เสาเข็ม 3

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 61

Foundation Engineering

วิศวกรรมฐานราก

รองศาสตราจารย ดร. สุขสันติ์ หอพิบูลสุข


สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุ สรุ นารี
แรงดันดินดานขาง
5 (LATERAL EARTH PRESSURE)
5.1 บทนํา

การวิเคราะหและการหาคาแรงดันดานขางของดินเปนสิ่งจําเปนอยางมากสําหรับการออกแบบกําแพง
กันดินและโครงสรางกันดินตางๆ ขนาดและทิศทางของแรงดันดานขางเปนขอมูลที่จําเปนสําหรับการ
ออกแบบกําแพงกันดินหรือโครงสรางกันดินตางๆ ใหมีอัตราสวนปลอดภัยมากเพียงพอ

ความดันดินดานขางมี 3 ประเภท
1) ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง (At rest earth pressure)
2) ความดันดินที่สภาวะ Active (Active earth pressure)
3) ความดันดินที่สภาวะ Passive (Passive earth pressure)
5.1 บทนํา

ความดันดินดานขางในสภาวะ Active
5.1 บทนํา

ความดันดินดานขางในสภาวะ Passive
5.2 ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง

ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง หมายถึง ความดันดานขางที่กระทําตอผนังโครงสรางของดิน โดยที่ผนัง


และมวลดินไมมีการเคลื่อนตัว ความดันดินในกรณีเชนนี้อาจเกิดขึ้นกับมวลดินถมดานหลังกําแพงดินที่มี
ความหนามากและแทบจะไมเกิดการเคลื่อนตัวของกําแพง ดินที่สัมผัสกับกําแพงจะไมเกิดความเครียด
ดานขาง ในกรณีเชนนี้ ความดันดินดานขางจะมีขนาดอยูระหวางความดันดินที่สภาวะ Active และ
Passive
5.2 ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง

ความดันดินทีค่ วามลึก z การกระจายความดันดินที่สภาวะอยูนิ่งและความดันน้ํา

พิจารณาความเคนบนชิ้นสวนเล็กๆ ในชั้นดินที่ความลึก z ถามวลดินอยูที่สภาวะอยูนิ่ง (At rest)


แมวามวลดินนี้จะเกิดการทรุดตัวในแนวดิ่งเมื่อมีน้ําหนักกระทํา แตจะไมเกิดการเคลื่อนตัวในแนวนอน
สภาพเชนนี้เปรียบเสมือนดินที่อยูในสภาวะสมดุลดานหลังกําแพงกันดินที่หนาและเรียบและไมมีการเคลื่อน
ตัว
5.2 ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง

ความดันดินประสิทธิผล (Effective lateral earth pressure) ที่ฐานของกําแพงและแรงลัพธ


ประสิทธิผลตอความยาว 1 หนวย สามารถหาไดดังนี้
σ h′ = K0σ v′

σ h′ = K0γ ′H

P0′ = 1 K0γ ′H
2

เมื่อ σ′h คือความดันประสิทธิผลที่ฐานของกําแพง P0 คือแรงลัพธเนื่องจากความดันดินประสิทธิผล


ที่สภาวะอยูนิ่งตอความยาว 1 หนวย K0 คือสัมประสิทธิ์ของความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง (Coefficient of
earth pressure at rest) γ′ คือหนวยน้ําหนักประสิทธิผล (Submerged unit weight) และ H คือ
ความสูงของกําแพง
5.2 ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง

ความดันดินดานขางรวม (Total lateral earth pressure, σh) ที่กระทําตอกําแพงเทากับผลรวม


ของความดันดินดานขางประสิทธิผล (Effective lateral earth pressure,σ′h) และความดันน้ํา (Pore
pressure, u)
σ h = σ h′ + u

ความเคนรวมที่กระทําตอกําแพงก็จะมีขนาดเพิ่มขึ้นตามความลึกเชนเดียวกัน และแรงดันรวมที่กระทํา
ตอกําแพงก็จะเปนผลรวมของแรงดันเนื่องจากแรงดันประสิทธิผลและแรงดันน้ํา

Ph = P0′ + Pw

เมื่อ Ph คือแรงดันดินดานขางรวมที่กระทําตอกําแพง และ Pw คือแรงดันน้ํา


5.2 ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง

คาสัมประสิทธิ์ของความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง (K0) คืออัตราสวนระหวางความดันดินดานขางตอความ


ดันดินในแนวดิ่งในพจนของความเคนประสิทธิผล โดยทั่วไป K0 จะมีคานอยกวา 1.0 สําหรับดินเหนียวอัด
ตัวปกติ ยกเวนในกรณีของดินเหนียวอัดตัวมากกวาปกติ ซึ่งคา K0 อาจมีคาสูงถึงประมาณ 3.0 สําหรับ
ทราย K0 จะมีคาอยูระหวาง 0.4 สําหรับทรายแนน และ 0.5 สําหรับทรายหลวม

การหาคาสัมประสิทธิ์ความดันดินดานขางที่สภาวะอยูนิ่งในสนามกระทําไดยาก Jaky (1944) ได


