค่ า ของการถ่ า ยทอดเทคโนโลยี
และนักวิจยั จะไม่มกี ารพัฒนาสินค้าหรือถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิตไม่ได้กำ�หนดตายตัว ขึ้นอยู่กับชนิดของสินค้า

10 วารสารสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2558 หน้าที่ 1-16


สนอง เอกสิทธิ์ งานวิจัยขึ้นห้าง: การสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบควบคุมสัณฐานวิทยาฯ

และขอบเขตของการขอใช้สิทธิ์ว่าเป็นแบบ Exclusive ส่ ว นหนึ่ ง ของการพั ฒ นาสิ น ค้ า เท่ า นั้ น นั ก วิ จั ย และ


หรือ Non-exclusive หากมีการขอใช้สิทธิแบบ Exclu- ผู้ ป ระกอบการต้ อ งทำ � วิ จั ย ร่ ว มกั น เพื่ อ พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์
sive จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยก็จะไม่ถา่ ยทอดเทคโนโลยี ต้นแบบ ผู้ประกอบการต้องดำ�เนินการและรองรับความเสี่ยง
การผลิตซิลเวอร์นาโนให้แก่ผู้ประกอบการรายอื่นที่ทำ� อี ก มากเพื่ อ เปลี่ ย นผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต้ น แบบให้ เ ป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เชิ ง
ธุรกิจประเภทเดียวกันกับที่ได้มีการอนุญาตให้ใช้สิทธิ พาณิชย์ที่สามารถแข่งขันและทำ�กำ�ไรได้ การผลิตสินค้าให้
แล้ว โดยเงื่อนไขการจ่ายเงินและมูลค่าการถ่ายทอด ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค การสร้างแผนการตลาด
เทคโนโลยี นั้ น ผู้ ป ระกอบการต้ อ งมาเจรจาและทำ � ข้ อ การรองรับความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาวัตถุดิบและ
ตกลงกับสำ�นักงานทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาลงกรณ์ การแข่ ง ขั น ด้ า นการตลาดกั บ สิ น ค้ า จากต่ า งประเทศและ
มหาวิทยาลัย เมือ่ มีการทำ�สัญญาอนุญาตใช้สทิ ธิแ์ ล้ว คณะ สิ น ค้ า ในประเทศ เป็ น สิ่ ง ที่ ผู้ ป ระกอบการต้ อ งประสบ
นักวิจัยก็จะเริ่มกระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต โดยเฉพาะผู้ประกอบการที่พยายามสร้างสินค้านวัตกรรมที่ไม่
จนกว่าบุคลากรของบริษทั จะสามารถผลิตอนุภาคซิลเวอร์ มีจำ�หน่ายในท้องตลาดมาก่อน การเปิดตัวของเขตเศรษฐกิจ
นาโนได้อย่างที่นักวิจัยทำ�ได้ การค้าเสรีระหว่างประเทศไทยกับต่างประเทศได้เปิดโอกาส
ให้กับผู้ประกอบการของไทยได้ขายสินค้าในตลาดที่ใหญ่ขึ้น
5. ตัวอย่างผลิตภัณฑ์และสินค้าทีเ่ กิดจากการวิจยั ร่วม แต่โอกาสนั้นก็มากับการแข่งขันทั้งการแข่งขันในราคาของ
มหาวิทยาลัย-ภาคอุตสาหกรรม สินค้าและนวัตกรรมที่อยู่เบื้องหลังของสินค้านั้น
คณะนั ก วิ จั ย ได้ พั ฒ นาเทคโนโลยี ห ลั ก ในการผลิ ต ความสำ�เร็จของคณะนักวิจัยเป็นตัวอย่างที่ดีของการ
อนุภาคซิลเวอร์นาโนเพียงเทคโนโลยีเดียวคือเทคโนโลยีที่ได้ ต่ อ ยอดผลการวิ จั ย จากงานพื้ น ฐาน (Fundamental
ยื่นขอจดสิทธิบัตรไทยเรื่อง อนุภาคระดับนาโนเมตร ของ Research) ไปสู่การประยุกต์ใช้จริงอย่างเป็นรูปธรรม โดย