เสนอสมการสําหรับหาคา K0 ในดินเหนียวอัดตัวปกติ และดินทรายดังนี้

K0 =1− sinφ ′
5.2 ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง

จากผลการทดสอบของ Brooker and Ireland (1965) คาของ K0 สําหรับดินเหนียวอัดตัวปกติ


สามารถประมาณไดโดยอาศัยดัชนีสภาพพลาสติก (PI) ดังนี้
K0 = 0.4 + 0.007( PI )

K0 = 0.64 + 0.001(PI )

สําหรับดินเหนียวอัดตัวมากกวาปกติ
K0 ≈ K ⎛



OCR
0 Normally consolidated




⎝ ⎠

เมื่อ OCR คืออัตราสวนการอัดตัวมากกวาปกติ (Overconsolidated ratio)


5.2 ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง

Dunn et al. (1980) เสนอความสัมพันธระหวาง K0 และอัตราสวนการอัดตัวมากกวาปกติ (OCR)

ความสัมพันธระหวาง K0 และ OCR


5.3 RANKINE EARTH PRESSURE

ทฤษฎีของ Rankine สําหรับหาความดันดินดานขางตั้งอยูบนสมมติฐานหลักสามขอ ดังนี้


1) ไมมีแรงยึดเหนี่ยว (Adhesion) หรือความเสียดทาน (Friction) ระหวางดินกับผนัง (ผนังเรียบ)
2) ความดันดินดานขาง ใชไดเฉพาะกับกําแพงที่ตั้งอยูในแนวดิ่ง การวิบัติของดินถูกสมมติใหเปนการไหล
ของลิ่มตลอดแนวระนาบวิบัติ ซึ่งอยูในรูปของมุมเสียดทานภายในของดิน (Internal friction
angle, φ′)

ระนาบการวิบัตทิ ี่ถูกสมมติขึ้นตามทฤษฎีของ Rankine


(a) Rankine active state (b) Rankine passive state
5.3 RANKINE EARTH PRESSURE

3) ความดันดินดานขางมีขนาดเพิ่มขึ้นเปนฟงกชันเสนตรงกับความลึก และแรงผลลัพธเนื่องจากความดัน
ดินดานขางถูกสมมติใหกระทําที่ระยะหนึ่งในสามของความสูง ซึ่งวัดจากฐานของกําแพงกันดินถึงระดับ
ดินถม และทิศทางของแรงลัพธนี้ขนานกับผิวของดินถม

H H
3 3

ความดันดินดานขางสําหรับทฤษฎี Rankine (a) Back side vertical, (b) Back side inclined
5.3 RANKINE EARTH PRESSURE

สําหรับดินเม็ดหยาบดานหลังกําแพงกันดิน ที่สภาวะเริ่มตน ดินจะอยูในสภาวะอยูนิ่ง (At rest)


สถานะของความเคนประสิทธิผลแสดงไดดังวงกลม a เมื่อกําแพงกันดินเริ่มเคลื่อนตัวออกจากมวลดิน ความ
เคนประสิทธิผลในแนวนอนจะมีคานอยลง ขณะที่ ความเคนประสิทธิผลในแนวดิ่งมีคาประมาณคงที่ ทํา
ใหวงกลมมอรมีขนาดใหญขึ้นเรื่อยๆ ตามการเคลื่อนตัวของกําแพงกันดิน และสัมผัสเสนขอบเขตความ
แข็งแรง (Failure envelope) โดยมีคาความดันดินดานขางประสิทธิผลเทากับ σ′a คาความดันนี้ถูก
นิยามวาเปนความดันประสิทธิผลที่สภาวะ Active ของ Rankine (Rankine effective active
pressure) ระนาบวิบัติที่เกิดขึ้นในมวลดินจะทํามุม 45 + φ′ / 2 องศากับแนวนอน
5.3 RANKINE EARTH PRESSURE

ความสัมพันธระหวางความเคนหลักใหญและความเคนหลักเล็กประสิทธิผลที่จุดวิบัติคือ

tan 2 ⎜ 45°− φ ′ ⎟ − 2c φ
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
σ a′ = σ v′ ′
′ tan 45°− 2 ⎟⎟

⎜ 2 ⎟⎟⎠ ⎜
⎜ ⎜ ⎟
⎝ ⎝ ⎠

ความเคนหลักใหญประสิทธิผล (σ′1) เทากับ σ′v และความเคนหลักเล็กประสิทธิผล (σ′3) เทากับ


σ ′a
tan 2 ⎜ 45°+ φ ′ ⎟ + 2c φ
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
σ1′ = σ 3′ ′
′ tan 45°+ ⎟⎟

⎜ 2 ⎟⎟⎠ ⎜ 2 ⎟⎠
⎜ ⎜
⎝ ⎝

σ a′ = σ v′ Ka − 2c′ Ka

เมื่อ Ka = tan2(45° - φ ′/ 2) เรียกวาสัมประสิทธิ์ความดันดินประสิทธิผลที่สภาวะ Active ของ


Rankine
5.3 RANKINE EARTH PRESSURE

ถากําแพงกันดินเคลื่อนที่เขาหามวลดิน มวลดินจะเกิดการอัดตัวและมีคาความดันในแนวนอนเพิ่ม
มากขึ้นจนกระทั่งเกิดสภาวะพลาสติก (Plastic state) ที่สภาวะนี้ความดันดินดานขางประสิทธิผลจะมีคา
มากที่สุดซึ่งเทากับความดันดานขางประสิทธิผลที่สภาวะ Passive (σ′p) ในขณะที่ ความดันในแนวดิ่งจะ
มีคาประมาณคงที่
σ ′p = σ v′ K p + 2c′ K p

เมื่อ Kp = tan2(45° + φ′ / 2) เรียกวาสัมประสิทธิ์ความดันดินประสิทธิผลที่สภาวะ Passive


ของ Rankine
5.3 RANKINE EARTH PRESSURE

สําหรับกรณีของดินเหนียวอิ่มตัวในสภาวะไมระบายน้ํา ความดันดานขางรวม (Total lateral earth


pressure) สามารถคํานวณไดโดยอาศัยขอบเขตความแข็งแรงรวม ซึ่งมุมเสียดทานภายในมีคาเทากับ
ศูนย (φu = 0) ดังนั้น ความดันดินดานขางรวมที่สภาวะ Active และ Passive สามารถคํานวณไดจาก

σ a′ = σ v′ − 2Su

σ ′p = σ v′ + 2Su
5.3 RANKINE EARTH PRESSURE

เห็นวาความดันดินประสิทธิผลที่สภาวะ Active และ Passive มีคาเพิ่มขึ้นตามความลึกในฟงกชัน


เสนตรง (Linear function) ถา c′ = 0 การกระจายของความดันดินที่สภาวะ Active จะมีรูปรางเปน
สามเหลี่ยมที่มีจุดยอด (σ′a = 0) อยูที่ผิวดิน แตเมื่อ c′ มีคามากกวา 0 คาของ σ′a จะมีคาเปนลบที่ผิวบน
และมีคาเพิ่มขึ้นจนกระทั่งเปนศูนยที่ความลึก z0 ระยะจากผิวดินจนถึง z0 เรียกวาโซนแรงดึง (Tension
zone) เมื่อ σ′a = 0 จะได
2c K a

z0 = 2c′
γ ′ Ka

1
H
2 1
1 H
(H - z o ) 3
3

2c K p
5.3 RANKINE EARTH PRESSURE

สําหรับดินถมที่เปนดินเหนียวในสภาวะไมระบายน้ํา (φ = 0) โซนแรงดึงสามารถเขียนในรูปของ
พารามิเตอรกําลังรวมไดดังนี้

z0 = 2γSu

สัมประสิทธิ์ความดันดินดานขางเมื่อผิวของดินถมทํามุม β กับแนวนอนสามารถหาไดดังสมการตอไปนี้

Ka = cos β cos β − cos β − cos φ ′


2 2

cos β + cos2 β − cos2 φ ′

K p = cos β cos β + cos β − cos φ ′


2 2

cos β − cos2 β − cos2 φ ′


5.4 ความดันดินของ Coulomb

ทฤษฎีของ Coulomb สําหรับการหาความดันดินดานขางไดถูกพัฒนาขึ้นกอนทฤษฎีของ Rankine


ซึ่งสามารถใชไดกับกําแพงกันดินที่มีความเสียดทาน ระนาบการวิบัติเริ่มจากฐานของกําแพงกันดิน ตําแหนง
ของแรงลัพธเนื่องจากความดันดินที่สภาวะ Active หาไดจากการลากเสนตรงจากจุดศูนยกลางมวลของลิ่ม
ขนานกับระนาบวิบัติ จุดตัดของเสนตรงนี้กับผนังกําแพงกันดินคือตําแหนงของแรงลัพธ ทิศทางของแรง
ลัพธทํามุม δ กับเสนซึ่งตั้งฉากกับดานหลังของผนัง เมื่อ δ คือมุมเสียดทานระหวางผนังกําแพงและดิน
5.4 ความดันดินของ Coulomb

สมการสําหรับการคํานวณความดันดินดานขางประสิทธิผลของ Coulomb มีดังตอไปนี้

Pa′ = 1 γ H 2 Ka
2

sin ⎛⎜α +φ ′⎞⎟


Ka = ⎝ ⎠
2
⎛ ⎞

⎞⎜
sin ⎛⎜φ ′ + δ ⎞⎟ sin ⎛⎜φ ′ − β ⎞⎟
⎟⎟
sin2 α sin ⎛⎜α − β 1+
⎟⎜
⎝ ⎠ ⎝ ⎠

⎝ ⎠⎜

sin α −δ sin α + β






⎞⎟
⎟⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
⎝ ⎠

เมื่อ α คือมุมดานหลังกําแพงกันดินที่กระทํากับแนวราบ δ คือมุมเสียดทานระหวางผนังกําแพง