โลหะเงินแบบแผ่นปริซึมที่สามารถควบคุมสมบัติเชิงแสงได้ การดำ�เนินแผนการวิจัยที่มีโจทย์วิจัยและเป้าหมายของการ
และวิธีการผลิต (เลขที่คำ�ขอ 1301002072 วันยื่นคำ�ขอ 19 วิ จั ย ชั ด เจนด้ า นการพั ฒ นาเทคโนโลยี เ พื่ อ ลดการพึ่ ง พา
เมษายน 2556) คณะนักวิจัยจะปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีการ ต่างประเทศและสร้างเทคโนโลยีของตนเอง ความสำ�เร็จและ
ผลิ ต ให้ เ พื่ อ ให้ เ หมาะสมกั บ ความต้ อ งการประยุ ก ต์ ใช้ ใ น ความก้ า วหน้ า นี้ จ ะไม่ เ กิ ด ขึ้ น เลย หากนั ก วิ จั ย ไม่ ไ ด้ รั บการ
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ห ลากหลาย ขึ้ น อยู่ กั บ ชนิ ด ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละ สนับสนุนและส่งเสริมอย่างเป็นระบบจากคณะวิทยาศาสตร์
วัตถุประสงค์ของผู้ประกอบการ จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ทุ น วิ จั ย จ า ก สำ � นั ก ง า น
ตั ว อย่ า งการทำ � วิ จั ย ร่ ว มของนั ก วิ จั ย กั บ ภาคเอกชน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) สำ�นักงานกองทุนสนับสนุน
เพื่อพัฒนาสินค้าที่มีการเพิ่มมูลค่าสินค้าด้วยอนุภาคซิลเวอร์ การวิจัย (สกว.) สำ�นักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.)
นาโนแสดงดังตารางที่ 1-5 และ กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำ�
ให้ ค ณะนั ก วิ จั ย สามารถทำ � งานวิ จั ย พื้ น ฐานเพื่ อ สร้ า งองค์
การแปรรูป ผลงานวิจัยและทรัพย์สิน ทางปั ญญาให้
ความรู้และความเข้าใจในศาสตร์ได้อย่างอิสระ สามารถสร้าง
เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รื อ การทำ � ให้ ผ ลงานการคิ ด ค้ น มี มู ล ค่ า เชิ ง
นวั ต กรรมและเทคโนโลยี ซิ ล เวอร์ น าโนที่ มี ศั ก ยภาพพร้ อ ม
พาณิ ช ย์ จึ ง ไม่ ใช้ เรื่ อ งง่ า ยนั ก งานวิ จั ย วั ส ดุ น าโนและนาโน
สำ�หรับการต่อยอดและประยุกต์เชิงพาณิชย์
เทคโนโลยีหลายชิ้นที่มีศักยภาพสูงแต่ไม่ได้รับการต่อยอดให้
เกิดประโยชน์เชิงพาณิชย์มีสาเหตุหลายประการ เช่น ระบบ
การผลิตซับซ้อนเกินและมีต้นทุนสูงเกินไป ไม่สามารถขยาย
กำ � ลั ง ก าร ผ ลิ ต จ า ก ระ ดั บ ห้ อ งป ฏิ บั ติ ก า รไปสู่ ร ะ ดั บ
อุตสาหกรรมได้ ไม่สามารถควบคุมคุณภาพวัสดุนาโนให้มี
ความคงที่สมํ่าเสมอทำ�ให้วัสดุนาโนที่ผลิตได้มีเสถียรภาพตํ่า
เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือรวมตัวกันเป็นก้อนใหญ่และสูญเสีย
สมบัติเดิมของอนุภาคระดับนาโนเมตรรวดเร็วเกินไป เป็นต้น
จากประสบการณ์การทำ�งานวิจัยพื้นฐานที่มีการต่อ
ยอดเป็นสินค้านวัตกรรม ทำ�ให้คณะนักวิจัยทราบว่าการทำ�
วิจัยเพื่อตีพิมพ์และจดสิทธิบัตรในมหาวิทยาลัยเป็นกิจกรรม

วารสารสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2558 หน้าที่ 1-16 11


สนอง เอกสิทธิ์ งานวิจัยขึ้นห้าง: การสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบควบคุมสัณฐานวิทยาฯ

ตารางที่ 1: บริษัท ไลออน (ประเทศไทย) จำกัด


ผลิตภัณฑ ผงซักฟอกเปาซิลเวอรนาโน: ผงซักฟอกที่มีฤทธิ์ฆาเชื้อแบคทีเรียขณะซักลางและปองกันการเกิด
กลิ่นอับขณะสวมใส
ประเภทผลิตภัณฑ สินคาอุปโภคในครัวเรือน
เหตุผลการพัฒนา 1. สรางผลิตภัณฑใหมที่มีประสิทธิภาพโดดเดน แตกตางจากสินคาประเภทเดียวกันในตลาด
ผลิตภัณฑ 2. สรางผลิตภัณฑใหมที่มีสมบัติการตานเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งเปนคุณลักษณะที่ไมเคยมีมากอน
เงื่อนไขความสำเร็จ 1. ผลิตภัณฑมีฤทธิ์ฆาเชื้อแบคทีเรียขณะซักลางและปองกันการเกิดกลิ่นอับขณะสวมใส
การพัฒนาผลิตภัณฑ 2. สีของผลิตภัณฑไมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอยางมีนัยสำคัญหลังจากเติมอนุภาคซิลเวอรนาโน
ทรงกลมซึ่งมีสีเหลือง
3. เมื่อเติมอนุภาคซิลเวอรนาโนแลวตนทุนการผลิตไมสูงขึ้นจนแขงขันไมได
4. ผลิตภัณฑที่เติมอนุภาคซิลเวอรนาโนมีความเสถียรสูง ไมเกิดการเปลี่ยนสีและลักษณะของ
ผลิตภัณฑขณะขนสงและเก็บรักษา
5. นักวิจัยสรางเครื่องปฏิกรณตนแบบที่มีอัตราการผลิตอนุภาคเงินนาโนอยางต่ำ 100 ลิตร/วัน
เพื่อใชในการผลิตอนุภาคซิลเวอรนาโนหลังการถายทอดเทคโนโลยี
6. อนุภาคซิลเวอรนาโนไมเกิดการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการผลิตสินคา ซึ่งมีการเพิ่ม
อุณหภูมิเพื่อระเหยน้ำและควบคุมความชื้นในผลิตภัณฑ
รูปแบบการวิจัยรวม 1. นักวิจัยและผูประกอบการทำวิจัยรวมเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑตนแบบที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย
เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ ทีมนักวิจัยของผูประกอบการทำงานรวมกับนักวิจัย มีการแลกเปลี่ยนขอมูลและเปดเผย
และระยะเวลาที่ใช ขอมูลของบริษัทเฉพาะสวนที่เปดเผยได นักวิจัยรวมพัฒนาผลิตภัณฑตนแบบโดยไมมีการ
เปดเผยหรือตีพิมพผลการวิจัย ขอมูลที่ไดจากการวิจัยรวมถือเปนความลับ
2. ผูประกอบการยื่นขออนุญาตใชสิทธิในการผลิตอนุภาคซิลเวอรนาโนดวยเทคโนโลยีที่พัฒนา
โดยคณะนักวิจัยจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยนักวิจัยไดดำเนินการถายทอดเทคโนโลยีจน
ผูประกอบการสามารถผลิตอนุภาคซิลเวอรนาโนได ผูประกอบการสามารถพัฒนาสินคา
นวัตกรรมเชิงพาณิชยได
3. ระยะเวลาที่ใชในการวิจัยและพัฒนาจนเปนสินคาที่จำหนายเชิงพาณิชย: 1 ป
เทคโนโลยีที่ถายทอด กรรมวิธีการผลิตอนุภาคระดับนาโนเมตรทรงกลมความเขมขนสูงของโลหะเงินที่ไมมีการปกปอง
(ปที่ถายทอด) พื้นผิวแขวนลอยในน้ำ (พ.ศ. 2552) [3]
การลงทุนและพัฒนา 1. สรางหองปฏิบัติการเคมีรองรับการวิเคราะหทดสอบอนุภาคซิลเวอรนาโนและผลิตภัณฑ
ตอเนื่องของ 2. จัดตั้งหนวยผลิตอนุภาคซิลเวอรนาโนขึ้นใหมในบริษัท มีบุคลากรที่รับผิดชอบการผลิต
ภาคเอกชน อนุภาคซิลเวอรนาโน
3. สรางเครื่องปฏิกรณระดับอุตสาหกรรมที่มีกำลังการผลิตมากกวาเครื่องตนแบบของนักวิจัย
เครื่องปฏิกรณใหมมีกำลังการผลิตขั้นต่ำ 1000 ลิตร/วัน
4. ยื่นจดสิทธิบัตรไทย เรื่องสารผสมซักฟอกที่มีสวนผสมของอนุภาคเงินนาโนและกรรมวิธีการ
ผลิต (วันยื่นคำขอ 3 เมษายน 25552, เลขที่คำขอ 0901001529) [4]
ความรวมมือตอเนื่อง 1. วิจัยและพัฒนาน้ำยาซักลางสูตรน้ำที่มีอนุภาคซิลเวอรนาโน
2. วิจัยและพัฒนาน้ำยาปรับผานุมที่มีอนุภาคซิลเวอรนาโน
รูปผลิตภัณฑ