และดิน และ β คือมุมระหวางผิวของดินถมกับแนวราบ
5.4 ความดันดินของ Coulomb

Pp′ = 1 γ ′H 2 K p
2

sin ⎛⎜α −φ ′⎞⎟


Kp = ⎝ ⎠
2
⎛ ⎞

⎞⎜
sin ⎛⎜φ ′ + δ ⎞⎟ sin ⎛⎜φ ′ + β ⎞⎟
⎟⎟
sin2 α sin ⎜⎛α + δ 1−
⎟⎜
⎝ ⎠ ⎝ ⎠

⎝ ⎠⎜

sin α + β sin α + β






⎞⎟
⎟⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
⎝ ⎠

เนื่องจากทฤษฏีของ Coulomb เปนวิธีที่ใชหาความดันดินดานขางโดยใชสัมประสิทธิ์ความดันดิน


ดานขาง ดังนั้น วิธีการนี้จึงไมสามารถใชกับดินถมที่มีน้ําหนักภายนอกมากระทํา
5.4 ความดันดินของ Coulomb

ทฤษฎีของ Rankine และ Coulomb สมมติวาระนาบวิบัติเปนแนวเสนตรง สมมติฐานนี้มิไดเปน


จริงเสมอไป ที่สภาวะ Active ความดันดินที่คํานวณมีความแตกตางจากความเปนจริงไมมากนัก แตที่
สภาวะ Passive ผลคํานวณมีความแตกตางคอนขางสูง และใหผลคําตอบที่ไมปลอดภัย (ผลคํานวณมีคา
สูงกวาความเปนจริงมาก)

Terzaghi (1954) พบวาที่สภาวะ Active ระนาบวิบัติมีลักษณะเกือบเปนแนวเสนตรง ก็ตอเมื่อมุม


เสียดทานภายในระหวางดินและกําแพงกันดิน (δ) มีคานอยกวา φ′/3 แตอยางไรก็ตาม ระนาบวิบัติที่สภาวะ
Passive จะมีความแตกตางจากสมมติฐานของ Rankine และ Coulomb อยางมาก เมื่อมุม δ มีคา
มากกวาφ′/3
5.5 วิธีกราฟฟกของ Culmann

วิธีของ Culmann เปนวิธีกราฟฟกที่ใชสรางรูปเหลี่ยมของแรง ซึ่งสามารถใชไดกับดินถมที่เปนดิน


เหนียวและดินทราย ทั้งที่สภาวะ Active และ Passive วิธีนี้สามารถใชไดกับกําแพงกันดินทุกชนิดที่
ตานดินถมที่ถูกกระทําดวยแรงภายนอกและปราศจากแรงภายนอก เนื่องจากวิธีการนี้ตั้งอยูบนพื้นฐานของ
ทฤษฎีความดันดินของ Coulomb ดังนั้นจึงไมเหมาะที่จะนํามาใชในการคํานวณหาความดันดินดานขางที่
สภาวะ Passive
5.5 วิธีกราฟฟกของ Culmann

ขั้นตอนในการหาความดินดานขางในสภาวะ Active

1) วาดกําแพงกันดิน ดินถม และน้ําหนักบรรทุก

2) จากจุด A (ที่ฐานของกําแพงกันดิน) ลากเสนตรงทํา


มุม φ กับแนวนอน

3) จากจุด A ลากเสนตรงทํามุม θ กับเสน AC โดยที่


มุม θ เทากับผลตางของมุม α (มุมดานหลังของ
กําแพงกันดินกระทํากับแนวนอน) และมุม δ (มุม
เสียดทานระหวางผนังกําแพงและดิน) เสนนี้แสดงได
ดังเสน AD
α = 90° θ =α −δ
= 90° − δ
5.5 วิธีกราฟฟกของ Culmann

4) ลากลิ่มวิบัติที่เปนไปได เชน ABC1, ABC2 และ


ABC3 เปนตน

5) คํานวณหาน้ําหนักของแตละลิ่ม (W1, W2, และ W3


เปนตน)

6) สรางสเกลบนเสน AC กําหนดจุด w1, w2 และ w3


สําหรับลิ่มที่หนัก W1, W2 และ W3 ตามลําดับ

7) จากจุด w1, w2 และ w3 ลากเสนตรงขนานกับเสน


AD ตัดกับเสนตรง AC1, AC2 และ AC3 ตามลําดับ
α = 90° θ =α −δ
= 90° − δ
5.5 วิธีกราฟฟกของ Culmann

8) ลากเสนโคงตอจุดตัดที่ไดจากขั้นตอนที่ 7) เสนโคงนี้
เรียกวาเสนโคงของ Culmann

9) ลากเสนตรงขนานกับเสน AC สัมผัสกับเสนโคงของ
Culmann

10) ที่จุดสัมผัส (หาไดจากขั้นตอนที่ 9) ลากเสนตรงขนาน


กับเสน AD ตัดกับเสน AC ความยาวของเสนนี้วัด
เทียบกับสเกลบนเสน AC คือแรงดันดินที่สภาวะ
Active และเสนตรงที่ลากจากจุด A ผานจุดสัมผัสนี้
คือระนาบวิบัติ
α = 90° θ =α −δ
= 90° − δ
ตัวอยางที่ 5.1
กําแพงกันดินที่เรียบและหนามากรับดินทรายแนนโดยไมมีการเคลื่อนตัวดานขาง (ที่สภาวะอยูนิ่ง) ดังแสดง
ในรูป จงหา
ก) การกระจายความดันดานขางบนกําแพงกันดิน
ข) แรงดันรวมที่กระทําตอกําแพงกันดิน
ตัวอยางที่ 5.1

วิธีทํา จากสมการ K0 =1− sinφ ′

K0 =1− sin37°= 0.398

ก) การกระจายความดันดานขางบนกําแพงกันดิน
- ความดันที่ความลึก 1 เมตร (ที่ระดับน้าํ ใตดนิ )
σ h′ = K0σ v′

σ h′ = ⎛⎜ 0.398⎞⎛⎟⎜18.39×1.00 ⎞⎟ = 7.32 กิโลปาสคาล


⎝ ⎠⎝ ⎠

- ความดันที่ลึก 2.5 เมตร (ฐานของกําแพงกันดิน)


σ h′ = ⎛⎜ 0.398⎞⎛⎟⎜18.39×1.00 ⎞⎟ + ⎛⎜ 0.398⎞⎛⎟⎜18.39 − 9.81⎞⎛⎟⎜1.5⎞⎟ =12.44 กิโลปาสคาล
⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠⎝ ⎠

σ h =12.44 + ⎛⎜ 9.81×1.5⎞⎟ = 27.16 กิโลปาสคาล


⎝ ⎠
ตัวอยางที่ 5.1
การกระจายความดันดานขางบนกําแพงกันดินแสดงดังรูป
ตัวอยางที่ 5.1

ข) แรงดันรวมที่กระทําตอกําแพงกันดิน
Ph = P0′ + Pw

σ h′1z1 σ h′1 +σ h′ 2 γ w z2
Ph = + z2 +
2 2 2

7.32 ⎞⎛⎟⎜1.00 ⎞⎟ ⎛ ⎞⎛ ⎞
⎜ 9.81⎟⎜1.5 ⎟
⎠ + 7.32 + 27.16 ⎛1.5 ⎞ + ⎝

Ph = ⎝ ⎠⎝
⎜ ⎟
⎠⎝ ⎠
2 2 ⎝ ⎠ 2

Ph = 29.52 กิโลนิวตันตอเมตร
ตัวอยางที่ 5.2
จงหาแรงดันดินที่สภาวะ Active ตอความกวางของกําแพงกันดินดังรูป โดยใชทฤษฎีของ Rankine

y
ตัวอยางที่ 5.2

วิธีทํา จากสมการ σ a′ = σ v′ Ka − 2c′ Ka

= tan2 ⎜ 45°− φ ′ ⎟ = tan2 ⎜ 45°− 30° ⎟ = 0.333


⎛ ⎞ ⎛ ⎞
Ka ⎜


2 ⎟⎟⎠ ⎜


2 ⎟

ความดันและแรงดันดินดานขางประสิทธิผลที่ความลึก 10 เมตร เทากับ


σ a′ =18×10× 0.333 = 59.9 กิโลปาสคาล
Pa′ = 1 ×59.9×10 = 299.5 กิโลนิวตันตอเมตร
2
เนื่องจากระดับน้ําใตดินอยูต่ํามาก แรงดันดานขางประสิทธิผลมีคาเทากับแรงดันดานขางรวม และ
กระทําที่ระยะหนึ่งในสามของความสูงของกําแพงกันดิน ( y ) = 10/3 = 3.33 เมตร จากฐานของ
กําแพงกันดิน
ตัวอยางที่ 5.3
จงหาความดันดินที่สภาวะ Active ตอความกวางของกําแพงกันดิน ดังแสดงในรูป และจุดที่แรงลัพธกระทํา
โดยอาศัยสมการของ Rankine

y
ตัวอยางที่ 5.3

วิธีทํา จากสมการ
Ka = cos β cos β − cos 2 β − cos2 φ ′

cos β + cos2 β − cos2φ ′

Ka = ⎛⎜ cos15° ⎞⎟ cos15°− cos 15°− cos 30° = 0.373


2 2
⎝ ⎠ cos15°+ cos215°− cos2 30°

2
1
Pa′ = Pa = ⎜17.0 ⎟⎜ 9.0 ⎟ ⎜ 0.373⎞⎟ = 257
⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛
กิโลนิวตันตอเมตร
2⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎝ ⎠

ระยะ y = H = 9.1 = 3.03 เมตรจากฐานของกําแพงกันดิน


3 3
ตัวอยางที่ 5.4
จงหาแรงดันดานขางรวม (Total lateral earth pressure) ตอความกวางของกําแพงกันดิน ดังแสดงใน
รูป โดยใชทฤษฎีของ Rankine

h = 0.10 m
A C β = 10 o
B

γ = 19.0 kN/m3
φ’ = 35 o
W
c’ = 0

6.5 m H = 6.5 m + h = 6.6 m


P'a

10 o
W Pa

85 o 90 o P' a
10o
ตัวอยางที่ 5.4

วิธีทํา จากรูป tan5°= AB


6.5

AB = ⎛⎜ 6.5⎞⎟ tan5°= 0.57 เมตร


⎝ ⎠

และ tan10°= BC = h
AB 0.57

h = ⎛⎜ 0.57 ⎞⎛⎟⎜ tan10°⎞⎟ = 0.10 เมตร


⎝ ⎠⎝ ⎠

จากสมการ
Ka = cos10° cos10°− cos 10°− cos 35° = 0.282
2 2
cos10°+ cos210°− cos2 35°