12 วารสารสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2558 หน้าที่ 1-16


สนอง เอกสิทธิ์ งานวิจัยขึ้นห้าง: การสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบควบคุมสัณฐานวิทยาฯ

ตารางที่ 2: บริษัท โนวาเทคเฮลทแคร จำกัด


ผลิตภัณฑ BluRibbon: แผนปดแผลที่มีประสิทธิภาพฆาเชื้อแบคทีเรียดวยอนุภาคเงินนาโน
ประเภทผลิตภัณฑ อุปกรณทางการแพทย
เหตุผลการพัฒนา 1. สรางผลิตภัณฑทางการแพทยที่มีประสิทธิภาพและสมบัติที่โดดเดนเพื่อทดแทนการนำเขา
ผลิตภัณฑ 2. สรางผลิตภัณฑที่สามารถรักษาแผลจากโรคเบาหวาน และ แผลเรื้อรังชนิดโพรงลึก
เงื่อนไขความสำเร็จ 1. ผลิตภัณฑมีฤทธิ์ฆาเชื้อแบคทีเรียบนบาดแผลและปองกันการติดเชื้อ
การพัฒนาผลิตภัณฑ 2. ใชอนุภาคซิลเวอรนาโนแบบแผนบางซึ่งมีสีฟาเปนสารออกฤทธิ์
3. อนุภาคซิลเวอรนาโนเกาะติดบนเสนใยไบโอเซลลูโลสที่ใชเปนวัสดุรองรับไดดี
4. ผลิตภัณฑมีความเสถียรสูง ไมเกิดการเปลี่ยนแปลงขณะขนสงและเก็บรักษา
รูปแบบการวิจัยรวม 1. นักวิจัยและผูประกอบการทำวิจัยรวมเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑตนแบบที่มีศักยภาพ นักวิจัยรวม
เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ พัฒนาผลิตภัณฑตนแบบโดยไมมีการเปดเผยหรือตีพิมพผลการวิจัย ขอมูลที่ไดจากการวิจัย
และระยะเวลาที่ใช รวมถือเปนความลับ
2. ผูประกอบการขออนุญาตใชสิทธิในการผลิตอนุภาคซิลเวอรนาโนจากจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัยนักวิจัยไดดำเนินการถายทอดเทคโนโลยีจนผูประกอบการสามารถผลิตอนุภาค
ซิลเวอรนาโนสีฟา
3. ระยะเวลาที่ใชในการวิจัยและพัฒนาจนเปนสินคาตนแบบพรอมทดลองใช: 3ป
เทคโนโลยีที่ถายทอด กรรมวิธีการผลิตคอลลอยดน้ำของอนุภาคซิลเวอรนาโนแบบแผนที่มีสีฟาที่มีความบางระดับ
(ปที่ถายทอด) 30-50 นาโนเมตร ขนาด lateral size 50-200 นาโนเมตร (พ.ศ. 2554) [3]
การลงทุนและพัฒนา 1. จางนักเคมีเพื่อผลิตอนุภาคเงินนาโนและสรางหองปฏิบัติใหมเพื่อผลิต วิเคราะห ทดสอบ
ตอเนื่องของ และ ควบคุมคุณภาพอนุภาคซิลเวอรนาโนสีฟาที่ผลิตได
ภาคเอกชน 2. จางบุคลกรเพื่อทำงานการตลาด ติดตอโรงพยาบาลเพื่อทดลองใชผลิตภัณฑ BluRibbon
เทียบกับผลิตภัณฑจากตางประเทศ
3. ยื่นจดสิทธิบัตรนานาชาติ เรื่อง Wound Dressing Comprising Bio-cellulose and
Silver Nanoparticles (วันยื่นคำขอ 29 มกราคม 2556, เลขที่คำขอ
PCT/TH2013/000004)
4. รางวัลนวัตกรรมดีเดนแหงชาติ (ดานสังคม) ประจำป พ.ศ. 2555จากสำนักงานนวัตกรรม
แหงชาติ: ผลงาน แผนปดแผลนาโนไบโอเซลลูโลสเคลือบคริสตัลเงินนาโนสีฟา
5. รางวัลเหรียญทอง (Gold Medal), จากงานแสดงนวัตกรรม 40th International
Exhibition of Inventions of Geneva, Geneva, Switzerland: ผลงาน BluRibbon:
Wound Dressingwith Blue Silver Nanoparticles
ความรวมมือตอเนื่อง 1. พัฒนาผลิตภัณฑกาวทางการแพทยที่มีการเติมอนุภาคซิลเวอรนาโนที่ออกฤทธิ์ฆาเชื้อ
แบคทีเรียอยางรวดเร็ว
2. พัฒนาผลิตภัณฑฆาเชื้อสำหรับสัตวเลี้ยงที่มีอนุภาคซิลเวอรนาโนและสารประกอบของโลหะ
เงินเปนสารออกฤทธิ์
รูปผลิตภัณฑ

วารสารสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2558 หน้าที่ 1-16 13


สนอง เอกสิทธิ์ งานวิจัยขึ้นห้าง: การสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบควบคุมสัณฐานวิทยาฯ

ตารางที่ 3: บริษัท ธรรมสรณ นาโนโซลูชัน จำกัด


ผลิตภัณฑ ซิลเวอรเคลยสำหรับผลิตและออกแบบเครื่องประดับเงินดวยการปนขึ้นรูปดวยมือ
ประเภทผลิตภัณฑ วัสดุสำหรับการออกแบบและผลิตเครื่องประดับเงิน
เหตุผลการพัฒนา สรางผลิตภัณฑ เพื่อทดแทนการนำเขาสินคาจากตางประเทศ
ผลิตภัณฑ
เงื่อนไขความสำเร็จ 1. อนุภาคเงินนาโนแบบผงผสมเขากับพอลิเมอรไดดี
การพัฒนา 2. ซิลเวอรเคลยที่ผลิตสามารถปนขึ้นรูปได
ผลิตภัณฑ
รูปแบบการวิจัย 1. นักวิจัยและผูประกอบการทำวิจัยรวมเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑเชิงพาณิชย นักวิจัยรวมพัฒนา
รวมเพื่อพัฒนาผ ผลิตภัณฑตนแบบโดยสามารถตีพิมพผลการวิจัย
ลิตภัณฑและ 2. นักวิจัยและผูประกอบการพัฒนาโครงการวิจัยรวมกันเพื่อขอทุนวิจัยจากสำนักงาน
ระยะเวลาที่ใช คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
3. ผูประกอบการขออนุญาตใชสิทธิในการผลิตอนุภาคซิลเวอรนาโนจากจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัยนักวิจัยไดดำเนินการถายทอดเทคโนโลยีจนผูประกอบการสามารถผลิตอนุภาค
ซิลเวอรนาโนได [1, 3, 5]
4. ระยะเวลาที่ใชในการวิจัยและพัฒนาจนเปนผลิตภัณฑเชิงพาณิชย: 3 ป
เทคโนโลยีที่ถายทอด กรรมวิธีการผลิตอนุภาคระดับนาโนเมตรทรงกลมความเขมขนสูงของโลหะเงินที่ไมมีการปกปอง
(ปที่ถายทอด) พื้นผิวแขวนลอยในน้ำ (พ.ศ. 2554)
การลงทุนและ 1. สรางหองปฏิบัติเพื่อผลิตอนุภาคซิลเวอรนาโนและอนุภาคเงินระดับไมโครเพื่อใชเปนวัตถุดิบ
พัฒนาตอเนื่องของ สำหรับผลิตซิลเวอรเคลย
ภาคเอกชน 2. จางนักเคมีเพื่อผลิตอนุภาคซิลเวอรนาโน
3. จางบุคลกรเพื่อทำงานการตลาด
4. จางศิลปนและนักออกแบบเครื่องประดับเงิน
5. สราง Art Gallery: SHANN ที่ชั้น 3 ศูนยศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร เขตปทุมวัน
รับสอนและอบรมการทำเครื่องประดับเงินจากซิลเวอรเคลย
6. บริษัทรางสิทธิบัตรเกี่ยวกับการสังเคราะหวัตถุดิบอนุภาคซิลเวอร (ระดับไมโครและนาโน)
และกรรมวิธีการผลิตซิลเวอรเคลย จำนวน 3 สิทธิบัตร
ความรวมมือ การวิจัยดานการประหยัดพลังงานดวยวัสดุนาโน
ตอเนื่อง
รูปผลิตภัณฑ