Pa′ = 1 ×19.0× 6.62 × 0.282 =116.7 กิโลนิวตันตอเมตร


2
ตัวอยางที่ 5.4

วิธีทํา น้ําหนักของดินและแรงในแนวดิ่งและแนวนอนมีคา ดังนี้


W = 1 γ ⎛⎜ AB ⎞⎛⎟⎜ H ⎞⎟ = 1 ×19.0× 0.57× 6.6 = 35.7 กิโลนิวตันตอเมตร
2 ⎝ ⎠⎝ ⎠ 2
Ph = Pa′ cos β =116.7cos10°=114.9 กิโลนิวตันตอเมตร
Pv = Pa′ sin β =116.7sin10°= 20.3 กิโลนิวตันตอเมตร

∑V =W + Pv = 35.7 + 20.3 = 56.1 กิโลนิวตันตอเมตร


∑ H = Ph =114.9 กิโลนิวตันตอเมตร
แรงดันดินที่สภาวะ Active (Pa) เทากับ
2 2 2 2
∑V ∑H
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
Pa = ⎜ ⎟ + ⎜ ⎟ = 56.1 + 114.9 =127.9







⎟ กิโลนิวตันตอเมตร
⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠
ตัวอยางที่ 5.5
จากรูป มุมเสียดทานระหวางกําแพงกันดินและดินถมมีคาเทากับ 25 องศา จงหาความดันดินที่สภาวะ Active
โดยทฤษฎีของ Coulomb
ตัวอยางที่ 5.5
วิธีทํา จากสมการ sin 2 ⎛⎜α +φ ′⎞⎟
Ka = ⎝ ⎠
2
⎡ ⎤

⎞⎢
sin ⎛⎜φ ′ + δ ⎞⎟ sin ⎛⎜φ ′ − β ⎞⎥
⎟⎥
sin 2α sin ⎛⎜α −δ 1+ ⎟⎢
⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎥
⎝ ⎠⎢
⎢ sin α −δ sin α + β






⎞⎥
⎟⎥
⎢⎣ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎥

sin 2 ⎛⎜ 90°+ 30° ⎞⎟


Ka = ⎝ ⎠
2
= 0.296
⎡ ⎤

⎞⎢
sin ⎛⎜ 30°+ 25° ⎞⎟ sin ⎛⎜ 30°+ 0° ⎞⎟ ⎥⎥
sin 2 ⎛⎜ 90°⎞⎟ sin ⎛⎜ 90°− 25° 1+ ⎟⎢
⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎥
⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎢
⎢ sin 90°− 25° sin 90 + 0°






⎞ ⎥
⎟ ⎥
⎢⎣ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎥

Pa′ = 1 γ H 2 Ka
2
⎛ ⎞
Pa′ = 1 ⎛⎜15.0 ⎞⎟ ⎜⎜102 ⎟⎟ ⎛⎜ 0.296⎞⎟ = 222.0 กิโลนิวตันตอเมตร
2⎝ ⎠⎝ ⎝⎠ ⎠
ตัวอยางที่ 5.6
จากรูป มุมเสียดทานระหวางกําแพงและดินถมเทากับ 20 องศา จงหาความดันรวมที่สภาวะ Active ที่กระทํา
ตอกําแพงกันดิน โดยทฤษฎีของ Coulomb
ตัวอยางที่ 5.6
วิธีทํา จากสมการ
sin 2 ⎛⎜α +φ ′⎞⎟
Ka = ⎝ ⎠
2
⎡ ⎤

⎞⎢
sin ⎛⎜φ ′ + δ ⎞⎟ sin ⎛⎜φ − β ⎞⎥
⎟⎥
sin 2α sin ⎛⎜α −δ 1+ ⎟⎢
⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎥
⎝ ⎠⎢
⎢ sin α −δ sin α + β






⎞⎥
⎟⎥
⎢⎣ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎥

sin 2 ⎛⎜85°+ 35° ⎞⎟


Ka = ⎝ ⎠
2
= 0.318
⎡ ⎤

⎞⎢
sin ⎛⎜ 35°+ 20° ⎞⎟ sin ⎛⎜ 35°−10° ⎞⎟ ⎥⎥
sin 2 ⎛⎜85° ⎞⎟ sin ⎛⎜85°− 20° 1+ ⎟⎢
⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎥
⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎢
⎢ sin 85°− 20° sin 85°+10°






⎞⎥
⎟⎥
⎢⎣ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎥

Pa′ = 1 γ H 2 Ka
2

⎛ ⎞
Pa′ = Pa = 1 ⎛⎜18.0⎞⎟ ⎜⎜ 6.52 ⎟⎟ ⎛⎜ 0.318⎞⎟ =120.9 กิโลนิวตันตอเมตร
2⎝ ⎠ ⎝ ⎝ ⎠ ⎠
ตัวอยางที่ 5.7
จากรูป มุมเสียดทานระหวางกําแพงและดินถมเทากับ 20 องศา จงหาความดันรวมที่สภาวะ Active ที่กระทํา
ตอกําแพงกันดิน โดยทฤษฎีของ Coulomb
ก) กําแพงกันดินเรียบสูง 7 เมตร ตานดินถมซึ่งเปนดินเม็ดหยาบที่มีหนวยน้ําหนักเทากับ 17.0
กิโลนิวตันตอลูกบาศกเมตร และ φ′ = 28°
ข) ระดับของดินถมอยูที่ระดับเดียวกับดานบนของกําแพงกันดิน และวางตัวในแนวราบ
ค) มีนา้ํ หนักกระจายสม่าํ เสมอขนาด 40 กิโลปาสคาล บนดินถม
ตัวอยางที่ 5.7
จงหา ก) ความดันดินที่สภาวะ Active ที่กระทําตอกําแพงกันดิน
ข) จุดทีแ่ รงลัพธกระทําบนกําแพงกันดิน
วิธีทํา สัมประสิทธิ์ความดันประสิทธิผลที่สภาวะ Active ของ Rankine มีคาเทากับ
= tan 2 ⎜ 45 − φ ′ ⎟
⎛ ⎞
Ka ⎜


2 ⎟⎟⎠

Ka = tan 45 −
2⎜ 28° ⎞
⎟ = 0.361



2 ⎟⎟⎠
ความเคนประสิทธิผลในแนวดิง่ ทีผ่ ิวดินเทากับ
σ v′ = q = 40.0 กิโลปาสคาล

ความเคนประสิทธิผลในแนวดิง่ ที่ระดับความลึก 7 เมตร จากผิวดิน เทากับ


σ v′ = 40 + ⎛⎜17.0× 7.0⎞⎟ =159.0 กิโลปาสคาล
⎝ ⎠
ตัวอยางที่ 5.7
ความเคนประสิทธิผลในแนวนอนที่ผวิ ดินเทากับ
σ a′ = 40.0× 0.361=14.44 กิโลปาสคาล
ความเคนประสิทธิผลในแนวนอนที่ระดับความลึก 7 เมตรจากผิวดิน เทากับ
σ a′ =159.0× 0.361= 57.40 กิโลปาสคาล

แรงดันดานขางรวมเทากับ
Pa = Pa′ = 1 × ⎛⎜14.44 + 57.40⎞⎟ × 7.0 = 251.44 กิโลปาสคาล
2 ⎝ ⎠

ตําแหนงของแรงลัพธเทากับ
⎛ ⎞

1 ⎟
⎛ ⎜ ⎞ 7
14.44× 7×3.5 + × ⎜ 57.40 +14.44⎟ × 7.0× ⎟⎟
⎛ ⎞

⎝ 2 ⎝
⎠ ⎜ ⎠ 3 ⎟⎠
y= ⎝ = 2.80 เมตร
251.44
ตัวอยางที่ 5.8
จากรูป จงเขียนไดอะแกรมความดันดินที่สภาวะ Active หลังสิ้นสุดการกอสรางและมีน้ําหนักกระจาย
สม่ําเสมอ 100 กิโลนิวตันตอตารางเมตร กระทําทันที
ตัวอยางที่ 5.8
วิธีทํา เริ่มตนดวยการคํานวณหาสัมประสิทธิ์ความดันดินดานขางของดินทุกชนิด

= tan2 ⎜ 45°− 32° ⎟ = 0.307


⎛ ⎞
ทราย 1 Ka ⎜
⎜ 2 ⎟

⎝ ⎠

= tan2 ⎜ 45°− 30° ⎟ = 0.333


⎛ ⎞
ทราย 2 Ka ⎜
⎜ 2 ⎟

⎝ ⎠

= tan 2 ⎜ 45 − 25° ⎟ = 0.406


⎛ ⎞
ทราย 3 Ka ⎜
⎜ 2 ⎟

⎝ ⎠

ดินเหนียว Ka = tan 2 ⎛⎜ 45°⎞⎟ =1.000


⎝ ⎠

= tan 2 ⎜ 45°− 40° ⎟ = 0.217


⎛ ⎞
ทราย 4 Ka ⎜
⎜ 2 ⎟

⎝ ⎠
ตัวอยางที่ 5.8

ความลึก σ′v u Ka c’ σ ′ = K σ ′ − 2c′ K


a a v a
(เมตร) (กิโลปาสคาล) (กิโลปาสคาล) (กิโลปาสคาล) (กิโลปาสคาล)
0 100 0 0.307 0 30.7
2- 100 + (18 × 2) = 136 0 0.307 0 41.7
2+ 136 0 0.333 0 45.3
3- 136 + (18.5-9.81) × 1 9.8 0.333 0 48.2
= 144.7
3+ 144.7 9.8 0.406 10.0 46.0
6- 144.69 + (18.8-9.81) × 3 39.2 0.406 10.0 57.0
= 171.7
6+ 171.7
8.5- 171.66 + (19 - 9.81) × 2.5
= 194.6
8.5+ 194.6 63.8 0.217 5.0 37.6
10.3 194.63 + (19-9.81) × 1.8 81.4 0.217 5.0 41.2
= 211.2
ตัวอยางที่ 5.8