14 วารสารสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2558 หน้าที่ 1-16


สนอง เอกสิทธิ์ งานวิจัยขึ้นห้าง: การสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบควบคุมสัณฐานวิทยาฯ

ตารางที่ 4: บริษัท สุพรีมโปรดักส จำกัด


ผลิตภัณฑ รถพยาบาลปลอดเชื้อดวยเทคโนโลยีซิลเวอรนาโน
ประเภทผลิตภัณฑ อุปกรณและเครื่องมือทางการแพทย
เหตุผลการพัฒนา สรางผลิตภัณฑที่มีสมบัติพิเศษแตกตางจากผลิตภัณฑคูแขง
ผลิตภัณฑ
เงื่อนไขความสำเร็จ 1. อนุภาคเงินนาโนแบบผสมเขากับพอลิเมอรที่ใชทำวัสดุเคลือบผิวไดดี
การพัฒนาผลิตภัณฑ 2. สีขาวของพอลิเมอรจะตองไมเปลี่ยนแปลงมากจนสังเกตเห็นได
รูปแบบการวิจัยรวม 1. นักวิจัยและผูประกอบการทำวิจัยรวมเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑที่สามารถใชงานจริง
เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ 2. ผูประกอบการซื้ออนุภาคซิลเวอรนาโนเพื่อใชในการผลิตรถพยาบาลปลอดเชื้อ
และระยะเวลาที่ใช จากบริษัท นวัตกรรมจามจุรี จำกัด ซึ่งเปนนิติบุคคลของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
3. ระยะเวลาที่ใชในการวิจัยและพัฒนาจนเปนผลิตภัณฑเชิงพาณิชย: 2 ป
เทคโนโลยีที่ถายทอด วิธีการผสมอนุภาคซิลเวอรนาโนในเจลโคตรสำหรับใชเคลือบผนังดานในของรถพยาบาล
(ปที่ถายทอด) (พ.ศ. 2553)
การลงทุนและพัฒนา 1. จางนักเคมีเพื่อทำหนาที่ควบคุมคุณภาพของพอลิเมอรเคลือบผิวที่ใชในการผลิตรถพยาบาล
ตอเนื่องของ ปลอดเชื้อ
ภาคเอกชน 2. ดำเนินการขอฉลาก NANO-Q จากมูลนิธินาโนเทคโนโลยีแหงประเทศไทย โดย บริษัท
สุพรีมโปรดักส จำกัด เปนบริษัทแรกของประเทศที่ไดรับตรารับรองคุณภาพผลิตภัณฑที่ใช
วัสดุนาโนในการผลิตสินคา
ความรวมมือตอเนื่อง พัฒนาสารเคลือบใสที่มีอนุภาคซิลเวอรนาโนเพื่อใชเคลือบผนังหองผาตัดและเครื่องมือแพทย

ตารางที่ 5: บริษัท เคเอ็ม อินเตอรแลป จำกัด


ผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑระงับกลิ่นกายที่มีประสิทธิภาพกำจัดเชื้อแบคทีเรียดวยอนุภาคซิลเวอรนาโน
ประเภทผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑอุปโภค (Cute Press, Oriental Princess)
เหตุผลการพัฒนา สรางผลิตภัณฑที่มีสมบัติพิเศษแตกตางจากผลิตภัณฑคูแขง
ผลิตภัณฑ
เงื่อนไขความสำเร็จ 1. อนุภาคเงินนาโนแบบผสมเขากับผลิตภัณฑไดโดยไมกอใหเกิดการเปลี่ยนสีหรือตกตะกอน
การพัฒนาผลิตภัณฑ 2. ผลิตภัณฑมีฤทธิ์ฆาเชื้อแบคทีเรียและผานการทดสอบทางชีวเคมี
รูปแบบการวิจัยรวม 1. นักวิจัยและผูประกอบการทำวิจัยรวมเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑที่สามารถใชงานจริง
เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ 2. ผูประกอบการซื้ออนุภาคซิลเวอรนาโนเพื่อใชในการผลิตผลิตภัณฑระงับกลิ่นกายจากบริษัท
และระยะเวลาที่ใช นวัตกรรมจามจุรี จำกัด ซึ่งเปนนิติบุคคลของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
3. ระยะเวลาที่ใชในการวิจัยและพัฒนาจนเปนผลิตภัณฑเชิงพาณิชย: 1ป
เทคโนโลยีที่ถายทอด กรรมวิธีการผสมอนุภาคซิลเวอรนาโนในผลิตภัณฑระงับกลิ่นกาย
(ปที่ถายทอด)
การลงทุนและพัฒนา จางนักเคมีเพื่อทำหนาที่ควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑระงับกลิ่นกาย Cute Press
ตอเนื่องของ
ภาคเอกชน
ความรวมมือตอเนื่อง —

วารสารสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2558 หน้าที่ 1-16 15


สนอง เอกสิทธิ์ งานวิจัยขึ้นห้าง: การสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนแบบควบคุมสัณฐานวิทยาฯ

เอกสารอ้างอิง
[1] สนอง เอกสิทธิ์, เทวารักษ์ ปานกลาง, ชูชาติ ธรรม
เจริญ. อนุภาคระดับนาโนเมตรของโลหะเงินแบบแผ่น
ปริซึมที่สามารถควบคุมสมบัติเชิงแสงได้และวิธีการ
ผลิต (SILVER NANOPRISMS WITH
CONTROLLABLE OPTICAL PROPERTIES AND
METHOD OF MAKING THEM) สิทธิบัตรไทยเลขที่
คำ�ขอ 1301002072 (วันยื่นคำ�ขอ 19 เมษายน 2556)
[2] บัญชา ชุณหสวัสดิกุล, สนอง เอกสิทธิ์, กรลักษณ์
รวมศิริวัฒนกุล, นิรมล มาฆะสุข. สารผสมซักฟอกที่มี
ส่วนผสมของอนุภาคเงินนาโนและกรรมวิธีการผลิต
สิทธิบัตรไทยเลขที่คำ�ขอ 0901001529 (วันยื่นคำ�ขอ รองศาสตราจารย์ ดร. สนอง เอกสิ ท ธิ์ เป็ น
3 เมษายน 2552) นั ก เรี ย นทุ น รั ฐ บาลภายใต้ โ ครงการพั ฒ นาและส่ ง เสริ ม ผู้
[3] Parnklang, T., Lertvachirapaiboon, C., มี ค วามสามารถพิ เ ศษทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี
Pienpinijtham, P., Wongravee, K., (พสวท.) สำ � เร็ จ การศึ ก ษาปริ ญ ญาตรี ส าขาเคมี (2532)
Thammacharoen, C.,and Ekgasit, S. (2013). และ ปริ ญ ญาโทสาขาเทคโนโลยี พ อลิ เ มอร์ (2535) จาก
H2O2-Triggered shape transformation of silver จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ปริ ญ ญาเอกสาขา Polymer
nanospheres to nanoprisms with controllable Science and Engineering (2539) จาก Case
longitudinal LSPR wavelengths. RSC Advances, Western Reserve University (USA) ได้ รั บ ทุ น
3, 12886–12894. Alexander von Humboldt Research Fellowship
(2546) เพื่ อ ทำ � วิ จั ย หลั ง ปริ ญ ญาเอกที่ Max-Planck
[4] Wongravee, K., Parnklang, T., Pienpinijtham, P.,
Institute for Polymer Research (Mainz, Germany)
Lertvachirapaiboon, C.,Ozaki, Y.,
ปั จ จุ บั น เป็ น อาจารย์ ป ระจำ � สาขาเคมี ฟิ สิ กั ล ภาควิ ช าเคมี
Thammacharoen, C., and Ekgasit, S. (2013).
คณะวิ ท ยาศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ทำ � วิ จั ย
Chemometric analysis of spectroscopic data
ด้ า นการผลิ ต และประยุ ก ต์ เชิ ง พาณิ ช ย์ ข องวั ส ดุ น าโนใน
on shape evolution of silver nanoparticles
ภาคอุตสาหกรรมและการเกษตร
induced by hydrogen peroxide. Physical
Chemistry Chemical Physics, 15, 4183-4189.
[5] Thongnopkun, P., Jamkratoke, M., and Ekgasit,
S., (2012).Thermal behavior of nano-silver
clay in the application of handmade jewelry.
Materials Science and Engineering: A, 556,
849-854.

16 วารสารสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2558 หน้าที่ 1-16

You might also like