การกระจายความเคนประสิทธิผลในแนวดิ่ง
ตัวอยางที่ 5.8

การกระจายความดันดินดานขางประสิทธิผลในชั้นทรายและความดันน้าํ
ตัวอยางที่ 5.8
สําหรับความดันดินที่กระทําตอกําแพงกันดินในชัน้ ดินเหนียวตองคํานวณในพจนของความเคนรวม ดังนี้
ที่ระดับความลึก 6.0 เมตร
ความเคนในแนวดิง่ รวมเทากับ 171.7 + 39.2 = 210.9 กิโลปาสคาล
ความดันดินดานขางรวมเทากับ 210.9 - (2 x 40) = 130.9 กิโลปาสคาล
ที่ระดับความลึก 8.0 เมตร
ความเคนในแนวดิง่ รวมเทากับ 210.9 + 19.0(2.5) = 258.4 กิโลปาสคาล
ความดันดินดานขางรวมเทากับ 258.4 - (2 x 40) = 178.4 กิโลปาสคาล

การกระจายความดันดินดานขางรวมในชั้นทราย เกิดจากการรวมกันของความดันดินดานขางประสิทธิผล
และความดันน้ํา สวนการกระจายความดันดินดานขางรวมในชั้นดินเหนียวคํานวณไดโดยตรงในพจนของความ
เคนรวม
ตัวอยางที่ 5.8

30.7 kPa

2m
45.3 kPa
41.7
1m
kPa 58.0 kPa
55.8
kPa
3m
130.9 kPa

96.2 kPa
2.5 m
101.4 kPa
178.4 kPa

1.8 m

122.6 kPa

Total lateral earth pressure

การกระจายความดันดานขางรวม
ตัวอยางที่ 5.9
ถากําแพงกันดินดังแสดงในรูป เคลื่อนตัวออกจากดินถม จงหา
ก) โซนแรงดึง (z0)
ข) แรงดันดินดานขางรวมที่สภาวะ Active หลังเกิดรอยแยกเนื่องจากแรงดึง
ตัวอยางที่ 5.9
= tan 2 ⎜ 45°− 26° ⎟ = 0.39
⎛ ⎞
วิธีทํา Ka ⎜ ⎟


2 ⎟

ความลึก σv′ u Ka c′ σ a′ = Kaσ v′ − 2c′ Ka


(เมตร) (กิโลปาสคาล) (กิโลปาสคาล) (กิโลปาสคาล) (กิโลปาสคาล)
0 0 0 0.39 10 -12.6
6 16 x 6 = 96 0 0.39 10 24.84
ตัวอยางที่ 5.9

ก) โซนแรงดึง (z0)

z0 = 2c′ = 2×10 =1.98 เมตร


γ ′ Ka 16 0.39

ข) แรงดันดินดานขางรวมที่สภาวะ Active หลังเกิดรอยแยกเนื่องจากแรงดึง

Pa = Pa′ = 1 × 24.84× ⎛⎜ 6.00 −1.98⎞⎟ = 49.93 กิโลปาสคาล


2 ⎝ ⎠
ตัวอยางที่ 5.10
จากรูป จงใชวิธีกราฟฟกของ Culmann ในการคํานวณหาแรงดันดินที่สภาวะ Active พรอมทั้งหาตําแหนง
ของแรงลัพธ

β = 10°

85°
ตัวอยางที่ 5.10
วิธีทํา เริ่มตนดวยการสมมติระนาบการวิบตั ิ ดังแสดงในรูป

90°
20°

α = 85° φ = 35°

θ =α −δ
= 85° − 20°
= 65°
ตัวอยางที่ 5.10
น้ําหนักของแตละลิ่ม

ลิ่ม ความยาวฐาน ความสูงตัง้ ฉาก หนวยน้ําหนักของดิน น้ําหนัก


(เมตร) (เมตร) (กน. ตอ ลบ.ม.) (กน. ตอ ม.)
1 1.03 5.225 19.0 51.13
2 1.00 5.660 19.0 53.77
3 1.56 6.950 19.0 103.00
4 1.56 9.175 19.0 135.97
ตัวอยางที่ 5.10
จากคาน้ําหนักของแตละลิ่ม วาดเสนโคงของ Culmann แรงลัพธที่กระทําตอกําแพงกันดินที่สภาวะ Active
มีคาเทากับ 74 กิโลนิวตันตอเมตร และระนาบวิบตั แิ สดงดังเสนประ

x = 27.95 =1.43 เมตร


19.53

y = 69.4 = 3.55 เมตร


19.53
ตัวอยางที่ 5.10

รูปที่ x y พื้นที่ (A) xA yA


(เมตร) (เมตร) (เมตร2) (เมตร3) (เมตร3)
1 0.30 3.33 2.25 0.68 7.50
2 1.45 3.33 15.00 21.75 50.00
3 2.30 5.20 2.07 4.77 10.80
4 3.57 5.40 0.21 0.75 1.10
รวม 19.53 27.95 69.4

You might also like